Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น E-Book

ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น E-Book

Published by พรรษา สาตสิน, 2021-03-15 13:59:57

Description: E-Book

Keywords: ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น

Search

Read the Text Version

คาํ อธิบายรายวิชา จุดประสงคร์ ายวิชา 1. มีความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั หลกั การพ้นื ฐานของระบบ 2. มีความร้เู กี่ยวกับการทาํ งานของโปรแกรมระบบปฏิบัตกิ ารบนเคร่อื งแมข่ า่ ย เครือ่ งลกู 3. มที ักษะในการติดตัง้ ใชง้ านระบบปฏบิ ตั กิ ารตา่ งๆ และโปรแกรมยทู ิลิตี้ 4. มคี ณุ ธรรรม จริยธรรม และค่านยิ มที่ดใี นการใชค้ อมพวิ เตอร์ สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรู้เกยี่ วกับหลักการพืน้ ฐานของระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละระบบปฏบิ ตั ิการ 2. แสดงความรู้เกี่ยวกับการทํางานของโปรแกรมระบบปฏิบัติการบนเคร่ืองแม่ข่าย เคร่ืองลูกขา่ ยและอุปกรณพ์ กพา 3. ติดต้ังและใช้ระบบปฏิบัติการท้ังระบบที่เป็นมาตรฐานปิด (Proprietary)และ ระบบท่ีเปน็ มาตรฐานเปิด (Open Standard) คาํ อธบิ ายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับองค์ประกอบของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ หลักการทํางานของ คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ต่อพ่วง ส่ือบันทึกข้อมูล ความหมายหน้าที่และความสําคัญของ ระบบปฏิบัติการ ประเภทของ โปรแกรมระบบปฏิบัติการ การเลือกใช้และติดต้ัง ระบบปฏิบัติการต่างๆ ทั้งระบบท่ีเป็นมาตรฐานปิด (Proprietary)และระบบท่ีเป็น มาตรฐานเปิด (Open Standard) บนเครื่องแม่ข่าย ลูกข่ายและอุปกรณ์ พกพา การใช้ งานโปรแกรมระบบปฏิบัติการเบือ้ งต้นและโปรแกรมยทู ลิ ิต้ี

สารบญั หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 01 องค์ประกอบของเครื่องคอมพวิ เตอร์ 1. องค์ประกอบทางดา้ นฮารด์ แวรข์ องระบบคอมพวิ เตอร์ 2. องคป์ ระกอบทางด้านซอฟตแ์ วร์ของระบบคอมพิวเตอร์ 3. บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 02 ความรูเ้ บอื้ งตน้ เก่ียวกบั ระบบปฏบิ ตั ิการ 1. ความหมายของระบบปฏบิ ตั ิการ 2. หนา้ ท่ีของระบบปฏิบตั ิการ 3. ประเภทของระบบปฏิบตั ิการ 4. ลักษณะการทํางานของระบบปฏบิ ัติการ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 03 ระบบปฏบิ ตั ิการภาวะข้อความ (Text Mode) 1. ความเป็นมาของระบบปฏิบตั กิ ารดอส 2. การเริ่มต้นทาํ งานของระบบปฏิบตั ิการดอส 3. การตัง้ ช่ือในระบบปฏิบตั กิ ารดอส 4. คําส่ังดอสเบอ้ื งตน้ 5. ตวั แปรแทนตวั อักษร

สารบญั หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4 04 ระบบปฏบิ ตั กิ ารแบบกราฟิก 1. การใช้งานระบบปฏบิ ัตกิ ารวนิ โดวส์เบอ้ื งตน้ 2. การเรียกใช้งานโปรแกรม 3. การสลับหน้าตา่ งของโปรแกรม 4. การจดั การกบั หน้าต่างของโปรแกรม 5. การจัดการแฟ้มขอ้ มูล 6. การปรับแต่งเดสก์ทอ็ ป 7. การออกจากระบบปฏบิ ตั ิการวนิ โดวส์ หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 5 05 โปรแกรมยูทิลิต้ี 1. ความหมายของโปรแกรมยูทิลติ ี้ 2. โปรแกรมยทู ิลิตี้สาํ หรบั ระบบปฏิบตั ิการ 3. โปรแกรมยูทลิ ิตีอ้ ่ืนๆ 4. โปรแกรมด้านมลั ติมีเดียและจัดการรูปภาพ

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 องคป์ ระกอบของเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ สาระสาํ คญั ระบบคอมพิวเตอร์จะสามารถทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพต้องอาศัยองค์ประกอบที่ สําคัญ 3 ส่วนด้วยกัน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)ซอฟต์แวร์ (Software)และพีเพิลแวร์ (Peopleware)ซง่ึ องคป์ ระกอบทั้ง 3 ส่วนนี้ มีความสมั พันธ์เกี่ยวข้องกันในระบบคอมพิวเตอร์ ฮารด์ แวรเ์ ป็นส่วนทสี่ ามารถ สมั ผัสไดโ้ ดยแบง่ ออกเป็น 4 ส่วนหลัก คือ หน่วยรับข้อมูล หน่วย ประมวลผล หน่วยความจํา และ หน่วยแสดงผล ส่วนซอฟต์แวร์เป็นสิ่งที่ไม่สามารถสัมผัสได้ เช่น โปรแกรมต่างๆ โดยซอฟต์แวร์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบและ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ พีเพิลแวร์หมายถึงบุคคลหรือ กลุ่มคนที่ทํางานเก่ียวข้องกับระบบ คอมพวิ เตอรจ์ ัดเป็นองค์ประกอบสุดทา้ ยท่ีจะขาดไมไ่ ด้ สาระการเรียนรู้ 1. องค์ประกอบทางดา้ นฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพวิ เตอร์ 2. องค์ประกอบทางด้านซอฟตแ์ วร์ของระบบคอมพวิ เตอร์ 3. บุคลากรทางคอมพิวเตอร์

OPTION องคป์ ระกอบทางดา้ นฮารด์ แวรข์ อง ระบบคอมพวิ เตอร์ 01 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) เปน็ องค์ประกอบสว่ นที่สามารถจับต้องหรอื สัมผัสได้ เช่น ตัวเคร่ือง คอมพิวเตอร์ (Case)ตัวประมวลผล (CPU)และอปุ กรณต์ อ่ พว่ ง (Peripheral) เชน่ เคร่ืองพมิ พ์ (Printer) คีย์บอร์ด (Keyboard) เมาส์ (Mouse) จอภาพ (Monitor) เป็นต้นโดยฮาร์ดแวร์ สามารถแบง่ องคป์ ระกอบ ไดเ้ ปน็ 4 ส่วนหลัก ดงั น้ี หน่วยควบคุม หนว่ ยคํานวณทาง คณิตศาสตร์และ ตรรกะ หนว่ ยรับข้อมลู หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยแสดงผล (Central Processing Unit) (Input Unit) (Output Unit) Keyboard หน่วยความจา Monitor Mouse Printer Scanner (Memory) Speaker Ram Projector Digital Camera Microphone Hard Disk

OPTION องคป์ ระกอบทางด้านซอฟตแ์ วร์ ของระบบคอมพิวเตอร์ 02 ซอฟต์แวร์หมายถึงชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้ในการส่ังงานให้คอมพิวเตอร์ทํางาน ซึ่ง ซอฟต์แวร์ เป็นส่ิงท่ีไม่สามารถจับต้องได้ แตกต่างจากฮาร์ดแวร์ โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ เปรียบเสมือนตัวกลางในการเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์กับผู้ใช้ ช่วยทําให้ผู้ใช้สามารถ ติดต่อส่ือสารทํางานกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ง่าย สะดวก และรวดเร็วย่ิงข้ึน โดยซอฟต์แวร์ แบ่งออกได้ดงั นี้

2.1 ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) เป็นซอฟตแ์ วร์ทพี่ ฒั นาขึน้ เพ่ือทําหน้าที่ในการดูแลจดั การระบบการทํางานของเครือ่ ง ของเค คอมพวิ เตอร์ เป็นซอฟตแ์ วรท์ ี่ทาํ งานใกล้ชิดกับฮาร์ดแวร์มากทีส่ ดุ และทาํ ใหผ้ ใู้ ช้สามารถ ตดิ ตอ่ กบั อนื่ ๆ เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ไดง้ า่ ย มีหนา้ ที่ในการจดั การควบคมุ การประมวลผล ภายใน จัดสรรทรพั ยากรตา่ งๆ เพ่ือร์ ในระบบและประสานงานติดตอ่ กับอุปกรณภ์ ายนอก โดยซอฟตแ์ วรร์ ะบบหรือท่รี ูจ้ กั กันในชอ่ื ของระบบ ปฏิบัติการ หรอื เรียกวา่ โอเอส (Operating Systern: OS) ดอม 2.2 ซอฟต์แวร์ประยกุ ต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์ประยกุ ต์หรือโปรแกรมประยกุ ต์ คอื ซอฟต์แวรท์ พ่ี ฒั นาขึ้นมาเพือ่ ใช้กับงาน ใชส้ าํ ฯ ดา้ นตา่ งๆ ตามลักษณะงานและความตอ้ งการของผใู้ ช้ ซึ่งสามารถนาํ มาใชป้ ระโยชน์ได้ โดยตรง ปจั จบุ ัน ซอฟตแ์ วร์ประเภทน้ีมกี ารพฒั นาและออกวางจาํ หนา่ ยอย่างมากมายเพอื่ อํานวยความสะดวกให้กับผใู้ ช้ เช่น โปรแกรมในชดุ ของไมโครซอฟต์ออฟฟศิ (Microsoft Office) ที่สรา้ งข้ึนโดยบริษัทไมโครซอฟต์ เป็นท่ีนิยมใช้งานกนั อย่างแพรห่ ลาย โปรแกรม ไมโครซอฟต์ออฟฟศิ นเ้ี ป็นซอฟต์แวร์สาํ หรับงานทั่วไป หรอื เรียกวา่ ซอฟตแ์ วรส์ าํ เรจ็ รปู (Package Software) กไ็ ด้

OPTION บคุ ลากรทางคอมพิวเตอร์ 03 บคุ ลากรคอมพิวเตอร์หรอื พเี พิลแวร์ (Peopleward) เปน็ องค์ประกอบส่วนสุดท้ายของ ระบบ คอมพิวเตอร์ พีเพิลแวร์หมายถึงบุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ เป็นผู้มี ความสําคัญเพราะเป็นบุคคล ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้งาน ควบคุม และส่ังการเพ่ือให้ คอมพวิ เตอร์สามารถทํางานได้ตามต้องการ คอมพิวเตอร์น้ันได้ถูกนําไปประยุกต์ใช้งานใน หลายด้าน เน่ืองจากความสามารถและประสิทธิภาพ ในการทํางานท่ีสูง ดังน้ันบุคลากร ทางคอมพวิ เตอรจ์ งึ แบง่ ออกไปไดห้ ลายหนา้ ท่ตี ามลักษณะราน ดังนี้ 3.1 ผ้ใู ชห้ รอื ยสู เซอร์ (User) ผู้ใชง้ านคอมพวิ เตอร์ทั่วไป ต้องเรยี นรู้วิธีการใช้เครอื่ งและวธิ ีการใช้ งานโปรแกรมเพอื่ ให้ โปรแกรมทมี่ อี ยูส่ ามารถทํางานได้ตามตอ้ งการ 3.2 ผู้จัดการระบบ (System Manager) ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอรใ์ ห้เปน็ ไปตามเป้าหมายขององคก์ ร 3.3 นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis Designer) ผู้ท่ีศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่ และทําการวิเคราะห์ความ เหมาะสม ความเปน็ ไปไดใ้ น การใช้คอมพวิ เตอรก์ ับระบบงาน พฒั นา โปรแกรมระบบเพ่ือให้นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer) เป็นผู้เขยี นโปรแกรมใหก้ บั ระบบงาน

3.4 นักเขียนโปรแกรมหรอื โปรแกรมเมอร์ (Programmer) ผเู้ ขียนโปรแกรมสัง่ งานเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพ่อื ใหค้ อมพวิ เตอรท์ ํางาน ตามความตอ้ งก ของผ้ใู ช้ และตามท่ีนักวเิ คราะห์ระบบได้ออกแบบไว้ 3.5 เจา้ หนา้ ท่ีควบคมุ การทาํ งานของระบบคอมพวิ เตอร์ ทาํ หนา้ ท่ีพัฒนาและดแู ลระบบคอมพวิ เตอร์ ทางด้านฮารด์ แวร์ แบบทดสอบ 1.องคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์แบง่ 3. ขอ้ ใดจดั อย่ใู นประเภทเดียวกนั ออกเป็นส่วน ก .Keyboard, Mouse, Program ก. 2 สว่ น ข. Monitor, Printer, User ข. 3 สว่ น ค. Printer, Scanner, Monitor ค. 4 ส่วน ง. RAM, Cache, Software ง. 5 สว่ น จ. CD-ROM, DVD-ROM, Tape จ. 6 สว่ น 2. ขอ้ ใดไม่ใช่องค์ประกอบทางดา้ นฮาร์ดแวร์ 4 กลอ้ งดจิ ทิ ลั จดั เปน็ องค์ประกอบส่วน ก. Input Unit ใดของฮารด์ แวร์ ข. Output Unit ก. Output Unit ค. Program ข. Memory Unit ง. Memory ค. Input Unit จ. Central Processing Unit ง. Central Processing Unit จ. Process Unit, User ค. Printer, Scanner, Monitor

แบบทดสอบ 8. หนว่ ยความจําถาวรคือขอ้ ใด ก. ROM 5 อปุ กรณช์ นดิ ใดเปน็ ได้ทัง้ อปุ กรณ์รบั ข้อมูลและ ข. RAM อุปกรณแ์ สดงผล ค. DVD ก. Printer ง. Flash Drive ข. Mouse ค. Cache ค. Scanner ง. Microphone 9. โปรแกรมเมอร์จดั เป็น จ. Touch Screen Monitors องคป์ ระกอบส่วนใดของระบบ คอมพวิ เตอร์ 6. การคํานวณเกี่ยวข้องกับส่วนใดของ ก. Hardware หน่วยประมวลผลกลาง ข. Software ก. ALU ค. Peopleware ข. CU ง. Memory ค. BUS จ. Control System ง. Bios จ. ไมม่ ีขอ้ ใดถกู 10. อาชพี ใดของบคุ ลากรในระบบ คอมพวิ เตอร์ทตี่ ้องศึกษาระบบงาน 7. หนว่ ยความจาํ หลกั คือข้อใด ก่อนนําไปสู่การพฒั นาโปรแกรม ก. Floppy Disk ก. ผู้ใช้ ข. CD-ROM ข. ผูจ้ ัดการระบบ ค. RAM ค. นักเขยี นโปรแกรม ง. Hard Disk ง. เจ้าหนา้ ที่ควบคมุ การทาํ งานของ จ. Flash Drive ระบบ จ. นกั วิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ เอง

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 ความร้เู บ้ืองตน้ เกี่ยวกับระบบปฏบิ ัตกิ าร สาระสาํ คญั เนื้อหาในหน่วยน้ีจะกล่าวถึงความหมายและประเภทของระบบปฏิบัติการท่ีมี การใช้งาน ในปัจจุบัน หน้าท่ีของระบบปฏิบัติการท่ีมีต่อการทํางานของเคร่ือง คอมพวิ เตอร์ และลักษณะการทาํ งาน ของระบบปฏบิ ัตกิ าร สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของระบบปฏิบัติการ 2. หนา้ ทข่ี องระบบปฏิบัตกิ าร 3. ประเภทของระบบปฏิบตั กิ าร 4. ลักษณะการทาํ งานของระบบปฏบิ ัติการ

01 ความหมายของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) เป็นระบบที่ทําหน้าที่ช่วยจัดระเบียบใน การติดต่อ สื่อสารระหว่างผู้ใช้งานกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ตลอดจนควบคุมการทํางานของ อุปกรณ์ต่างๆ และจัดการ ทรัพยากรในระบบให้สามารถใช้งานร่วมกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System Program) เป็นโปรแกรมที่ ถูกสร้างโดยภาษาที่ สามารถติดต่อกับระบบฮาร์ดแวร์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทําให้ ฮาร์ดแวร์สามารถทํางานได้อย่างเป็นระบบ และถูกต้อง ทําหน้าที่ควบคุมการทํางานของ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทั้งระบบเพ่ือให้คอมพิวเตอร์สามารถ ดําเนินงานไปได้อย่างต่อเน่ือง รวม ไปถงึ จดั การข้ันตอนการติดต่อระหวา่ งผใู้ ช้งานกบั เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

02 หน้าทขี่ องระบบปฏิบตั กิ าร หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการถูกสร้างข้ึนมาเพ่ือติดต่อระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์กับผู้ใช้งาน ทําให้ ผู้ใช้งาน สามารถสั่งการเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพ่ือให้ทํางานตามกระบวนการต่างๆ ท้ังท่ี เกี่ยวกับทั้งระบบฮาร์ดแวร์ หรือระบบซอฟต์แวร์ ทรัพยากรของระบบ และอุปกรณ์อ่ืนท่ี ติดต่อกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โดยจะควบคุม การทํางานทั้งระบบ ดังน้ันหน้าท่ีของ ระบบปฏิบัติการจึงครอบคลุมต้ังแต่การจัดสรรทรัพยากร การติดต่อ กับผู้ใช้ ตลอดจน ควบคมุ อุปกรณ์ โดยหนา้ ที่ของระบบปฏิบัตกิ ารสามารถแบง่ ได้ดังนี้

03 ประเภทของระบบปฏบิ ัติการ ประเภทของระบบปฏบิ ัตกิ าร ซอฟต์แวร์ท่ีมีใช้งานในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ดังท่ีเคยกล่าวมาแล้วในก่อนหน้าน้ี แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ โปรแกรมระบบ (System Software)และโปรแกรมประยุกต์ (ApplicationSoftware) โดยโปรแกรมระบบน้ันอาจจะเรียกว่าโปรแกรม ระบบปฏิบัติการก็ได้ ถ้าเปรียบหน้าที่ของระบบปฏิบัติการกับโปรแกรมประยุกต์ สามารถเปรียบเทียบระบบปฏิบัติการ ได้กับถนน ส่วนโปรแกรมประยุกต์สามารถ เปรียบได้กับรถท่ีแล่นอยู่บนถนน ถ้าไม่มีถนน รถยนต์ก็ ไม่สามารถจะเล่นได้ ระบบปฏิบตั ิการท่ีใชก้ นั ท่วั ไปในปัจจบุ นั ซ่งึ นาํ ไปใชไ้ ดก้ บั คอมพิวเตอรห์ ลากหลาย ชนิดตงั้ แต่ เครอ่ื งระดบั ใหญ่จนถงึ อปุ กรณแ์ บบพกพาแบง่ ไดเ้ ป็น 3 ประเภทดงั นี้ 1.ระบบปฏบิ ตั ิการแบบ ระบบปฏบิ ัติการแบบฝัง เดย่ี ว (Stand-alone ตัว (Embedded Operating System) Operating System) 2.ระบบปฏิบตั กิ ารแบบ เครือข่าย (Network Operating System)

ลกั ษณะการทาํ งานของ 04 ระบบปฏบิ ตั กิ าร ประเภทของระบบปฏิบัตกิ ารสามารถแบง่ ตามลักษณะการทํางานได้ดงั น้ี แบบหลายผู้ใช้ (Multi-user)) 4.1 ระบบปฏิบัติการสามารถรองรับการใช้งา ใช้งานของผู้ใช้ ได้มากกว่า 2 คนพร้อมกัน โดยระบบ ปฏิบัติการประเภทน้ี ส่วนใหญ่จะพบได้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แบบเมนเฟรม มินิคอมพิวเต อร์หรือ คอมพิวเตอร์ท่ีทําหน้าท่ีเป็น คอมพวิ เตอรแ์ มข่ า่ ย (Server) แมมมอติโปรเซสซงิ่ (Multiprocessing)) ระบบปฏบิ ัตกิ ารทมี่ กี ารรองรับการประมวลผลแบบขนาน 4.2 ท่ีต้องใช้หน่วยประมวลผลกลาง ลงากกว่า 1 ตัว ต่อการ ประมวลผลงานใดงานหน่ึง ระบบปฏิบัติการประเภทนี้อาจ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ระบบปฏิบัติการท่ี6การประมวลผล แบบขนาน (Parallel Processing) แบบมลั ตทิ าสกิ่ง (Multitasking)) ระบบปฏิบัตกิ ารทม่ี กี ารรองรับการประมวลผลแบบขนาน 4.3 ท่ีต้องใช้หน่วยประมวลผลกลาง ลงากกว่า 1 ตัว ต่อการ ประมวลผลงานใดงานหนึ่ง ระบบปฏิบัติการประเภทนี้อาจ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ระบบปฏิบัติการที่6การประมวลผล แบบขนาน (Parallel Processing)

แบบเวลาจริง (Real time) 4.4 ระบบปฏิบัติการที่สร้างมาใช้เฉพาะงาน โดยต้องสามารถ ตอบสนองคําส่ังได้แบบทันทีทันใด ส่วนใหญ่ใช้ในระบบ เจาะจงพิเศษ เช่น งานทดลองวิทยาศาสตร์ ระบบภาพทาง การแพทย์ (Medical Imaging Systems แบบทดสอบ 3. ระบบปฏิบตั กิ ารมกี ่ปี ระเภท ก. 2 ประเภท 1. ข้อใดไมใ่ ช่หน้าทข่ี องระบบปฏิบัตกิ ารที่มีตอ่ ข. 3 ประเภท เครื่องคอมพิวเตอร์ ค. 4 ประเภท ก. จัดการทรพั ยากร ง. 5 ประเภท ข. ตวั กลางระหวา่ งผู้ใชง้ านกับเคร่อื งคอมพิวเตอร์ จ. 6 ประเภท ค. ควบคุมดแู ลอุปกรณ์ต่างๆ ง. จัดระเบียบในการตดิ ต่อส่อื สาร 4 ขอ้ ใดตอ่ ไปนี้ไมใ่ ชป่ ระเภทของ จ. ซ่อมบาํ รุงดูแลรักษาระบบ ระบบปฏบิ ัติการ ก. ระบบปฏบิ ตั ิการแบบเดี่ยว 2. ข้อใดต่อไปนีบ้ อกความหมายของ ข. ระบบปฏบิ ตั ิการแบบเครือขา่ ย ระบบปฏิบัตกิ ารได้ถูกตอ้ งทีส่ ุด ค. ระบบปฏิบัติการแบบฝงั ตวั ก. ระบบทีช่ ่วยในการจดั การระเบียบในการ ง. ระบบปฏบิ ัตกิ ารมอื ถอื ตดิ ตอ่ สือ่ สารระหว่างเครอื ขา่ ย จ. ระบบปฏิบัตกิ ารแบบหลายผู้ใช้ ข. ระบบท่ีชว่ ยในการจดั การระเบยี บในการ ติดตอ่ ส่ือสารระหว่างผใู้ ชก้ ับเครื่องคอมพวิ เตอร์ ค. ระบบทีช่ ่วยในการจัดการระเบียบในการทํางาน ของคอมพวิ เตอร์ ง. ระบบที่ชว่ ยในการจัดการคอมพิวเตอร์ จ. ระเบียบและดแู ลอปุ กรณต์ ่างๆ ของคอมพวิ เตอร์

5. ระบบปฏบิ ัตกิ าร Androidจดั อยู่ในประเภทใด 9. งานทดลองวิทยาศาสตร์และระบบภาพทาง ระบบปฏบิ ตั ิการแบบเดยี ว การแพทย์ ควรเลือกใช้ระบบปฏบิ ัติกา การทํางาน ข. ระบบปฏิบัติการแบบเครอื ข่าย แบบใด ด. ระบบปฏิบตั ิการแบบฝังตวั ก. แบบหลายผใู้ ช้ ง. ระบบปฏิบตั ิการมอื ถอื ข. แบบมลั ติทาสกง้ิ จ. ระบบปฏบิ ัตกิ ารแบบหลายผใู้ ช้ ค. แบบมัลตโิ ปรเซสซึ่ง ง, แบบเวลาจรงิ 6. ระบบปฏบิ ัตกิ ารแบบวินโดวสจ์ ัดอยู่ในประเภทใด จ. แบบฝงั ก. ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเดยี่ ว ข. ระบบปฏิบัตกิ ารแบบเครือขา่ ย 10.ขอ้ ใดกล่าวถงึ คุณสมบตั ขิ องระบบปฏิบัติการ ค. ระบบปฏิบตั กิ ารแบบฝงั ตวั แบบมัลตโิ ปรเซสซิ่งไดถ้ ูกต้องท่สี ุด ง. ระบบปฏิบัติการมอื ถือ รองรบั การทาํ งานประมวลผลแบบขนาน จ. ระบบปฏิบัติการแบบหลายผูใ้ ช้ ข. สามารถรองรับการทํางานแบบผู้ใช้ได้ มากกว่า 2 คน 7. ระบบปฏบิ ัติการใดต่อไปนไ้ี มเ่ ข้าพวก ค. รองรับการใช้งานโปรแกรมมากกว่า 1 ก. ระบบปฏิบตั กิ ารวนิ โดวส์ โปรแกรม ข. ระบบปฏิบตั กิ ารแมคโอเอส ง. รองรับการทํางานโดยสามารถตอบสนอง ค. ระบบปฏบิ ัติการอูบุนตู คาํ ส่ังไดแ้ บบทันทีทันใด ง. ระบบปฏบิ ตั ิการยูนิกส์ จ. การใช้งานโปรแกรมจะสามารถทําได้อย่าง จ. ระบบปฏบิ ตั ิการดอส รวดเรว็ กวา่ ปกติ 8. ระบบปฏิบัติการที่ทําหน้าท่ีเป็นคอมพิวเตอร์แม่ข่ายมีลักษณะการ ทาํ งานเป็นแบบใด ก. แบบหลายผู้ใช้ ข. แบบมัลตทิ าสกง้ิ ค. แบบมัลตโิ ปรเซสชิง ง. แบบเวลาจรงิ จ. แบบฝัง

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 ระบบปฏบิ ัตกิ ารภาวะขอ้ ความ(Text Mode) สาระสาํ คญั เน้ือหาในหน่วยนี้จะกล่าวถึงระบบปฏิบัติการดอสซ่ึงเป็นระบบปฏิบัติงานแบบภาวะ ข้อความ (Text Mode) ที่เป็นที่รู้จักกันมากที่สุด โดยจะกล่าวถึงความเป็นมาของ ระบบปฏิบัติการดอส การเริ่มต้น ทํางานของระบบปฏิบัติการดอสในเคร่ือง คอมพิวเตอร์ การต้ังชื่อในระบบปฏิบัติการดอส คําส่ังดอส เบ้ืองต้นและตัวแปรท่ีใช้ แทนตัวอักษร สาระการเรียนรู้ 1. ความเปน็ มาของระบบปฏบิ ัตกิ ารดอส 2. การเริ่มตน้ ทาํ งานของระบบปฏิบัติการดอส 3. การตั้งชื่อในระบบปฏิบตั กิ ารดอส 4. คําสัง่ คอสเบื้องตน้ 5. ตัวแปรแทนตัวอักษร

01 ความเปน็ มาของระบบปฏบิ ตั กิ ารดอส Dos (DiskOperatingSystem)เปน็ ระบบปฏบิ ัติการทใี่ ช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ รุ่นแรก โดยถูกสร้างขึ้นโดยบริษัทไมโครซอฟต์เรียกว่า MS-DOS 1.0 ต่อมาในปีพ.ศ. 2525 ได้พัฒนาเปน็ MS-DOS 11 และในปพี .ศ. 2526 พัฒนาเป็น MS-DOS รุ่น 2.0, 2.01, 2.10, 211, 2.25 ในปีพ.ศ. 2527 ได้มีการพัฒนาโปรแกรม MS-DOS รุ่น 3.0 และ 3.1 และเมื่อเทคโนโลยีเริ่มพัฒนาไปเรื่อยๆ จนถึง ปีพ.ศ. 2529 บริษัท ไมโครซอฟต์ก็ได้ออก MS-DOS รุ่น 3.2 ซึ่งสามารถใช้งานกับดิสก์ไดรฟ์ความจุ 720 กิโลไบต์ ขนาด 3.5 นิ้ว และพัฒนาตอ่ เปน็ MS-DOS 3.3 ในปพี .ศ. 2530

จนถึงปีพ.ศ. 2531 บริษัทไมโครซอฟต์ได้ผลิต MS-DOSรุ่น4,0และ4.01 ซึ่งมีระบบ DOSSHELL ครั้งแรกและได้ประกาศตัวโปรแกรมวินโดวส์รุ่น 3.0 (Windows 3.0) โดยทาํ งานภายใต้ MS-DOS 4.0 หรือรุ่นที่สูงกว่า ซึ่งเป็นต้นแบบของระบบปฏิบัติการ วินโดวส์ในปัจจุบัน ปีพ.ศ. 2534 ไมโครซอฟต์ ได้ประกาศ MS-DOSรุ่น 5.0 ออกมา เป็นระยะเวลานาน 2 ปี เมื่อถึงปีพ.ศ. 2536 จึงได้พัฒนา MS-DOSเป็น 6.0 และ พัฒนาอีกครง้ั เป็น 6.21 ในปีพ.ศ. 2538 เปิดตวั โปรแกรมระบบปฏิบัติการวินโดวส์ 95 (Windows 95: CHICACO) ซึ่งในระบบปฏิบัติการดังกล่าวมี DOS รวมอยู่ด้วย โดย เป็น MS-DOS รุ่น 7 และในปีพ.ศ. 2540 ออก MS-DOS รุ่น 7.1 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ วินโดวส์ 95 OSR2โดยมีการเปลย่ี นแปลง คอื สนบั สนุนการใช้ฮาร์ดดิสก์แบบ FAT 32 และได้รับการพัฒนามาจนกระท่ังปัจจุบัน โดยระบบปฏิบัติการ ตอสมิให้ใช้งานอยู่ ภายในระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวส์

02 การเรมิ่ ต้นทาํ งานของระบบปฏิบตั กิ ารดอส การเรม่ิ ต้นทาํ งานของระบบคอมพิวเตอรจ์ ะเริ่มต้นโดยอัตโนมัติจากส่วนของ ชุดคาํ สงั่ ทจี่ ดั เกบ็ อยู่ บนหน่วยความจําของระบบคอมพิวเตอร์ท่ีใช้อ่านได้อย่าง เดียวเรียกว่า รอม (Read Only-Memory: ROM) คําสั่งเหล่าน้ีจะทําหน้าท่ี ควบคมุ อปุ กรณพ์ ื้นฐานเรียกว่ารอมไบออส (ROM BIOS) จากน้ัน ทําการบรรจุ หรือโหลด (Load)ระบบปฏิบัติการจากแผ่นบันทึกหรือฮาร์ดดิสก์ข้ึนสู่ หน่วยความจําหลัก หลังจากน้ันการควบคุมการทํางานของระบบคอมพิวเตอร์ จะถูกบรรจไุ ปอยู่บนหน่วยความจาํ หลกั เป็ ท่ีเรยี บร้อย 2.1 บูตเรคคอร์ด (Boot Reecord) 2.2 COMMAND.COM 2.3 การบตู เครื่องคอมพวิ เตอร์ 2.4 วิธีการเขา้ ใช้งานระบบปฏิบตั กิ ารดอสทีอ่ ยู่ในระบบปฏิบตั ิการวินโดวส์ 03 การตัง้ ชื่อในระบบปฏบิ ัติการดอส การตั้งช่ือในระบบปฏิบัติการดอสจะใช้สําหรับการต้ังช่ือแฟ้มข้อมูลหรือชื่อ ได เร็กทอรี (Directory) โดยลักษณะการตั้งช่ือน้ันสามารถต้ังชื่อได้ความยาวไม่เกิน 8 ตัวอักษร และนามสกุลไฟล์ยาวได้ไม่เกิน 3 ตัวอักษร โดยการต้ังชื่อน้ันห้ามนํา อักษรพิเศษต่างๆ มาใช้ในการต้ังช่ือ เช่น “ / \\U : * | <> 1 , = ? ตัวอย่างของ ชือ่ แฟ้มขอ้ มลู ในระบบปฏบิ ตั กิ ารตอสมีดงั นี้ ชอ่ื นามสกลุ

04 คําสงั คอสเบอื้ งตน้ คาํ สัง่ ดอสเบอ้ื งต้นทคี่ วรศึกษาเพอ่ื การใชง้ าน แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทดงั น้ี 4.1 ประเภทคําส่งั 4.1.1 ประเภทคาํ สั่งภายใน (Internal Command) คาํ สั่งนี้สามารถใชไ้ ดท้ ันที โดยท่ีนี้ ไม่ต้องเรียกโปรแกรมอน่ื เพมิ่ เติมจากแผ่น เช่น คําส่ัง DIR, DEL, REN, MOVE เป็นต้น โดยคําส่ัง เหล่านี้จะถูกบรรจุหรือโหลดเข้าไปในเคร่ืองคอมพิวเตอร์อยู่แล้วคืออยู่ใน แฟม้ ข้อมลู COMINLAND COM 4.1.2 คําสั่งภายนอก (External Command) หมายถึงคําส่ังท่ีต้องการทําการเรียกใช้ งาน โปรแกรมใช้งานเพ่ิมเติมนอกเหนือจากที่ได้ทําการโหลดเบ้ืองต้นโดยมากคําส่ัง ประเภทนี้จะมีนามสกุล เป็น.COM หรือ EYE เช่น คําสั่ง FORMAT, TREE, XCOPY เปน็ ตน้ 05 ตวั แปรแทนตัวอักษร การจัดการแฟ้มข้อมูลในระบบปฏิบัติการดอสน้ันอาจมีแฟ้มข้อมูลจํานวน มากที่มีชื่อหรือนามสกุล ท่ีคล้ายกัน สิ่งหน่ึงที่จะทําให้สามารถจัดการกับกลุ่ม แฟ้มข้อมูลเหล่าน้ีได้สะดวกขึ้นคือตัวแปรแทน ตัวอักษร ซ่ึงจะมี 2 ตัวที่ใช้ใน การจดั การคอื เครื่องหมายคําถาม (2) และเครื่องหมายดอกจัน (*) ซง่ึ สามารถ นําไปประยุกต์ใช้ตัวแปรแทนตัวอักษรเหล่านี้กับคําสั่งต่างๆ เช่น คําสั่ง DIR, คําส่ัง REN. คาํ ส่งั MOVE ฯลฯ

5.1 ตวั แปรสามตวั อกั ษร ตัวแปร () จะใชแ้ ทนตัวอักษร 1 ตัว ตัวอย่างของวิธกี ารใช้งานสามารถแสดงได้ โดยตอ้ ง ขึน้ ในโลงตวั V และลงทา้ ยด้วยสาว 6 เจน Work Doc หรือ Week.DOC เป็นตน้ 5.1.1 DIN MP2W.DOC หมายถึงใหแ้ สดงแฟม้ ข้อมลู ทม่ี ีจาํ นวนของช่อื แฟม้ ข้อมลู 4 ตวั โดะต้องข้ึนตน้ ด้วยตัว W และลงท้ายด้วยตัว * เช่น Work.DOC หรอื Week.DOC เปน็ ตน้ 5.1.2 DIN WORKD77 หมายถงึ ใหแ้ สดงแฟ้มขอ้ มูลทชี่ ื่อวา่ Work ท่ีมี นามสกุลทีข่ นึ้ 2.ละตามด้วยตัวแทนตัวอกั ษรอะไรก็ได้ 2 ตัว เช่น Work.DOC Worlk.DIC 5.2 ตัวแปรแทนตวั อกั ษร () ตัวจร () จะใช้แทนตวั อกั ษรจาํ นวนกต่ี วั ก็ได้ ตัวอยา่ งของวิธกี ารใช้งานสามารถแสดงได้ 5.2.1 DIR\"DOC หมายถึงใหแ้ สดงรายชอ่ื แฟม้ ขอ้ มลู ทกุ แฟม้ ทมี่ นี ามสกลุ เปน็ DOC 5.2.2 DR WORK หมายถงึ ใหแ้ สดงรายชอ่ื แฟ้มขอ้ มูลทุกแฟม้ ทช่ี อ่ื วา่ Work เช่น Work D00 Wie BN Work TXT เป็นตน้ 5.2.3 DEL หมายถึงการลบแฟม้ ข้อมลู ทกุ ช่ือและทุกนามสกลุ ออกจากไดเร็ก ทอรี ปจั จบุ ันหรือ * หมายความว่าแฟ้มข้อมลู ทกุ แฟม้ ในไดเร็กทอรี

แบบทดสอบ 1. ระบบปฏิบัติการตอส (DOS) ยอ่ มาจากคําใด 5 คาํ สง่ั ดอสในข้อใดคือคําส่ังภายนอก ก. FORMAT ก. Disk Office System ข, DEL ข. Distribute Operating System ค. CLS ค. Dislk Operating System ง. DIR ง. Disk Office Supervisor จ. COPY จ. Disk Opening System 2. การบตู เครอ่ื งโดยการกดปุ่ม Ctrl + Alt + 6. ข้อใดคอื คาํ สง่ั การเปลยี่ นไดรฟ์ท่กี าํ ลัง Del พร้อมกันเรยี กวา่ เปน็ การบูตแบบใด ทํางานในปจั จุบนั ไปเปน็ ไดรฟ์ D: ก. Control Boot ก. Change D: ข. Reset Boot ข. MOVE D: ค. Cold Boot ค. D: ง. Reboot ง. JUMP D: จ. Warm Boot จ. CD D: 3. ชนดิ คําสั่งดอสในขอ้ ใดคือคาํ สง่ั ภายใน ก, 7. คําสงั่ ดอสในข้อใดใช้สาํ หรับดู FORMAT รายละเอียดของแฟ้มขอ้ มูลในไดเร็กทอรี ข. DELTREE ปจั จุบัน ค. COPY ก. VER ง. DISKCOPY ข. TYPE จ. DIR ค. DIR 4. คาํ สงั่ ภายในของระบบปฏบิ ตั ิการดอสจะถกู ง. FOLDER เกบ็ ไวท้ ีแ่ ฟ้มขอ้ มลู ใด จ. VIEW ก, IO.SYS 8. MD คือคาํ ส่งั DOs ในขอ้ ใด ข. FORMAT.COM ก. คาํ ส่งั เปลย่ี น Subdirectory ทตี่ อ้ งการ ค, MSDOS.SYS ข. คาํ สง่ั ลบ Subdirectory ง. Boot Record ค. ดูช่ือแฟ้มขอ้ มลู ใน Subdirectory จ. COMMAND.COM ง. คาํ สง่ั สร้าง Subdirectory จ. คาํ สั่งย้ายตาํ แหน่งของ Subdirectory เพอื่ จัดเก็บแฟ้มข้อมลู

9. ข้อใดตอ่ ไปน้ีใช้คาํ สั่ง MOVE ถูกตอ้ ง 10. ขอ้ ใดตอ่ ไปนี้ใชค้ ําส่ังไมถ่ กู ตอ้ ง ก. MOVE MYWORK MYTEXT ก. dir/w 9 ข. MOVE TO MYWORK MYTEXT ข. TYPE dos.txt I MORE ค. MYWORK MOVE MYTEXT ค. copy/? ง. MYWORK MOVE TO MYTEXT จ ง. cd/ จ. MOVE TO D:\\ MYTEXT จ. cd..

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 ระบบปฏิบัติการแบบกราฟิก สาระสาํ คญั เนอื้ หาในหนว่ ยน้ีจะกลา่ วถงึ ระบบปฏิบัติการแบบกราฟิกท่ีนิยมใช้งานในปัจจุบัน การใช้งาน ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เบ้ืองต้น การเรียกใช้งานโปรแกรมใน ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ การสลับ หน้าต่างการทํางานของโปรแกรมใน ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ การจัดการกับหน้าต่างของโปรแกรม ในระบบปฏิบัติการ วินโดวส์ การจัดการแฟ้มข้อมูลในระบบปฏิบัติการวินโดวส์ และการออกจากระบบ ปฏิบตั ิการวินโดวส์ สาระการเรียนรู้ 1. การใชง้ านระบบปฏบิ ตั กิ ารวนิ โดวส์เบือ้ งต้น 2. การเรยี กใชง้ านโปรแกรม 3. การสลบั หนา้ ต่างของโปรแกรม 4. การจัดการกบั หนา้ ตา่ งของโปรแกรม 5. การจดั การแฟ้มข้อมลู 6. การปรบั แต่งเดสก์ท็อป 7. การออกจากระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวส์

OPTION การใชง้ านระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวส์ เบ้ืองตน้ 01 ระบบปฏิบตั กิ ารแบบกราฟิกนนั้ มอี ยู่มากมายหลายรนุ่ ซ่ึงแต่ละร่นุ จะมคี วามเหมาะสม กับงาน แต่ละอย่างต่างกัน โดยระบบปฏิบัติการวินโดวส์เป็นระบบปฏิบัติการท่ีมีผู้นิยมใช้ มากตัวหนึ่ง ซึ่ง เหมาะสําหรับนาํ มาเรยี นรวู้ ธิ กี ารใช้งานเบ้อื งต้น โดยเน้ือหาในหนังสือเล่มน้ี จะแสดงการใชง้ านบน ระบบปฏบิ ัตกิ ารวินโดวส์ 7 (Windows 7) ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ 8 (Windows 8) และระบบปฏิบัติการ วินโดวส์ 10 (Windows 10) เพื่อเป็นแนวทางใน การใชร้ ะบบปฏิบัติการตวั อ่ืนๆตวั อ่ืนๆ อีกต่อไป 1.1 องคป์ ระกอบของหนา้ จอวินโดวส์

OPTION การเรียกใช้งานโปรแกรม 02 2.1 Windows 7 การเรียกใช้งาน โปรแกรมเบ้อื งตน้ ในระบบ ปฏิบัตกิ าร วินโดวส์ 7 สามารถ ทําตามข้ันตอนดงั ต่อไปน้ี 1) คลกิ ปุม่ Start 2) 2) เลือ่ นเมาสไ์ ปที่ Program แลว้ ทาํ การเลอื ก 2.2 Windows 10 การเรยี กใช้งาน โปรแกรม เบื้องต้นในระบบปฏิบตั กิ าร วินโดวส์ 10 สามารถทาํ ตามขั้นตอน ดงั ต่อไปน้ี 1) คลกิ ป่มุ Start Menu รูป 2) เลื่อนเมาส์ไปที่ All apps แลว้ ทํา การเลอื กเปดิ โปรแกรมหรอื แอป พลิเคชนั ท่ีต้องการ

OPTION การสลับหนา้ ตา่ งของโปรแกรม 03 เมื่อทาํ การเปิดโปรแกรมตา่ งๆ ขนึ้ มาทาํ งานพรอ้ มกนั หลายโปรแกรมวธิ สี ลับ หน้าต่างของโปรแกรม เพ่ือเลอื กทาํ งานโปรแกรมทต่ี ้องการสามารถทําได้ หลายวธิ ดี งั น้ี 1. ใช้เมาส์คลิกทีห่ น้าตา่ งโปรแกรมนนั้ เลย 2. ใชเ้ มาส์คลิกตรงชื่อโปรแกรมทแี่ ถบง 3. ใชป้ ่มุ ALT+Tab ทีแ่ ปน้ พมิ พ์ โดยกดปมุ่ ALT ค้างไว้ แลว้ ตามด้วยปมุ่ Tab ซงึ่ การกดปมุ่ Tab แตล่ ะครง้ั จะเปน็ การเลอื กโปรแกรมที่ต้องการสลับ หน้าต่าง

OPTION การจดั การกบั หนา้ ตา่ งของโปรแกรม 04 เมือ่ เปดิ โปรแกรมขึ้นมาใชง้ านจะมหี น้าตา่ งของโปรแกรมน้นั ปรากฏขน้ึ บนพื้นที่ การทาํ งาน(Desktop) และหากมีการเรยี กโปรแกรมขึน้ มาใชง้ านมากๆ พ้ืนทก่ี าร ทาํ งานจะเตม็ ไปด้วยหนา้ ตา่ งของโปรแกรม ท่เี กิดข้ึน อาจทําใหก้ ารใชง้ าน โปรแกรมตา่ งๆ น้ันไมส่ ะดวก ซ่งึ ระบบปฏบิ ตั ิการวนิ โดวสส์ ามารถจัดการ รบั หน้า ต่าง 4.1 จัดการกับหน้าต่างของวินโดวส์ด้วย Control Buttons 4.1.1 สําหรับการซ่อนหน้าต่างโปรแกรม โปรแกรมท่ีทําการเลือกจะทําการย่อ หน้าต่างของ โปรแกรมน้ันลงมาอยู่ใน Taskbar หรือหากต้องการย่อหน้าต่าง ท้ังหมดลงสามารถทําไดโ้ ดยกดปมุ่ WindowS+M ท่ีแปน้ พิมพ์ 4.1.2 Restore/Maximize สาํ หรับการขยายหน้าต่าง ซึ่งปมุ่ นี้เปน็ ได้ทง้ั ปุ่มยอ่ และ ขยายหนา้ ตา่ งของโปรแกรมให้เตม็ พ้ืนที่งาน อีกวธิ หี น่งึ คือทาํ การคลกิ ตรงตาํ แหน่ง ของช่อื โปรแกรมมาที่ ตาํ แหนง่ ของ Taskbar 4.1.3 Close สําหรับปิดหน้าต่างหรือสิ้นสุดการทํางานของโปรแกรม อีกวิธีหน่ึง คือทํา การคลิกตรงตําแหน่งของช่ือโปรแกรมมาท่ีตําแหน่งของ Taskbar หรือกด ปุม่ ALT+F4 ที่แป้นพมิ พ์

จดั การกบั หน้าตา่ งของวินโดวส์ดว้ ยการปรบั ขนาดและเคล่ือนยา้ ย 4.2.1 การปรับขนาดหน้าต่างเอง ในบางคร้ังขนาดหน้าต่างของโปรแกรมที่ใช้งานอยู่ อาจจะ ไม่มีความเหมาะสมในการทํางาน การปรับขนาดหน้าต่างของโปรแกรมให้ เหมาะสมกับการทํางาน ทําได้ โดยการนําตัวช้ีเมาส์ (Mouse Pointer) ไปช้ีท่ีขอบ หน้าตา่ งของโปรแกรมด้านใดด้านหนึ่งคา้ งไว้ เม่ือตัวชี้เมาส์เปลี่ยนเป็นลูกศรให้คลิกเมาส์ ค้างไว้ จากนนั้ ทาํ การลากขยายขนาดไดต้ ามตอ้ งการ

OPTION การจดั การแฟม้ ข้อมูล 05 ในระบบปฏิบัติการวินโดวส์จะมีโปรแกรมที่ทําหน้าที่จัดการกับแฟ้มข้อมูลคือ โปรแกรม Windoor Explorer โดยในโปรแกรมนีส้ ามารถทําไดโ้ ดยดูรายละเอียด ของแฟ้มข้อมูล การคัดลอกแฟ้มข้อมู ลบแฟ้มข้อมูล การเปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล เปน็ ตน้ นับว่าเป็นโปรแกรมท่ีมปี ระโยชนอ์ ยา่ งมากใน การใชง้ านระบบปฏิบัติการ วินโดวส์ การเรียกใชง้ านโปรแกรม Windows Explorer สามารถทาํ ได้โดยคลิกท่ี \" บนแท็บ Taste หรอื คียล์ ดั โดยการกดปมุ่ Windows+E บนแป้นพมิ พด์ งั ภาพ

OPTION การปรับแต่งเดสกท์ อ็ ป 06 หน้าต่างเดสกท์ อ็ ปท่ใี ช้งานสามารถปรบั แต่งได้ เช่น รูปแบบการแสดงผล รูปภาพ พื้นหลัง การพักหน้าจอ กําหนดขนาดตัวอักษรหรือกําหนดความละเอียดของ จอภาพ เป็นต้น ซ่ึงระบบปฏิบัติการ ทั้ง 3 รุ่นนั้น มีลําดับขั้นตอนเหมือนกัน โดยมี รายละเอียดดังน้ี 1. คลิกขวาที่หน้าเดสก์ท็อป 2. เลือก Personalize จากน้ันเลือก Desktop Background

OPTION การออกจากระบบปฏิบัตกิ ารวนิ โดวส์ 07 ระบบวินโดวส์มีความซับซ้อนเป็นอย่างมาก จึงจําเป็นอย่างยิ่งที่ไม่ควรปิดเครื่อง อย่างกะทันหัน ไม่เช่นนั้นอาจสูญเสียข้อมูลที่สําคัญไป ดังน้ันควรเลือกปิดเคร่ือง อยา่ งถูกวธิ ี 7.1 Windows 7 7.1.1 คลกิ ทป่ี ุ่ม (Taskbar) 7.1.2 คลิกท่ีคําส่ัง Shut down 7.1.3 รอจนกระท่ังเครอื่ งปิด 7.2 Windows 10 7.2.1 คลิกท่ีปุม่ Start Menu บนแถบงาน (Taskbar) 7.2.2 คลิกท่คี ําส่งั Power จากน้นั เลอื กคาํ สง่ั Shut down 7.3.3 รอจนกระทั่งเครื่องปิด

แบบทดสอบ 1 ในระบบปฏิบัติการ Windows สว่ นประกอบใดเป็นแถบที่ใช้แสดงถึงโปรแกรมท่ี ด้วย เรียกใช้งานอย่ใู นปัจจบุ นั n. Desktop ข. Icon ค Tool Bal ง. Title Bar จ. Taskbam 2 แถบเคร่อื งมือใดทม่ี เี พ่มิ เติมมาในระบบปฏบิ ัตกิ าร Windows 8 ก. Tool Bar ข. Title Bar ค. Charm Bar ง. Control Bar จ. Taskbar 3. Icon ในระบบปฏิบัตกิ ารแบบกราฟกิ มีความหมายตรงกบั ข้อใด ก. รูปภาพขนาดเลก็ ที่ส่ือถงึ โปรแกรมทีไ่ ด้ทาํ การตดิ ตัง้ ในระบบปฏบิ ตั ิการ ข. เปน็ แถบท่ีใชแ้ สดงถงึ โปรแกรมทกี่ าํ ลังถกู เรียกใช้งานอยใู่ นปัจจบุ นั ค. ปุม่ ทใ่ี ช้สําหรับกดเมอ่ื ตอ้ งการจะทาํ การออกจากระบบปฏิบตั กิ ารวนิ โดวส์ ง. ตาํ แหนง่ ท่ใี ช้สําหรับรายงานสถานการณ์ทาํ งานของเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ จ. แถบแสดงรายช่ือของโปรแกรม 4. ข้อใดเปน็ การสลับหนา้ ตา่ งโปรแกรมการใชง้ านแบบปุม่ ลัด ก. Alt + Tab ข. Shift + Tab ค. Ctrl + Tab ง. Alt + Shift +Tab จ. Alt + Ctrl + Tab

5. ข้อใดเป็นการปดิ หนา้ ต่างโปรแกรมการใชง้ านแบบปุ่มลัด n. Alt + F1 ข. Alt + F4 ค. Alt + Shift ง. Alt + Tab จ. Alt + Del 6. โปรแกรมการใช้งานจะอย่ทู ่ใี ดเมอ่ื คลกิ ปุ่มยอ่ หน้าต่างของ โปรแกรม 10. วิธีการในข้อใดคอื วิธกี ารท่ถี ูกตอ้ งเมอ่ื ก. Desktop ตอ้ งการออกจากระบบปฏบิ ัตกิ ารวินโดวส์ ข. Taskbar ก. กดปุม่ Power ทตี่ วั เครื่องได้ทันที ค. Tool Bar ข. กดปุ่ม Ctrl + Alt + Delete พรอ้ มกัน ง, Title Bar ค. กดปมุ่ Alt + F4 จ. Charm Bar ง. คลกิ ปุม่ Start แลว้ เลอื ก Shut Down 7.ขอ้ ใดคือป่มุ การย่อตา่ งใหเ้ ล็กลง ก. ข. จ. ถอดปลกั ไฟของเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ไดท้ นั ที ค. ง. ง. จ. 8.โปรแกรมทีใ่ ช้สาํ หรบั จัดการแฟม้ ข้อมูลของระบบปฏิบตั ิการ วินโดวส์คือขอ้ ใด ก. Windows Explorer ข. File Manager ค, System Tools ง. My Computer จ. ไมม่ ขี อ้ ใดถกู 9. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ใี ห้คําเปรยี บเทยี บของสญั ลกั ษณร์ ปู ได้ถูกต้อง ก. ไดรฟ์เปรยี บเสมือนตูเ้ อกสาร ข. ไดรฟ์เปรียบเสมือนแฟ้มเอกสาร ค. ไฟลเ์ ปรยี บเสมือนกระดาษ ง, โฟลเดอรเ์ ปรียบเสมือนตเู้ อกสาร จ. โฟลเดอร์เปรียบเสมอื นแฟม้ เอกสาร

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 โปรแกรมยูทิลิต้ี สาระสาํ คญั เน้ือหาในหน่วยน้ีจะกล่าวถึงความหมายของโปรแกรมยูทิลิตี้ โปรแกรมยูทิลิต้ีท่ี สําคัญในระบบ ปฏิบัติการวินโดวส์ด้านการบํารุงรักษาและการจัดการระบบ เช่น โปรแกรม Error Checking โปรแกรม Defragment and optimize Drives โปรแกรม Disk Cleanup โปรแกรม Task Scheduler และ DirectX Diagnostic Tool เป็นต้น โปรแกรมยูทิลิตี้ด้านการรักษาความปลอดภัยของระบบ นอกจากน้ี ยังกล่าวถึง โปรแกรมอื่นๆ ที่ช่วยอํานวยความสะดวกในการใช้งานด้านความบันเทิงสําหรับดูหนัง ฟงั เพลง และใช้สาํ หรบั การจัดการเกี่ยวกับรปู ภาพ สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของโปรแกรมยทู ิลติ ี้ 2. โปรแกรมยทู ิลิต้สี าํ หรับระบบปฏบิ ัตกิ าร 3. โปรแกรมยทู ลิ ิตอ้ี ืน่ ๆ 4. โปรแกรมด้านมัลติมเี ดยี และจัดการรูปภาพ

OPTION ความหมายของโปรแกรมยทู ลิ ติ ้ี 01 โปรแกรมยูทิลิตี้ (Utility Program/System) หรือโปรแกรมอรรถประโยชน์ หมายถึงโปรแกรม ช่วยจัดการระบบทางด้านต่างๆ รวมไปถึงดูแลรักษา ซ่อม บาํ รุงคอมพวิ เตอร์ และช่วยเพมิ่ ประสิทธิภาพ การทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยยูทิลิตแ้ี บง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือยทู ิลิตีส้ ําหรับระบบปฏบิ ัตกิ าร (Os Utility program) และยูทิลิตี้อื่นๆ (Stan-Alone Utility Program) ยูทิลิตี้สําหรับ ระบบปฏิบตั ิการ เป็นโปรแกรมทตี่ ดิ ตงั้ มากับระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว ซ่ึงในระบบ ปฏิบัติการวินโดวส์น้ัน มีการพัฒนาโปรแกรมยูทิลิต้ีท่ีช่วยดูแล ซ่อมแซม รักษา ระบบและเพ่ิมประสิทธิภาพ ในการทํางานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึง ข้อแนะนําและแนวทางการแก้ปัญหาท่ีอาจจะเกิดข้ึนกับ ระบบปฏิบัติการ วินโดวส์ เช่น โปรแกรมสแกนดิสก์ เช็กดิสก์ เป็นต้น ยูทิลิตี้อ่ืนๆ เป็นโปรแกรมที่ ต้องติดตั้งเพิ่มเติม เช่นโปรแกรมบีบอัดไฟล์โปรแกรมด้านความปลอดภัย ของ ระบบหรอื โปรแกรมปอ้ งกนั ไวรัส โปรแกรมไฟรว์ อลลป์ อ้ งกนั การบุกรุก เป็นตน้

OPTION โปรแกรมยทู ลิ ิตสี้ าํ หรบั ระบบปฏบิ ัตกิ าร 02 ยูทิลิต้ีสําหรับระบบปฏิบัติการในหน่วยน้ีนําเสนอยูทิลิตี้ในระบบปฏิบัติการวินโดวส์ เนื่องจากเป็น ระบบปฏิบัติการท่ีมีการใช้งานกันมาก โดยยูทิลิตี้ที่จะกล่าวถึงประกอบด้วย โปรแกรม Error Checking โปรแกรม Defragment and Optimize Dives โปรแกรม Disk Cleanup โปรแกรม Task Scheduler และ DirectXDiagnostic Tool โดยมี รายละเอยี ดดงั น้ี 2.1 โปรแกรม Error Checking โปรแกรม Error Checking เป็นโปรแกรมท่ีทําหน้าท่ี ตรวจสอบการทํางานของหน่วยสํารอง ข้อมูลประเภทฮาร์ดดิสก์และแฮนด้ีไดรฟ์ว่ามีส่วน ไหนไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ รวมถึงตรวจสอบโครงสร้าง ของแฟ้มข้อมูลว่ามีความ ถูกต้องหรือไม่ หากพบปัญหาเกิดขึ้นโปรแกรม Error Checking จะทําการแก้ง ให้โดย อตั โนมัติและรายงานผลการแกไ้ ขใหท้ ราบ การใช้งานโปรแกรม Error Checking มดี ังนี้ 2.1.1 เปิด Windows Explorer --> คลิก ขวาไดรฟ์ที่ ต้องการตรวจสอบ--> คลกิ เลือก Properties-> เล่อื นแถบมาที่ Tools--> คลกิ เลอื ก Check ตามลาํ ดบั

2.2 โปรแกรม Disk Cleanup โปรแกรม Disk Cleanup เป็นโปรแกรมที่ทาํ การตรวจสอบข้อมลู ที่เก็บในฮารด์ ดิสก์ และแสดงข้อมูลต่างๆ ทไี่ มจ่ าํ เป็น คอื แฟม้ ขอ้ มูลเหล่านีจ้ ะเปน็ แฟม้ ขอ้ มลู ชั่วคราว ตา่ งๆ เช่น ไฟล์ท่ดี าวน์โหลด จากอนิ เทอรเ์ นต็ หรอื ไฟล์ทเ่ี ก็บอยู่ใน Recycle Bin และจะทําการแจง้ แก่ผู้ใช้งานว่าจะทาํ การลบแฟม้ ข้อมูล เหล่านั้นทงิ้ หรอื ไมส่ ามารถ เรยี กใชง้ านโปรแกรม Disk Cleanup ไดด้ งั นี้ 2.2.1 คลิกปุม่ Start จากน้ันเลือก All Programs->Accessories->System tools- Disk Cleanup ตามลําดับ หรือ All Apps --> Windows Administrative Tools --> Disk Cleanup 2.2.2 เมื่อเข้าสู่ Disk Cleanup ก็เลือกไดรฟ์ ที่จะทาํ การตรวจสอบ 2.2.3 คลิก OK จากน้นั โปรแกรม Disk Cleanup จะทําการตรวจสอบข้อมลู บน ฮาร์ดดสิ ก์ และแสดงไฟล์ท่จี ะสามารถลบได้

2.3 โปรแกรม Task Scheduler โปรแกรม Task Scheduler ทําหน้าท่ี เป็นตัวกําหนดเวลาการทํางานโปรแกรม ต่างๆ ลว่ งหน้า โดยสว่ นใหญจ่ ะใช้สาํ หรบั เรยี กโปรแกรม การจัดการต่างๆ เช่น Error Checking หรือ Defragment and Optimize Drives เพ่ือให้มี การตรวจสอบการ ทํางานอยา่ งสมํ่าเสมอ หรอื แม้กระท่ังกําหนดตั้งเวลาปิดเคร่ืองอัตโนมัติ โดย เนื้อหา ในส่วนน้ีจะแสดงตัวอย่างการกําหนดตั้งเวลา ปิดเคร่ืองอัตโนมัติวิธีการเรียกใช้งาน สามารถทําได้ ดงั น้คี อื

OPTION โปรแกรมยทู ิลิตอี้ ่ืนๆ 03 3.1 โปรแกรมยทู ิลิตอ้ี น่ื ๆ ในหนว่ ยนจ้ี ะกล่าวถึงโปรแกรมดา้ นความปลอดภัยของระบบ หรือโปรแกรม ป้องกันไวรัสและโปรแกรมสําหรับบีบอัดไฟล์ข้อมูล โดยโปรแกรม ดงั กล่าวจะนําเสนอโปรแกรมประเภท เรโี ปรแกรมมดี ังน้ี 3.1 โปรแกรมป้องกันไวรัส Microsoft Security Essentials Microsoft Security Essentials เป็นฟรีโปรแกรมสําหรับตรวจสอบและกําจัดไวรัสแบบ Real Time เป็น ฟรีโปรแกรมของบริษัท Microsoft ใช้งานง่าย เนื่องจากมีรายการให้เลือกใช้งาน เพียง 4 ส่วน 3.2 โปรแกรมบบี อดั ไฟล์ โปรแกรมท่ีใช้ในการบีบอัดไฟล์ (Compressed) ทําให้ไฟล์มีขนาดเล็กลงหรือ สามารถบีบอัด ไฟล์เข้าด้วยกัน เพ่ือสะดวกในการโอนถ่ายลงในอุปกรณ์เก็บข้อมูล หรือส่ง E-Mail น้ันมี หลายโปรแกรม เช่น WinZip WinRAR และ 7-Zip เป็นต้น เน้ือหาในส่วนนี้จะกล่าวถึงวิธีการติดต้ังและใช้งานโปรแกรม 7-Zip ซึ่งเป็นโปรแกรม ปร ะ เ ภ ท Freeware ที่ ส า ม า ร ถ Download ม า ใช้ง า น ไ ด้ ฟ รี ท่ี WWW.7- zip.org/download.html

OPTION โปรแกรมด้านมลั ตมิ เี ดียและจดั การรปู ภาพ 04 4.1 โปรแกรมมลั ติมเี ดยี Windows Media Player TWindows Media Player นอกจากโปรแกรมยูทิลิต้ีดังที่กล่าวไปแล้วยังมีโปรแกรมอื่นๆ ที่ช่วยอํานวยความ สะดวกและจําเป็น ต่อการใช้งานในปัจจุบัน เช่น โปรแกรมด้านมัลติมีเดีย สําหรับดู หนัง ฟังเพลง และโปรแกรมสําหรับ การจัดการรูปภาพ โดยเน้ือหาหน่วยนี้เสนอ โปรแกรม Windows Media player 4.1 โปรแกรมมัลติมีเดีย Windows Media Player TWindows Media Player คือ โปรแกรม Mutimedia เทพ่ี ร้อมใชห้ ลังจากลงระบบปฏิบัติการ TWindows สามารถ ใช้เล่นไฟล์เสียงและวิดีโอได้หลายสกุล ท้ัง ASF, MPEG-1, MPEG-2, WAV, AVI 1.UDI VOD, AU, MP3, QuickTime Files และอ่ืนๆ รวมไปถึงการดูรูปภาพต่างๆ (Image Viewer) 4.2 โปรแกรมจดั การรูปภาพโฟโต้สเคป (PhotoScape) โฟโต้สเคปเป็นฟรีโปรแกรมสําหรับจัดการเก่ียวกับรูปภาพ เช่น ย่อขนาด ใส่ กรอบรูป งสี ทาํ ภาพเคลื่อนไหว ตกแตง่ รายละเอยี ดเพ่ิมเติม เป็นต้น ง่ายและสะดวก ตอ่ ในการใช้งาน สามารถ ถูกใช้เป็นภาษาไทยได้

แบบทดสอบ 1. ข้อใดให้ความหมายของโปรแกรมยทู ลิ ติ ไี้ ด้ถูกตอ้ ง ก. โปรแกรมใช้งานท่ัวไปสําหรบั ดหู นัง ฟังเพลง เล่นเกมส์ ข. โปรแกรมช่วยอาํ นวยความสะดวกและเพิม่ ประสทิ ธิภาพให้กบั ระบบ ค. โปรแกรมซ่อมคอมพวิ เตอรช์ ่วยลดความเสยี หาย ง. โปรแกรมทัว่ ไปสําหรบั ดขู อ้ มลู ของระบบ จ. โปรแกรมที่ถูกพัฒนาขน้ึ เพือ่ การใช้งานเฉพาะดา้ น 2. ยทู ลิ ติ ้ีแบ่งเป็น 2 ประเภทอะไรบา้ ง ก. ยูทลิ ติ ้สี ําหรับระบบปฏบิ ัติการกบั ยทู ลิ ติ อี้ ่ืนๆ ข. ยทู ิลติ ี้สําหรับระบบปฏบิ ตั ิการกับยทู ลิ ติ ีความปลอดภัยของระบบ ค. ยูทลิ ติ ี้ด้านความปลอดภัยของระบบ กบั ยูทติ ิด้านความบนั เทงิ ง. ยูทิลติ ด้ี า้ นความบันเทงิ กับยทู ลิ ิต้ีสาํ หรบั ระบบปฏบิ ตั กิ าร จ. ยทู ลิ ติ ีด้ า้ นความปลอดภัยของระบบกบั ยทู ลิ ติ อ้ี น่ื ๆ 3. ข้อใดคอื หนา้ ทข่ี องโปรแกรม Defragment and Optimize Drives ก. ลบไฟลข์ ยะท่ีไม่จําเป็น ข. ตรวจสอบขอ้ มลู ของระบบ ค. จดั พนื้ ทข่ี องขอ้ มลู ภายในฮาร์ดดสิ ก์ให้เปน็ ระเบยี บ ง. ตรวจสอบและซอ่ มบาํ รุงรกั ษาฮาร์ดดสิ ก์ จ. ถกู ทกุ ข้อ 4. ขอ้ ใดตอ่ ไปนค้ี ือหน้าทข่ี องโปรแกรม Error Checking ก. ตรวจสอบขนาดความจุของฮารด์ ดิสก์ ข. ลบไฟลข์ ยะที่ไมจ่ าํ เปน็ ค. ตรวจสอบขอ้ มูลของระบบ ง. จดั พนื้ ทีข่ องข้อมูลภายในฮารด์ ดิสกใ์ ห้เป็นระเบยี บ จ. ตรวจสอบและซ่อมบํารุงรักษาฮารด์ ดสิ ก์ 5. โปรแกรมใดตอ่ ไปนีท้ ําหน้าทีเ่ ป็นตัวกาํ หนดเวลาการทาํ งานโปรแกรมตา่ งๆ ลว่ งหนา้ ก. Defragment and Optimize Drives ข. Error Checking ง. DirectX Diagnostic Too ค. Task Scheduler จ. Scan Disk

6. หากโปรแกรมประเภทมัลตมิ ีเดียมีปัญหาควรเลือกใช้โปรแกรมใดในการ ตรวจสอบและแก้ไขปัญหา 142 ระบบปฏบิ ัติการเบอ้ื งตน้ ในเบ้อื งต้น ก. Defragment and Optimize Drives Task Scheduler ข. Error Checking ค Task Scheduler ง. DirectX Diagnostic Tool จ. Scan Disk 7. ขอ้ ใดต่อไปนไ้ี มใ่ ชโ่ ปรแกรมในประเภทยทู ิลติ ีอ้ น่ื ๆ n. Fire Wall ข. Antivirus ง Winamp ค. Zip ง. Winamp จ. Microsoft Security Essentials 8. ขอ้ ใดต่อไปนกี้ ล่าวถึงประโยชนข์ องโปรแกรมบีบอัดขอ้ มูลได้ถกู ต้องทสี่ ุด ก. ทําใหไ้ ฟลม์ ีขนาดเลก็ ลง ข. ทาํ ใหไ้ ฟล์เปล่ยี นรูปรา่ ง ค. ทําใหไ้ ฟล์สามารถนาํ ไปใชก้ ับอุปกรณ์ขนาดเลก็ ได้ เช่น โทรศัพทม์ ือถือ ง. ทาํ ใหไ้ ฟล์สามารถทํางานได้รวดเรว็ ขน้ึ จ. ทาํ ใหไ้ ฟลข์ ้อมูลเหมาะสําหรบั การรบั ส่งขอ้ มูลผ่าน e-mail 9. ข้อใดไม่ใชค่ วามสามารถของโปรแกรม PhotoScape ก. รวมจดั เรยี งรปู ภาพ ข. แกไ้ ขปรบั แต่งสรี ปู ภาพ ค. ย่อขยายขนาดรูปภาพ ง. ทาํ ภาพเคล่ือนไหว จ. สรา้ งไฟลว์ ดิ โี อ 10. ข้อใดกล่าวถงึ คุณสมบตั ขิ องโปรแกรม Windows Media Player ได้ ถกู ต้องท่สี ดุ ก. ตกแตง่ รปู ภาพ ข. เลน่ เกม ค. กาํ จัดไวรัสและรกั ษาความปลอดภยั ให้ระบบ ง. ดูหนงั ฟงั เพลง จ. สรา้ งภาพเคลื่อนไหวและตัดต่อวิดโี อ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook