ผลการปฏบิ ัตงิ านที่ดี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง โดย นางสาวภาณมุ าศ ต๊ปิ กรณ์ ครู กศน.ตำบล
1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม ตงุ ลา้ นนา สรา้ งอาชพี สรา้ งรายได้ 2. จุดเดน่ /ความสำเรจ็ ทปี่ รากฏ สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เป็นหน่วยงานภาครัฐที่มีหนา้ ที่จัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนที่พลาดโอกาสทางการศึกษา ได้มองเห็น ความสำคัญและช่องทางในการขยายอาชีพให้กับประชาชนที่ต้องการมีรายได้ประกอบกับทา ง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้กำหนดนโยบายการจัดการศึกษาอาชีพเพอ่ื การมีงานทำให้สถานศึกษาได้จัดการเรียน การสอนให้กับประชาชน เพื่อเป็นทางเลือกอีกทางหนึ่งสำหรับประชาชนให้สามารถนำไปปฏิบัติได้จริงและ นำไปเปน็ อาชีพเพิม่ รายได้ใหก้ ับครอบครัวและชมุ ชนได้ ตุงล้านนาหรือธงที่ใช้สำหรับแขวนแบบหนึ่งในศิลปะล้านนา สามารถพบเห็นได้ในภาคเหนือของ ประเทศไทย โดยคนทางภาคเหนอื จะนำตุงมาใช้เป็นเคร่อื งประดบั หรอื ประกอบพธิ กี รรมตา่ งๆ ท้ังทางศาสนา ประเพณี งานเทศกาล หรืองานเฉลิมฉลองต่างๆ วัตถุที่นำมาทำตุงในล้านนามีหลากหลายรูปแบบ ลักษณะ ที่แผ่นวัตถุทำจากผ้า กระดาษ ไม้ โลหะ ทองเหลือง หรือใบลาน โดยนำไม้ส่วนปลายแขวนห้อยเป็นแผ่นยาว ลงมา ตามคตคิ วามเชอ่ื ของคนลา้ นนาเกี่ยวกบั ตงุ ท่ที ำข้ึนเพอ่ื ถวายเปน็ พุทธบูชา ใชใ้ นงานพิธีทางศาสนา ท้ังใน งานมงคลและอวมงคล โดยมีขนาดรูปทรงและรายละเอียดแตกต่างกันไปบ้าง ตามความเชื่อพิธีกรรม ความ นิยมของแต่ละท้องถิ่น อย่างไรก็ดีคนล้านนามีความเชื่อว่า การถวายหรือทานตุงนัน้ จะได้รับผลบุญและอานิ สงค์ เพ่ือใหเ้ กิดความรม่ เยน็ เป็นสุขเปน็ อย่างมาก หรอื บางตำรามคี วามเชอื่ สบื ตอ่ กนั มาวา่ เมอื่ ตายไปจะได้ข้ึน สวรรค์หรือเมื่อตกนรกชายตุงจะแกว่งฉุดวิญญาณขึ้นมาจากนรกให้ขึ้นไปสู่สรวงสวรรค์ สำหรับตุง 12 ราศี หรือตุง 12 นักษัตร จะใช้ในงานช่วงปใี หม่ หรือที่ชาวล้านนาเรียกว่า “ตุงปี๋ใหม่เมอื ง” ใช้ถวายเป็นพุทธบูชา พรอ้ มกบั เจดีย์ทรายในประเพณปี ีใหม่เมือง วสั ดทุ ่ีทำผนื ตงุ สว่ นใหญม่ กั จะทำด้วยกระดาษวา่ ว หรอื กระดาษสา มีหลากหลายสีบางคนเลอื กสีตามวันเกิด แต่ที่สำคัญจะมรี ูป 12 นักษัตร บนผืนตุงทั้งสองดา้ นเหมือนกันหมด เพอ่ื สะเดาะเคราะห์ให้เปน็ สิริมงคลกบั ตนเอง กศน. ตำบลเชียงแรง ต้องการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่นล้านนาและส่งเสริมพัฒนาอาชีพการตัดตุง ล้านนา ตามความต้องการจากการสำรวจของกลุ่มเป้าหมายในชุมชน และสร้างช่องทางในการขยายอาชีพ โดยพื้นที่ตำบลเชียงแรงมีกลุ่มผู้สูงอายุที่ทำอาชีพจักสานไม้ไผ่ การทำโคมไฟล้านนา และการตัดเย็บเสื้อผ้า ซึง่ เปน็ ความร้คู วามเขา้ ใจเบื้องตน้ ในการออกแบบและตัดตงุ ล้านนาได้ ทางกศน.ตำบลเชยี งแรง จงึ สง่ เสริมการ ทำอาชีพการตดั ตงุ ล้านนาเพือ่ มุ่งพัฒนาคนในพืน้ ท่ีให้ได้รับการศกึ ษา พัฒนาอาชีพและการมีงานทำ สามารถ สร้างรายได้สร้างอาชีพให้มีความมั่นคง สอดคล้องกับศักยภาพพัฒนาตนเอง สังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม ให้มรี ายไดใ้ นทุกเทศกาลในตำบลเชียงแรงและมคี วามพร้อมทีจ่ ะสามารถสรา้ งอาชพี ท่ียง่ั ยืนและมปี ระสทิ ธิภาพ ใหก้ บั ชมุ ชนได้ ผลการปฏบิ ตั ิงานทด่ี ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชียงแรง โดย นางสาวภาณมุ าศ ติป๊ กรณ์ ครู กศน.ตำบล
3. วิธดี ำเนินการ กศน.ตำบลเชยี งแรง ไดด้ ำเนนิ โครงการ โดยใชก้ ระบวนการ PDCA ดงั น้ี 1. ขัน้ วางแผน P : PLAN ศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการ และวิเคราะหข์ ้อมูลอย่างมีส่วนรว่ มของครู ผู้เรยี นโดยการจัดทำ แบบความสำรวจตอ้ งการเรยี น เพอ่ื นำมาวางแผนจัดกิจกรรมที่สอดคลอ้ งกับสภาพ บรบิ ทศักยภาพของชุมชน ปญั หาและความตอ้ งการทแี่ ท้จรงิ ของผู้เรยี นและคนในชุมชน 1. ครู ผู้เรียนและชุมชนมีส่วนร่วมในการวางแผนและออกแบบกจิ กรรมที่สอดคล้องกบั สภาพปัญหา ความต้องการของชุมชน โดยการประชุมร่วมกันเพื่อวางแผนการดำเนินงานชี้แจงวัตถุประสงค์ ผลที่ผู้ร่วม โครงการจะไดร้ บั ทำให้มผี ู้สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 8 คน 2. ศกึ ษาเอกสารขอ้ มลู เกี่ยวกบั การส่งเสรมิ อาชีพในชุมชน โดยครูและผ้เู รียนรว่ มกันวางแผน 3. นำขอ้ มลูจากการวเิ คราะหแ์ ละพิจารณาในข้อ 1 - 2 มากำหนดกรอบการดำเนนิ งานทีพ่ ิจารณาแล้ว วา่ เปน็ แนวปฏบิ ัติงานทด่ี ี (Best Practice) โดยดำเนินการ ดงั น้ี 1) กำหนดวัตถุประสงค์ของโครงการ 2) กำหนดตัวชีว้ ดั ความสำเรจ็ 3) กำหนดวธิ ีการดำเนินการ 4) กำหนดวิธกี ารประเมนิ ผลและเคร่อื งมือการประเมนิ ผล 2. ข้นั ปฏบิ ตั ิ D : DO จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพตามที่ได้วางแผนและออกแบบกิจกรรมไว้ โดยให้การให้ความรู้และ ฝึกทกั ษะปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1) จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพโดยให้ความรู้เรื่องการตัดตุงล้านนา โดยมีวิทยากรสอนและ อธิบาย การออกแบบและการตัดตุงล้านนา จากนั้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบตั ิตัดตุงล้านนา โดยเน้นให้มีการผลติ สนิ คา้ ท่มี คี ุณภาพ ใช้สีกระดาษและรูปแบบหรือรูปทรงที่เหมาะสม และนำมาวางจำหน่ายในหน้าร้าน ร้านค้า ชุมชนและขายผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ 2) ปลูกฝังจิตสำนึกให้รู้จักประหยัดอดออม พึ่งพาตนเอง รักและเห็นคุณค่าของศิลปะและ วัฒนธรรมล้านนา ผลการปฏิบัตงิ านท่ีดี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง โดย นางสาวภาณุมาศ ติป๊ กรณ์ ครู กศน.ตำบล
3. ขัน้ ตรวจสอบ C : CHECK 1. ประเมินผลตามสภาพจริง เพื่อให้ทราบผลความก้าวหน้าในการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และ ร่วมกันหาแนวทางแก้ไข ประเมินผลงานตุงล้านนา โดยใช้แบบประเมินผลการฝึกปฏิบัติและจากบันทึกของ ผู้เรียนเกี่ยวกับชื่อรูปแบบ ลวดลายของบนตุง และประเมินความรู้ ความเข้าใจจากการถามและ ใช้ แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการท่ไี ดจ้ ากการตดิ ตามประเมนิ ผลเมอ่ื สิ้นสุด โครงการโดยการรวบรวม ผลงานที่เป็นจุดเด่น และจุดที่ควรพฒั นา รวมทั้งขอ้ เสนอแนะจากการประเมนิ ผลการนำไปใช้ประโยชน์ และ จดั ทำรายงาน เพอื่ นำเสนอแนวทางด้านการศึกษาเพ่อื พัฒนาอาชพี 3. เผยแพร่ผลงานแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ โดยการนำเสนอ ผลงาน ปญั หาอปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะต่อที่ประชุม เพ่ือใชเ้ ป็นข้อมลู ในการวางแผนจดั กจิ กรรมครงั้ ต่อไป รวมท้ัง นำเสนอผลงานในรูปแบบต่าง ๆ 4. ขนั้ ปรับปรงุ การดำเนนิ งาน A : ACTION นำข้อเสนอแนะของผู้เรียน ชุมชน และผู้เกี่ยวข้องมาปรับปรุงรูปแบบและวิธีการดำเนินงานการ ส่งเสริมอาชีพ เพื่อเผยแพร่ให้ชุมชนอื่นที่มีสภาพบริบทเหมือนหรือใกล้เคียงกัน ได้นำไปปรับใช้ในการจัด กจิ กรรมส่งเสรมิ อาชีพต่อไป 4. ปจั จยั ปอ้ น ปจั จัยทส่ี ่งผลใหก้ ารดำเนินโครงการสำเร็จมีหลายดา้ น ทง้ั ในเรอ่ื งของบุคลากร งบประมาณ สื่อ วัสดุ อปุ กรณ์ และการบริหารจดั การ (4M) โดยมีรายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้ 1. ด้านบุคลากร (Man) ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอภูซาง ให้การสนับสนุนในการพัฒนาอาชีพของคน ในชมุ ชนในพ้นื ทอ่ี ำเภอภซู าง 2. ด้านงบประมาณ (Money) มีการสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาอาชีพจากงบศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน 3. ส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ (Material) ครู กศน.ตำบลเชียงแรง รว่ มกับวทิ ยากรจดั เตรียมสอ่ื วสั ดุ อุปกรณ์ การตัดตงุ ลา้ นนา ใหก้ ับผู้เรยี นกลมุ่ เป้าหมายอยา่ งเพยี งพอกับการฝึกอาชีพ 4. ด้านการบริหารจัดการ (Management) กศน.ตำบลเชียงแรง ได้ดำเนินการตามจุดเน้นการ ดําเนินงาน สำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ร่วมทั้งสำรวจความต้องการของชุมชน เพ่ือ พัฒนาและขยายอาชีพให้กับประชาชนที่ต้องการมีรายได้ ประกอบกับทางกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนด นโยบายการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำให้สถานศึกษาได้จัดการเรียนการสอนให้กับประชาชน เพ่ือ เปน็ ทางเลอื กอีกทางหน่ึงสำหรับประชาชนให้สามารถนำไปปฏิบตั ิได้จรงิ และนำไปเป็นอาชีพเพ่ิมรายได้ให้กับ ครอบครัวและชุมชนได้ ทาง กศน.ตำบลเชียงแรง จึงจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนให้สอดคล้องกับ ความสามารถของประชาชนในพื้นที่เพื่อต่อยอดความรู้ในการพัฒนาอาชีพการตัดตุงล้านนา ได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ผลการปฏบิ ัติงานที่ดี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง โดย นางสาวภาณมุ าศ ตป๊ิ กรณ์ ครู กศน.ตำบล
5. เงือ่ นไข ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลตอ่ ความสำเรจ็ กระบวนการที่จะทำให้การพัฒนา “ตุงล้านนา สร้างอาชีพสร้างรายได้ให้กับชุมชน”ประสบ ความสำเรจ็ ไดแ้ ก่ 1. ผ้บู รหิ ารใหค้ วามสำคญั และสนบั สนุนการพฒั นาการสรา้ งอาชพี ให้กับชุมชน 2. ครู กศน.ตำบลเชียงแรง มีความมุ่งมั่นในการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพให้กับประชาชนในพื้นที่ ตำบลเชยี งแรง 3. วิทยากรที่มาสอนกลมุ่ วชิ าชพี การตัดตุงล้านนามีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ให้กับ กลมุ่ ผู้เรยี นวิชาชพี เป็นอย่างดี 4. วัสดุอุปกรณใ์ นการฝึกวชิ าชพี เพยี งพอต่อการเรียน 5. กลุ่มผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานในด้านการตัดเย็บซึ่งเป็นความรู้ที่สามารถนำมาต่อยอดในการตัดตุง ล้านนาได้อย่างดี 6. ปญั หา อปุ สรรค ข้อจำกดั ท่เี กิดข้นึ ในการปฏบิ ตั ิงาน และแนวทางการแกไ้ ขใหป้ ระสบความสำเร็จ - การตดั ตุงล้านนา จากกระดาษว่าว ควรมีการระมดั ระวังในการตัดออกแบบลวดลายเพราะกระดาษ มคี วามฉีกขาดไดง้ า่ ยมาก 7. ข้อเสนอแนะในการปฏิบัตงิ านท่จี ะทำให้ดีย่ิงขนึ้ 1. ควรสง่ เสริมใหม้ กี ารพัฒนารูปแบบ ลวดลายของตุงแบบใหม่ เพื่อเพิ่มมูลค่าใหก้ บั ผลติ ภัณฑ์ 2. ควรประชาสมั พันธ์ให้ผูท้ ่ีสนใจสามารถศึกษาข้อมูลรปู แบบและลวดลายวิธีการตัดตุงล้านนาได้จาก คลังความรู้ที่ศูนย์การเรียนฯในชุมชน และรวบรวมจัดเก็บไว้ในช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์ของสถานศึกษา/ หน่วยงานต้นสงั กัด สอ่ื ออนไลน์ ไดแ้ ก่ Facebook YouTube ฯลฯ 3. ควรพัฒนาผู้เรียนในเรื่องช่องทางการจำหน่ายสินค้าผ่านสื่อออนไลน์ โดยเรียนรู้จากศูนย์ดิจิทัล ชมุ ชน เพือ่ เพม่ิ ช่องทางในการจำหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ตงุ ล้านนา ตลอดจนผลิตภณั ฑอ์ นื่ ๆ ของชุมชน ไดอ้ ยา่ งกว้าง ขว้างมากข้นึ ผลการปฏบิ ัติงานท่ดี ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง โดย นางสาวภาณุมาศ ติป๊ กรณ์ ครู กศน.ตำบล
ภาพประกอบ การฝึกอาชีพ จากงบศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน “การตดั ตุงล้านนา” ผลการปฏบิ ตั งิ านทีด่ ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง โดย นางสาวภาณมุ าศ ติป๊ กรณ์ ครู กศน.ตำบล
ภาพประกอบ การฝึกอาชีพ จากงบศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน “การตดั ตุงล้านนา” ผลการปฏบิ ตั งิ านทีด่ ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง โดย นางสาวภาณมุ าศ ติป๊ กรณ์ ครู กศน.ตำบล
ติดตามผลการฝึกวิชาชพี “การตัดตุงลา้ นนา” ผลการปฏิบตั งิ านท่ีดี (Best Practice) กศน.ตำบลเชียงแรง โดย นางสาวภาณุมาศ ต๊ปิ กรณ์ ครู กศน.ตำบล
การติดตามผลการตอ่ ยอดอาชพี “ตงุ ลา้ นนา” สร้างอาชีพสรา้ งรายได้ ผลการปฏบิ ตั ิงานทีด่ ี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง โดย นางสาวภาณมุ าศ ตปิ๊ กรณ์ ครู กศน.ตำบล
ผลการปฏบิ ัตงิ านที่ดี (Best Practice) กศน.ตำบลเชยี งแรง โดย นางสาวภาณมุ าศ ต๊ปิ กรณ์ ครู กศน.ตำบล
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: