โครงการวจิ ัย ท่ีศูนย์เบาหวานศิริราชมีส่วนรว่ ม Ongoing Research Project at Siriraj Diabetes Center of Excellence 1. โครงการลงทะเบยี นผเู้ ปน็ เบาหวานคณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล Diabetes Registry in Faculty of Medicine Siriraj Hospital 2. โครงการตดิ ตามผลการพฒั นาระบบและเครอื ข่ายบรบิ าลผปู้ ว่ ยเบาหวาน ชนิดที่ 1 Outcome of Thai Diabetes Self-Management Program and Networking System among Type 1 Diabetes Patients (Thai DSMP-NS Study) 3. โครงการลงทะเบยี นผปู้ ่วยเบาหวานชนดิ ที่ 1 และเบาหวานท่วี นิ จิ ฉยั ก่อนอายุ 30 ปี Type 1 Diabetes and Diabetes diagnosed at Age less than 30 years old Registry (T1DDAR) 4. ผลของการใหค้ วามรเู้ พอื่ การจดั การตนเองของผ้เู ปน็ เบาหวานชนิดที่ 2 โดย certified diabetes educator ศนู ย์เบาหวานศริ ิราช ต่อการควบคมุ เบาหวานและคณุ ภาพชวี ิตของผปู้ ว่ ย Effect of Diabetes Self-management Education by Siriraj Certified Diabetes Educator on Diabetes Control and Quality of Life in Patients with Types 2 Diabetes 5. การลงทะเบียนเด็กและวยั รนุ่ เบาหวานตามแบบ SWEET-PROJECT และการประเมนิ ปญั หาทาง สขุ ภาพจิตของเดก็ วยั ร่นุ เบาหวาน Pediatric Diabetes Registry based on SWEET-PROJECT and Psychosocial Evaluation of Adolescents with Diabetes 6. การดาเนินโรคและการตอบสนองตอ่ การรักษาโรคเบาหวานในผปู้ ว่ ยเบาหวานชนดิ ทสี่ องกลมุ่ ตา่ งๆ โดยใชข้ ้อมลู จากผ้ปู ่วยในโครงการวิจัยเร่ือง การลงทะเบยี นผเู้ ปน็ เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ ศริ ริ าชพยาบาล Disease Progression and Treatment Responses in Subgroups of Type 2 Diabetes Using Data from Diabetic Registry in Faculty of Medicine Siriraj Hospital 47
โครงการวิจัยที่ศูนย์เบาหวานศิริราชมีส่วนร่วม โครงการวิจยั การลงทะเบยี นเด็กและวัยรุ่นเบาหวาน ตามแบบ SWEET-PROJECT และการประเมินปัญหา ทางสุขภาพจิตของเด็กวัยรุ่นเบาหวาน Pediatric Diabetes Registry based on SWEET-PROJECT and Psychosocial Evaluation of Adolescents with Diabetes ศูนย์ เบาหวานศิริราชร่วมกับส าขาต่อมไร้ท่อ และเม แทบอลิซึม ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ และสาขาต่อมไร้ท่อและเมตะบอลิสม ภาควิชา อายรุ ศาสตร์ คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล จดั ทาโครงการวจิ ัยการลงทะเบียน เด็กและวัยรุ่นเบาหวานตามแบบ SWEET-PROJECT โดยทีมผู้วิจัยศิริราชได้เพิ่ม การเกบ็ ขอ้ มูลในส่วนประเมินปญั หาทางสขุ ภาพจติ ของเด็กวัยรุ่นเบาหวาน ท้ังน้ีโครงการลงทะเบียนข้อมูลผู้เป็นเบาหวานเด็กและวัยรุ่นร่วมกับกลุ่ม วิจัยระดับนานาชาติคือ โครงการ SWEET (Better control in Pediatric and Adolescent diabeteS : Working to crEate CEnTers of Reference) ซึ่งเป็น องค์กรการกุศลท่ีทางานใกล้ชิดกับสมาคมที่เกี่ยวกับ โรคเบาหวาน เช่น International Society for Pediatric and Adolescent Diabetes (ISPAD) และ International Diabetes Federation (IDF) เพื่อพัฒนาความรู้ การ ศกึ ษาวจิ ยั และมาตรฐานการดูแลรกั ษาผู้ป่วยเบาหวานในเด็กและวัยรุ่นสรู่ ะดบั สากล โครงการได้ผ่านการรับรองจาก Siriraj Ethic Committee โดยเริ่มเก็บ ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2564 ปัจจุบันมีผู้ร่วมวิจัยทั้งหมด 92 ราย และได้ ถ่ายโอนข้อมูลผรู้ ว่ มวิจัย 39 ราย ไปยังศูนย์ใหญ่ SWEET เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2564 และได้รับรายงานขอ้ มลู กลับมาเปน็ Benchmarking report สรปุ จานวนผู้ร่วมวจิ ัยแบง่ ตามชนดิ ของโรคเบาหวาน ชนิดของโรคเบาหวาน จานวนผู้รว่ มวจิ ยั (คน) Type 1 80 Type 2 10 2 Other type 92 รวม SWEET Group ข้อมลู ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2564 โรงพยาบาลศริ ริ าชเป็น centre แรกใน South East Asia ท่ี เขา้ ร่วม SWEET registry 48
Siriraj Diabetes Collaborative and Research Meeting ทีม SiCORE-DO ฝ่ายวิจัยคณะแพทยศาสตร์ 4. Siriraj Interdisciplinary Diabetic Lower ศิรริ าชพยาบาล และศูนย์เบาหวานศิริราช ร่วมจัด Extremity Care Team (SiDiLECT) โดย งานประชมุ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ กิจกรรม ด้านการวิจัย รศ.พญ.กุลภา ศรีสวัสดิ์ นวัตกรรม การดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหวานของ หน่วยงานต่างๆ ตั้งแต่ปี 2014 จนถึงปัจจุบัน 5. Gestational Diabetes Holistic care team (2021) ตอ่ เนอ่ื งมาเป็นเวลา 7 ปี โดย รศ.ดร.นพ.ดิฐกานต์ บริบูรณ์หิรัญสาร ส าหรับในปี 2021 การประชุม 8thSiriraj 6. SiCORE-DO Research Highlight โดย Diabetes Collaborative and Research รศ.นพ.ณัฐเชษฐ์ เปล่งวิทยา Meeting: Access to Diabetes Care เมื่อวัน พฤหัสบดีที่ 11 พฤศจิกายน 2564 เวลา 09.00- 7. Prediabetes and Clinical research โดย 12.00 น. ผ่านระบบ Zoom Cloud Meetings รศ.นพ.วีรชัย ศรีวณิชชากร เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมด้านการวิจัย การพฒั นาวิธกี ารรกั ษา และการดแู ลผู้ป่วยเบาหวาน ในปนี ี้มผี เู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 55 คน โดยการ ของหน่วยงานต่างๆ จดั กจิ กรรมครัง้ นี้ บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ดว้ ยดี โดยหวั ข้อการแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ ิจกรรมดา้ นการ วิจัย การพัฒนาวิธีการรักษา การดูแลผู้ป่วย เบาหวานของหน่วยงานต่างๆ มดี งั ตอ่ ไปนี้ 1. Access to Care: Siriraj T1D Journey โดย ศ.คลินิก พญ.สุภาวดี ลิขิตมาศกุล ประธานศูนย์ เบาหวานศริ ิราช 2. 5G and digital platform โดย รศ.นพ.เชิดชัย นพมณจี ารสั เลศิ รองผูอ้ านวยการโรงพยาบาลศริ ิราช 3. The effect of diabetes self-management education โดย พว.กันยารตั น์ วงษ์เหมือน งานการ พยาบาลกุมารเวชศาสตร์ ฝ่ายการพยาบาล พว.นลินนาฏ ธนบุญสนธิ งานการพยาบาล ตรวจ รกั ษาผู้ปว่ ยนอก ฝ่ายการพยาบาล 49
เยี่ยมชมศูนยเ์ บาหวานศริ ิราช ต้ังแตต่ ุลาคม 2563 – กันยายน 2564 ในวันพฤหสั บดที ่ี 10 กมุ ภาพันธ์ 2564 เวลา 13.00-14.00 น. นาโดย รศ.พญ.กลุ ภา ศรีสวสั ดิ์ ตาแหน่งรองผู้อานวยการโรงเรียนกายอุปกรณ์สิรินธร นานักศึกษาปริญญาโท หลักสูตร Master of Science Program in Prosthetics and Orthotics (International Program) เข้าเยี่ยมชมศูนย์ เบาหวานศริ ริ าช มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบการให้บริการที่ศูนย์เบาหวานของทีมสหสาขา วิชาชีพ และรู้จักการทางานเป็นทีม เป็นระบบ รู้บทบาทนักกายอุปกรณ์ในทีมเบาหวาน มีนักศึกษาจา นวน 11 คน เข้าเยีย่ มชมแบ่งเปน็ คนไทย 1 คน และตา่ งชาติ 10 คน (พม่า กมั พชู า ญีป่ นุ่ ) โรงเรียนกายอุปกรณ์สิรินธร ระดบั ปริญญาโทและปรญิ ญาเอกด้านกายอุปกรณ์ (Sirindhorn School of Prosthetics and ซงึ่ เป็นหลกั สตู รแรกของทวีปเอเชียและหลักสูตรท่ี Orthotics) เป็นโรงเรียนที่มุ่งผลิตบัณฑิตนักกาย สองของโลก รับนักศึกษาที่ต้องการต่อยอด อุปกรณ์ที่มีความรู้และทักษะทางวิชาชีพเพื่อ องค์ความรู้ สร้างสรรค์นวัตกรรมผ่านการทางาน ตอบสนองความต้องการของผู้ที่มีความบกพร่อง วิจัยทีม่ ีความซบั ซ้อนและมแี บบแผน โดยหลักสูตร ทางการเคลื่อนไหวที่มีอยู่ทั่วโลก โดยการจัดการ ปริญญาโท Master of Science Program in เรียนการสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต Prosthetics and Orthotics (International สาขากายอุปกรณ์ หลักสูตรไทย หลักสูตร Program) และหลักสูตรปริญญาเอก Doctor of นานาชาติ และหลักสูตรแบบเรียนทางไกล Philosophy Program in Prosthetics and ผสมผสานซง่ึ เป็นหลักสูตรนานาชาติ ที่เปิดโอกาส Orthotics (International Program) ซึ่งเป็น ใหน้ ักศึกษาจากทว่ั ทุกมุมโลกได้เข้าถึงการศึกษาท่ี หลักสูตรนานาชาติ มคี ุณภาพในระดับสากล และมหี ลักสูตรนานาชาติ 50
ความร่วมมอื ภายในประเทศ เครือข่ายบริบาลและการลงทะเบียนเบาหวานชนดิ ที่ 1 และเบาหวานวนิ จิ ฉยั กอ่ นอายุ 30 ปี ประเทศไทย Thai Type 1 Diabetes and Diabetes diagnosed before Age 30 years Registry, Care and Network (T1DDAR CN) ความคบื หน้าปี 2564 ในปี 2564 เครือข่าย T1DDAR CN มี โรงพยาบาลเข้าร่วมทั้งสิ้น 63 โรงพยาบาล 13 เขต บริการสุขภาพ เป็นการดาเนินงานภายใต้สมาคม โรคเบาหวานแหง่ ประเทศไทยฯ สมาคมต่อมไร้ทอ่ เดก็ และ วัยรุ่นไทย สานักงานหลักประกันสุขภาพ ร่วมกับ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ได้สนับสนุนเงินทุนวิจัย เป็นปีที่ 2 (มิถุนายน 2564–พฤษภาคม 2565) โดยมี สานักงานชั่วคราวที่ ศูนย์วิจัยการแพทย์ศิริราช “อาคาร เฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา” (SIMR) ชั้น 9 และ ศูนย์เบาหวานศิริราช การดาเนินงานด้าน DSMP NS และ T1DDAR CN ทเ่ี กี่ยวข้องกับเครือข่ายได้รับการดูแล โดยคณะกรรมการ T1DDAR CNC ศ.คลินิก พญ.สุภาวดี ลิขติ มาศกลุ เป็นเลขานุการ เน่ืองจากสถานการณโ์ ควิด-19 มีการพัฒนาทีม ตอ่ เนื่องด้วยการสอน DSME Online ผ่านระบบ ZOOM ใหแ้ ก่โรงพยาบาลเครอื ขา่ ย จานวนท้ังสนิ้ 5 เรื่อง ดังนี้ 1) DSME Module 10 “Type1 Diabetes and Pregnancy” 2) การลงข้อมูล REDCAP และคาถามที่พบ บ่อย 3) DSME Module 9 “Travel with Diabetes, Driving, Smoking, Alcohol, Drug” 4) DSME Module 11 “Psychosocial Issues” และ 5) DSME Module 3 + 4 “Healthy diet and CHO counting + Monitoring of Glycemic control in Type 1 Diabetes” และให้คาปรึกษาการวินิจฉัยและการรักษา เบาหวานชนดิ ท่ี 1 ร่วมกับโรงพยาบาลสุไหงโกลก ทาง Online 1 ครัง้ 51
เครือขา่ ยบริบาลและการลงทะเบยี นเบาหวานชนดิ ที่ 1 และเบาหวานวินิจฉัยกอ่ นอายุ 30 ปี ประเทศไทย (T1DDAR CN) ในส่วนของ โครงการ DSMP NS ได้รับอนุมัติ บัตรประจาตัวผู้ป่วยในโครงการฯ เพื่อใช้ในการ สนับสนุนผู้ป่วยสิทธิหลักประกันสุขภาพ ปี 2564 แสดงตนที่ห้องการเงินเพื่อรับอุปกรณ์สิทธิประโยชน์ท่ี จานวน 1,643 ราย จาก 58 โรงพยาบาล โดยผู้ป่วย ไดร้ บั ตามโครงการฯ เบาหวานชนิดที่ 1 ที่รับบริการของโรงพยาบาล ศริ ิราชเข้าร่วมในโครงการนี้รวมทั้งหมด 241 รายมี ตราประทับของโครงการฯ ระบุในใบสั่งยาของ จานวน 57 รายจากภาควิชาอายุรศาสตร์โดยมี โครงการฯ จัดทา จานวน 3 อัน นาไว้ที่ห้องดาวน์โหลด เจ้าหนา้ ท่ีวิจยั ของศูนย์เบาหวานเป็นผู้ประสานงาน ผลระดบั น้าตาลคลินิกเบาหวานเด็กและวัยรุ่น ภาควิชา และลงข้อมลู มจี านวน 184 ราย จากภาควิชากุมาร กุมารเวชศาสตร์, คลินิกเบาหวาน ภาควิชาอายุรศาสตร์ เวชศาสตร์ บุคลาการจากสาขาต่อมไร้ท่อและ และศนู ย์เบาหวานศิรริ าช เมแทบอลิซึมเป็นผู้ประสานงานและลงข้อมูล การ จัดสรรชุดสิทธิประโยชน์เพิ่มเติมของผู้ป่วยทั้ง 241 ความร่วมมือภายในประเทศ ราย ศูนย์เบาหวานได้มีการดาเนินการร่วมกับงาน เงินรายได้ ฝ่ายการคลัง งานสิทธิประกันสุขภาพ และฝา่ ยเภสัชกรรม เพอื่ จัดทาแนวทางการเบิกจ่าย แผ่นตรวจน้าตาล และ Ketone ในปัสสาวะ อย่าง เป็นระบบ โดยมีใบสั่งยาเฉพาะของโครงการฯ และ ผู้ป่วยมีบัตรประจาตัวโครงการฯ (รายละเอียด รูปภาพตามแนบ) รปู แบบการดาเนนิ งานบริการผูป้ ่วยเบาหวานชนดิ ที่ 1 สทิ ธ์ิสปสช. DSMP NS ปงี บประมาณ 2564 ในส่วนโครงการ T1DDAR เมื่อ สิ้นสุดตุลาคม 2564 มีผู้ป่วยเบาหวาน ศิริราชร่วมลงทะเบียน รวม 425 ราย (อายุรศาสตร์ 166 ราย กุมารเวช- ศาสตร์ 259 ราย) จากข้อมูลรวม 63 รพ. ท้งั ส้ิน 2,960 ราย 52
ความร่วมมอื ภายในประเทศ โครงการ “ศิริราช ต้นแบบ โรงพยาบาลระดบั โลกดว้ ย เทคโนโลยีเครอื ขา่ ย 5G” “Siriraj World Class 5G Smart Hospital” โรงพยาบาลศิริราช ร่วมกับ สานักงานคณะกรรมการกิจการ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และ ก ิ จ ก า ร โ ท ร ค ม น า ค ม แ ห ่ ง ช า ติ (กสทช.) และ บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จากัด (HUAWEI) ไดร้ ่วมมือกนั พัฒนาและ นาเทคโนโลยีเครือข่าย 5G และ ร ะ บ บ ป ั ญ ญ า ป ร ะ ด ิ ษ ฐ ์ ม า ใ ช้ ประโยชน์ในทางการแพทย์เพื่อให้ โรงพยาบาลศิริราชเป็นต้นแบบของ โรงพยาบาลอจั ฉริยะ โดยมีโครงการ ต้นแบบ 8 โครงการ หน่ึงในน้ันคือ โครงการ “การพฒั นาแอปพลิเคชนั ด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์เพื่อส่งเสริมการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (เบาหวาน)” โดยการพัฒนาแอปพลเิ คชันสาหรับผ้ปู ่วยทรี่ วบรวมขอ้ มูลสุขภาพจากอุปกรณ์ติดตามสุขภาพต่างๆ ได้แก่ glucometer, continuous glucose monitoring system (CGMs), เครื่องวัดความดันโลหิตและนาฬิกาเพื่อสุขภาพ รวมถึงฟงั กช์ ันการถา่ ยรูปและบันทึกอาหารเพื่อเป็นข้อมูลสาหรับผู้เป็นเบาหวานในการดูแลตนเองและระบบแสดงผล ข้อมลู ผปู้ ว่ ยสาหรบั บคุ ลากรทางการแพทย์ ทีท่ าให้ลดระยะเวลาในการพบแพทยแ์ ละลดการมาโรงพยาบาลมากเกนิ ความจาเป็น ศูนย์เบาหวานศิริราช ร่วมกับอาจารย์ ผเู้ ชย่ี วชาญด้านเบาหวานจากสาขาวิชาต่อมไร้ท่อ และสาขาบริบาลผู้ป่วยนอกภาควิชาอายุรศาสตร์ รว่ มเปน็ ที่ปรกึ ษาใหก้ ับบริษัท BKK Management Group Co., Ltd ซึ่งเป็นผู้พัฒนาแอปพลิเคชัน ของโครงการ โดยเริ่มวางแผนดาเนินการตั้งแต่ เดือนมถิ นุ ายน 2564 ร่วมกับ BKK Management Group Co., Ltd. และทมี ลกู คิด โดยเริ่มสัมภาษณ์ ความต้องการของผู้ใช้แอปพลิเคชันและทีมดูแล เบาหวานศิรริ าชศึกษาข้อมลู และความเปน็ ไปไดใ้ นการพัฒนาแอปพลิเคชันและระบบประมวลผลแสดงข้อมูลสุขภาพโดยรวม จนถงึ ปัจจบุ ันอยู่ในข้นั ตอนการออกแบบและสรา้ งแอปพลิเคชันใหมเ่ พอ่ื ใหค้ รอบคลุมทุกมติ สิ ุขภาพอย่างมสี ขุ ภาวะ 53
บคุ ลากรศนู ย์เบาหวานศริ ิราช แพทย์ ประธานศูนยเ์ บาหวานศริ ริ าช 1. ศ.คลนิ กิ พญ.สุภาวดี ลขิ ิตมาศกุล กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ ารศนู ยเ์ บาหวานศิริราช 2. พญ.ลกั ขณา ปรีชาสุข นกั สุขศึกษา ผ้ใู ห้ความร้เู บาหวาน นักสุขศึกษา 3. นายไชยพร พลมณี นักสุขศกึ ษา 4. นายศราวุธ อปุ ระรัตน์ นักสุขศึกษา 5. นางสาววรศิ รา บญุ ยวง นกั สุขศึกษา 6. นางสาวณภาภสั ทรัพย์อปั ระไมย นกั วชิ าการโภชนาการ 7. นางสาวสุภาธิณี เทศธรรม นกั วิชาการโภชนาการ 8. นางสาวพจนรรถ์ รเี รอื งชยั 9. นางสาวภริตพร เทศดนตรี พยาบาล ผู้ช่วยพยาบาล พยาบาลและผู้ช่วยพยาบาล ผู้ชว่ ยพยาบาล 10. นางอบุ ล วรมงคลชัย ผูช้ ว่ ยพยาบาล 11. นางนารี สระทอง ผู้ชว่ ยพยาบาล 12. นางรัชนี สขุ เกษม 13. นางสาวอไุ รพร คุ้มครอง เจา้ หน้าที่วิจัย 14. นางสาวธนดิ า สุทธิแสน เจา้ หนา้ ท่วี จิ ยั นกั วจิ ัย เจา้ หนา้ ท่ีบริหารงานท่วั ไป 15. นางสาวสรุ ิศา อาลยั เจ้าหน้าทบี่ รหิ ารงานท่วั ไป นกั วิชาการศึกษา 16. นางสาวชนกนนั ท์ ลกั ษมเี จริญชยั หลกั สูตรประกาศนยี บตั รผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน เจา้ หนา้ ที่ทว่ั ไป สานักงาน 17. นางสาวตอ้ งฤทัย จรดล 18. นางสาวเวฬุรีย์ โชติกิจนุสรณ์ 19. นางสาวธาวนิ ี วลิ ามาศ 20. นางสาวจาเรียง ใตร้ ่มบญุ 54
ท่ปึ รกึ ษาอาวโุ ส บคุ ลากรศนู ย์เบาหวานศริ ริ าช 1. รศ.พรศรี ศรอี ัษฎาพร ท่ีปรึกษาศูนย์เบาหวานศริ ริ าชเเละกรรมการหลักสูตร 2. อาจารยศ์ รสี มยั วิบลู ยานนท์ ประกาศนียบัตรผใู้ ห้ความรเู้ บาหวาน ทปี่ รกึ ษาศูนยเ์ บาหวานศริ ิราชเเละนกั โภชนาการ 3. นางคัทรี ชัยชาญวัฒนากลุ ชานาญการอาวโุ ส ทป่ี รกึ ษาศนู ย์เบาหวานศริ ริ าชดา้ นงานบริหารงานท่ัวไป เจ้าหนา้ ที่โครงการ ผปู้ ระสานงานโครงการ การลงทะเบยี นผปู้ ่วยเบาหวาน 1. นางจริ าพร นลิ สุ ชนิดท่ี 1 เเละผปู้ ่วยเบาหวานวินิจฉยั กอ่ นอายุ 30 ปี เเละการบริบาลผู้ปว่ ยเบาหวานชนดิ ท่ี 1 (T1DDAR CN) บรรณาธิการ ศ.คลนิ ิก พญ.สภุ าวดี ลิขิตมาศกุล พญ.ลักขณา ปรชี าสขุ รวบรวมขอ้ มลู นางสาวตอ้ งฤทยั จรดล ออกแบบและจัดทารูปเลม่ นางสาวภริตพร เทศดนตรี 55
Search