Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-book-การบริหารจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร-1

E-book-การบริหารจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร-1

Published by Natdanai Wantapho, 2020-03-19 04:02:46

Description: E-book-การบริหารจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตร-1

Search

Read the Text Version

การบริหารจดั การท่องเที่ยวเชงิ เกษตร กรณศี ึกษา : กลมุ่ วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรชาวสวนเมืองเลย บ้านวัฒนาภิรมย์ ตาบลบุฮม อาเภอเชยี งคาน จงั หวดั เลย นักศึกษาวิชาสังคมศึกษา คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เลย

คานา การเปล่ยี นแปลงจากสงั คมเกษตรกรรมที่การเพาะปลูกเป็นไปเพ่อื ยัง ชีพสู่สังคมอุตสาหกรรมที่มุ่งหวังผลิตสิ่งต่าง ๆ เพ่ือส่งออก การผลิตผลิตผล ทางการเกษตรจาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีเข้ามาเป็นตัวช่วยหลัก รูปแบบและ วิธีการผลิตท่ีแตกต่างไปจากเดิมได้เพิ่มภาระให้กับเกษตรกรซ่ึงเป็นกลุ่ม ประชากรหลักของประเทศ ทาให้ภาคการเกษตรจาเป็นต้องปรับตัวและ พัฒนาให้เหมาะสมกับบริบทของสังคมที่มีการแข่งขันและความเสี่ยงสูง เกษตรกรจึงจาเป็นต้องคิดและหาวิธีการเพื่อสร้างรายได้และดาเนินชีวิตได้ อย่างปกติสุขในสงั คมยุคโลกาภิวัตน์ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง การบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิง เกษตร กรณีศึกษา กลุ่มวิสาหกิจชุมชนชาวสวนเมืองเลย บ้านวัฒนาภิรมย์ ตาบลบุฮม อาเภอเชียงคาน จังหวัดเลย จดั ทาเพอื่ ศกึ ษาบริบทของชุมชนบ้าน วัฒนาภิรมย์ การรวมตัวของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนชาวสวนเมืองเลย ในการ พัฒนาสวนเปน็ แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วเชิงเกษตร พร้อมหลกั การในการบรหิ ารในกลุ่ม ที่ทาให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนชาวสวนเมืองเลย ประสบความสาเร็จในการ รวมกลุ่ม คณะผู้วิจยั

สารบญั เรื่อง หนา้ คานา ก สารบัญ ข 1. ประวัตแิ ละความเป็นมาของหมู่บา้ นวัฒนาภริ มย์ 1 2. สภาพภมู ิศาสตร์ 2 3. การคมนาคม 3 4. กลุม่ วสิ าหกจิ ชุมชนกลมุ่ เกษตรกรชาวสวนเมอื งเลย 4 5. แนวคดิ และทฤษฎกี ารมีสว่ นรว่ ม 5 6. การบรหิ ารจัดการท่องเท่ียวเชงิ เกษตรโดยใช้ทฤษฎีการมสี ว่ นร่วม 6 7. หลกั การบรหิ ารภายในกลมุ่ 8 8. กิจกรรมในแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วเชิงเกษตร 13 ภาคผนวก 15 บรรณานกุ รม 20

1. ประวตั ิและความเปน็ มาของหมบู่ ้านวฒั นาภริ มย์ นายอาเภอเชียงคานเป็นผู้ตั้งช่ือหมู่บ้านให้โดยให้เหตุผล วา่ เป็นชือ่ ทีม่ คี วามหมายดี หมายถึงความเจริญก้าวหน้าของคนใน หมู่บ้าน ทางด้านจิตใจเศรษฐกิจ ความอดทนมุ่งม่ันในการ ประกอบอาชีพ ซ่ึงส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกร ที่ต้องอาศัย ความขยัน อดทนและจิตใจที่เข็มแข็งอย่างมาก บ้านวัฒนาภิรมย์ เปน็ บา้ นทีก่ ่อตั้งใหม่แยกจากมาบุฮมออกมาเม่ือ พ.ศ. 2534 บ้าน บุฮมเม่ือประมาณ 400 ปีมาแล้ว มีพ่ีน้องสามคนเป็นชาวลาว พรวนพ่ีคนโตชื่อท้าวบัวโฮม คนกลางชื่อท้าวบัวฮอง น้องเล็กชื่อ ท้าวบัวเฮียว ล่องแพไม้ขนาดใหญ่ ล่องลงมาตามแม่น้าโขงจาก เทือกเขาธิเบตเป็นเวลาหลายวันหลายคืนมาจนถึงเมืองหลวงพระ บาทประเทศลาวและลอ่ งต่อลงมามาจนถึงปากหว้ ยน้าสวย และได้ พังอยู่ที่ปากห้วยน้าสวย เป็นเวลาหลายวัน พี่น้องสามคนได้ ปรึกษาหารือกันว่า จะแยกย้ายกันตั้งหมู่บ้าน และต้ังชื่อหมู่บ้าน ตามช่ือของแต่ล่ะคน ต่อมาได้ข่าวว่าจะมีพวกฮ้อมาตีเอาหมู่บ้าน ต่าง ๆ ไปเป็นเมืองข้ึนจึงได้อพยพมารวมกันอยู่ท่ีบ้านของท้าวบัว โฮม ผเู้ ป็นผใู้ หญข่ องหมบู่ ้าน

2. สภาพภูมศิ าสตร์ บ้านวัฒนาภิรมย์ มีลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ คือ ทิศ เหนือติดแม่น้าโขงและประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว ทิศใต้ติดเขตบ้านอมุ ุง ตาบลบุฮม อาเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ทิศตะวันออกติดเขตตาบลปากชม อาเภอปากชม จังหวัดเลย ทิศ ตะวันตกติดแม่น้าโขงและประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ลักษณะภูมิประเทศโดยส่วนใหญ่เป็นที่ลุ่มริมฝ่ัง แม่น้า สภาพพื้นที่จะมีความลาดเทจากทิศใต้สู่ทิศเหนือ เน่ืองจากมี ภูเขาทางด้านทิศใต้ของหมู่บ้าน สภาพภูมิอากาศของบ้านวัฒนา ภิรมย์ มี 3 ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว มีแหล่งน้า ธรรมชาติท่ีสาคัญ คือ แม่น้าโขง เป็นแม่น้าท่ีก้ันเขตแดนระหว่าง ประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ลักษณะ ท่ัวไปของดิน เป็นลักษณะดินร่วนปนทราย ดินแม่น้าและภูเขา ประชากรสว่ นมากมอี าชีพหลกั ในการประกอบอาชีพทางการเกษตร เช่น ทานา ทาไร่ และให้ความสาคัญในการปลูกผลไม้ เช่น มะขาม หวาน มะมว่ งแกว้ สาหรับสง่ โรงงานและมะม่วงพันธ์ดุ ี

3. การคมนาคม การเดินทางจากมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ตาม ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 201 ถึงอาเภอเชียงคาน ระยะทาง 45 กิโลเมตร และจากอาเภอเชียงคานมุ่ง หน้าสู่ถนนหมาย 211 ถึงบ้านวัฒนาภิรมย์ ระยะทาง 12 กิโลเมตร รวมระยะทาง 57 กิโลเมตร

4. กลุม่ วิสาหกิจชุมชนกลมุ่ เกษตรกรชาวสวนเมืองเลย วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรชาวสวนเมืองเลย เริ่มรวมกลุ่มจัดตั้ง เม่ือ วันที่ 18 มกราคม 2553 สมาชิกที่มีแนวความคิดเดียวกันแรกเริ่ม จานวน 15 คน ในอดีตเกษตรกรในหมู่บ้านประกอบอาชีพทาไร่ ทานา ทา สวน ปลูกกล้วย ปลูกมะขาม พืชผักสวนครัว คือมีอาชีพทาการเกษตร เป็น พื้นฐานในการดารงชีวิตยังไม่ทมีการรวมกลุ่ม ต่อมาการเกษตรท่ีทาอยู่มี ผลผลิต ออกมาจานวนมาก ทาให้มีปัญหาด้านการตลาด หาแหล่งจาหน่าย สนิ ค้ายากมากขน้ึ จึงได้ไปปรึกษากับเจ้าหน้าที่ของสานักงานเกษตรอาเภอ ทาง สานักงานเกษตร อาเภอจึงได้ให้จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกร ชาวสวนเมืองเลยอาเภอ เชียงคาน เพ่ือให้สมาชิกรวมกลุ่มกัน เป็นกลไกใน การต่อรอง ซ้ือ-ขายผลิตผล ทางการเกษตรในหมู่บ้าน จึงทาให้เกิดตลาดใน หมู่บ้านและพ่อค้าต่างถิ่นเข้ามารับซื้อผลผลิตทางการเกษตร เช่นมะขาม มะม่วง ในหมู่บ้านเป็นจานวนมาก โดยมีการปรับปรุงกระบวนการคัดแยก เกรดผลผลติ ให้มหี ลายระดับ

5. แนวคิดและทฤษฎกี ารมีส่วนร่วม 5.1 การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (Decision making) ใน กระบวนการของการตัดสินใจ น้ันประการแรกสุด คือ การกาหนดความ ต้องการและจัดลาดับความสาคัญ จากนั้นเลือกนโยบายและประชากรที่ เกี่ยวข้องการตัดสินใจในช่วงเร่ิมต้นการตัดสินใจในช่วงดาเนินการวางแผน และการตดั สนิ ใจในช่วงการปฏบิ ัติตามแผนทีว่ างไว้ 5.2 การมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน (Implementation) ใน ส่วนท่ีเป็นองค์ประกอบของการดาเนินงานตามโครงการน้ันจะได้มาจาก คาถามที่ว่า ใครจะทาประโยชน์ให้แก่โครงการได้บ้างและจะทา ประโยชน์ โดยวิธีใด เช่น การสนับสนุนด้านทรัพยากร การบริหารงาน การ ประสานงานและการขอความช่วยเหลอื เป็นต้น 5.3 การมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ (Benefits) ในส่วนท่ี เกี่ยวกับผลประโยชน์ นอกจากความสาคัญของผลประโยชน์ในเชิง ปริมาณและคุณภาพแล้วยังต้องพิจารณาถึงการกระจายผลประโยชน์ ภายในกลุ่ม ผลประโยชน์ของโครงการนี้ รวมทั้งผลประโยชน์ในทางบวก และผลที่เกิดขึ้นในทางลบท่ีเป็นผลเสียของโครงซึ่งจะเป็นประโยชน์และ เปน็ โทษตอ่ บุคคลในสังคม 5.4 การมีสว่ นร่วมในการประเมินผล (Evaluation) ส่ิงสาคัญท่ี จะต้องสังเกตคือความเหน็ ความชอบ และความคาดหวังซ่ึงจะมี อิทธิพลสามารถแปรเปลยี่ นพฤติกรรมของบุคคลในกลมุ่ ได้

6. การบริหารจดั การทอ่ งเที่ยวเชิงเกษตร โดยใชท้ ฤษฎกี ารมสี ว่ นรว่ ม 6.1 ร่วมคิด ในการดาเนินกิจกรรมการท่องเที่ยว แต่ละฝ่ายมีการเรียกประชุม ล่วงหน้าก่อนที่นักท่องเท่ียวจะมา โดยประธานกลุ่มมีการนัดทุกฝ่ายมาทาการ ประชุมเพื่อทาการเสนอความคิดเห็น ร่วมกันคิดและออกแบบเก่ียวกับการจัด กิจกรรมการท่องเท่ียว เพ่ือให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและทราบรายเอียดของกิจกรรม ร่วมกัน ซ่ึงจะนาไปสู่การตัดสินใจในการทากิจกรรมในการต้อนรับนักท่องเท่ียว อย่างเปน็ ระบบ 6.2 ร่วมวางแผน ในการดาเนินงานจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวในแต่ละครั้ง ประธานกลุ่ม จะเรียกประชุมงานทุกฝ่าย วางแผนกันก่อนท่ีนักท่องเที่ยวจะข้ึนมายังสวน เกษตรอยา่ งเป็นระบบวา่ แต่ละฝ่ายต้องรับผดิ ชอบในสว่ นใด กาหนดรายละเอียด ของกิจกรรม กาหนดเวลาในการดาเนินงาน เพ่ือให้ทุกฝ่ายสามารถทางานใน หน้าที่ของตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพ และช่วยให้สมาชิกในกลุ่มได้เข้าใจ แผนงานในการดาเนินกิจกรรมร่วมกัน เพ่ือให้การปฏิบัติงานของทุกฝ่ายมี ประสิทธภิ าพและสาเรจ็ ไปไดด้ ว้ ยดี 6.3 ร่วมดาเนินการ หลังจากมีการประชุมวางแผนงานแบ่งหน้าที่งานเสร็จเรียบร้อย ถึงวัน จัดกิจกรรมท่องเท่ียว สมาชิกในแต่ละฝ่ายดาเนินงานในส่วนที่ตนเองได้ รับผิดชอบ โดยมีหัวหน้าฝ่ายเป็นผู้ควบคุมการดาเนินงานตรวจสอบความ เรียบร้อย ถ้ามีจุดบกพร่องของงานก็ช่วยกันแก้ไขปัญหา และปฏิบัติงานอย่าง เต็มศักยภาพ เพ่ือให้การทางานบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่กลุ่มได้ทา การวางแผนการดาเนินงานไว้ก่อนหน้าน้ี รวมถึงผลลัพธ์ในการ ดาเนินงานที่มีประสิทธิภาพท่ีเกิดจากความร่วมมือของสมาชิกทุกคน ภายในกลุม่

6.4 รว่ มรบั ผลประโยชน์ หลังจากดาเนินงานจัดกิจกรรมต้อนรับนักท่องเที่ยวเสร็จ ภายในกลุ่ม โดยทางกลุ่มได้รับผลประโยชน์ร่วมกันโดยแบ่งเป็น 2 อย่าง อันดับแรกคือ งบประมาณท่ไี ด้จากการจดั กจิ กรรมท่องเทยี่ วเชงิ เกษตรจากกลุ่มนักท่องเท่ียวใน แต่ละครั้ง โดยงบประมาณท่ีได้จะแบ่งออกตามภาระงานท่ีได้รับผิดชอบ เช่น ผู้บรรยายให้ความรู้ให้กับนักท่องเท่ียวได้รับเงิน 1,000 บาท กลุ่มพ่อบ้านก็จะ ได้รับเงินท่ีรับส่งนักท่องเที่ยวคันละ 700 บาท กลุ่มแม่บ้านได้คนละ 300 บาท อันดับสองคือ ผลประโยชน์ทางด้านจิตใจท่ีได้รับจากนักท่องเที่ยวผ่านการจัด กิจกรรมดาเนนิ งานของกลุ่มทอี่ อกมาอย่างสมบรู ณแ์ บบ 6.5 ร่วมประเมินผล หลังจากกลุ่มทาการจัดกิจกรรมเสร็จ ประธานกลุ่มมีการนัดประชุม สรุปงานหลังจากนกั ทอ่ งเที่ยวเดินทางกลับ และประเมินผลการดาเนินงานในแต่ ละครั้ง โดยให้แต่ละฝ่ายชี้แจงในการดาเนินงานในฝ่ายของตนเองว่ามีจุดบ่ง พรอ่ งสว่ นใด เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขและพฒั นาการปฏบิ ัติงานในคร้ังต่อไป เพื่อให้กจิ กรรมดังกลา่ วดาเนินการไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

7. หลักการบรหิ ารภายในกลมุ่ 7.1 การบริหารจัดการคน ภายในกลุม่ มกี ารบริหารจดั คนภายในกลมุ่ โดยการแบ่งหน้าที่ให้ แต่ละคนรับผิดชอบตามความสามารถของแต่ละบุคคล เพราะว่าในกลุ่ม วิสาหกิจ มีบุคคลจากหลากหลายอาชีพ มาเป็นสมาชิกมีทั้งพ่อค้า เกษตรกร คนรับจ้างทั่วไปและข้าราชการ ซึ่งแต่ละคนก็มีความถนัดและ ความสามารถที่แตกต่างกันออกไป เม่ือทางานที่ตนมีความถนัดจะทาให้ ทางานดว้ ยความสมัครใจ พอใจในงานของตนเองและทาหน้าที่ที่ตนได้รับ มอบหมายได้อย่างเต็มความสามารถ นอกจากนั้นแล้วเมื่อมีนักท่องเท่ียว มาเยี่ยมชมสวนเกษตรของกลุ่มในแต่ละคร้ัง จะมีการประชุมร่วมกัน วางแผนในการเตรียมความพร้อมเพ่ือต้อนรับนักท่องเที่ยว และคัดเลือก สมาชิกท่ีจะปฏิบัติหน้าที่ในแต่ละคร้ังจะยึดตามความสมัครใจและความ สะดวกของแต่ละคน และประเภทงานที่ต้องใช้แรง เช่นการจัดเตรียม สถานที่ไว้รองรับนักท่องเท่ียว สมาชิกผู้ชายจะเป็นผู้ทาหน้าท่ีนี้ นอกจากน้ันแล้วสมาชิกผู้ชายยังเป็นผู้ขับรถพานักท่องเที่ยวข้ึนมายังสวน ผลไม้ของชาวบ้านด้วย ส่วนสมาชิกผู้หญิงส่วนใหญ่จะเป็นผู้ประกอบ อาหารให้นักท่องเท่ียวรับประทาน จัดเตรียมสินค้าหรือผลผลิตทาง การเกษตรไวจ้ าหนา่ ยแก่นกั ทอ่ งเทยี่ ว

7.2 การบรหิ ารจัดการงบประมาณ ภายในกล่มุ มกี ารบรหิ ารจดั การงบประมาณโดยการให้สมาชิกได้ ถือหุ้น โดยมีการขายหุ้น ราคาหุ้นละ 365 บาท เพ่ือเป็นหลักประกันว่า ในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรชาวสวนเมืองเลย จะมีรายได้ท่ีแน่นอน จากสมาชิก และสมาชิกคนไหนท่ีถือหุ้น เม่ือครบปีทางกลุ่มก็จะมีการ แบ่งปันผลประโยชน์ให้กับสมาชิกกลุ่ม สมาชิกคนไหนท่ีไม่ได้ซื้อหุ้นก็จะ ไมไ่ ด้รับเงินจากการปันผลน้ัน จากนั้นสมาชิกกลุ่มยังสามารถกู้ยืมเงินจาก ทางกลุ่มได้ในกรณีที่ขาดแคลนเงินทุนในการทาการเกษตร ซึ่งคนท่ีถือหุ้น สามารถกู้ยืมได้ 4,000 บาท และการบริหารจัดการงบประมาณที่ทาง กลุ่มได้รับมาทั้งจากทางกลุ่มเองและจากหน่วยงานภาครัฐ ทางกลุ่มจะใช้ หลักการแบบประชาธิปไตย การรับฟังความคิดเห็นจากสมาชิกภายใน กลุ่มเป็นสาคัญ โดยใหส้ มาชิกเสนอมาว่างบประมาณท่ีเราได้มาเราจะทา อะไร ต้องการพัฒนาในส่วนไหน เมื่อสมาชิกเสนอมาแล้วจะมีการโหวต เพือ่ ใหไ้ ด้ข้อสรุปว่าสมาชกิ ในกลุ่มสว่ นใหญ่ต้องการอะไร แล้วก็ดาเนินการ ตามความต้องการของสมาชิก ซึ่งไม่ใช้อานาจของผู้นากลุ่มเป็นคนตัดสิน ในการจดั การงบประมาณแต่เพยี งผเู้ ดียว

7.3 การบรหิ ารจดั การวสั ดแุ ละอปุ กรณ์ ภายในกลุ่ม มีการการบริหารจัดการวัสดุและอุปกรณ์ โดยยึด หลกั ทวี่ ่า สมาชกิ ทกุ คนสามารถใช้วัสดุและอุปกรณ์ที่ทางกลุ่มมีอยู่ได้ เมื่อ นาออกไปใช้แล้วต้องดูแลรักษาเป็นอย่างดี และการปลูกจิตสานึกให้ สมาชิกทุกคนเห็นความสาคัญถึงผลประโยชน์เพ่ือส่วนรวมเป็นหลัก ซึ่ง สอดคล้องกับหลักการทรงงานของในหลวงรัชการที่ 9 ในการยึดหลัก ประโยชน์เพ่ือส่วนรวม และเม่ืออุปกรณ์ต่าง ๆ เกิดชารุดก็จะใช้เงินของ กล่มุ ในการซอ่ มบารงุ อปุ กรณ์นั้น ๆ ในกรณีที่อุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีทางกลุ่มไม่ มีหรือขาดแคลนในกรณีท่ีมีนักท่องเที่ยวมาเย่ียมชมสวนของสมาชิกกลุ่ม จานวนมาก เช่น เก้าอ้ี เต็นท์ ถ้วย จาน ก็จะยืมจากชุมชนใกล้เคียงแทน การซื้อใหม่ เพือ่ เป็นการประหยดั งบประมาณ

7.4 วิธกี ารบริหารจดั การหรือวิธีการปฏบิ ัติ ภายในกลุ่ม ใช้หลักการในการดาเนินการอย่างโปร่งใส สมาชิก ภายในกลุ่มสามารถตรวจสอบการดาเนินงานของคณะกรรมการและ โครงการต่าง ๆ ท่ีทางกลุ่มได้ดาเนินการไปได้ และถ้าพบการกระทาท่ี ทุจริตหรือการช่อโกง ทางกลุ่มก็จะมีการขับไล่คนนั้นออกจากกลุ่มโดย ทันที เพื่อไม่ให้สมาชิกคนอืน่ ทาตาม และหลักการสาคัญอีกประการหน่ึง ท่ีทางกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรชาวสวนเมืองเลย ยึดเป็นหลักในการ ดาเนินการของกลุ่มคือ ศาสตร์พระราชาและหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ซึ่งประยุกต์ใช้ในการทางานภายในกลุ่มในด้านต่าง ๆ เช่น หลักการทาการเกษตร สมาชิกเน้นการทาการเกษตรโดยยึดหลักการ ทา ให้ง่าย การรู้จักแบ่งปันและให้ก่อนแล้วจึงรับ เรียบง่ายและได้ประโยชน์ สงู สดุ อยา่ งการเล้ยี งกบคอนโด การทาปยุ๋ หมกั อย่างง่าย ซง่ึ เน้นการลงทุน น้อย เรียบง่ายสมาชิกทุกคนรวมทั้งเกษตรกรที่มาดูงานสามารถทาได้ และทาแล้วใช้ประโยชน์ได้จริง นอกจากการทาการเกษตรแล้ว ในการ ดาเนินการด้านอื่น ๆ ก็นาหลักการน้ีไปปรับใช้ด้วย เช่น การทาบัญชี รายรับ รายจ่ายของทางกลุ่ม การให้โคแก่สมาชิกผู้ท่ีต้องการเลี้ยงโค โดย ให้แม่โคไปเลี้ยงก่อน เมื่อแม่โคมีลูกแล้ว จึงนาลูกโคกลับมาแทนแม่โค โดยไมต่ อ้ งเสยี คา่ ใช้จ่ายในการซ้ือ เปน็ ต้น นอกจากน้ันทางกลุ่มมีหลักการ อยู่ว่าทางกลุ่มเน้นสนับสนุนการศึกษาแก่เยาวชนในชุมชนและพ้ืนที่ ใกล้เคียง โดยการให้ทุนการศึกษาสนับสนุนการเรียน สนับสนุนค่าอาหาร กลางวันเด็ก เพ่ือเป็นการพัฒนาเยาวชนให้มีความรู้ มาพัฒนาชุมชนและ บ้านเกิดของตนเอง ซึ่งทุนทรัพย์ท่ีใช้จะเป็นเงินจากทางกลุ่มท่ีได้จากผล กาไรในการดาเนนิ การ

ทาการเกษตร การเล้ยี งสตั วแ์ ละ ทาปยุ๋ หมกั ชีวภาพ ใชป้ ระโยชน์จากมลู สตั ว์ รู้จกั ประหยัด ทาใหง้ ่าย เรยี บงา่ ย ได้ประโยชน์ สูงสดุ การมี เศรษฐกจิ ส่วนร่วม พอเพยี ง การทาบญั ชี การมี รายรบั – รายจ่าย สว่ นรว่ ม ให้ความสาคญั กบั การศกึ ษา หลักประชาธปิ ไตย การรบั ฟังความคดิ เห็น จากสมาชิกกลมุ่ ภาพแสดงการใช้ศาสตร์พระราชาไปประยกุ ต์ใช้กบั วธิ ีการปฏบิ ัตขิ องกล่มุ วสิ าหกิจ

8. กจิ กรรมในแหล่งท่องเท่ียวเชงิ เกษตร กิจกรรมท่ีให้นักท่องเท่ียวได้มีส่วนร่วมและลงมือปฏิบัติในแหล่ง ท่องเท่ยี วเชิงเกษตรส่วนมากจะเป็นการลงมือปฏิบัติกิจกรรมภายหลังการ รับฟังการบรรยายและการสาธิตจากเกษตรกร ซึ่งรูปแบบกิจกรรมจะ เก่ียวกับการเกษตร การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และการรับประทานอาหาร รว่ มกันระหว่างกล่มุ เกษตรกรและนักทอ่ งเทย่ี วเพ่ือสรา้ งความสมั พันธ์และ ความพึงพอใจ โดยรูปแบบของกิจกรรมที่ให้นักท่องเท่ียวได้มีส่วนร่วม สามารถเรยี งลาดบั กจิ กรรมทดี่ ึงดดู นกั ทอ่ งเที่ยวจากมากไปน้อยได้ ดงั นี้ 8.1 การขยายพันธ์ุพืชและทาอุปกรณ์เกษตร เช่น การทา น้าหมักชีวภาพ ตอนมะละกอ ตอนผักหวาน ไม้ห่อมะม่วง เป็นต้น กิจกรรมในส่วนน้ีนักท่องเที่ยวให้ความสนใจเป็นพิเศษ เนื่องจากได้ลง มือปฏิบัติและเน้นการทาอย่างง่าย ได้ผลจริง สามารถนากลับไปทา เองได้ ซึ่งแตกต่างรูปแบบท่ัวไปท่ีนักท่องเที่ยวเคยพบเห็นหรือเคยทา มากอ่ น

8.2 การรับประทานอาหารร่วมกันในรูปแบบบุฟเฟต์ เน้นให้ นักท่องเท่ียวอิ่ม บางกลุ่มมีการส่ังอาหารตามที่ตนชอบไว้ล่วงหน้า ทาให้ นักทอ่ งเทยี่ วเกดิ ความพงึ พอใจและอยากกลับมาเท่ยี วอกี 8.3 การแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยการทากล้วยเบรกแตกและ กล้วยฉาบ ซึ่งเป็นผลผลิตที่ได้จากท้องถิ่น กิจกรรมนี้นักท่องเที่ยวให้ ความสนใจ เน่ืองจากผลิตภัณฑ์ท่ีได้นามาเป็นอาหารว่างสาหรับ นักท่องเท่ยี วและสามารถห่อกลบั ได้ กิจกรรมทั้งหมดท่ีกล่าวมาเน้นให้นักท่องเที่ยวได้ความรู้และ สามารถนาไปปฏิบัติได้ด้วยตนเอง เน้นรูปแบบท่ีเรียบง่ายและได้ผลจริง ตลอดจนการมาท่องเท่ียวในสถานท่ีแห่งนี้แล้วนักท่องเท่ียวได้รับทั้ง ความรู้และความสุข เกิดความพึงพอใจซึ่งมีส่วนช่วยประชาสัมพันธ์ให้ แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรกรชาวสวนเมือง เลยเป็นที่รบั รูก้ วา้ งขวางมากยงิ่ ข้นึ

ภาคผนวก นกั ทอ่ งเท่ยี วท่เี ข้ามาเย่ยี มชมสวนเกษตรของกลุ่มวสิ าหกิจชมุ ชน เกษตรกรชาวสวนเมืองเลย

การบรรยายใหค้ วามรู้ดา้ นการเกษตร โดย นายทรงพล พัฒนไชย (ลุงเผือก)

การจาหนา่ ยผลิตภณั ฑใ์ นแหลง่ ท่องเทยี่ วเชิงเกษตรของกล่มุ วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรชาวสวนเมืองเลย

การจัดอาหารแบบบฟุ เฟต์ เพ่อื บริการนักทอ่ งเท่ยี ว

การให้นกั ทอ่ งเท่ยี วไดร้ ว่ มกจิ กรรม โดยการลงมอื ปฏบิ ตั ิ

คณะผจู้ ัดทา นายณรงค์ศกั ด์ิ ศริ ชิ ยั 5980110107 นายปฐมภมู ิ นาดา 5980110116 นายรัชการ คาครณ์ 5980110130 นายศตวรรษ ยอดเพชร 5980110135 นายสุริยนต์ ตะต้ยุ 5980110142 หมเู่ รียน ค. 5905 สาขาวิชาสงั คมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เลย

บรรณานุกรม กลมุ่ พฒั นาเทคโนโลยีการฝึกอบรม. (2548). ชดุ ฝึกอบรมการพฒั นาทกั ษะดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศหลกั สูตร “การสรา้ งส่ือการสอน”.กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจากัด ภาพ พมิ พ.์ ครรชติ มาลยั วงศ.์ (2540). นวตั กรรมทางเทคโนโลยี 2000. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยเู คช่นั . จีรนนั ท์ เขิมขนั ธ.์ (2561). “มมุ มองของการพฒั นาภาคการท่องเท่ียวเชิงเกษตรในประเทศ ไทย.” วารสารเกษตรพระจอมเกล้า . 36 (2) : 162-167. สืบค้นจาก http://www.agri.kmitl.ac.th/joomla30index.php/category/49-36- 2?download=341:2018-08-02-09-24-47 ณฏั ฐพงษ์ ฉายแสงประทีป. (2557, กนั ยายน –ธนั วาคม). “รูปแบบและกระบวนการดาเนิน ธุรกิจการท่องเท่ียวเชิงเกษตร.” วารสารวิชาการ มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม บางเขน. 7(3) : 313-316. สืบคน้ จาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/Veridian- E-Journal/article/download/20478 ธงชัย ศรีเบญจโชติ และคณะ. (2561). การบริหารจัดการการท่องเท่ียวเชิงเกษตรของ จงั หวดั จนั ทบรุ ี. สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). สืบค้นจาก http://elibrary.trf.or.th/project_con tent.asp?PJID=RDG5950077 นรนิ ทรช์ ยั พฒั นพงศา. (2546). การมีส่วนรว่ มหลกั การพืน้ ฐาน เทคนิคและกรณีตวั อย่าง. (พิมพค์ รง้ั ท่ี 2). กรุงเทพฯ: สริ ลิ กั ษณก์ ารพิมพ์

บรรณานุกรม ใบเฟิ รน์ วงษบ์ วั งามและมขุ สดุ า พลู สวสั ดิ์. (2556). การประเมินศกั ยภาพแหล่งท่องเท่ียว เชิงเกษตร โครงการท่ีได้รับรางวัลจากการประกวดผลงานตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงภาคการเกษตรในเขตกรุงเทพและปริมณฑล. มหาวิทยาลยั เ ท ค โ น โ ล ยี ร า ช ม ง ค ล พ ร ะ น ค ร , ก รุ ง เ ท พ ฯ . สื บ ค้ น จ า ก https://webcache.googleusercontent.com ปิ ลันธนา สงวนบุญพงษ์. (2542). การพัฒนาและการหาประสิทธิภาพหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์แบบส่ือประสม เร่ือง ส่ือส่ิงพิมพ์เพ่ือการประชาสัมพันธ์. วิทยานิพนธว์ ิทยาศาสตรม์ หาบณั ฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา, คณะ ครุศาสตรบณั ฑติ ,สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ สุธี วรประดิษฐ์. (2553). การมีส่วนร่วมของชุมชนงานสารสนเทศสานักงานส่งเสริม การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ตราด. ตราด: สานกั งาน การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ตราด สมบตั ิ นามบรุ .ี (2562). ทฤษฎีการมสี ว่ นรว่ มในงานรฐั ประศาสนศาสตร.์ วารสารวิจย วชิ าการ, 2(1), 183 – 197. สืบคน้ จาก https://www.tci-thaijo.org วษิ ณุ หยกจนิ ดา. (2557). การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการพฒั นาชมุ ชน หมบู่ า้ นท่งุ กรา่ ง ตาบลทบั ไทร อาเภอโป่งนา้ รอ้ น จงั หวดั จนั ทบรุ ี. (วิทยานิพนธป์ รญิ ญารฐั ประศาสนศาสตรม์ หาบณั ฑิต). สาขาวชิ า การจดั การภาครฐั และภาคเอกชน วทิ ยาลยั การบรหิ ารรฐั กิจ มหาวิทยาลยั บรู พา, ชลบรุ ี

บรรณานุกรม ศิริรตั น์ ชุณหคลา้ ย. (2558). การบริหารจดั การองคก์ ารตามทฤษฎีรฐั ประศาสนศาสตร.์ กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พ์ : จฬุ าลงกรณ.์ โยธิน สุริยพงศ์ และคณะ. (2550). การพฒั นาโจทยว์ ิจยั การผลิตพืชผักเมืองหนาวเพ่ือ สนับสนุนการท่องเท่ียวเชิงเกษตรของเกษตรกรในพืน้ ท่ีขนาดเล็ก อาเภอภูเรือ จังหวัดเลย. สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). สืบค้นจาก http://elibrary.trf.or.th/project_content.asp?PJID=P DG5090009 ธงชัย ศรีเบญจโชติ และคณะ. (2561). การบริหารจัดการการท่องเท่ียวเชิงเกษตรของ จงั หวดั จนั ทบรุ ี. จันทบุรี : สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และ สานกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวจิ ยั (สกว.) พทั ธย์ มล ส่ือสวัสดิ์วณิชย.์ (2558). ตน้ แบบการบริหารจัดการธุรกิจการท่องเท่ียวเชิง เกษตร อย่างมี ประสิทธิภาพในภาคตะวันออกของประเทศไทย. วารสาร มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ฉบบั ภาษาไทย. 35(1) : 103-124. มณีรตั น์ สขุ เกษม. (2559, ตลุ าคม-ธันวาคม). แนวทางการพฒั นาศกั ยภาพการท่องเท่ียว เชิงเกษตร ตาบลดงขีเ้ หล็ก อาเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี. วารสารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั ฟารอ์ ีสเทิรน์ . 10(4) : 91. วรภพ วงคร์ อด. (2561, มกราคม-มิถุนายน). แนวทางการจัดการทรพั ยากรการเกษตร แหล่ง ท่องเท่ียวเชิงเกษตร ตาบลตะเคียนเล่ือน อาเภอเมือง จงั หวดั นครสวรรค.์ วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค.์ 5(1) : 206-207.

บรรณานกุ รม สจุ ติ ราภรณ์ จสุ ปาโล. (2558). การจดั การท่องเท่ียวเชิงเกษตรโดยชมุ ชนบา้ นบางเหรียงใต้ อาเภอควนเนียง จงั หวดั สงขลา. วารสารมหาวิทยาลยั ศิลปากร ฉบบั ภาษาไทย. 35(2) : 89-103. สกุ านดา นาคะปักษิณ และคณะ. (2560, มกราคม - มีนาคม). “รูปแบบการพัฒนาการ ท่องเท่ียววิถีเกษตรอินทรีย์ในกลุ่มจังหวัดรอ้ ยแก่นสารสินธุ์”. วารสาร มจร สั ง ค ม ศ า ส ต ร์ ป ริ ท ร ร ศ น์ .6 (1 )2 0 9 –2 1 0 . สื บ ค้ น จ า ก http://www.ojs.mcu.ac.th/index.php/social/article/viewFile/2176/1552 สานักฟาร์มมหา วิทยาลัยแม่ โจ้. (2552). ท่ องโลกเชิงเกษตร . สืบค้นจา ก https://maejoagrotourism. wordpress.com. สานักบริการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. (2543). ความหมายของหนังสือ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ . สื บ ค้ น เ ม่ื อ 1 0 ตุ ล า ค ม 2 5 6 2 . จ า ก http://www.stks.or.th/elearning/index.php เสาวลกั ษณ์ ญาณสมบตั ิ. (2545). การพฒั นาหนงั สืออิเล็กทรอนิกส์ เร่ือง นวัตกรรมการ สอนท่ียึด ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ.วิทยานิพนธศ์ ึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชา เทคโนโลยีการศกึ ษา, คณะ ศกึ ษาศาสตร,์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ Barker, P. (1992, July). Electronic books and libraries of the future. The Electronic Library, 10, 139-149


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook