Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเล่มฐานขยะ

รวมเล่มฐานขยะ

Published by กศน. ตำบลสาลี, 2022-06-27 14:21:22

Description: รวมเล่มฐานขยะ

Search

Read the Text Version

ฐานการเรยี นรู การบรหิ ารจัดการขยะ 1. ชื่อวิชา : รายวชิ าวสั ดศุ าสตร พว32024 เรื่องการคัดแยกขยะและการรีไซเคิลวัสดุ 2. สาระการเรยี นรู : ความรูพนื้ ฐาน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3. มาตรฐานการเรียนรู สาระความรูพื้นฐานเปนสาระเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรูของผูเรียนในดานการเรียนรูดวย ตนเองการใชแ หลง เรียนรู การจดั การความรู การคดิ เปน และการวิจัยอยางงา ย โดยมวี ตั ถปุ ระสงค เพ่อื ใหผูเรียน สามารถกำหนดเปาหมาย วางแผนการเรียนรูดวยตนเองเขาถึงและเลือกใชแหลงเรียนรู จัดการความรู กระบวนการแกปญหาและตัดสินใจอยา งมเี หตผุ ล ที่สามารถใชเปน เคร่ืองมือในการช้ีนำตนเองในการเรียนรแู ละ การประกอบอาชีพใหสอดคลองกับหลกั การพืน้ ฐาน และการพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุม อาชีพใหม คือ เกษตรกรรม อุตสาหกรรมพาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค การบริหารจัดการและการบริการ ตามยุทธศาสตร 2555 กระทรวงศึกษาธิการ ไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิตดังนั้น สาระความรูพื้นฐาน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตปลาย มมี าตรฐานการเรยี นรรู ะดับดงั น้ี 1. สามารถวเิ คราะห เห็นความสำคญั และปฏบิ ตั กิ ารแสวงหาความรูจากการอา น ฟง และสรุป ไดถ ูกตอ งตามหลักวิชาการ 2. สามารถจำแนก จดั ลำดบั ความสำคัญ และเลือกใชแ หลงเรยี นรูไดอยา งเหมาะสม 3. สามารถจำแนกผลทเ่ี กิดขึ้นจากขอบเขตความรู ตดั สนิ คณุ คา กำหนดแนวทางพฒั นา 4. ความสามารถในการศกึ ษา เลอื กสรร จัดเกบ็ และการวเิ คราะห สังเคราะหข อ มูลทั้งสามประการและ การใชเทคนคิ ในการฝกทกั ษะ การคิดเปน เพอื่ ใชประกอบการตัดสนิ ใจแกปญหา 5. สามารถวิเคราะหป ญ หา ความจำเปน เหน็ ความสมั พนั ธข องกระบวนการวิจัยกับการนำไปใชในชวี ิต และดำเนนิ การวจิ ัยทดลองตามข้นั ตอน 6. สามารถจำแนก และวิเคราะห ทกั ษะการเรียนรู และศกั ยภาพหลักของพ้นื ทใ่ี นการเพิ่มขีด ความสามารถของการประกอบอาชพี ใน 5 กลมุ อาชพี ใหม 4. ตวั ช้ีวัด : เรือ่ งการคัดแยกและการรไี ซเคลิ วัสดุ 1. อธิบายหลกั 3R ในการจดั การวสั ดแุ ละแนวทางดาํ เนินการทเี่ หมาะสมได 2. นาํ ความรูเรอ่ื งหลัก 3R ไปใชในการจัดการวสั ดุได 3. อธิบายวิธกี ารรไี ซเคลิ วัสดุแตละประเภทได 4. นําความรูเ ร่อื งการรไี ซเคิลวสั ดุแตละประเภทไปใชได

แผนการจดั การเรียนรู รายวิชาวัสดุศาสตร พว32024 จำนวน 3 หนว ยกิต สาระการเรียนรู ความรพู ้นื ฐาน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย แบบ พบกลมุ จำนวน 6 ช่วั โมง ครั้งท่ี 11 ช่ือเรื่อง การคดั แยกขยะและการรไี ซเคิลวัสดุ เน้ือหา การจดั การวัสดดุ วยการรีไซเคิล การบูรณาการกบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. ความพอเพียง 1.1 ความพอประมาณ ครูมีการวิเคราะหเนื้อหาของแผนการจัดการเรียนรู ออกแบบสื่อ กิจกรรมการเรียน การสอนทต่ี รงกับตัวชี้วัดและเน้อื หาที่กำหนด 1.2. ความมีเหตผุ ล - ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหบรรลุวัตถุประสงค ตัวชี้วัดและเนื้อหาของ แผนการจัดการเรียนรู - ครมู อบหมายงานใหเ หมาะสมกบั ความสามารถของผเู รียนแตล ะคน 1.3 การมีภูมคิ ุมกันในตวั ทดี่ ี - มีการวางแผน ออกแบบกิจกรรมการเรียนรใู หตรงกับแผนการจัดการเรียนรู - เรียงลำดบั เนือ้ หาจากงายไปหายาก 2. คุณธรรมกำกบั ความรู 2.1 เงือ่ นไขความรู - ครูเตรียมการสอนและกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนที่สอดคลองกับตัวชี้วัด เนื้อหา - ครมู วี ิเคราะหศักยภาพของผูเรยี นรายบคุ คล - ครูมีการใชสื่อ-อุปกรณ เทคโนโลยีที่ทันสมัยชวยในการจัดการเรียนการสอนใน รูปแบบตา งๆ 2.2 เงือ่ นไงคุณธรรม - มีความรับผดิ ชอบ - ตรงตอ เวลา - มคี วามขยนั หม่ันเพียร/หาความรูอ ยเู สมอ - มีความ เมตตา กรุณาตอลกู ศษิ ย - มีความซ่ือสตั ย/ยตุ ธิ รรม ข้ันตอนการจัดกระบวนการเรยี นรู ข้นั ท่ี 1 การกำหนดสภาพปญหา ความตอ งการในการเรยี นรู ครู นำเขาสูบทเรยี น โดยพดู คยุ ถึงเรอ่ื งการคัดแยกขยะและเศษวัสดุทใ่ี ชแ ลว ตามวธิ กี ารคัดแยก โดยใชสเี ปน ตวั กำหนดการแยกขยะและเศษวัสดใุ ชแ ลวแตล ะชนดิ และใหผูเ รยี นบอกวา ท่ีบา น และ ชมุ ชน ท่อี าศัยอยู ไดคดั แยกขยะและวัสดุทใ่ี ชแ ลวตามสที ่ีกำหนดไวห รือไม

ขั้นที่ 2 การแสวงหาขอมูลและจดั การเรยี นรู 1. ครอู ธิบายความหมาย ความสำคัญของการคดั แยกขยะ หลกั 3 R และวัสดุทใี่ ชแลว 2. ครอู ธิบายแนวโนม การใชวัสดแุ ละทิศทางการพัฒนาวสั ดุ ในอนาคตแบงไดเ ปน 3 ประเภท ไดแ ก โลหะ พอลิเมอร และ เซรามิกซ 3. ครแู บง กลุม ผูเรียน ออกเปน 4 กลมุ ๆ ละ เทา ๆ กัน มอบหมายใหผ ูเรียนหาขอ มูลจากใบ ความรแู ละอินเตอรเ นต็ ในหวั ขอ ตอ ไปน้ี - หลกั 3R ในการจัดการวสั ดุ - การจัดการวสั ดุดว ยการรไี ซเคลิ - แนวโนม การใชวสั ดุในอนาคต - ทศิ ทางการพัฒนาวัสดุในอนาคต 4. ครใู หผูเรยี นสง ตวั แทนออกมานำเสนอหนาชน้ั เรียน ข้นั ท่ี 3 การปฏิบัติและนำไปประยุกตใช 1. ผูเรียนสง ตวั แทนออกมานำเสนอหนา ชน้ั เรียน 2. ผูเ รียนจัดทำใบงานและทดสอบยอย 3. ครเู ฉลยใบงานและทดสอบยอ ย และรวมกันสรุปองคความรูทีไ่ ด เพื่อนำไปประยุกตใชใน ชีวติ ประจำวัน ข้นั ท่ี 4 การประเมนิ ผล 1. ใบงาน 2. แบบทดสอบยอย สื่อ 1. หนังสือเรียน 2. อนิ เทอรเน็ต เชน Youtube , google 3. ใบความรู 4. แหลง เรยี นรูในตำบล การวดั ผลและประเมินผล การตรวจผลงานจากใบงาน และ การการทดสอบยอย

ใบความรู คร้ังท่ี 11 รายวชิ าวัสดุศาสตร พว32024 จำนวน 3 หนว ยกติ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เรอื่ ง การคดั แยกและการรไี ซเคลิ วัสดุ /แนวโนม การใชว ัสดุและทศิ ทางการพัฒนาวัสดุในอนาคต การจัดการวสั ดุดว ยการรีไซเคิล แนวคิด 3R R : Reduce คือ การลดการใช การบริโภคทรัพยากรที่ไมจำเปนลง ลองมาสำรวจกันวา เราจะลดการบริโภค ที่ไมจำเปนตรงไหนไดบา ง โดยเฉพาะการลดการบริโภคทรัพยากรที่ใชแลวหมดไป เชน น้ำมัน กาซธรรมชาติ ถานหิน และแรธาตุ ตาง ๆ การลดการใชนี้ ทำไดงาย ๆ โดยการเลือกใชเทาที่จำเปน เชน ปดไฟทุกครั้งที่ไมใ ช งานหรือเปดเฉพาะจุดที่ใชงาน ปดคอมพิวเตอรและเครื่องปรับอากาศ เมื่อไมใชเปนเวลานาน ๆ ถอดปล๊ัก ของเครื่องใชไฟฟา เชน กระติกน้ำรอนออกเมื่อไมไดใช เม่ือตองการเดินทางใกล ๆ ก็ควรใชวิธีเดิน ข่ีจักรยาน หรือนั่งรถโดยสารแทนการขับรถไปเอง เปนตน เพียงเทานี้เราก็สามารถเก็บทรัพยากรดานพลังงานไว ใชไ ดนานข้ึน ประหยดั พลังงานและอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมอกี ดวย R : Reuse คือ การใชทรัพยากรใหคุมคาที่สุด โดยการนำสิ่งของเครื่องใชมาใชซ้ำ ซึ่งบางอยางอาจใชซ้ำได หลาย ๆ คร้ัง เชน การนำชุดทำงานเกาทีย่ งั อยูในสภาพดีมาใสเลนหรือใสนอนอยูบ านหรือนำไป บริจาค แทนที่ จะทง้ิ ไปโดยเปลาประโยชน การนำกระดาษรายงานท่ีเขยี นแลว 1 หนา มาใชใ นหนาท่เี หลือหรอื อาจนำมาทำเปน กระดาษโนต ชวยลดปริมาณการตัดตนไมไดเปนจำนวนมาก การนำขวดแกวมาใสนำ้ รับประทานหรือนำมา ประดิษฐเปนเครื่องใชตางๆ เชนแจกันดอกไมหรือที่ใสดินสอ เปนตน นอกจากจะชวยลดคาใชจาย ลดการใช พลังงานพลังงานแลว ยงั ชว ยรักษาสิ่งแวดลอ มและยังไดข องนารักๆ จากการประดิษฐไวใชงานอีกดว ย R : Recycle คือ การนำหรือเลอื กใชทรัพยากรที่สามารถนำกลับมารไี ซเคิล หรือนำกลับมาใชใหม เปนการลดการใช ทรัพยากรในธรรมชาติจำพวกตน ไม แรธาตุตาง ๆ เชน ทราย เหล็ก อลูมิเนียม ซึ่งทรัพยากรเหลานี้ สามารถ นำมารไี ซเคิลไดยกตวั อยางเชน เศษกระดาษสามารถนำไปรีไซเคิลกลับมาใชเปนกลองหรือถุงกระดาษ การนำ แกวหรอื พลาสตกิ มาหลอมใชใหมเปนขวด ภาชนะใสข อง หรือเคร่อื งใชอ น่ื ๆ ฝากระปอ งนำ้ อดั ลมก็สามารถนำมา หลอมใชใ หมหรือนำมาบรจิ าคเพ่ือทำขาเทยี มให กบั คนพกิ ารได (ทมี่ า: yongrecycle.blogspot.com/2012/06/3r-5r.html ) ความรูเก่ยี วกับการจดั การและการใชประโยชนจากขยะรีไซเคลิ การจัดการและการใชประโยชนจากขยะ สำหรับประเทศไทยนับวา เปนเรือ่ งที่ดที ี่มีกลุมคนที่ทำหนาท่ี คัดแยกขยะจากบานเรือน เพื่อนำขยะเหลานี้กับมารีไซเคลิ ใหม กลุมบุคคลเหลานี้ คือ ผูประกอบอาชีพเก็บ และรบั ซ้อื ของเกาท่ีเปนกลไกที่สำคญั ในการคัดแยกขยะ ซึง่ ในการคัดแยกขยะผปู ระกอบอาชพี น้ีจะตองทราบวา ขยะประเภทใดบางท่ีเปนความตองการของตลาดรีไซเคิลและควรจัดการกับขยะเหลา นี้อยางไรกอนนำไปขาย เพ่ือใหไ ดราคาดี

1. ประเภทพลาสติก รูปภาพตัวอยาง ขยะประเภทพลาสตกิ มีจำนวนเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว เพราะสินคาและบรรจุภณั ฑตาง ๆ สวนมากทำมา จากพลาสติก เชน ขวดนม กระปองยา ขวดอาหาร เปนตน เนื่องจากคุณสมบัติที่เหมาะสมของพลาสติกซึ่งมี นำ้ หนกั เบา สสี ันสวยงาม ไมเ ปน สนิม ทนทาน และมหี ลายประเภทจงึ ทำใหส ามารถนำพลาสติกมาใชประโยชน ไดหลากหลาย ถงึ แมวาพลาสตกิ ไมส ามารถยอยสลายไดโดยธรรมชาติ ดงั น้นั จงึ ทำใหย ากตอการกำจัดโดยการฝง กลบ แตก ารกำจดั ขยะพลาสติกโดยการฝง กลบไมใชว ิธกี ารท่ถี ูกตอ ง เนื่องจากขยะพลาสตกิ สามารถนำกลับมาใช ใหมไดเกือบทุกประเภท พลาสติกที่ไมสามารถรีไซเคอลได ไดแก พลาสติกชนิดยูเรีย เมลามีน อีพอกซี่ นอกนน้ั สามารถรไี ซเคลิ ไดหมด แตบ างครัง้ ยังมขี อ จำกัดอีกหลายเร่ืองท่ีไมส ามารถนำพลาสตกิ ทุกชนดิ มารีไซเคิล ได เชน ดา นความตองการของโรงงาน รีไซเคลิ หรือพลาสตกิ บางประเภทมีน้ำหนักเบาและเกบ็ รวบรวมไดย ากจึง ไมเนทีน่ ยิ มนำมารีไซเคลิ เชนถุงพลาสตกิ 1.1 พลาสติกทส่ี ามารถนำมารไี ซเคลิ ไดแ ก (1) โพลีโพรพิลิน (Polypropylene;PP) พลาสติกประเภทนี้เปนที่นิยมนำมาใชเปนถวย นมเปรี้ยว กระปองมันฝร่ังทอด และถังเนยเทยี ม (2) โพลสี ไตรนี (Polystyrene;PS) พลาสติกประเภทน้เี ปน ที่นยิ มนำมาใชเปนภาชนะแทนโฟม ถาดสลดั กลอ งบรรจุวิดโี อและซดี ี (3) โพลีเอทลิ ีน (Polyethylene;PE) พลาสติกประเภทนี้เปนที่นิยมนำมาใชทำขวดเครื่องดื่ม หรือ ขวดน้ำอดั ลม (4) โพลไิ วนลิ คลอไรด (Polyvinyl Chloride;PVC) พลาสติกประเภทน้ีเปนท่ีนิยมนำมาใชเปน ภาชนะบรรจอุ าหาร สายไฟ และทอ น้ำ (5) โพลิเอทิลีนท่ีมคี วามหนาแนนสงู (High-density Polyethylene;HDPE) พลาสตกิ ประเภท นี้เปน ทน่ี ยิ มนำมาใชเปนเหยอื กน้ำผลไม เหยอื กนม ของเลน ขวดนำ้ ยาซักผา (6) โพลิเอทิลินที่มคี วามหนาแนนตำ่ (Low-density Polyethylene;LDPE) พลาสติกประเภท นเ้ี ปนท่ีนยิ มนำมาใชเ ปน พลาสตกิ ใสสำหรับหอ อาหารและถุงห้ิว

1.2 การคดั แยกพลาสติกเพือ่ นำไปรีไซเคลิ พลาสตกิ ทซ่ี ้ือขายเกนั เพ่ือนำกลับมารีไซเคลิ มีราคาแตกตา งกนั ตัง้ แต 3-8 บาท ข้นึ อยูกับ ประเภทของพลาสติกกอนนำไปขายจะมีการจดั การขยะพลาสตกิ ใหดีกอ น ดงั นี้ (1) ขวดใหส ิ่งปนเปอนออกใหห มด ดึงฉลากและส่งิ ตาง ๆ ทตี่ ดิ กบั พลาสตกิ ออกใหห มด (2) ทำใหแบนเพื่อประหยัดเน้อื ท่ี (3) คัดแยกพลาสติกออกตามปรเภท อาจจะสังเกตประเภทของพลาสติกจากเครื่องหมาย ท่ีกอนบรรจุภณั ฑก็ได เพราะบางทีจะมีเครื่องหมายรีไซเคิลพรอมทั้งตัวเลขระบุประเภทของพลาสติก หรืออาจ นำพลาสตกิ มาแชน้ำเพือ่ แยกประเภทพลาสตกิ เพราะพลาสติกแตละประเภทมีความหนาแนนไมเ ทากัน 2. ประเภทกระดาษ ขยะมูลฝอยจากบานเรือนและสำนักงานจะมีกระดาษเปนองคประกอบที่สำคัญตัวหนึ่ง เนื่องจาก ในชีวิตประจำวันของเราจะตองเกี่ยวพันกับการใชกระดาษ ไมวาจะเปนหนังสือพิมพ กระดาษคอมพิวเตอร ถุงกระดาษ กระดาษลัง เปนตน กระดาษเหลา นี้สามารถนำกลับมารีไซเคิลได กระดาษที่ไมสามารถนำกลับมา รีไซเคลิ ได เชน กระดาษหอของขวัญ กระดาษกลองแอปเปล เพราะกระดาษประเภทน้ีมีเย่ือเซลลูโลสนอ ยมาก ไมเ หมาะทีจ่ ะนำมารีไซเคลิ อีก 2.1 การจัดการขยะประเภทกระดาษเพ่ือนำมารีไซเคิล กระดาษแตล ะประเภทมรี าคารับซอื้ ไมเ ทา กนั ถา ขายรวม ๆ กนั กจ็ ะไดร าคารวมเยา งตำ่ เพียงกิโลกรัมละ 1 บาทและที่สำคัญกระดาษที่นำมากขายจะตองไมเปอนคราบน้ำมันตางๆ ดังนั้นจึงควรมีการแยกประเภท กระดาษกอนท่ีจำนำไปขายตามประเภท ดังนี้ - กระดาษแขง็ กลองนำ้ ตาล - กระดาษยอยและหนังสอื เลมท่ัวไป - กระดาษขาวสำนักงาน - กระดาษหนงั สือพิมพ - สมุดโทรศัพท - กระดาษสมดุ นักเรยี น - กลอ งยเู อชที 2.2 การรีไซเคลิ กระดาษ กระดาษที่รับซื้อจากบานเรือนหรือแหลงตางๆ จะถูกสงไปยังโรงงานผลิตกระดาษ เพอ่ื ใชเปนวัตถุดิบ ผสมในการผลิตกระดาษประเภทตางๆ กระดาษมีหลายชนิดและหลายคุณภาพ กระดาษขาวสำหรับเขียน หรือการะดาษคอมพิวเตอรจะเปนกระดาาที่มีคุณภาพสูง จึงถูกนำมาแปรรูปเปนกระดาษสมุดและหนังสือ

สวนหนังสือพิมพและกระดาษกลองจะมีคุณภาพต่ำ จึงถูกนำมาแปรรูปเปนกระดาษกลองบรรจุเครื่องด่ืม กระดาษหอของขวัญ กลอ งกระดาษแข็ง การรไี ซเคิลกระดาษจะเร่ิมดวยกำจดั หมกึ ออกและตีกระดาษใหเ ปอยยยุ เปนเยื่อกระดาษและเติมเยื่อกระดาษใหมเขาไป ซึ่งสัดสวนเยื่อกระดาษรีไซเคิลกับเย่ือกระดาษใหมขึ้นอยูกับ ประเภทของกระดาษที่จะผลิตแลวจะเขาสูกระบวนการผลติ กระดาษตอไป 3. ประเภทแกว แกวเปนผลิตภัณฑท่ีทำมาจากทรายโดยมีหินปูนและโซดาไฟเปนสวนผสม โดยนำมาหลอมและขึ้นรูป เปนภาชนะตาง ๆ เชน แกวนำ้ ขวดอาหารและเครื่องดื่ม ฯลฯ แกวเปนวสั ดุที่ไมสามารถยอยสลายได ขวดแกว ทกุ ประเภทสามารถนำมารไี ซเคิลไดแตขวดแกว แตล ะประเภทแตล ะสจี ะมีาคาตาง ๆ คือ ขวดแกวสีขาวจะมีราคา ดีที่สุด รองลงมาคือสีชาและสีเขียว ถาเปนขวดดีไมแตกก็จะไดราคาสูงกวาขวดแตกหรือเศษแกว ดังนั้นควรมี การคัดแยกแกว ออกตามสี การนำแกว ไปรีไซเคิล - ขวดแกวดี ขวดแกวที่ไมแตกจะถูกนำมาคัดแยกตามสีและประเภทที่บรรจุสินคา เชน ขวดแมโขง ขวดเบียร ขวดน้ำปลา ขวดซอส ขวดน้ำอัดลมแบบวันเวย ฯลฯ ขวดแกว เหลานี้หากไมแตกบ่ินเสียหายจะถูก สงกลับเขาโรงงานเพื่อนำไปลางและฆาเชื้อโรคและนำกลับมาบรรจุสินคาใหมซ้ำอีกอยางนอยถึง 30 คร้ัง โดยผูผลิตสินคาเดิม เชน บรษิ ัทผลิตเบียรจำนำขวดเบียรที่ใชแลวมาผานกระบวนการลางและทำความสะอาด ดวยสารเคมตี างๆ แลวจึงนำกลับมาบรรจเุ บียรอีกครง้ั

- ขวดแกวแตกหรอื เศษแกว ขวดทแ่ี ตกชำรดุ เสยี หายจะถูกนำมาคดั แยกสี คอื ขวดแกว ขาว ขวดแกวสี ชา ขวดแกว สีเขียว เมื่อแยกสีแลวจะถูกสงเขาโรงงานหลอมแกว เพ่ือทบุ ใหแตกละเอยี ด ลา งทำความสะอาดดวย สารเคมีและหลอมละลายเพ่อื เปาเปน ขวดใหม 4. ประเภทโลหะ โลหะหลากหลายชนดิ สามารถนำมารไี ซเคิลไดโ ดยการนำมาหลอมและแปรรปู เปน ผลิตภัณฑอ ื่นๆ สามารถแบง โลหะออกได 3 กลมุ ใหญ คอื - โลหะประเภทเหลก็ เหล็กสามารถนำมารีไซเคลิ ไดท ุกชนดิ สามารถแบง ไดเ ปน 3 ประเภท คือ เหลก็ หลอ เหลก็ หนา และเหล็กบาง ราคราซื้อขายจะตางกันตามประเภทของเหล็ก ซึ่งพอคา รบั ซอื้ ของเกาจะทำ การตัดเหลก็ ตามขนาดตา งๆ ตามทีท่ า งโรงงานกำหนดเพื่อสะดวกในการเขา เตาหลอมและการขนสง - โลหะประเภทอะลูมิเนยี ม แบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ (1) อะลมู ินียมหนา เชน อะไหร เคร่อื งยนต ลกู สูบ อะลูมิเนยี มาอัลลอย ฯลฯ (2) อะลูมิเนียมบาง เชน หมอ กะละมังซักผา ขันน้ำ กระปอง เคร่ืองด่ืม ฯลฯ ราคาซือ้ ขายโลหะประเภทอะลมู เิ นียมมรี าคาตงั้ แต 10 บาท ถงึ 45 บาท แลว แตป ระเภท อะลูมิเนยี มหนาจะมรี าคาแพงกวาอะลูมิเนียมบาง แตขยะอะลูมิเนยี มทพี่ บมากในกองขยะสวนใหญจะเปน พวก กระปองเคร่ืองดืม่ เชน กระปองน้ำอัดลม กระปองเบียร โดยเฉพาะกระปองน้ำอัดลมจะเปนขยะที่มปี ริมาตร มาก ดังน้นั กอนนำไปขายควรจะอัดกระปองใหม ปี ริมาตรเลก็ ลงเพื่อทีจ่ ะไดป ระหยัดพนื้ ที่ในการขนสง สำหรับ การรีไซเคลิ กระปอ งอะลูมิเนียมนน้ั พอคารบั ซ้ือของเกา จะทำการอัดกระปองอะลูมิเนยี มใหม ีขนาดตามทท่ี าง โรงงานกำหนดมา กระปองอะลูมเิ นยี มสามารถนำกลบั มารไี ซเคลิ ซอื้ ไดหลายๆ คร้งั ไมม ีการกำจัดจำนวนครั้ง

ของการผลิต เม่ือกระปองอะลมู เิ นยี มถกู สงเขาโรงงานแลวจะถูกบดเปนชิ้นเลก็ ๆ แลว หลอมใหเ ปน แทง แข็ง จากน้ันนำไปรดี ใหเปนแผน บางเพ่ือสง ตไ ปยังโรงงานผลติ กระปอ งเพื่อผลติ กระปอ งใหม - โหละประเภททองเหลอื ง ทองแดง และสแตนเลส โลหะประเภทนมี้ รี าคาสูงประมาณ 30-60 บาท โดยทองเหลืองสามารถนำมากลับมาหลอมใหม โดยทำเปน พระ ระฆัง อุปกรณส ขุ ภัณฑต า ง ๆ สวนทองแดงก็นำ กลบั มาหลอมทำสายไฟไดใ หม ปจจัยสำคัญในการรีไซเคลิ วัสดุประเภทตา ง ๆ ไมวา จะเปน โลหะ พลาสติก กระดาษ แกว ก็คือจะตอ ง แยกประเภทของขยะรไี ซเคลิ แตล ะชนดิ ออกจากกันไมใหป นกนั และทำความสะอาดวัสดกุ อ นท่จี ะนำไปขาย ถา เปน กระปองก็ควรจะทำการอัดเพื่อลดปริมาตรของชขยะกอนท่ีจำนำไปขายารใชว สั ดุในอนาคต สญั ลักษณต าง ๆ ท่ใี ชระบปุ ระเภทของการคัดแยกวสั ดุในการรไี ซเคลิ การระบุรหัสสําหรับพอลิเมอร(ID Code) และคุณสมบัติของขวดพอลิเมอร พอลิเมอรถูกแบงเปน 7 ประเภท ซึ่งแตละประเภทจะมีการระบุรหัสของ พอลิเมอร(identification code) ถึงแมวาพอลิเมอรหลาย ประเภทจะสามารถรีไซเคิลได ในปจจุบนั ไดนําเฉพาะพอลิเมอรที่ใชในครัวเรือนมารไี ซเคิลกัน ดังนั้นขวดพอลิเม อรแ ตละชนดิ จึงมวี ิธีการรไี ซเคลิ ทแี่ ตกตางกันไป

หมายเหตุ สัญลกั ษณต าง ๆ สามารถสบื คน จาก แบบเรยี น และ อนิ เตอรเ นต็ เพิ่มเตมิ ได

ใบงาน คร้งั ท่ี 11 รายวชิ าวัสดุศาสตร 3 พว32024 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ชอ่ื – นามสกุล ................................................................................... กศน.ตำบล .......................................... คำชแี้ จง ใหผ ูเรียนอา นใบงานแลวตอบคำถามจากใบงาน (10 คะแนน) 1. โยงเสนจับคูส ัญลกั ษณก ับรูปภาพพอลเิ มอรรีไซเคลิ ตอ ไปนใ้ี หตรงกนั

2. ยกตัวอยางการคดั แยกขยะเพือ่ เพ่มิ มลู คา และวธิ ีการรวบรวมขยะตามประเภท 2.1 ขยะประเภทโลหะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 2.2 ขยะประเภทพอลิเมอร ........................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... 2.3 ขยะประเภทเซรามิกส ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................

เฉลยใบงาน ครงั้ ที่ 11 รายวชิ าวสั ดุศาสตร3 พว32024 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย แนวทางการตอบคำถาม

แนวทางการตอบคำถาม 2. ยกตวั อยางการคดั แยกขยะเพ่ือเพ่มิ มลู คา และวธิ กี ารรวบรวมขยะตามประเภท 2.1 ขยะประเภทโลหะ ตอบ โลหะหลากหลายชนดิ สามารถนาํ มารไี ซเคิลไดโดยการนาํ มาหลอมและแปรรูป เปนผลิตภัณฑอ นื่ ๆ สามารถแบง โลหะออกได 3 กลมุ ใหญค ือ - โลหะประเภทเหล็ก เหล็กสามารถนํามารีไซเคิลไดทุกชนิด สามารถแบงไดเปน 3 ประเภท คือ เหล็กหลอ เหลก็ หนา และเหลก็ บาง ราคาซือ้ ขายจะตางกนั ตามประเภทของ เหล็ก ซ่งึ พอคารับซ้ือของเกาจะทํา การตดั เหลก็ ตามขนาดตางๆ ตามทีท่ างโรงงานกาํ หนดเพอ่ื สะดวกในการเขาเตาหลอมและการขนสง - โลหะประเภทอะลูมิเนียม แบงออกไดเปน 2 ประเภทคือ (1) อะลูมิเนียมหนา เชน อะไหรเครือ่ งยนต ลูกสูบ อะลูมิเนียมอัลลอย ฯลฯ (2) อะลูมิเนียมบาง เชน หมอ กะละมังซักผา ขันน้ำ กระปองเครื่องดื่ม ฯลฯ ราคาซื้อขายโลหะประเภทอะลูมิเนียมมีราคาต้ังแต 10 บาท ถึง 45 บาท แลวแตประเภท อะลูมิเนียมหนาจะมี ราคาแพงกวาอะลมู เิ นยี มบาง - โลหะประเภททองเหลือง ทองแดง และ สแตนเลส โลหะประเภทนี้มีราคาสงู ประมาณ 30 - 60 บาท โดยทองเหลืองสามารถนํามากลบั มาหลอมใหม โดยนาํ มาสรา งพระ ระฆงั อุปกรณสขุ ภัณฑตางๆ สว นทองแดงก็ นํากลับมาหลอมทำสายไฟไดใหม 2.2 ขยะประเภทพอลเิ มอร ตอบ พอลิเมอรไ ดกลายเปน ผลติ ภณั ฑส าํ คญั อยา งหน่งึ และมแี นวโนมทจ่ี ะเขามามี บทบาทใน ชีวิตประจําวัน เพิม่ มากข้นึ เน่ืองจากพอลเิ มอรมรี าคาถกู น้ำหนักเบาและมขี อบขา ย การใชง านไดก วา ง พอลิเมอร ไดกลายเปน ผลติ ภณั ฑส าํ คัญอยางหนึ่ง และมีแนวโนมท่ีจะเขามา มีบทบาทในชีวิตประจําวนั เพิ่มมากขึ้น โดยการ นํามาใชแ ทนทรัพยากรธรรมชาติไดห ลายอยาง ไมวาจะเปนไมเหลก็ เนื่องจากพอลเิ มอรมีราคาถกู มีนำ้ หนกั เบา และมีขอบขายการใชง าน ไดกวาง 2.3 ขยะประเภทเซรามกิ ส ตอบ วัสดุท่ีสามารถนาํ มา รีไซเคิลไดมีหลายชนิด อาทโิ ลหะชนิดตางๆ พลาสติก เปนตน อยางไรก็ตาม กลบั พบวาไดมีการนำวัสดุเซรามิกส เชน กระเบอ้ื งปพู ื้นและผนัง ถว ยชาม ตลอดจนเครอ่ื งสุขภัณฑตางๆ มาผาน กระบวนการรีไซเคิล เพื่อนํากลับมาใชใหมนอยมาก ยกเวนแกว และกระจก ทั้งที่วัสดุเหลา นี้มีปริมาณ การผลติ และการใชงาน ตลอดจน ผลิตภัณฑท่ี เสีย ทั้งในระหวางการผลิต และการใชง านที่ตองกลายเปนขยะปหน่ึงๆ เปน จาํ นวนมาก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook