Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ ว23101 วิทยาศาสตร์ 5 ครูนาตยา แซ่เตียว

แผนการจัดการเรียนรู้ ว23101 วิทยาศาสตร์ 5 ครูนาตยา แซ่เตียว

Published by Guset User, 2022-09-02 12:14:17

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ ว23101 วิทยาศาสตร์ 5 ครูนาตยา แซ่เตียว

Search

Read the Text Version

- มิราจ หรือภาพลวงตา เกิดจากการที่อากาศด้านล่างมีอุณหภูมิสูงกว่าอากาศด้านบน จึงทาให้อากาศ ด้านลา่ งมีความหนาแน่นนอ้ ยกว่า เมื่อแสงเคลอื่ นที่ผ่านอากาศดา้ นบนลงสู่ดา้ นล่าง แสงจะหักเหแบบเบนออก ในที่สุด จะเกดิ การสะท้อนกลบั หมดเขา้ สู่ตาเรา ซ่ึงทาใหเ้ ราเห็นเหมอื นมนี ้านองบนถนน 9. สอ่ื การเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ 1) หนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์รายวิชาพ้นื ฐาน (สสวท) ม.3 เล่ม 1 2) ppt เรือ่ งแสง แหลง่ การเรียนรู้ 1) ห้องสมดุ 2) แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ 10. การวัดผลและประเมนิ ผล ภาระงาน/กิจกรรม เคร่ืองมือ เกณฑ์ อินโฟกราฟิก แบบประเมิน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

11. บนั ทกึ ผลหลังการเรยี นรู้ (บนั ทกึ ตามตวั ช้วี ัด จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ท่สี อดคลอ้ งกบั การกาหนดแนวทางการวดั และประเมนิ ผล) ผลการจดั การเรียนรตู้ ามตวั ชวี้ ดั / ผลการเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สมรรถนะในการเรยี นแตล่ ะดา้ น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคแ์ ตล่ ะด้าน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแก้ปัญหา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ คน้ พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ ………………………………..ผ้สู อน (นางสาวนาตยา แซ่เตยี ว) ………./……………………../…………

แบบประเมนิ ตามสภาพจริง (Rubrics) แบบประเมินการปฏบิ ตั ิการทากจิ กรรมการทดลอง รายการการประเมิน 4 ระดับคณุ ภาพ 1 32 1. การทากิจกรรม ทากจิ กรรมการทดลอง ทากจิ กรรมการทดลอง ทากิจกรรมการทดลอง ทากิจกรรมการทดลอง การทดลอง ตามวิธกี ารและขั้นตอน ตามวธิ ีการและขั้นตอน ตามวธิ ีการและขั้นตอน ไม่ถกู ตอ้ งตามวธิ กี าร ตามแผนท่กี าหนด ท่กี าหนดไว้อย่างถกู ต้อง ทก่ี าหนดไวด้ ้วยตนเอง ทก่ี าหนดไว้ โดยมีครูหรือ และขนั้ ตอนท่ีกาหนดไว้ ด้วยตนเอง มีการปรบั ปรงุ มีการปรบั ปรงุ แกไ้ ขบา้ ง ผอู้ น่ื เป็นผ้แู นะนา ไมม่ ีการปรบั ปรุงแก้ไข แกไ้ ขเป็นระยะ 2. การใช้อปุ กรณ์ ใช้อุปกรณแ์ ละ/หรือ ใช้อปุ กรณแ์ ละ/หรือ ใช้อปุ กรณ์และ/หรือ ใชอ้ ุปกรณแ์ ละ/หรือ และ/หรอื เครอื่ งมือ เคร่ืองมอื ในการทา เคร่อื งมอื ในการทา เครื่องมอื ในการทา เคร่อื งมือในการทา กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง ได้อย่างถูกตอ้ ง ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง โดยมีครู ไมถ่ ูกต้อง และไมม่ ี ตามหลักการปฏบิ ัติ ตามหลกั การปฏิบัติ หรอื ผอู้ ่ืนเปน็ ผ้แู นะนา ความคลอ่ งแคล่ว และคล่องแคลว่ แตไ่ มค่ ล่องแคลว่ ในการใช้ 3. การบันทึกผล บนั ทกึ ผลเปน็ ระยะ บันทกึ ผลเปน็ ระยะ บนั ทกึ ผลเปน็ ระยะ บนั ทกึ ผลไมค่ รบ การทากจิ กรรม อยา่ งถูกต้อง มีระเบยี บ อยา่ งถกู ตอ้ ง มรี ะเบียบ แต่ไมเ่ ปน็ ระเบียบ ไมม่ กี ารระบหุ นว่ ย การทดลอง มีการระบหุ น่วย มกี าร มีการระบหุ น่วย มีการ ไมม่ กี ารระบหุ น่วย และไม่เปน็ ไปตาม อธิบายข้อมูลใหเ้ หน็ อธบิ ายขอ้ มูลใหเ้ ห็น และไม่มกี ารอธบิ ายข้อมลู การทากจิ กรรม ความเชอื่ มโยงเป็นภาพรวม ถงึ ความสมั พนั ธ์ ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ การทดลอง เปน็ เหตเุ ป็นผล เป็นไปตามการทา ของการทากิจกรรม และเป็นไปตาม กิจกรรมการทดลอง การทดลอง การทากจิ กรรมการทดลอง 4. การจัดกระทาขอ้ มลู จัดกระทาข้อมลู จดั กระทาข้อมลู จัดกระทาขอ้ มลู จัดกระทาข้อมลู อยา่ ง และการนาเสนอ อยา่ งเปน็ ระบบ อย่างเปน็ ระบบ มกี าร อยา่ งเป็นระบบ ไมเ่ ป็นระบบ และมีการ มีการเชอ่ื มโยงให้เห็น จาแนกข้อมูลให้เหน็ มีการยกตวั อยา่ งเพม่ิ เตมิ นาเสนอไมส่ ื่อความหมาย เปน็ ภาพรวม และนาเสนอ ความสมั พันธ์ นาเสนอ ให้เขา้ ใจง่าย และนาเสนอ และไม่ชดั เจน ดว้ ยแบบต่าง ๆ อย่างชดั เจน ดว้ ยแบบต่าง ๆ ได้ ดว้ ยแบบตา่ ง ๆ ถูกตอ้ ง แตย่ ังไมช่ ดั เจน แตย่ ังไม่ชดั เจน และไมถ่ กู ต้อง

รายการการประเมิน 4 ระดับคุณภาพ 1 32 5. การสรปุ ผล สรปุ ผลการทากิจกรรม สรปุ ผลการทากิจกรรม สรุปผลการทากจิ กรรม สรุปผลการทากจิ กรรม การทากิจกรรม การทดลอง การทดลองได้ถกู ตอ้ ง การทดลองได้ โดยมคี รู การทดลองตามความรู้ การทดลอง ได้อย่างถกู ต้อง กระชบั แต่ยังไมค่ รอบคลมุ ข้อมลู หรอื ผอู้ ืน่ แนะนาบ้าง ท่พี อมอี ยู่ โดยไม่ใช้ขอ้ มลู ชดั เจน และครอบคลมุ จากการวเิ คราะห์ท้งั หมด จงึ สามารถสรปุ ได้ถูกต้อง จากการทากจิ กรรม ข้อมลู จากการวเิ คราะห์ การทดลอง ท้งั หมด 6. การดแู ลและการเกบ็ ดแู ลอุปกรณ์และ/หรือ ดูแลอุปกรณแ์ ละ/หรอื ดูแลอปุ กรณแ์ ละ/หรือ ไม่ดูแลอปุ กรณแ์ ละ/หรอื อปุ กรณ์และ/หรือ เครื่องมอื ในการทา เคร่ืองมอื ในการทา เคร่ืองมอื ในการทา เครือ่ งมือในการทา เครื่องมอื กิจกรรมการทดลอง กจิ กรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง กจิ กรรมการทดลอง และมกี ารทาความสะอาด และมกี ารทาความสะอาด มีการทาความสะอาด และไมส่ นใจทาความ และเก็บอย่างถูกต้อง อย่างถกู ตอ้ ง แตเ่ กบ็ แต่เกบ็ ไมถ่ กู ตอ้ ง สะอาด รวมทง้ั เกบ็ ตามหลกั การ และแนะนา ไม่ถูกตอ้ ง ต้องใหค้ รูหรือผอู้ น่ื แนะนา ไมถ่ ูกต้อง ใหผ้ ้อู น่ื ดูแลและ เกบ็ รักษาไดถ้ กู ต้อง

แบบประเมินชนิ้ งาน อนิ โฟกราฟกิ รายการการประเมิน ระดับคุณภาพ การจัดกระทา 432 1 และนาเสนอ จดั กระทาและนาเสนอ อินโฟกราฟกิ จัดกระทาและนาเสนอ จัดกระทาและนาเสนอ จดั กระทาและนาเสนอ อินโฟกราฟกิ ได้ แตไ่ มส่ อดคล้องกบั อินโฟกราฟกิ ไดส้ มั พันธ์ อนิ โฟกราฟิกไดส้ มั พันธ์ อนิ โฟกราฟิกได้ หวั ขอ้ เร่ืองทกี่ าหนด กนั และถูกต้องตาม กับหวั ข้อเรือ่ งทก่ี าหนด ตามหัวขอ้ เรื่อง หัวข้อเรอ่ื งทก่ี าหนด มีการออกแบบ โดยมคี รหู รอื ผอู้ ื่น มกี ารวางแผน มคี วามคิดรเิ ริ่ม ใหค้ าแนะนา มีการออกแบบ แตไ่ มม่ ีการเช่อื มโยง และมคี วามคดิ สร้างสรรค์ ใหเ้ หน็ เปน็ ภาพรวม มกี ารเชอื่ มโยงให้เหน็ เป็นภาพรวม

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 23 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ 5 รหัส ว23101 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 3 แสง เร่อื ง ทศั นอุปกรณ์ เวลา 2 ชวั่ โมง ผู้สอน : นางสาวนาตยา แซ่เตียว ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสมั พันธ์ระหว่าง สสารและพลังงาน พลงั งานในชวี ติ ประจาวนั ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณท์ ีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั เสียง แสง และคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟา้ รวมทั้งนาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ ตวั ชวี้ ดั ว 2.3 ม.3/17 อธิบายปรากฏการณท์ ่เี ก่ียวกับแสง และการทางานของทัศนอปุ กรณ์จากข้อมูลท่ีรวบรวมได้ ว 2.3 ม.3/18 เขยี นแผนภาพการเคลื่อนทีข่ องแสง แสดงการเกิดภาพของทศั นอปุ กรณ์และเลนสต์ า 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1) อธิบายหลกั การทางานของทัศนอุปกรณ์ได้ (K) 2) บอกสว่ นประกอบทีส่ าคัญของทศั นอปุ กรณ์แตล่ ะประเภทได้ (K) 3. สาระสาคญั ทัศนอุปกรณ์ (optical instrument) เป็นเครื่องมือที่ช่วยและขยายขอบเขตของประสาทสัมผัสทางตา โดย มีเลนส์และกระจกเปน็ ส่วนประกอบ เพ่ือช่วยให้การมองเหน็ วัตถุชดั เจนย่ิงขึน้ เชน่ 1. แว่นขยาย (magnifying glass) เป็นเลนส์นูนสองหน้า ใช้ส่องมองดูส่ิงเล็ก ๆ ท่ีพอมองเห็นได้ด้วยตา เปลา่ แต่ยังไมช่ ัดเจน ใหม้ องเหน็ ชัดเจนและเห็นรายละเอียดมากขึ้น 2. กระจกโค้งจราจร (curved glass) หรือเรียกว่า กระจกมองทางโค้ง หรือกระจกส่องมุม ประกอบด้วย กระจกนูน มีลักษณะเป็นวงกลมและโค้งมน กระจกโค้งจราจรช่วยอานวยความสะดวกและความปลอดภัยในการ มองเหน็ ทีช่ ดั เจนแกผ่ ู้ขบั ขี่และผใู้ ช้ถนน ให้การสะทอ้ นใกล้เคียงกบั ระยะจริง 3. กล้องโทรทรรศน์ (telescope) เป็นเครื่องมือท่ีใช้ส่องดูวัตถุในท้องฟ้า ซ่ึงมองดูด้วยตาเปล่าไม่ชัดให้ได้ ภาพขยายใหญ่และเหน็ ชดั ขึ้น - กล้องโทรทรรศน์ประเภทหักเหแสง ประกอบด้วยเลนส์นูน 2 อัน เลนส์ที่ใช้สาหรับมองดู เรียกว่า เลนสต์ า สว่ นเลนส์อนั ท่ใี ชร้ ับแสงจากวตั ถุ เรียกวา่ เลนส์วตั ถุ เป็นเวลนส์ทม่ี คี วามยาวโฟกสั ยาวมากกว่าเลนส์ตา - กลอ้ งโทรทรรศน์ประเภทสะทอ้ นแสง จะใชก้ ระจกเว้ารับแสงจากวัตถุ 4. กล้องจุลทรรศน์ (microscope) ประกอบด้วยเลนส์นูนสองอันมาประกอบเข้าด้วยกัน ใช้ดูสิ่งที่มีขนาด เลก็ มากซง่ึ มองด้วยตาเปล่าไมเ่ ห็น 5. แว่นสายตา (eyeglasses) ประกอบด้วยเลนส์ที่ใส่ไว้ในกรอบสาหรับสวมบนใบหน้า มีแท่นรองรับบนสันจมูก และก้านแว่นใช้เกีย่ วทีใ่ บหู แวน่ สายตาเป็นแว่นท่มี กี าลังหกั เหแสงเพือ่ ให้มองเห็นภาพได้ชัดเจน

6. กล้องส่องทางไกล (prism binoculars) ประกอบด้วยเลนส์วัตถุและเลนส์ตาข้างละ 1 ชุด เพื่อให้ สามารถมองวัตถุได้พรอ้ ม ๆ กัน 2 ตา และแท่งแกว้ ปริซึมข้างละ 2 อันหรือมากกวา่ เพื่อให้แสงท่ีเขา้ มาจากเลนสว์ ัตถุเกิด การสะท้อนกลับหมดก่อนที่จะหักเหเข้าเลนส์ตา แท่งแก้วปริซึมจะช่วยลดความยาวของกล้องให้น้อยลงและช่วยให้ ภาพสุดทา้ ยทปี่ รากฏแกน่ ัยนต์ าเป็นภาพหัวตง้ั ใชส้ อ่ งมองดวู ตั ถุเลนสว์ ตั ถทุ อี่ ย่ไู กล ๆ 7. เส้นใยนาแสง (optical fiber) ถูกนามาใช้เป็นอุปกรณ์ตรวจทางเดินภายในร่างกายของคนไข้ โดยสอด เข้าทางปากเพ่ือตรวจดูกระเพาะอาหารและอวัยวะภายใน อุปกรณ์น้ี เรียกว่า ไฟเบอร์สโคป หรือเอนโดสโคป นอกจากน้ียังสามารถใช้ในการสื่อสาร โดยการส่งสัญญาณด้วยแสงไปในเส้นใยนาแสงแทนการส่งสัญญาณไฟฟ้าใน โลหะตวั นา 4. สมรรถนะสาคญั  ความสามารถในการส่ือสาร : การสนทนาพดู คยุ แลกเปลยี่ นคดิ เหน็ การพูดหน้าช้ันเรียน  ความสามารถในการคิด : การใช้กระบวนการคิดในการเรียนรแู้ ละการทางาน  ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต: การใหเ้ หตุผลในการเลือกใชเ้ ครื่องใช้ไฟฟา้ ทป่ี ระหยดั พลังงานใน ชีวติ ประจาวัน 5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560  มงุ่ มั่นในการทางาน  ใฝเ่ รยี นรู้ 6. สาระการเรียนรู้ - ทศั นอปุ กรณ์ (optical instrument) 7. ชน้ิ งาน / ภาระงาน 1) ใบงานท่ี 18 เร่อื งทัศนอุปกรณ์ 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นาเขา้ ส่บู ทเรยี น 1) นกั เรยี นสงั เกตตัวอักษรขนาดเลก็ ทเ่ี ขียนบนกระดาน ร่วมกันตอบคาถามกระตุ้นความสนใจ ดงั นี้ - นักเรยี นมองเหน็ ตัวอกั ษรทเี่ ขียนได้ชัดเจนหรอื ไม่ ถ้าไม่ชัดเจน นกั เรียนจะทาอยา่ งไรใหช้ ดั เจนยง่ิ ขึ้น แนวคาตอบ ไม่ชดั เจน ถ้าต้องการใหม้ องเหน็ ชัดเจนยิ่งขนึ้ ต้องใชแ้ ว่นขยาย หรอื แว่นตา

2) นักเรียนเข้าสู่บทเรียนและกิจกรรมเก่ียวกับทัศนอุปกรณ์ โดยร่วมกันยกตัวอย่างทัศนอุปกรณ์ท่ี นกั เรยี นรู้จกั ผู้แทนนักเรยี นบนั ทึกคาตอบ โดยเขียนในแบบแผนภาพความคิดบนกระดาน แว่นขยาย กล้องโทรทรรศน์ เสน้ ใยนาแสง กระจกโค้ง ทัศนอปุ กรณ์ แวน่ สายตาสั้น กลอ้ งจลุ ทรรศน์ แว่นสายตายาว กล้องสอ่ งทางไกล แผนภาพความคิด ทศั นอุปกรณ์ทรี่ จู้ ัก 3) นักเรยี นร่วมกนั ตอบคาถามสาคญั กระตนุ้ ความคดิ ดงั น้ี - ทัศนอุปกรณ์แต่ละประเภทมีหลกั การทางานอย่างไร แนวคาตอบ ทัศนอุปกรณ์มีหลายประเภท แต่ละประเภทมีหลักการทางานที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับ การใชง้ าน - ลักษณะภาพทม่ี องเหน็ จากทศั นอปุ กรณ์ประเภทต่าง ๆ เปน็ อยา่ งไร แนวคาตอบ ลักษณะภาพท่มี องเหน็ มลี ักษณะแตกต่างกัน ขึน้ อยกู่ บั ทศั นอปุ กรณ์แต่ละประเภท ข้ันสอน 1) นกั เรียนแบ่งกลุ่ม 7 กลุ่ม คละเพศ และคละนักเรยี นเก่ง ปานกลาง และอ่อน (หรือจะแบ่งกลุ่มด้วยวิธีการ ตา่ ง ๆ เพิม่ เตมิ ได้) โดยแตล่ ะกลุ่มปฏิบตั กิ ิจกรรมตามขัน้ ตอน ดังนี้ - ทบทวนบทบาทหนา้ ท่ขี องสมาชิกในกล่มุ วา่ ต้องทาหน้าที่อยา่ งไรบ้าง ในการดาเนินการ ดว้ ยกระบวนการทางานกลุ่ม เชน่ หวั หน้ากลุ่ม มหี น้าที่ ............................ ผจู้ ดบนั ทึก มีหน้าท่ี .................................. ผู้เสนอรายงาน มหี น้าท่ี ..................................... อื่น ๆ ................................................... 2) ผแู้ ทนนกั เรียนแต่ละกลุ่มจับสลากเลอื กหัวข้อเร่ือง ดงั นี้ กลุ่มที่ 1 แวน่ ขยาย กลมุ่ ที่ 2 กระจกโค้งจราจร กลุ่มท่ี 3 กล้องโทรทรรศน์ กลมุ่ ท่ี 4 กล้องจลุ ทรรศน์ กลมุ่ ท่ี 5 แวน่ สายตา กลุม่ ที่ 6 กล้องส่องทางไกล กลุม่ ท่ี 7 เสน้ ใยนาแสง

3) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังศึกษา อ่านเน้ือหา สืบสอบและรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับ ทัศนอุปกรณ์แต่ละชนิดตามท่ีผู้แทนกลุ่มจับสลากได้ จากหนังสือเรียนและแหล่งการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย พร้อมทั้ง ออกแบบการนาเสนอผลการสบื สอบในแบบท่ีนา่ สนใจ 4) นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกผลการศึกษาค้นคว้าในรูปผังกราฟิกแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสมของข้อมูล และแลกเปล่ียนเรียนร้รู ่วมกนั 5) นกั เรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกันอยา่ งรวมพลังศกึ ษาวธิ ที าและปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเรื่อง ทศั นอปุ กรณ์ ในใบงานท่ี 18 6) นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ รว่ มกันแสดงความคิดเห็นกอ่ นทากจิ กรรม โดยรว่ มกันตอบคาถามก่อนทากิจกรรม ดงั น้ี - ปญั หาของการทากจิ กรรมนี้คอื อะไร แนวคาตอบ ทศั นอุปกรณ์แต่ละประเภทมหี ลกั การทางานอย่างไร - นักเรียนคิดว่าทัศนอุปกรณ์ประเภทใด ถูกนามาใช้เป็นอุปกรณ์ตรวจทางเดินอาหารและอวัยวะภายใน ร่างกายของมนุษย์ แนวคาตอบ เสน้ ใยนาแสง - นักเรยี นคิดว่าคนสายตาสนั้ และคนสายตายาวควรใสแ่ วน่ สายตาเลนส์เวา้ หรือเลนส์นนู แนวคาตอบ คนสายตาส้ันควรใสแ่ ว่นสายตาเลนส์เว้า คนสายตายาวควรใสแ่ ว่นสายตาเลนส์นูน ขน้ั สรุป 1) นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั วเิ คราะห์ อภิปราย และแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั ผลการทากจิ กรรม โดย ร่วมกันตอบคาถามหลงั ทากิจกรรม ดงั นี้ - กลอ้ งจุลทรรศน์มีสว่ นประกอบทีส่ าคัญอะไรบ้าง และมีหลักการทางานอยา่ งไร แนวคาตอบ กล้องจุลทรรศน์มีส่วนประกอบ คือ เลนส์ใกล้ตา เลนส์ใกล้วัตถุ ปุ่มปรับภาพหยาบ ปุ่มปรับภาพละเอียด แหล่งกาเนิดแสง แท่นวางวัตถุ ฐานกล้อง แขนกล้อง ท่ีหนีบสไลด์ หลักการทางาน กลอ้ งจุลทรรศน์ ทาหนา้ ทีข่ ยายวัตถทุ ี่มีขนาดเล็กมาก ๆ มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ให้มีขนาดใหญ่ขึน้ เมอ่ื วางวัตถไุ ว้หน้า เลนสใ์ ห้แสงจากแหล่งกาเนดิ แสงสอ่ งผ่านวัตถุ เกดิ ภาพจรงิ หัวกลับ ขนาดใหญ่กวา่ วัตถุ เปน็ ภาพท่หี นึ่ง แสงจากภาพท่ี หนึ่งจะหักเหผ่านเลนส์ตา ทาให้เกิดภาพเสมือนหัวต้ังไปทางเดียวกับภาพที่หน่ึง ขนาดขยายท่ีระยะ 2 cm จากเลนส์ ตาเปน็ ภาพท่ีสอง ดงั น้นั ภาพสุดท้ายที่มองเห็นจากกลอ้ งจุลทรรศนจ์ ะเปน็ ภาพเสมือนหวั กลับกับวัตถุท่ีดู

2) เขียนแผนภาพการเคลอ่ื นที่ของแสง แสดงการเกิดภาพของกล้องจลุ ทรรศน์และเลนส์ตาไดอ้ ยา่ งไร (ตวั อย่างคาตอบ) กลอ้ งจุลทรรศน์ แผนภาพ การเคล่ือนทข่ี องแสงแสดงการเกิดภาพ ของกลอ้ งจุลทรรศน์ - ทัศนอปุ กรณใ์ ดเป็นเครอ่ื งมือท่ีใช้สาหรบั ส่องดวู ตั ถใุ นท้องฟา้ แนวคาตอบ กลอ้ งโทรทรรศน์ - สรปุ ผลการทากจิ กรรมน้ีได้อย่างไร แนวคาตอบ ทศั นอปุ กรณ์มีหลายประเภท แต่ละประเภทมหี ลกั การทางานที่แตกตา่ งกัน ขึน้ อยกู่ ับการใชง้ าน 3) นักเรยี นร่วมกนั สรุปสง่ิ ท่ีเข้าใจเปน็ ความรรู้ ว่ มกัน ดงั นี้  ทัศนอุปกรณ์ (optical instrument) เป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยและขยายขอบเขตของประสาทสัมผัสทางตา โดย มีเลนส์และกระจกเป็นส่วนประกอบ เพอื่ ช่วยให้การมองเหน็ วตั ถชุ ดั เจนยง่ิ ข้ึน เชน่ 1. แวน่ ขยาย (magnifying glass) เปน็ เลนส์นนู สองหนา้ ใชส้ อ่ งมองดสู ิ่งเล็ก ๆ ทพี่ อมองเหน็ ได้ด้วยตาเปลา่ แต่ยังไม่ชัดเจน ใหม้ องเห็นชดั เจนและเห็นรายละเอยี ดมากขน้ึ 2. กระจกโค้งจราจร (curved glass) หรือเรียกว่า กระจกมองทางโค้ง หรือกระจกส่องมุม ประกอบด้วยกระจกนูน มีลักษณะเป็นวงกลมและโค้งมน กระจกโค้งจราจรช่วยอานวยความสะดวกและความ ปลอดภัยในการมองเหน็ ที่ชดั เจนแกผ่ ้ขู ับขแ่ี ละผู้ใช้ถนน ให้การสะทอ้ นใกล้เคยี งกบั ระยะจรงิ 3. กล้องโทรทรรศน์ (telescope) เป็นเครื่องมือที่ใช้ส่องดูวัตถุในท้องฟ้า ซ่ึงมองดูด้วยตาเปล่าไม่ชัด ให้ไดภ้ าพขยายใหญ่และเหน็ ชัดขนึ้ - กล้องโทรทรรศน์ประเภทหักเหแสง ประกอบด้วยเลนสน์ ูน 2 อัน เลนสท์ ่ีใช้สาหรบั มองดู เรียกว่า เลนสต์ า ส่วนเลนส์อนั ท่ใี ชร้ ับแสงจากวตั ถุ เรยี กว่า เลนสว์ ตั ถุ เป็นเวลนสท์ ่มี คี วามยาวโฟกสั ยาวมากกวา่ เลนส์ตา - กลอ้ งโทรทรรศน์ประเภทสะท้อนแสง จะใชก้ ระจกเวา้ รับแสงจากวัตถุ

4. กล้องจุลทรรศน์ (microscope) ประกอบด้วยเลนส์นูนสองอันมาประกอบเข้าด้วยกัน ใช้ดูสิ่งท่ีมี ขนาดเล็กมากซ่ึงมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น 5. แวน่ สายตา (eyeglasses) ประกอบดว้ ยเลนส์ท่ีใส่ไว้ในกรอบสาหรับสวมบนใบหน้า มแี ท่นรองรบั บนสันจมูกและก้านแวน่ ใช้เก่ยี วที่ใบหู แวน่ สายตาเป็นแว่นท่ีมีกาลงั หักเหแสงเพื่อใหม้ องเห็นภาพไดช้ ัดเจน 6. กล้องส่องทางไกล (prism binoculars) ประกอบด้วยเลนส์วัตถุและเลนส์ตาข้างละ 1 ชุด เพ่ือให้ สามารถมองวัตถุได้พร้อม ๆ กัน 2 ตา และแท่งแกว้ ปรซิ ึมข้างละ 2 อนั หรือมากกวา่ เพ่ือให้แสงท่ีเขา้ มาจากเลนส์วัตถุเกิด การสะท้อนกลับหมดก่อนท่ีจะหักเหเข้าเลนส์ตา แท่งแก้วปริซึมจะช่วยลดความยาวของกล้องให้น้อยลงและช่วยให้ ภาพสดุ ท้ายทปี่ รากฏแก่นัยนต์ าเปน็ ภาพหวั ต้งั ใชส้ อ่ งมองดวู ัตถเุ ลนส์วตั ถทุ ่อี ยไู่ กล ๆ 7. เส้นใยนาแสง (optical fiber) ถูกนามาใช้เป็นอุปกรณ์ตรวจทางเดินภายในร่างกายของคนไข้ โดย สอดเข้าทางปากเพ่ือตรวจดูกระเพาะอาหารและอวัยวะภายใน อุปกรณ์นี้ เรียกว่า ไฟเบอร์สโคป หรือเอนโดสโคป นอกจากนี้ยังสามารถใช้ในการสื่อสาร โดยการส่งสัญญาณด้วยแสงไปในเส้นใยนาแสงแทนการส่งสัญญาณไฟฟ้าใน โลหะตวั นา 9. ส่ือการเรยี นรู้/แหลง่ เรยี นรู้ ส่ือการเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์รายวชิ าพน้ื ฐาน (สสวท) ม.3 เล่ม 1 2) ใบงานที่ 18 เรอื่ งทัศนอุปกรณ์ 3) ppt เรอ่ื งแสง แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมุด 2) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เครื่องมือ เกณฑ์ แบบประเมิน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ภาระงาน/กิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ใบงานที่ 18 เรอื่ งทัศนอปุ กรณ์ สังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่

11. บนั ทกึ ผลหลังการเรยี นรู้ (บนั ทกึ ตามตัวชวี้ ัด จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ท่สี อดคลอ้ งกบั การกาหนดแนวทางการวัดและประเมนิ ผล) ผลการจดั การเรียนร้ตู ามตวั ชวี้ ดั / ผลการเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สมรรถนะในการเรยี นแต่ละด้าน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคแ์ ต่ละด้าน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแกป้ ญั หา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ คน้ พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ………………………………..ผูส้ อน (นางสาวนาตยา แซ่เตยี ว) ………./……………………../…………

ใบงานที่ 18 เรอื่ ง ทัศนอุปกรณ์ วันท่ี________เดือน_______________พ.ศ.___________ ได_้ _________คะแนน ชอื่ _____________________________เลขท่ี______ชนั้ ________ คะแนนเตม็ 10 คะแนน คาช้ีแจง นักเรียนแต่ละกลุม่ ปฏิบตั ิ ดงั น้ี 2. ตอบคาถามก่อนทากจิ กรรม 1. อา่ นวธิ ีทากจิ กรรมให้เขา้ ใจ 4. ตอบคาถามหลังทากิจกรรม 3. ทากิจกรรมและบนั ทึกผล วัสดอุ ุปกรณ์ 1. ปากกาเมจิก 2. กระดาษฟลิปชาร์ต วธิ ที ำ 1. แบ่งกล่มุ แต่ละกลมุ่ รว่ มกันวางแผนสืบค้นข้อมูลเก่ยี วกบั การทางานของทัศนอุปกรณ์ ต่อไปน้ี 1.1 แว่นขยาย 1.2 กระจกโค้งจราจร 1.3 กลอ้ งโทรทรรศน์ 1.4 กล้องจุลทรรศน์ 1.5 แวน่ สายตา 1.6 กลอ้ งสอ่ งทางไกล 1.7 เส้นใยนาแสง จากแหลง่ การเรยี นรู้ต่าง ๆ ที่หลากหลาย แล้วรว่ มกนั อภปิ รายเพ่ือหาขอ้ สรุป 2. ออกแบบวธิ นี าเสนอผลการสรุปในแบบทน่ี ่าสนใจ บันทึกผลลงในกระดาษฟลปิ ชาร์ต แล้วนาเสนอหนา้ ช้ันเรียน คำถำมกอ่ นทำกิจกรรม ปญั หา 1. ปัญหาของการทากจิ กรรมนค้ี ืออะไร (ทัศนอปุ กรณแ์ ตล่ ะประเภทมีหลักการทางานอย่างไร) จากการทดลองเพอ่ื อธบิ ายเกี่ยวกบั โครงสร้างภายในของอะตอม) จากการทดลองเพอ่ื อธิบายเกี่ยวกบั โครงสรา้ งภายในของอะตอม) จากการทดลองเพื่ออธบิ ายเกี่ยวกับโครงสรา้ งภายในของอะตอม)

สมมุติฐาน 2. นักเรยี นคิดว่าทัศนอุปกรณป์ ระเภทใด ถูกนามาใช้เป็นอปุ กรณ์ตรวจทางเดินอาหาร และอวัยวะภายในรา่ งกายของมนุษย์ (เสน้ ใยนาแสง) จากการทดลองเพื่ออธิบายเกี่ยวกบั โครงสรา้ งภายในของอะตอม) จากการทดลองเพ่อื อธิบายเกี่ยวกับโครงสรา้ งภายในของอะตอม) 3. นักเรยี นคดิ ว่าคนสายตาสนั้ และคนสายตายาวควรใส่แว่นสายตาเลนสเ์ วา้ หรอื เลนส์นูน (คนสายตาส้นั ใสแ่ ว่นสายตาเลนส์เว้า คนสายตายาว ใสแ่ วน่ สายตาเลนสน์ ูน) จากการทดลองเพอ่ื อธิบายเก่ียวกับโครงสรา้ งภายในของอะตอม) บนั ทกึ ผลการทากิจกรรม (ทัศนอปุ กรณ์แต่ละประเภทมีหลกั การทางาน ดงั นี้ 1. แวน่ ขยาย ประกอบดว้ ยเลนสน์ นู สองหน้า ใช้วัตถเุ ลก็ ๆ ท่ีมองดว้ ยตาเปล่าไมช่ ดั เจนให้มองเห็น รายละเอยี ดชัดเจนมากยง่ิ ขนึ้ การใช้แว่นขยายต้องวางวัตถุนอ้ ยกว่าความยาวโฟกสั ของเลนส์ จะได้ภาพเสมอื นหวั ตัง้ ขนาดใหญ่กว่าวตั ถุ และอย่ขู ้างเดยี วกับวตั ถุ 2. กระจกโคง้ จราจร ประกอบด้วยกระจกนนู ใชต้ ิดต้ังบรเิ วณทางแยกตามซอยแคบมุมอับหรือหักศอก ชว่ ยอานวยความสะดวกและคาวมปลอดภยั ในการมองเหน็ ท่ชี ดั เจนแก่ผู้ขบั ข่ีและผใู้ ช้ถนน จะใหภ้ าพเสมือนหัวตงั้ สะท้อนใกลเ้ คยี งกบั ระยะจริง 3. กล้องโทรทรรศน์ ใช้สอ่ งดูวัตถใุ นท้องฟา้ มหี ลายประเภท เชน่ กลอ้ งโทรทรรศน์ประเภทหกั หแสง ประกอบด้วยเลนสน์ นู 2 อัน เลนสท์ ใ่ี ชส้ าหรับดูเรยี กวา่ เลนสืตา เลนส์ทีใ่ ช้รบั แสงจากวัตถุ เรียกว่า มีกาลังหักเหแสง เพื่อให้มองเห็นภาพไดช้ ดั เจน แว่นสายตาท่ที าจากเลนสเ์ วา้ สาหรบั คนสายตาส้นั และแว่นสายตามท่ที าจากเลนสน์ ูนสาหรบั คนสายตายาว 6. กล้องสอ่ งทางไกล ประกอบด้วยเลนสว์ ตั ถแุ ละเลนสต์ าข้างละ 1 ชดุ เพอ่ื ใช้มองวตั ถไุ ปพร้อม ๆ กัน 2 ตา และแท่งแกว้ ปริซึมขา้ งละ 2 อัน หืรือมากกว่า เมอื่ แสงเข้ามาจากเลนส์วัตถุ เกดิ การ สะทอ้ นกลบั หมด ก่อนจะหักเหเขา้ เลนส์ตา แท่งแก้วปรซิ ึมจะชว่ ยลดความยาวของกล้องใหน้ อ้ ยลง คำถำมหลังทำกิจกรรม แปลความหมายและสรุปผล 1. กลอ้ งจลุ ทรรศน์มสี ว่ นประกอบทสี่ าคญั อะไรบา้ ง และมหี ลักการทางานอย่างไร (กลอ้ งจุลทรรศนม์ สี ่วนประกอบ คอื เลนส์ใกล้ตา เลนสใ์ กล้วตั ถุ ปมุ่ ปรับภาพหยาบ ปมุ่ ปรับภาพ ละเอยี ด แหลลง่ กาเนิดแสง แท่นวางวัตถุ ฐานกล้อง แขนกล้อง ทีห่ นีบสไลด์ หลกั การทางาน กลอ้ งจุลทรรศน์ทาหนา้ ที่ขยายวตั ถุทีม่ ีขนาดเลก็ มาก ๆ มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ให้มขี นาดใหญ่ขน้ึ

2. เขยี นแผนภาพการเคลอื่ นที่ของแสง แสดงการเกิดภาพของกลอ้ งจลุ ทรรศน์และเลนส์ตาไดอ้ ย่างไร 3. ทศั นอปุ กรณใ์ ดเปน็ เครื่องมือท่ีใชส้ าหรบั ส่องดวู ัตถุในท้องฟ้า (กล้องโทรทัศน์) 4. สรปุ ผลการทากิจกรรมนไ้ี ด้อย่างไร (ทัศนอุปกรณม์ หี ลายประเภท แตล่ ะประเภทมหี ลกั การทางานทีแ่ ตกต่างกันข้นึ อยู่กับการใชง้ าน) การนาไปใช้ 5. ในชีวิตประจาวนั ของนักเรยี นใชป้ ระโยชนจ์ ากทัศนอุปกรณ์ประเภทใดบ้าง อย่างไร (ตวั อย่างคาตอบ ใชแ้ วน่ สายตาสาหรบั คนสายตาสนั้ เพ่ือให้มองเหน็ ไดช้ ัดเจนยงิ่ ข้ึน และใชก้ ระจกโคง้ จราจรท่ีติดต้งั บริเวณทางแยก ชว่ ยในการมองเหน็ ที่ชดั เจนเวลาข้ามถนน เพื่อความปลอดภัย ลดการเฉี่ยวชนและอบุ ัตเิ หตุตา่ ง ๆ ท่สี ามารถเกิดขน้ึ ได)้ 6. นอกจากทัศนอุปกรณ์ที่กล่าวมาแล้ว นักเรยี นรจู้ ักทัศนอุปกรณ์ประเภทอื่น ๆ อีกหรือไม่ อะไรบ้าง (ตวั อยา่ งคาตอบ เครื่องฉายภาพ กล้องถ่ายภาพเลเซอร์)

แบบประเมนิ ตำมสภำพจริง (Rubrics) แบบประเมินการปฏบิ ตั ิการทากจิ กรรมการทดลอง รายการการประเมิน 4 ระดับคณุ ภาพ 1 32 1. การทากิจกรรม ทากจิ กรรมการทดลอง ทากจิ กรรมการทดลอง ทากิจกรรมการทดลอง ทากิจกรรมการทดลอง การทดลอง ตามวิธกี ารและขั้นตอน ตามวธิ ีการและขั้นตอน ตามวธิ ีการและขั้นตอน ไม่ถกู ตอ้ งตามวธิ กี าร ตามแผนทก่ี าหนด ท่กี าหนดไว้อย่างถกู ต้อง ทก่ี าหนดไวด้ ้วยตนเอง ทก่ี าหนดไว้ โดยมีครูหรือ และขนั้ ตอนท่ีกาหนดไว้ ด้วยตนเอง มีการปรบั ปรงุ มีการปรบั ปรงุ แกไ้ ขบา้ ง ผอู้ น่ื เป็นผ้แู นะนา ไมม่ ีการปรบั ปรุงแก้ไข แกไ้ ขเป็นระยะ 2. การใช้อปุ กรณ์ ใช้อุปกรณแ์ ละ/หรือ ใช้อปุ กรณแ์ ละ/หรือ ใช้อปุ กรณ์และ/หรือ ใชอ้ ุปกรณแ์ ละ/หรือ และ/หรอื เครอื่ งมือ เคร่ืองมอื ในการทา เคร่อื งมอื ในการทา เครื่องมอื ในการทา เคร่อื งมือในการทา กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง ได้อย่างถูกตอ้ ง ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง โดยมีครู ไมถ่ ูกต้อง และไมม่ ี ตามหลักการปฏบิ ัติ ตามหลกั การปฏิบัติ หรอื ผอู้ ่ืนเปน็ ผ้แู นะนา ความคลอ่ งแคล่ว และคล่องแคลว่ แตไ่ มค่ ล่องแคลว่ ในการใช้ 3. การบันทึกผล บนั ทกึ ผลเปน็ ระยะ บันทกึ ผลเปน็ ระยะ บนั ทกึ ผลเปน็ ระยะ บนั ทกึ ผลไมค่ รบ การทากจิ กรรม อยา่ งถูกต้อง มีระเบยี บ อยา่ งถกู ตอ้ ง มรี ะเบียบ แต่ไมเ่ ปน็ ระเบียบ ไมม่ กี ารระบหุ นว่ ย การทดลอง มีการระบหุ น่วย มกี าร มีการระบหุ น่วย มีการ ไมม่ กี ารระบหุ น่วย และไม่เปน็ ไปตาม อธิบายข้อมูลใหเ้ หน็ อธบิ ายขอ้ มูลใหเ้ ห็น และไม่มกี ารอธบิ ายข้อมลู การทากจิ กรรม ความเชอื่ มโยงเป็นภาพรวม ถงึ ความสมั พนั ธ์ ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ การทดลอง เปน็ เหตเุ ป็นผล เป็นไปตามการทา ของการทากิจกรรม และเป็นไปตาม กิจกรรมการทดลอง การทดลอง การทากจิ กรรมการทดลอง 4. การจัดกระทาขอ้ มลู จัดกระทาข้อมลู จดั กระทาข้อมลู จัดกระทาขอ้ มลู จัดกระทาข้อมลู อยา่ ง และการนาเสนอ อยา่ งเปน็ ระบบ อย่างเปน็ ระบบ มกี าร อยา่ งเป็นระบบ ไมเ่ ป็นระบบ และมีการ มีการเชอ่ื มโยงให้เห็น จาแนกข้อมูลให้เหน็ มีการยกตวั อยา่ งเพม่ิ เตมิ นาเสนอไมส่ ื่อความหมาย เปน็ ภาพรวม และนาเสนอ ความสมั พันธ์ นาเสนอ ให้เขา้ ใจง่าย และนาเสนอ และไม่ชดั เจน ดว้ ยแบบต่าง ๆ อย่างชดั เจน ดว้ ยแบบต่าง ๆ ได้ ดว้ ยแบบตา่ ง ๆ ถูกตอ้ ง แตย่ ังไมช่ ดั เจน แตย่ ังไม่ชดั เจน และไมถ่ กู ต้อง

รายการการประเมิน 4 ระดับคุณภาพ 1 32 5. การสรปุ ผล สรปุ ผลการทากิจกรรม สรปุ ผลการทากิจกรรม สรุปผลการทากจิ กรรม สรุปผลการทากจิ กรรม การทากิจกรรม การทดลอง การทดลองได้ถกู ตอ้ ง การทดลองได้ โดยมคี รู การทดลองตามความรู้ การทดลอง ได้อย่างถกู ต้อง กระชบั แต่ยังไมค่ รอบคลมุ ข้อมลู หรอื ผอู้ ืน่ แนะนาบ้าง ท่พี อมอี ยู่ โดยไม่ใช้ขอ้ มลู ชดั เจน และครอบคลมุ จากการวเิ คราะห์ท้งั หมด จงึ สามารถสรปุ ได้ถูกต้อง จากการทากจิ กรรม ข้อมลู จากการวเิ คราะห์ การทดลอง ท้งั หมด 6. การดแู ลและการเกบ็ ดแู ลอุปกรณ์และ/หรือ ดูแลอุปกรณแ์ ละ/หรอื ดูแลอปุ กรณแ์ ละ/หรือ ไม่ดูแลอปุ กรณแ์ ละ/หรอื อปุ กรณ์และ/หรือ เครื่องมอื ในการทา เคร่ืองมอื ในการทา เคร่ืองมอื ในการทา เครือ่ งมือในการทา เครื่องมอื กิจกรรมการทดลอง กจิ กรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง กจิ กรรมการทดลอง และมกี ารทาความสะอาด และมกี ารทาความสะอาด มีการทาความสะอาด และไมส่ นใจทาความ และเก็บอย่างถูกต้อง อย่างถกู ตอ้ ง แตเ่ กบ็ แต่เกบ็ ไมถ่ กู ตอ้ ง สะอาด รวมทง้ั เกบ็ ตามหลกั การ และแนะนา ไม่ถูกตอ้ ง ต้องใหค้ รูหรือผอู้ น่ื แนะนา ไมถ่ ูกต้อง ใหผ้ ้อู น่ื ดูแลและ เกบ็ รักษาไดถ้ กู ต้อง

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 24 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์ 5 รหัส ว23101 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 แสง เรื่อง นัยนต์ ากบั การมองเหน็ เวลา 2 ชว่ั โมง ผูส้ อน : นางสาวนาตยา แซ่เตยี ว ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่าง สสารและพลงั งาน พลังงานในชวี ติ ประจาวนั ธรรมชาตขิ องคล่ืน ปรากฏการณท์ ี่เก่ยี วขอ้ งกบั เสยี ง แสง และคล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า รวมทงั้ นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ตวั ชว้ี ัด ว 2.3 ม.3/19 อธิบายผลของความสว่างทีม่ ตี ่อดวงตาจากข้อมูลทไ่ี ด้จากการสืบคน้ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) อธิบายลกั ษณะการมองเห็นของคนสายตาปกติและสายตาผิดปกตไิ ด้ (K) 2) บอกวธิ กี ารแก้ไขการมองเหน็ ของคนสายตาผิดปกติได้ (K) 3) เขียนแผนภาพการเคลื่อนทีข่ องแสง แสดงการเกดิ ภาพของเลนสต์ าได้ (P) 3. สาระสาคัญ ในการมองวตั ถุ เลนสต์ าจะถูกปรับโฟกัส เพ่ือให้เกดิ ภาพชัดที่จอตา ความบกพรอ่ งทางสายตา เช่น สายตา สั้นและสายตายาว เป็นเพราะตาแหน่งท่เี กิดภาพไม่ได้อยูท่ ่ีจอตาพอดี จึงต้องใชเ้ ลนส์ในการแกไ้ ข เพ่ือช่วยให้มองเห็น เหมอื นคนสายตาปกติ โดยคนสายตาสนั้ ใช้เลนสเ์ ว้า ส่วนคนสายตายาวใชเ้ ลนส์นนู 4. สมรรถนะสาคญั  ความสามารถในการส่อื สาร : การสนทนาพดู คยุ แลกเปล่ียนคดิ เห็น การพูดหนา้ ช้ันเรียน  ความสามารถในการคิด : การใช้กระบวนการคดิ ในการเรียนรูแ้ ละการทางาน  ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ : การใหเ้ หตุผลในการเลือกใชเ้ ครื่องใช้ไฟฟ้าที่ประหยัดพลงั งานใน ชีวิตประจาวัน 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ปรับปรงุ พ.ศ. 2560  มุ่งมน่ั ในการทางาน  ใฝ่เรยี นรู้ 6. สาระการเรยี นรู้ - นัยน์ตากบั การมองเห็น

7. ช้นิ งาน / ภาระงาน 1) อนิ โฟกราฟิก 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั นาเข้าสูบ่ ทเรยี น 1) นักเรียนสังเกตสิ่งรอบตัว แล้วร่วมกันสนทนาทบทวนประสบการณ์เดิมเก่ียวกับนัยน์ตา และการมองเห็น โดยรว่ มกนั ตอบคาถามสาคญั กระตนุ้ ความคิด ดังน้ี - นกั เรยี นสงั เกตเหน็ อะไรบ้าง แนวคาตอบ ตอบตามจริง เช่น ภาพมสี ีแดง มวี งกลม - นักเรยี นเหน็ ภาพได้เนอ่ื งจากอะไร แนวคาตอบ นัยน์ตา - นยั นต์ ามสี ว่ นประกอบอะไรบา้ ง แนวคาตอบ สว่ นประกอบของนัยนต์ ามีดังน้ี กระจกตา เลนส์ตา กล้ามเน้ือยึดเลนส์ตา ม่านตา รูมา่ นตา เรตนิ า โดยแตล่ ะส่วนประกอบมีหนา้ ท่ีแตกตา่ งกนั ข้ันสอน 1) นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม 7 กลมุ่ คละเพศ และคละนักเรยี นเกง่ ปานกลาง และอ่อน (หรือจะแบ่งกลุ่มด้วยวิธีการ ต่าง ๆ เพม่ิ เตมิ ได้) โดยแต่ละกลมุ่ ปฏิบัตกิ ิจกรรมตามขน้ั ตอน ดงั น้ี - ทบทวนบทบาทหนา้ ทีข่ องสมาชิกในกลมุ่ วา่ ต้องทาหน้าท่ีอยา่ งไรบา้ ง ในการดาเนินการ ดว้ ยกระบวนการทางานกลุ่ม เช่น หวั หนา้ กลมุ่ มหี นา้ ที่ ............................ ผจู้ ดบนั ทึก มหี น้าที่ .................................. ผู้เสนอรายงาน มีหน้าที่ ..................................... อ่ืน ๆ ................................................... 2) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังศึกษา อ่านเน้ือหา สืบสอบและรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับนัยน์ตาและ การมองเหน็ จากหนงั สือเรียนและแหล่งการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย พร้อมทงั้ ออกแบบการนาเสนอผลการสืบสอบในแบบ ท่นี ่าสนใจ 3) นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกผลการศึกษาค้นคว้าในรูปผังกราฟิกแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสมของข้อมูล และแลกเปลีย่ นเรยี นร้รู ว่ มกนั 4) นักเรยี นแต่ละกลุ่มนาข้อมูลท่ีได้จากการศึกษา สืบสอบมาร่วมกันวิเคราะห์ อภิปราย เปรยี บเทียบ นัยน์ตา และการมองเห็น เพ่อื ฝกึ ฝนตนเองใหเ้ ปน็ ผู้มคี วามรู้อย่างเขา้ ใจและมีทักษะ 5) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ อภิปราย และสรุปเป็นความคิดรวบยอดเก่ียวกับส่วนประกอบของ นัยนต์ าและหนา้ ที่ของสว่ นประกอบ โดยร่วมกนั ตอบคาถาม ดังนี้ - นยั นต์ ามสี ว่ นประกอบอะไรบา้ ง แนวคาตอบ กระจกตาหรือคอร์เนยี เลนส์ตา กล้ามเนื้อยึดเลนส์ตา มา่ นตา รูม่านตา และเรตนิ า - สว่ นประกอบของนยั น์ตาแต่ละส่วนมีหนา้ ทีอ่ ะไร แนวคาตอบ 1. กระจกตาหรอื คอรเ์ นีย (cornea) อยูท่ ผ่ี วิ หนา้ และลูกนยั นต์ าไวเ้ ป็นตัวกลางโปร่งใส 2. เลนสต์ า (lens) เป็นเลนสน์ นู ทาหน้าทีร่ บั แสงจากวัตถุ

3. กล้ามเน้อื ยึดเลนสต์ า (ciliary muscle) สามารถหดตัว หรือคลายตัวได้ เพื่อบีบใหเ้ ลนส์ ตานูนมากหรือนูนนอ้ ย และช่วยทาใหน้ ยั นต์ าสามารถกลอกไปมาได้ 4. มา่ นตา (iris) ควบคุมปรมิ าณแสงทจ่ี ะผา่ นเขา้ ส่เู ลนสต์ า 5. รมู ่านตาหรอื พิวพลิ (pupil) รบั แสงผา่ นเข้าสเู่ ลนส์ตา ขนาดพิวพลิ เปลยี่ นแปลงไป ตามการเปดิ ปิดของมา่ นตา 6. เรตินา (retina) ฉากรบั ภาพ - การทางานของนยั นต์ าเหมือนกบั การทางานของเครื่องมือใด แนวคาตอบ กลอ้ งถ่ายรปู - ฟิลม์ ในกล้องถ่ายรูปทาหน้าที่เหมอื นส่วนประกอบใดของนยั น์ตา แนวคาตอบ เรตินา - ถา้ ยนื ในบริเวณที่แสงแดดจ้า ม่านตาและรูม่านตาจะเปน็ อยา่ งไร แนวคาตอบ ม่านตาจะยืดออก รูม่านตาจะเล็กลง 6) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเพิ่มเติมเก่ียวกับส่วนประกอบของกล้องถ่ายรูป และการทางานของ ส่วนประกอบของกล้องถ่ายรูปส่วนต่าง ๆ เพื่อสรุป และเปรียบเทียบเป็นความคิดรวบยอดเก่ียวกับส่วนประกอบของ เลนสต์ าและกลอ้ งถ่ายรูป 8) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์เก่ียวกับการมองเห็น โดยนามือมาติดใบหน้าและสังเกตภาพท่ีเห็น จากน้ันนักเรียนขยับมือให้ห่างจากใบหน้าประมาณ 1 ฟุต สังเกตสิ่งที่เห็นเปรียบเทียบจากครั้งแรก แล้วนักเรียน ร่วมกนั สรปุ เปน็ ความคดิ รวบยอดเก่ียวกบั ระยะใกลต้ า 9) นักเรียนที่สายตาปกติมองออกไปนอกห้อง หรือควรเป็นบริเวณท่ีโล่ง แล้วร่วมกันตอบคาถาม เพื่อสรุป ความคดิ รวบยอดเกย่ี วกบั ระยะไกลตา ดงั นี้ - สิ่งท่ีนกั เรียนมองไดไ้ กลทสี่ ดุ คืออะไร แนวคาตอบ ตวั อยา่ งคาตอบ ตน้ ไม้ ตกึ หรอื อืน่ ๆ - สง่ิ ที่มองเหน็ ได้ไกลทสี่ ุดนั้นหา่ งจากตัวนักเรยี นเทา่ ใด แนวคาตอบ ไกลมากวัดไมไ่ ด้ เรยี ก ระยะอนันต์ 10) นักเรียนที่สายตาสั้นถอดแว่นตาแล้วมองวัตถุที่ใกล้ท่ีสุดที่เห็นได้ชัดเจน แล้วเพ่ือนวัดระยะจากนัยน์ตาถึง วัตถุน้ันโดยประมาณ ซ่ึงจะพบว่ามีระยะน้อยกว่า 25 เซนติเมตร เพ่ือสรุปลักษณะของคนสายตาสั้น แล้วอธิบายถึง สาเหตแุ ละวิธกี ารแกไ้ ขการมองเหน็ ของคนสายตาส้นั หลงั จากนัน้ จงึ อธิบายเกี่ยวกับสายตายาว 11) นักเรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกันคดิ วเิ คราะหเ์ พมิ่ เตมิ เก่ยี วกับการมองเหน็ เพ่ือเสริมสรา้ งสมรรถนะสาคัญ ด้านการคดิ โดยรว่ มกนั ตอบคาถาม ดงั น้ี - ถา้ กริชสายตาปกติ ขณะทก่ี ริชอ่านหนังสอื พมิ พ์ กรชิ ควรวางหนังสือพิมพใ์ ห้หา่ งจากนัยน์ตาอย่างนอ้ ย เท่าใดจงึ จะเห็นตวั หนงั สือไดช้ ัดเจน แนวคาตอบ 25 cm เนอ่ื งจากระยะท่ใี กลท้ ่สี ดุ ท่คี นสายตาปกติมองเหน็ ได้ชดั เจน คือ 25 cm

- เม่ือพู่ไหมอ่านหนังสือ พู่ไหมต้องถือหนังสือไว้ใกล้มาก วัดระยะได้ 15 cm ข้าวหอมบอกว่า พู่ไหม สายตาผิดปกติ ให้พู่ไหมไปพบจักษุแพทย์ สายตาผดิ ปกติกรณีของพู่ไหมเรียกว่าอะไร และจักษุแพทย์จะช่วยให้พู่ไหม มองเหน็ เหมือนคนปกตไิ ดอ้ ยา่ งไร แนวคาตอบ พไู่ หมเป็นคนสายตาสน้ั จกั ษุแพทยจ์ ะแก้ไขโดยส่งั ทาแว่นสายตา ซ่ึงทาจากเลนส์เว้าให้ พู่ไหมใส่ - เพือ่ นของนักเรยี นมองเหน็ วัตถุทอี่ ยู่หา่ งจากตนเองเป็นระยะ 40 cm ไดช้ ัด แต่มองวตั ถุที่อย่หู า่ งจาก ตนเองเป็นระยะ 25 cm ไมช่ ัด สายตาของเพื่อนของนกั เรียนคนนป้ี กตหิ รือไม่ ถ้าไม่ปกติเราเรียกการมองเห็นเชน่ นวี้ า่ อยา่ งไร แนวคาตอบ เปน็ คนสายตาผิดปกติ ซ่ึงเรียกวา่ สายตายาว - นกั เรียนมีวธิ ถี นอมสายตาอย่างไรบา้ ง เพ่ือใหน้ ยั นต์ ามสี ุขภาพทดี่ ี นาเสนออยา่ งน้อย 3 วธิ ี เขยี นเป็น แผนภาพความคิด (ตัวอย่างแผนภาพความคิด) 1. ไม่อา่ นหนังสือในที่ 2. ไม่ดโู ทรทัศน์ใกล้เกนิ ไป ที่แสงสวา่ งไมเ่ พยี งพอ วิธถี นอมสายตา 3. เมอ่ื ต้องเพง่ สง่ิ ใดนาน ๆ เช่น จอคอมพวิ เตอร์ ใหห้ ลับตาเพื่อพักสายตาเป็นระยะ แผนภาพความคิด วิธถี นอมสายตา ข้นั สรุป 1) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปผลการสืบสอบและสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกันเกี่ยวกับ นัยน์ตาและ การมองเห็นว่า นัยน์ตาเป็นอวยั วะท่ีชว่ ยใหเ้ รามองเห็น สว่ นประกอบที่สาคัญของนยั น์ตา มดี ังน้ี 1. กระจกตาหรอื คอรเ์ นยี (cornea) อยู่ที่ผวิ หนา้ และลกู นัยนต์ าไว้เปน็ ตวั กลางโปร่งใส 2. เลนส์ตา (lens) เป็นเลนส์นูน ทาหน้าท่ีรับแสงจากวัตถุ มีความยืดหยุ่นเพื่อให้สามารถมองเห็นวัตถุที่ ระยะต่าง ๆ กันไดช้ ัดเจนตลอด 3. กล้ามเนื้อยึดเลนส์ตา (ciliary muscle) สามารถหดตัวหรือคลายตัวได้ เพ่ือบีบให้เลนส์ตานูนมากหรือ นนู นอ้ ย (ความยาวโฟกัสนอ้ ยหรอื มาก) และช่วยทาใหน้ ยั นต์ าสามารถกลอกไปมาได้

4. ม่านตา (iris) เป็นเนื้อเยื่อส่วนทม่ี ีสขี องนัยน์ตา (แลว้ แต่เช้ือชาติ) ควบคมุ ปริมาณแสงท่ีจะผ่านเขา้ สู่ เลนสต์ า 5. รมู ่านตาหรอื พวิ พิล (pupil) เปน็ สว่ นท่มี สี ีเข้มกลางนัยน์ตา รบั แสงผา่ นเข้าสเู่ ลนสต์ าขนาดของพิวพลิ เปล่ยี นแปลงไปตามการเปิดปิดของม่านตา ในทีส่ ว่างมากม่านตายอมให้แสงเขา้ ได้น้อยพิวพิลจะมขี นาดเล็ก 6. จอตาหรือเรตินา (retina) เป็นบริเวณเน้ือเยื่อสีดาช้ันในสุด ประกอบด้วยใยประสาทที่ไวต่อแสงเป็น จานวนมาก ประกอบด้วยเซลล์ประสาท 2 ชนิด คือ เซลล์ประสาทรูปแทง่ (rod cells) จะไวต่อแสงที่มีความเข้มน้อย ไม่สามารถจาแนกสีของแสงนน้ั ได้ ทาใหเ้ กิดความรูส้ ึกเกี่ยวกับความมืดและความสว่าง ขาวหรือดา และเซลล์ประสาท รูปกรวย (cone cells) ไวต่อแสงท่ีมีความเข้มสูง สามารถจาแนกแสงแต่ละสีได้ ทาให้เกิดความรู้สึกเกี่ยวกับสี เซลล์ ประสาทเหล่าน้ีจะรวมกันเป็นประสาทตา (optic nerve) ประสาทตาทาหนา้ ท่ีเปลย่ี นสญั ญาณแสงเป็นสัญญาณไฟฟ้า เข้าสสู่ มองแล้วสมองแปลความหมายภาพทม่ี องเห็น การมองเหน็ - สายตาปกติ มรี ะยะใกล้ตาเปน็ 25 เซนตเิ มตร มีระยะไกลตาเปน็ ระยะอนันต์ - สายตาส้นั ระยะใกล้ตาจะน้อยกว่า 25 เซนติเมตร และระยะไกลตาไม่ถึงระยะอนันต์ ภาพของวัตถุจะเกิดอยู่หน้าจอ ตา ทาให้มองเหน็ วัตถุทอ่ี ยไู่ กลไมช่ ัดเจน สาเหตขุ องสายตาส้ันอาจเกิดจากกระบอกตายาวเกินไปหรือเลนสแ์ ก้วตามผี ิว นูนโค้งกว่าปกติ ทาให้ความยาวโฟกัสของเลนส์ตาส้ันเกินไป ดังนั้นภาพที่ระยะไกล ๆ จึงไม่ไปตกท่ีเรตินา แต่อยู่หน้า เรตนิ า การแก้ไข ทาได้โดยสวมแว่นตาท่ีทาด้วยเลนส์เว้าที่มีความยาวโฟกัสพอเหมาะ เลนส์เว้าจะช่วยกระจาย แสงหรือถา่ งแสงออก ใหภ้ าพเลอ่ื นไปตกทเ่ี รตนิ าพอดี ทาใหเ้ หน็ วตั ถทุ ีอ่ ยูไ่ กล ๆ ได้ชัด - สายตายาว ระยะใกล้ตาจะมากกว่า 25 เซนติเมตร ระยะไกลตาอยู่ที่ระยะอนันต์ ภาพของวัตถุเกิดอยู่หลังจอตาทาให้ มองเห็นวัตถุท่ีระยะไกล ๆ ได้ชัดเจน แต่ระยะใกล้ไม่ชัดเจน สาเหตุของสายตายาว อาจเกิดจากกระบอกตาส้ันเกินไป หรอื กล้ามเน้ือยึดเลนส์แก้วตาขาดความยืดหยุ่น หรือเลนส์แก้วตาขาดความยืดหยุ่น ดังน้ัน ภาพที่อยู่ระยะใกล้ ๆ จึงตก เลยเรตินาออกไป การแก้ไข ทาได้โดยสวมแว่นตาทท่ี าด้วยเลนส์นนู ที่มีความยาวโฟกัสพอเหมาะ เลนสน์ ูนจะช่วยรวมแสง ให้ ภาพเล่อื นมาตกที่เรตนิ าพอดี ทาให้เหน็ วัตถทุ ่ีอยู่ใกล้ ๆ ไดช้ ัด 2) นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มระดมความคดิ วางแผน ออกแบบ และเขียนแผนภาพ การเคลื่อนที่ของแสง แสดงการ เกดิ ภาพของเลนส์ตาทีผ่ ิดปกติ และวธิ แี กไ้ ข จัดทาเป็นชิน้ งาน (ตวั อยา่ งแผนภาพ) สายตาส้ัน แผนภาพ การเคล่ือนทขี่ องแสงแสดงการเกิดภาพในนัยนต์ าของมนษุ ย์สายตาสน้ั

แผนภาพ การเคลื่อนท่ีของแสงแสดงการเกดิ ภาพในนยั น์ตาของมนษุ ยส์ ายตาสัน้ ท่ีไดร้ ับการแก้ไขการมองเหน็ สายตายาว แผนภาพ การเคลื่อนท่ีของแสงแสดงการเกดิ ภาพในนัยน์ตาของมนษุ ย์สายตายาว แผนภาพ การเคล่ือนทขี่ องแสงแสดงการเกดิ ภาพในนยั น์ตาของมนุษย์สายตายาวท่ีได้รับการแก้ไขการมองเหน็ 3) นักเรียนร่วมกันสรปุ สิง่ ท่ีเข้าใจเป็นความรรู้ ว่ มกนั ดังนี้  ในการมองวัตถุ เลนส์ตาจะถูกปรบั โฟกสั เพื่อใหเ้ กิดภาพชดั ทจ่ี อตา ความบกพร่องทางสายตา เช่น สายตาสั้นและสายตายาว เป็นเพราะตาแหนง่ ทเี่ กดิ ภาพไม่ได้อยู่ท่จี อตาพอดี จงึ ตอ้ งใช้เลนส์ในการแก้ไขเพ่ือชว่ ยให้ มองเห็นเหมือนคนสายตาปกติ โดยคนสายตาส้นั ใชเ้ ลนส์เวา้ สว่ นคนสายตายาวใช้เลนสน์ นู 9. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรยี นรู้ ส่ือการเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์รายวชิ าพ้ืนฐาน (สสวท) ม.3 เลม่ 1 2) อินโฟกราฟกิ 3) ppt เร่อื งแสง แหล่งการเรยี นรู้ 1) ห้องสมุด 2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เครอ่ื งมือ เกณฑ์ แบบประเมนิ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ภาระงาน/กิจกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ อนิ โฟกราฟิก สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม 11. บนั ทกึ ผลหลังการเรยี นรู้ (บนั ทกึ ตามตวั ช้ีวัด จุดประสงค์การเรยี นรู้ สมรรถนะและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ทีส่ อดคลอ้ งกับการกาหนดแนวทางการวดั และประเมนิ ผล) ผลการจดั การเรยี นรูต้ ามตวั ช้ีวดั / ผลการเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สมรรถนะในการเรียนแตล่ ะดา้ น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคแ์ ตล่ ะด้าน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญั หา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางการแกป้ ญั หา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ คน้ พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ ………………………………..ผูส้ อน (นางสาวนาตยา แซ่เตียว) ………./……………………../…………

แบบประเมนิ ตามสภาพจริง (Rubrics) แบบประเมินการปฏบิ ตั ิการทากจิ กรรมการทดลอง รายการการประเมิน 4 ระดับคณุ ภาพ 1 32 1. การทากิจกรรม ทากจิ กรรมการทดลอง ทากจิ กรรมการทดลอง ทากิจกรรมการทดลอง ทากิจกรรมการทดลอง การทดลอง ตามวิธกี ารและขั้นตอน ตามวธิ ีการและขั้นตอน ตามวธิ ีการและขั้นตอน ไม่ถกู ตอ้ งตามวธิ กี าร ตามแผนทก่ี าหนด ท่กี าหนดไว้อย่างถกู ต้อง ทก่ี าหนดไวด้ ้วยตนเอง ทก่ี าหนดไว้ โดยมีครูหรือ และขนั้ ตอนท่ีกาหนดไว้ ด้วยตนเอง มีการปรบั ปรงุ มีการปรบั ปรงุ แกไ้ ขบา้ ง ผอู้ น่ื เป็นผู้แนะนา ไมม่ ีการปรบั ปรุงแก้ไข แกไ้ ขเป็นระยะ 2. การใช้อปุ กรณ์ ใช้อุปกรณแ์ ละ/หรือ ใช้อปุ กรณแ์ ละ/หรือ ใช้อปุ กรณ์และ/หรือ ใชอ้ ุปกรณแ์ ละ/หรือ และ/หรอื เครอื่ งมือ เคร่ืองมอื ในการทา เคร่อื งมอื ในการทา เครื่องมอื ในการทา เคร่อื งมือในการทา กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง ได้อย่างถูกตอ้ ง ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง โดยมีครู ไมถ่ ูกต้อง และไมม่ ี ตามหลักการปฏบิ ัติ ตามหลกั การปฏิบัติ หรอื ผอู้ ่ืนเปน็ ผ้แู นะนา ความคลอ่ งแคล่ว และคล่องแคลว่ แตไ่ มค่ ล่องแคลว่ ในการใช้ 3. การบันทึกผล บนั ทกึ ผลเปน็ ระยะ บันทกึ ผลเปน็ ระยะ บนั ทกึ ผลเปน็ ระยะ บนั ทกึ ผลไมค่ รบ การทากจิ กรรม อยา่ งถูกต้อง มีระเบยี บ อยา่ งถกู ตอ้ ง มรี ะเบียบ แต่ไมเ่ ปน็ ระเบียบ ไมม่ กี ารระบหุ นว่ ย การทดลอง มีการระบหุ น่วย มกี าร มีการระบหุ น่วย มีการ ไมม่ กี ารระบหุ นว่ ย และไม่เปน็ ไปตาม อธิบายข้อมูลใหเ้ หน็ อธบิ ายขอ้ มูลใหเ้ ห็น และไม่มกี ารอธบิ ายข้อมลู การทากจิ กรรม ความเชอื่ มโยงเป็นภาพรวม ถงึ ความสมั พนั ธ์ ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ การทดลอง เปน็ เหตเุ ป็นผล เป็นไปตามการทา ของการทากิจกรรม และเป็นไปตาม กิจกรรมการทดลอง การทดลอง การทากจิ กรรมการทดลอง 4. การจัดกระทาขอ้ มลู จัดกระทาข้อมลู จดั กระทาข้อมลู จัดกระทาขอ้ มลู จัดกระทาข้อมลู อยา่ ง และการนาเสนอ อยา่ งเปน็ ระบบ อย่างเปน็ ระบบ มกี าร อยา่ งเป็นระบบ ไมเ่ ป็นระบบ และมีการ มีการเชอ่ื มโยงให้เห็น จาแนกข้อมูลให้เหน็ มีการยกตัวอยา่ งเพม่ิ เตมิ นาเสนอไมส่ ื่อความหมาย เปน็ ภาพรวม และนาเสนอ ความสมั พันธ์ นาเสนอ ให้เขา้ ใจง่าย และนาเสนอ และไม่ชดั เจน ดว้ ยแบบต่าง ๆ อย่างชดั เจน ดว้ ยแบบต่าง ๆ ได้ ดว้ ยแบบตา่ ง ๆ ถูกตอ้ ง แตย่ ังไมช่ ดั เจน แตย่ ังไม่ชดั เจน และไมถ่ กู ต้อง

รายการการประเมิน 4 ระดับคุณภาพ 1 32 5. การสรปุ ผล สรปุ ผลการทากิจกรรม สรปุ ผลการทากิจกรรม สรุปผลการทากจิ กรรม สรุปผลการทากจิ กรรม การทากิจกรรม การทดลอง การทดลองได้ถกู ตอ้ ง การทดลองได้ โดยมคี รู การทดลองตามความรู้ การทดลอง ได้อย่างถกู ต้อง กระชบั แต่ยังไมค่ รอบคลมุ ข้อมลู หรอื ผอู้ ืน่ แนะนาบ้าง ท่พี อมอี ยู่ โดยไม่ใช้ขอ้ มลู ชดั เจน และครอบคลมุ จากการวเิ คราะห์ท้งั หมด จงึ สามารถสรปุ ได้ถูกต้อง จากการทากจิ กรรม ข้อมลู จากการวเิ คราะห์ การทดลอง ท้งั หมด 6. การดแู ลและการเกบ็ ดแู ลอุปกรณ์และ/หรือ ดูแลอุปกรณแ์ ละ/หรอื ดูแลอปุ กรณแ์ ละ/หรือ ไม่ดูแลอปุ กรณแ์ ละ/หรอื อปุ กรณ์และ/หรือ เครื่องมอื ในการทา เคร่ืองมอื ในการทา เคร่ืองมอื ในการทา เครือ่ งมือในการทา เครื่องมอื กิจกรรมการทดลอง กจิ กรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง กจิ กรรมการทดลอง และมกี ารทาความสะอาด และมกี ารทาความสะอาด มีการทาความสะอาด และไมส่ นใจทาความ และเก็บอย่างถูกต้อง อย่างถกู ตอ้ ง แตเ่ กบ็ แต่เกบ็ ไมถ่ กู ตอ้ ง สะอาด รวมทง้ั เกบ็ ตามหลกั การ และแนะนา ไม่ถูกตอ้ ง ต้องใหค้ รูหรือผอู้ น่ื แนะนา ไมถ่ ูกต้อง ใหผ้ ้อู น่ื ดูแลและ เกบ็ รักษาไดถ้ กู ต้อง

แบบประเมนิ ชน้ิ งาน แผนภาพ รายการการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ การเขียนจดั กระทา 4 32 1 และนาเสนอแผนภาพ เขียนแผนภาพได้ เขยี นแผนภาพได้ สัมพันธก์ ันและถกู ตอ้ ง เขยี นแผนภาพได้ เขยี นแผนภาพได้ แต่ไมส่ อดคล้องกับ ตามหัวขอ้ เรอื่ งทีก่ าหนด หัวข้อเร่อื งทีก่ าหนด จดั กระทาแผนภาพ สมั พนั ธ์กบั หัวขอ้ เรอ่ื ง ตามหัวข้อเรอ่ื ง จดั กระทาแผนภาพ อยา่ งเปน็ ระบบ อยา่ งไม่เป็นระบบ และนาเสนอ ที่กาหนด โดยมคี รหู รือผูอ้ นื่ และนาเสนอ ด้วยแบบท่ีชัดเจน ไมส่ อ่ื ความหมาย ถกู ตอ้ งครอบคลุม จดั กระทาแผนภาพ ใหค้ าแนะนา และไมช่ ดั เจน และมกี ารเชือ่ มโยง ใหเ้ ห็นเปน็ ภาพรวม อยา่ งเปน็ ระบบ จดั กระทาแผนภาพได้ มีการจาแนกข้อมลู และนาเสนอ ใหเ้ หน็ ความสัมพนั ธ์ ด้วยแบบต่าง ๆ และนาเสนอ แตย่ งั ไม่ครอบคลมุ ดว้ ยแบบที่ครอบคลุม

แบบประเมนิ ชน้ิ งาน อินโฟกราฟิก รายการการประเมิน ระดบั คุณภาพ การจดั กระทา 432 1 และนาเสนอ จัดกระทาและนาเสนอ อินโฟกราฟกิ จัดกระทาและนาเสนอ จัดกระทาและนาเสนอ จดั กระทาและนาเสนอ อนิ โฟกราฟกิ ได้ แต่ไมส่ อดคล้องกบั อนิ โฟกราฟิกไดส้ ัมพันธ์ อินโฟกราฟกิ อนิ โฟกราฟิกได้ หัวข้อเรอ่ื งทกี่ าหนด กันและถูกต้องตาม ไดส้ มั พนั ธก์ ับ ตามหวั ข้อเรอื่ ง หวั ข้อเรื่องทก่ี าหนด หวั ขอ้ เร่ืองทกี่ าหนด โดยมคี รูหรือผู้อืน่ มกี ารวางแผน มีการออกแบบ ใหค้ าแนะนา มกี ารออกแบบ มีความคิดริเร่ิม และมคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ แตไ่ มม่ กี ารเชอื่ มโยง มกี ารเชื่อมโยงให้เหน็ ให้เหน็ เป็นภาพรวม เป็นภาพรวม

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 25 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ 5 รหัส ว23101 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 แสง เรอื่ ง ความสว่าง เวลา 2 ชัว่ โมง ผสู้ อน : นางสาวนาตยา แซ่เตียว ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่าง สสารและพลงั งาน พลังงานในชวี ิตประจาวนั ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณท์ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั เสียง แสง และคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมท้ังนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตวั ชีว้ ัด ว 2.3 ม.3/19 อธบิ ายผลของความสวา่ งท่ีมตี ่อดวงตาจากข้อมูลทไี่ ดจ้ ากการสืบค้น ว 2.3 ม.3/20 วดั ความสวา่ งของแสงโดยใชอ้ ุปกรณว์ ัดความสวา่ งของแสง ว 2.3 ม.3/21 ตระหนักในคุณค่าของความรเู้ รอ่ื ง ความสวา่ งของแสงที่มตี ่อดวงตาโดยวเิ คราะห์ สถานการณ์ปัญหาและเสนอแนะการจดั ความสวา่ งให้เหมาะสมในการทากจิ กรรมตา่ ง ๆ 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1) อธบิ ายผลของความสวา่ งที่มีตอ่ นยั น์ตา (K) 2) ระบคุ วามสัมพันธร์ ะหวา่ งความสว่าง ฟลักซ์ของความสว่าง ระยะห่างระหวา่ งแหลง่ กาเนดิ แสง กบั ตาแหน่งของวตั ถุได้ (K) 3) วัดความสว่างของแสงโดยใช้อปุ กรณ์วัดความสวา่ งของแสง และคานวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่ีเกยี่ วข้อง กบั ความสวา่ งได้ (P) 3. สาระสาคญั ความสว่างของแสงมีผลต่อนยั น์ตามนษุ ย์ การใช้สายตาในสภาพแวดล้อมท่มี ีความสวา่ งไม่เหมาะสม จะเปน็ อันตรายตอ่ นยั นต์ า เช่น การดูวตั ถุในที่มีความสว่างมากหรือน้อยเกนิ ไป การจอ้ งดหู นา้ จอภาพ เป็นเวลานาน ความสวา่ งบนพนื้ ทร่ี บั แสงมหี นว่ ยเปน็ ลักซ์ ความรู้เก่ียวกับความสวา่ งสามารถนามาใช้ จัดความสว่างใหเ้ หมาะสมกบั การทากจิ กรรมต่าง ๆ เชน่ การจดั ความสว่างให้เหมาะสม 4. สมรรถนะสาคัญ  ความสามารถในการสื่อสาร : การสนทนาพูดคุย แลกเปลย่ี นคดิ เหน็ การพูดหนา้ ช้ันเรยี น  ความสามารถในการคดิ : การใช้กระบวนการคดิ ในการเรยี นรูแ้ ละการทางาน  ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต: การใหเ้ หตุผลในการเลือกใชเ้ ครื่องใช้ไฟฟา้ ท่ีประหยดั พลังงานใน ชวี ิตประจาวัน

5. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560  มงุ่ ม่นั ในการทางาน  ใฝเ่ รยี นรู้ 6. สาระการเรียนรู้ - ความสว่างของแสงมผี ลตอ่ นัยนต์ า 7. ช้นิ งาน / ภาระงาน 1) ใบงานที่ 19 เร่ือง ความสวา่ งของแสงที่มีผลต่อนัยนต์ า 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขัน้ นาเขา้ สบู่ ทเรียน 1) ผูแ้ ทนนักเรียนเปิดไฟท่มี ีสแี ตกต่างกัน แตม่ กี าลังไฟเท่ากัน แล้วนักเรียนสงั เกตความสว่างของแสงไฟ และ นาเขา้ สู่บทเรียน และกิจกรรม เกยี่ วกบั ความสวา่ ง โดยรว่ มกันตอบคาถามสาคัญกระตุ้นความคิด ดังนี้ - หลอดไฟฟ้ามกี าลังไฟฟา้ เทา่ กัน นักเรยี นคิดว่าแสงสีใดใหค้ วามสวา่ งมากกว่ากัน แนวคาตอบ ตอบตามจรงิ - การระบุความสว่างของนักเรยี นแต่ละคนเหมอื นกันหรือไม่ แนวคาตอบ ไมเ่ หมือนกัน - นักเรยี นจะทราบแนช่ ัดไดอ้ ยา่ งไรว่าแหล่งกาเนิดแสง และแสงบริเวณใด มีความสว่างมากนอ้ ยกว่ากนั แนวคาตอบ โดยการคานวณ - ความสวา่ งหมายถึงอะไร แนวคาตอบ ความสว่าง หมายถึง ปริมาณฟลักซ์ของแสงสว่าง หรืออัตราให้พลังงานแสงของ แหลง่ กาเนิดแสงท่ตี กตั้งฉากกับผวิ ของวัตถุขนาด 1 ตารางเมตร - ความสว่างของแสงมผี ลต่อนัยน์ตาหรอื ไม่ อย่างไร แนวคาตอบ ผล ถา้ ความสว่างมากหรือน้อยเกินไป จะทาใหน้ ยั นต์ าเกดิ ความผดิ ปกติได้ ขั้นสอน 1) นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน คละเพศ และคละนกั เรยี นเกง่ ปานกลาง และอ่อน (หรือจะแบง่ กลุม่ ด้วย วิธีการต่าง ๆ เพิ่มเตมิ ได้) โดยแตล่ ะกลมุ่ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตามขนั้ ตอน ดังนี้ - ทบทวนบทบาทหนา้ ที่ของสมาชิกในกล่มุ วา่ ต้องทาหนา้ ท่ีอย่างไรบา้ ง ในการดาเนนิ การ ดว้ ยกระบวนการทางานกลุ่ม เช่น หวั หนา้ กลุ่ม มีหนา้ ที่ ............................ ผู้จดบนั ทกึ มีหนา้ ที่ .................................. ผู้เสนอรายงาน มหี นา้ ท่ี ..................................... อ่ืน ๆ ................................................... 2) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังศึกษา อ่านเนื้อหา สืบสอบและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความสว่าง จากหนังสือเรยี นและแหลง่ การเรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย พร้อมทง้ั ออกแบบการนาเสนอผลการสบื สอบในแบบทนี่ า่ สนใจ 3) นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกผลการศึกษาค้นคว้าในรูปผังกราฟิกแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสมของข้อมูล และแลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ว่ มกัน

4) นักเรยี นแต่ละกลุ่มนาข้อมลู ที่ได้จากการศึกษา สืบสอบมาร่วมกันวิเคราะห์ อภิปราย เปรียบเทียบ นัยน์ตา และการมองเห็น เพ่ือฝึกฝนตนเองใหเ้ ปน็ ผู้มคี วามร้อู ย่างเข้าใจและมที ักษะ 5) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังศึกษาวิธีทาและปฏิบัติกิจกรรมเร่ือง ความสว่างของแสงที่มีผลต่อ นยั นต์ าในใบงานที่ 19 6) นักเรียนแต่ละกลุ่มรว่ มกันแสดงความคิดเห็นก่อนทากจิ กรรม โดยร่วมกนั ตอบคาถามก่อนทากจิ กรรมดงั นี้ - ปัญหาของการทากจิ กรรมน้คี อื อะไร แนวคาตอบ ความสวา่ งของแสงมีผลตอ่ นัยน์ตาหรือไม่ อย่างไร - นกั เรยี นคิดวา่ ความสวา่ งของแสงมผี ลตอ่ นัยน์ตาของมนษุ ยห์ รือไม่ อยา่ งไร แนวคาตอบ ความสวา่ งของแสงมีผลตอ่ นยั น์ตาของมนษุ ย์ การใช้สายตาในสภาพแวดล้อมทม่ี คี วามสว่าง ไม่เหมาะสม เชน่ การดูวตั ถใุ นทคี่ วามสวา่ งมากหรอื นอ้ ยเกินไป ทาให้เปน็ อนั ตรายต่อนัยนต์ าได้ 7) นักเรยี นแต่ละกลุม่ ร่วมกันอย่างรวมพลังลงมอื ทากิจกรรมตามข้ันตอนท่กี าหนดในใบงานท่ี 19 เร่อื ง ความ สวา่ งของแสงที่มผี ลต่อนัยนต์ า โดยดแู ลใหค้ าแนะนาอย่างใกล้ชิด และบนั ทึกผลการทากจิ กรรมในใบงานท่ี 19 8) หลังจากนักเรียนทากิจกรรมและบันทึกผลการทากิจกรรมแล้ว ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอ ผลการทากิจกรรมหน้าชั้นเรียน นักเรียนแต่ละกลุ่มเปรียบเทียบผลการนาเสนอของแต่ละกลุ่มว่าเหมือนหรือแตกต่าง กนั อย่างไร ขั้นสรุป 1) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ อภิปราย และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการทากิจกรรม โดยรว่ มกนั ตอบคาถามหลังทากิจกรรม ดงั น้ี - การดวู ตั ถุท่ีมีความสว่างมากเกินไปส่งผลต่อนัยนต์ าหรือไม่ อยา่ งไร แนวคาตอบ ส่งผลต่อนัยน์ตาเนื่องจากการดูวัตถุที่มีความสว่างมากเกินไป เช่น แสงจากโทรทัศน์ โทรศัพท์เคล่ือนท่ี คอมพิวเตอร์ ถ้าจ้องดูหน้าจอภาพหรือใช้งานต่อเนื่องเป็นเวลานาน จะส่งผลให้ปวดตา แสบตา ตา มัว มีปัญหาในการปรับโฟกัสสายตา ก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้และอาจเป็นสาเหตุของการเกิดโรคทางสายตา เช่น โรคต้อ กระจก - การดวู ตั ถทุ ่มี คี วามสวา่ งนอ้ ยเกนิ ไปส่งผลต่อนัยนต์ าหรอื ไม่ อยา่ งไร แนวคาตอบ สง่ ผลตอ่ นัยน์ตาเน่ืองจากการดวู ัตถุทมี่ ีความสวา่ งน้อยเกินไป เชน่ การอา่ นหนังสือในที่ท่ีมี แสงสว่างไม่เพียงพออย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานเกินไป จะส่งผลให้กล้ามเนื้อตาทางานมากเกินไปกว่าปกติ อาจทาให้ กล้ามเน้อื ตาเสอื่ มเรว็ ข้ึนและอาจเปน็ สาเหตขุ องการเกดิ โรคทางสายตา เช่น โรคจอประสาทตาเสอ่ื ม - สรุปผลการทากิจกรรมน้ีไดอ้ ยา่ งไร แนวคาตอบ ความสว่างของแสงมีผลต่อนัยน์ตามนุษย์ การใช้สายตาในสภาพแวดล้อมที่มีความสว่างไม่ เหมาะสม จะเปน็ อันตรายต่อนยั น์ตาได้ - นักเรยี นมีวธิ ีการดแู ลรักษานยั น์ตาได้อยา่ งไร ยกตัวอยา่ งมาอย่างน้อย 3 วธิ ี แนวคาตอบ 1. ไม่อ่านหนงั สอื ในทท่ี ี่แสงสวา่ งไมเ่ พยี งพอ 2. ไม่ดูโทรทัศนใ์ กลเ้ กนิ ไป 3. เม่ือต้องมองหรือเพ่งสง่ิ ใดนานๆ เชน่ จอคอมพิวเตอรใ์ ห้หลบั ตาเพอ่ื พักสายตาเป็นระยะ

- ถ้านกั เรยี นอ่านหนงั สือตอนกลางคืน ควรใช้ความเขม้ ของแสงสว่างเทา่ ไรจงึ เหมาะสมกับการอา่ นหนังสือ เพ่ือป้องกนั อันตรายจากความสวา่ งของแสงที่มีผลต่อนยั นต์ า แนวคาตอบ ควรใช้ความเข้มของแสงสว่างที่เหมาะสมกับการอ่านหนังสือไม่ให้มีความสว่างมากหรือ น้อยจนเกนิ ไป 2) นักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกนั วิเคราะห์ และอภิปรายเพิ่มเติมเกีย่ วกบั ความสวา่ ง ความเข้มของการสอ่ งสวา่ ง และการคานวณ พร้อมยกตวั อย่างประกอบ 3) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับความจาเป็นในการใช้ความรู้เก่ียวกับความสว่างไปใช้ใน ชีวิตประจาวนั โดยนักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกันศกึ ษาตาราง ดังน้ี ตาราง ความเขม้ ของแสงสวา่ งสาหรับพื้นที่หรือลักษณะงานตา่ ง ๆ ตัวอย่างบริเวณพน้ื ทหี่ รือลกั ษณะงาน คา่ เฉล่ีย คา่ ความเข้ม จดุ ที่ความเข้ม ความเขม้ ของแสงสวา่ ง ของแสงสว่าง ของแสงสวา่ ง ตา่ สุด (ลกั ซ์) (ลักซ)์ (ลกั ซ)์ ลานจอดรถ ทางเดนิ บันได ภายนอกอาคาร 50 25 ทางเดินบันได ทางเขา้ หอ้ งโถง ภายในอาคาร 100 20 ห้องพักฟืน้ สาหรับการปฐมพยาบาล ห้องพักผ่อน 50 25 ห้องสขุ า ห้องอาบน้า หอ้ งเกบ็ ของ 100 50 คลังสนิ ค้า โกดงั เก็บของไวเ้ พ่ือการเคลอ่ื นยา้ ย 200 100 ห้องสานักงาน หอ้ งฝกึ อบรม หอ้ งบรรยาย 300 150 หอ้ งถา่ ยเอกสาร ห้องคอมพวิ เตอร์ ห้องประชมุ การซักรดี ซักแหง้ การอบ งานตี และเชอ่ื มเหลก็ 200-300 งานเจาะรู ทากาว หรือเย็บเล่มหนังสอื 300-400 งานเตรยี มอาหาร ปรงุ อาหาร และลา้ งจาน งานประจาในสานักาน เช่น งานเขยี น งานพิมพ์ 400-500 งานออกแบบและเขียนแบบโดยใชโ้ ปรแกรม คอมพิวเตอร์ งานระบายสี พ่นสี ตกแตต่งสีหรอื ขัดตกแต่งละเอียด งาน 500-600 พสิ จู นอ์ ักษร งานออกแบบและเขียนแบบ โดยไมใ่ ชโ้ ปรแกรม 600-700 คอมพิวเตอร์ งานปรบั เทียบมาตรฐานและความแมน่ ยา 700-800 ของอปุ กรณ์ การตัดเยบ็ เสอ้ื ผ้าดว้ ยมือ การเทยี บสีในงานย้อมผา้ 800-1,200 งานตรวจสอบช้นิ งส่วนที่มขี นาดเลก็ 1,200-1,600 งานซอ่ มแซม สิง่ ทอ ส่งิ ถกั ท่ีมีสอี อ่ น งานทางการแพทย์ เช่น งานหัตถกรรม หอ้ งผา่ ตัด 2,400 หรือ มากกว่า ท่ีมา : ประกาศกรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง มาตรฐานความเขม้ ของแสงสว่าง ในราชกจิ จานเุ บกษา หนา้ 15

4) นกั เรียนรว่ มกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกนั ดังน้ี  ความสวา่ งของแสงมีผลต่อนัยน์ตามนุษย์ การใช้สายตาในสภาพแวดล้อมท่ีมีความสว่างไม่เหมาะสมจะ เป็นอันตรายต่อนัยน์ตา เช่น การดูวัตถุในท่ีมีความสว่างมากหรือน้อยเกินไป การจ้องดูหน้าจอภาพเป็นเวลานาน ความสว่างบนพ้ืนท่ีรับแสงมีหน่วยเป็นลักซ์ ความรู้เก่ียวกับความสว่างสามารถนามาใช้จัดความสว่างให้เหมาะสมกับ การทากจิ กรรมตา่ ง ๆ เชน่ การจัดความสวา่ งใหเ้ หมาะสม 9. สอื่ การเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์รายวิชาพนื้ ฐาน (สสวท) ม.3 เล่ม 1 2) หลอดไฟฟ้าทีม่ สี ีแตกตา่ งกัน แตค่ วามสว่างเท่ากัน 3) ใบงานที่ 19 เรอื่ ง ความสว่างของแสงท่มี ีผลต่อนัยน์ตา 4) ppt เร่อื งแสง แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งสมุด 2) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เครื่องมอื เกณฑ์ ภาระงาน/กจิ กรรม แบบประเมนิ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ใบงานที่ 19 เร่ืองความสว่างของแสงที่มผี ลต่อ นัยน์ตา แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

11. บนั ทกึ ผลหลังการเรยี นรู้ (บนั ทกึ ตามตวั ช้วี ัด จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สมรรถนะและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ท่สี อดคลอ้ งกบั การกาหนดแนวทางการวดั และประเมนิ ผล) ผลการจดั การเรียนรตู้ ามตวั ชวี้ ดั / ผลการเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สมรรถนะในการเรยี นแตล่ ะดา้ น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคแ์ ตล่ ะด้าน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแก้ปัญหา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ คน้ พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ ………………………………..ผูส้ อน (นางสาวนาตยา แซ่เตยี ว) ………./……………………../…………

ใบงานท่ี 19 เรือ่ ง ความสวา่ งของแสงท่ีมีผลตอ่ นยั น์ตา วนั ที่________เดอื น_______________พ.ศ.___________ ได_้ _________คะแนน ชือ่ _____________________________เลขที่______ชน้ั ________ คะแนนเตม็ 10 คะแนน คาชแ้ี จง นกั เรยี นแต่ละกลุม่ ปฏิบตั ิ ดงั นี้ 2. ตอบคาถามก่อนทากิจกรรม 1. อ่านวธิ ีทากจิ กรรมให้เขา้ ใจ 4. ตอบคาถามหลงั ทากิจกรรม 3. ทากิจกรรมและบนั ทกึ ผล วิธที ่า 1. แบง่ กลุ่ม แตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั วางแผน สบื คน้ ข้อมลู จากแหลง่ การเรียนรตู้ ่าง ๆ ทีห่ ลากหลาย เกีย่ วกับความ สว่างของแสงท่มี ผี ลต่อนยั น์ตา ดังนี้ 1.1 การทากิจกรรมตา่ ง ๆ ทท่ี าร้ายนยั นต์ า 1.2 วิธกี ารดูแลรกั ษานัยนต์ า 2. ออกแบบวธิ กี ารนาเสนอในแบบทนี่ า่ สนใจ บันทกึ ขอ้ มูล แลว้ นาเสนอหนา้ ชัน้ เรยี น ค่าถามก่อนท่ากิจกรรม ปัญหา 1. ปัญหาของการทากิจกรรมนคี้ ืออะไร (ความสว่างของแสงมีผลตอ่ นัยนต์ าหรือไม่ อยา่ งไร) จากการทดลองเพือ่ อธิบายเก่ียวกับโครงสรา้ งภายในของอะตอม) สมมตุ ิฐาน 2. นักเรยี นคดิ วา่ ความสว่างของแสงมีผลต่อนยั น์ตาของมนษุ ย์หรือไม่ อย่างไร (ความสว่างของแสงมีผลตอ่ นัยน์ตาของมนษุ ย์ การใช้สายตาในสภาพแวดล้อมทมี่ ีความสวา่ ง ไมเ่ หมาะสม เชน่ การดวู ตั ถุในที่ความสวา่ งมากหรอื น้อยเกินไปทาใหเ้ ป็นอันตรายต่อนัยนต์ าได)้ จากการทดลองเพอื่ อธบิ ายเกี่ยวกับโครงสร้างภายในของอะตอม) บันทกึ ผลการท่ากจิ กรรม (ตัวอย่างคาตอบ) (ความสวา่ งของแสงทม่ี ีผลตอ่ นัยนต์ า มดี ังนี้ 1. การดูวัตถุทม่ี ีความสวา่ งมาก เช่น แสงจากโทรทัศน์ โทรศัพทเ์ คล่อื นที่ คอมพวิ เตอร์ ถา้ จ้องดูหนา้ จอภาพหรือใชง้ านต่อเน่ือง เป็นเวลานานมากเกนิ ไป จะสง่ ผลใหป้ วดตา แสบตา ตามวั มปี ญั หาในการปรับโฟกัสสายตาก่อให้เกดิ อุบตั ิเหตุไดแ้ ละอาจเปน็ สาเหตขุ องการเกิดโรคทางสายตา

ค่าถามหลงั ทา่ กิจกรรม แปลความหมายและสรุปผล 1. การดูวัตถทุ ี่มคี วามสว่างมากเกนิ ไปสง่ ผลตอ่ นัยน์ตาหรือไม่ อยา่ งไร (ส่งผลตอ่ นยั นืตาเนนื่องจากการดวู ัตุทีม่ ีความสว่างมากเกนิ ไป เชน่ แสงจากโทรทัศน์ โทรศัพทเ์ คลอ่ื นที่ คอมพิวเตอร์ ถ้าจอ้ งดหู นา้ จอภาพหืรือใชง้ านต่อเน่ืองเป็นเวลานาน จะส่งผลใหป้ วดตา แสบตา ตามวั มปี ญั หาในการปรบั โฟกสั สายตา ก่อใหเ้ กิดอุบตั ิเหตุได้และอาจเปน็ สาเหตุของการเกิดโรคทางสายตา เชน่ โรคต้อกระจก) 2. การดูวัตถุที่มีความสว่างน้อยเกินไปส่งผลต่อนัยน์ตาหรือไม่ อย่างไร (ส่งผลต่อนยั นต์ าเน่ืองจากการดวู ตั ถทุ ่มี คี วามสว่างน้อยเกินไป เช่น การอา่ นหนงั สือในท่ีทม่ี ีแสงสว่าง ไมเ่ พียงพออยา่ งต่อเืนอ่ งเป็นเวลลานานเกนิ ไป จะสง่ ผลให้กลา้ มเนือ้ ตาทางานมากเกินไปกวา่ ปกติ อาจทาให้กล้ามเนื้อตาเส่ือมเร็วขึ้นและอาจเปน็ สาเหตุของการเกิดโรคทางสายตา เช่น โรคจอประสาทตาเสอ่ื ม) 3. สรุปผลการทากิจกรรมนี้ได้อย่างไร (ความสว่างของแสงมีผลต่อนัยน์ตามนาุ ย์ การใช้สายตาในสภาพแวดล้อมที่มคี วามสวา่ งไมเ่ หมาะสม จะเปน็ อันตรายต่อนัยน์ตาได้) การนาไปใช้ 4. นักเรียนมวี ิธีการดแู ลรกั ษานัยน์ตาได้อย่างไร ยกตวั อยา่ งมาอยา่ งน้อย 3 วิธี (ตัวอย่างคาตอบ 1. ไมอ่ ่านหนงั สอื ในท่ีท่มี ีแสงสว่างไม่เพยี งพอ 2. ไมด่ โู ทรทศั น์ใกล้เกนิ ไป 3. เมอ่ื ต้องมองหรอื เพง่ ส่ิงใดนาน ๆ เชน่ จอคอมพิวเตอร์ให้หลบั ตาเพื่อพักสายตา เป็นระยะ) 5. ถ้านกั เรียนอา่ นหนงั สือตอนกลางคนื ควรใช้ความเข้มของแสงสว่างเทา่ ไรจึงเหมาะสมกับ การอา่ นหนังสือเพอ่ื ป้องกันอันตรายจากความสว่างของแสงท่ีมีผลต่อนยั น์ตา (ตัวอยา่ งคาตอบ ควรใชค้ วามเขม้ ของแสงสว่างที่เหมาะสมกับการอา่ นหนังสอื ไม่ให้มคี วามสว่างมาก หรือนอ้ ยจนเกนิ ไป) จงทากิจกรรมอย่างรวมพลัง ด้วยความมงุ่ ม่นั และใฝร่ ู้

แบบประเมนิ ตามสภาพจริง (Rubrics) แบบประเมินการปฏบิ ตั ิการทากจิ กรรมการทดลอง รายการการประเมิน 4 ระดับคณุ ภาพ 1 32 1. การทากิจกรรม ทากจิ กรรมการทดลอง ทากจิ กรรมการทดลอง ทากิจกรรมการทดลอง ทากิจกรรมการทดลอง การทดลอง ตามวิธกี ารและขั้นตอน ตามวธิ ีการและขั้นตอน ตามวธิ ีการและข้นั ตอน ไม่ถกู ตอ้ งตามวธิ กี าร ตามแผนทก่ี าหนด ท่กี าหนดไว้อย่างถกู ต้อง ทก่ี าหนดไวด้ ้วยตนเอง ทก่ี าหนดไว้ โดยมีครูหรือ และขนั้ ตอนท่ีกาหนดไว้ ด้วยตนเอง มีการปรบั ปรงุ มีการปรบั ปรงุ แกไ้ ขบา้ ง ผอู้ น่ื เป็นผ้แู นะนา ไมม่ ีการปรบั ปรุงแก้ไข แกไ้ ขเป็นระยะ 2. การใช้อปุ กรณ์ ใช้อุปกรณแ์ ละ/หรือ ใช้อปุ กรณแ์ ละ/หรือ ใช้อปุ กรณ์และ/หรือ ใชอ้ ุปกรณแ์ ละ/หรือ และ/หรอื เครอื่ งมือ เคร่ืองมอื ในการทา เคร่อื งมอื ในการทา เครื่องมอื ในการทา เคร่อื งมือในการทา กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง ได้อย่างถูกตอ้ ง ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง โดยมีครู ไมถ่ ูกต้อง และไมม่ ี ตามหลักการปฏบิ ัติ ตามหลกั การปฏิบัติ หรอื ผอู้ ่ืนเปน็ ผ้แู นะนา ความคลอ่ งแคล่ว และคล่องแคลว่ แตไ่ มค่ ล่องแคลว่ ในการใช้ 3. การบันทึกผล บนั ทกึ ผลเปน็ ระยะ บันทกึ ผลเปน็ ระยะ บนั ทกึ ผลเปน็ ระยะ บนั ทกึ ผลไมค่ รบ การทากจิ กรรม อยา่ งถูกต้อง มีระเบยี บ อยา่ งถกู ตอ้ ง มรี ะเบียบ แต่ไมเ่ ปน็ ระเบียบ ไมม่ กี ารระบหุ นว่ ย การทดลอง มีการระบหุ น่วย มกี าร มีการระบหุ น่วย มีการ ไมม่ กี ารระบหุ น่วย และไม่เปน็ ไปตาม อธิบายข้อมูลใหเ้ หน็ อธบิ ายขอ้ มูลใหเ้ ห็น และไม่มกี ารอธบิ ายข้อมลู การทากจิ กรรม ความเชอื่ มโยงเป็นภาพรวม ถงึ ความสมั พนั ธ์ ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ การทดลอง เปน็ เหตเุ ป็นผล เป็นไปตามการทา ของการทากิจกรรม และเป็นไปตาม กิจกรรมการทดลอง การทดลอง การทากจิ กรรมการทดลอง 4. การจัดกระทาขอ้ มลู จัดกระทาข้อมลู จดั กระทาข้อมลู จัดกระทาขอ้ มลู จัดกระทาข้อมลู อยา่ ง และการนาเสนอ อยา่ งเปน็ ระบบ อย่างเปน็ ระบบ มกี าร อยา่ งเป็นระบบ ไมเ่ ป็นระบบ และมีการ มีการเชอ่ื มโยงให้เห็น จาแนกข้อมูลให้เหน็ มีการยกตวั อยา่ งเพม่ิ เตมิ นาเสนอไมส่ ื่อความหมาย เปน็ ภาพรวม และนาเสนอ ความสมั พันธ์ นาเสนอ ให้เขา้ ใจง่าย และนาเสนอ และไม่ชดั เจน ดว้ ยแบบต่าง ๆ อย่างชดั เจน ดว้ ยแบบต่าง ๆ ได้ ดว้ ยแบบตา่ ง ๆ ถูกตอ้ ง แตย่ ังไมช่ ดั เจน แตย่ ังไม่ชดั เจน และไมถ่ กู ต้อง

รายการการประเมิน 4 ระดับคุณภาพ 1 32 5. การสรปุ ผล สรปุ ผลการทากิจกรรม สรปุ ผลการทากิจกรรม สรุปผลการทากจิ กรรม สรุปผลการทากจิ กรรม การทากิจกรรม การทดลอง การทดลองได้ถกู ตอ้ ง การทดลองได้ โดยมคี รู การทดลองตามความรู้ การทดลอง ได้อย่างถกู ต้อง กระชบั แต่ยังไมค่ รอบคลมุ ข้อมลู หรอื ผอู้ ืน่ แนะนาบ้าง ท่พี อมอี ยู่ โดยไม่ใช้ขอ้ มลู ชดั เจน และครอบคลมุ จากการวเิ คราะห์ท้งั หมด จงึ สามารถสรปุ ได้ถูกต้อง จากการทากจิ กรรม ข้อมลู จากการวเิ คราะห์ การทดลอง ท้งั หมด 6. การดแู ลและการเกบ็ ดแู ลอุปกรณ์และ/หรือ ดูแลอุปกรณแ์ ละ/หรอื ดูแลอปุ กรณแ์ ละ/หรือ ไม่ดูแลอปุ กรณแ์ ละ/หรอื อปุ กรณ์และ/หรือ เครื่องมอื ในการทา เคร่ืองมอื ในการทา เคร่ืองมอื ในการทา เครือ่ งมือในการทา เครื่องมอื กิจกรรมการทดลอง กจิ กรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง กจิ กรรมการทดลอง และมกี ารทาความสะอาด และมกี ารทาความสะอาด มีการทาความสะอาด และไมส่ นใจทาความ และเก็บอย่างถูกต้อง อย่างถกู ตอ้ ง แตเ่ กบ็ แต่เกบ็ ไมถ่ กู ตอ้ ง สะอาด รวมทง้ั เกบ็ ตามหลกั การ และแนะนา ไม่ถูกตอ้ ง ต้องใหค้ รูหรือผอู้ น่ื แนะนา ไมถ่ ูกต้อง ใหผ้ ้อู น่ื ดูแลและ เกบ็ รักษาไดถ้ กู ต้อง

แบบประเมินชน้ิ งาน อินโฟกราฟกิ รายการการประเมนิ ระดบั คุณภาพ การจดั กระทา 432 1 และนาเสนอ จัดกระทาและนาเสนอ อนิ โฟกราฟิก จัดกระทาและนาเสนอ จัดกระทาและนาเสนอ จดั กระทาและนาเสนอ อนิ โฟกราฟกิ ได้ แต่ไมส่ อดคล้องกบั อินโฟกราฟกิ ไดส้ มั พันธ์ อินโฟกราฟิก อนิ โฟกราฟิกได้ หัวข้อเรอ่ื งทกี่ าหนด กันและถูกต้องตาม ได้สมั พนั ธ์กับ ตามหวั ข้อเรอื่ ง หวั ขอ้ เรอื่ งทกี่ าหนด หวั ขอ้ เรอื่ งที่กาหนด โดยมคี รูหรือผู้อืน่ มีการวางแผน มกี ารออกแบบ ใหค้ าแนะนา มกี ารออกแบบ มีความคดิ รเิ ริม่ และมคี วามคดิ สร้างสรรค์ แตไ่ มม่ กี ารเช่ือมโยง มีการเชื่อมโยงให้เห็น ใหเ้ ห็นเปน็ ภาพรวม เปน็ ภาพรวม

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 26 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ 5 รหสั ว23101 ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 ปฏิสัมพนั ธใ์ นระบบสรุ ิยะ เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างมวลกบั แรงโน้มถ่วงของดาว เวลา 2 ช่ัวโมง ผ้สู อน : นางสาวนาตยา แซ่เตียว ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ มาตรฐานการเรียนรู้ ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อส่ิงมีชีวิต และการประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีอวกาศ ตัวช้ีวดั ว 3.1 ม.3/1 อธบิ ายการโคจรของดาวเคราะหร์ อบดวงอาทิตย์ด้วยแรงโนม้ ถ่วงจากสมการ F = (Gm1m2)/r2 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1) บอกปัจจยั ทีส่ ง่ ผลตอ่ แรงโนม้ ถว่ งของดาวได้ (K) 2) อธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหว่างมวลของดาวกับแรงโนม้ ถว่ งของดาวได้ (K) 3) เขียนแผนภาพ ปัจจยั ทีส่ ง่ ผลต่อแรงโนม้ ถว่ งของดาวเคราะห์ในระบบสุรยิ ะได้ (P) 3. สาระสาคญั ปัจจัยท่ีส่งผลต่อแรงโน้มถ่วงของดาว ได้แก่ มวลของดาวเคราะห์ และระยะห่างของดาวแรงโน้มถ่วงของ ดาวจะกระทาต่อวัตถุท่ีเขา้ มาในบริเวณสนามโน้มถ่วงของดาว โดยทิศทางของแรงโน้มถ่วง และทิศทางของสนามโน้ม ถ่วงจะมีทิศทางเข้าหาจดุ ศนู ยก์ ลางของดาว 4. สมรรถนะสาคัญ  ความสามารถในการสอ่ื สาร : การสนทนาพูดคุย แลกเปลี่ยนคดิ เหน็ การพูดหน้าชั้นเรยี น  ความสามารถในการคดิ : การใชก้ ระบวนการคดิ ในการเรียนรแู้ ละการทางาน  ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ : การให้เหตุผลในการเลือกใชเ้ ครื่องใช้ไฟฟ้าที่ประหยัดพลังงานใน ชีวติ ประจาวัน 5. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560  ม่งุ มั่นในการทางาน  ใฝเ่ รยี นรู้ 6. สาระการเรยี นรู้ - ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลต่อแรงโนม้ ถว่ งของดาว

7. ชนิ้ งาน / ภาระงาน 1) ใบงานท่ี 20 เรื่อง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งมวลของดาวกับแรงโน้มถ่วงของดาว 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั นาเขา้ สูบ่ ทเรยี น 1) นักเรียนดูวดิ ที ศั น์เกย่ี วกับกาเนดิ ระบบสรุ ยิ ะ แลว้ รว่ มกันสนทนาทบทวนประสบการณเ์ ดมิ เก่ียวกับระบบ สรุ ิยะ โดยร่วมกันตอบคาถามกระตุน้ ความคิด ดังนี้ - ระบบสุริยะหมายความว่าอยา่ งไร แนวคาตอบ ระบบสรุ ิยะ คอื ระบบดาวท่มี ดี าวฤกษ์เป็นศนู ยก์ ลาง มดี าวเคราะห์เปน็ บรวิ าร ดาวฤกษ์ท่ี เปน็ ศูนย์กลาง ได้แก่ ดวงอาทิตย์ - นักเรียนเข้าสู่บทเรียนเกี่ยวกับการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ โดยร่วมกันสังเกตภาพดาว เคราะห์ และวัตถุต่าง ๆ ท่ีเป็นบริวารของดวงอาทิตย์ เรียงลาดับวงโคจร แล้วร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเห็น โดย ร่วมกนั ตอบคาถามสาคัญกระตุ้นความคิด ดงั นี้ ดวงอาทติ ย์ ดาวเคราะห์และวัตถุตา่ ง ๆ ท่ีเปน็ บรวิ ารของดวงอาทิตย์ เรียงตามลาดับวงโคจร - ดาวเคราะหใ์ ดมีมวลมากทส่ี ุดและน้อยทส่ี ดุ แนวคาตอบ ดาวพฤหัสบดีมีมวลมากทีส่ ดุ และดาวพธุ มีมวลนอ้ ยทสี่ ุด - มวลของดาวสมั พันธ์กับแรงโน้มถว่ งของดาวอย่างไร แนวคาตอบ ดาวท่ีมมี วลมากจะมีแรงโนม้ ถว่ งมาก และสามารถดึงดูดวตั ถทุ ้องฟา้ ตา่ ง ๆ เข้ามาในสนาม โนม้ ถว่ งของดาวไดม้ าก ดงดาวหาง แถบคอยเปอร์ ดาวเนปจูน ดาวยเู รนสั ดาวเสาร์ ดาวพฤหสั บดี แถบดาวเคราะห์ ดาวอังคาร โลก ดาวศกุ ร์ ดาวพุธ

ขน้ั สอน 1) นักเรยี นแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน คละเพศ และคละนกั เรียนเก่ง ปานกลาง และออ่ น (หรือจะแบง่ กลมุ่ ดว้ ย วธิ กี ารตา่ ง ๆ เพ่มิ เติมได)้ โดยแต่ละกลุ่มปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามขัน้ ตอน ดังน้ี - ทบทวนบทบาทหนา้ ท่ขี องสมาชกิ ในกลมุ่ ว่าตอ้ งทาหนา้ ที่อยา่ งไรบ้าง ในการดาเนินการ ด้วยกระบวนการทางานกลุ่ม เชน่ หัวหนา้ กลมุ่ มหี น้าท่ี ............................ ผจู้ ดบนั ทึก มหี น้าท่ี .................................. ผเู้ สนอรายงาน มีหนา้ ที่ ..................................... อนื่ ๆ ................................................... 2) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังศึกษา อ่านเนื้อหา สืบสอบและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ ปัจจัยที่ ส่งผลต่อแรงโน้มถ่วงของดาว จากหนังสือเรียนและแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย พร้อมทั้งออกแบบการนาเสนอผล การสืบสอบในแบบท่นี ่าสนใจ 3) นักเรียนแต่ละกลุ่มบันทึกผลการศึกษาค้นคว้าในรูปผังกราฟิกแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสมของข้อมูล และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกนั 4) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังศกึ ษาวิธีทาและปฏิบัติกิจกรรมเร่ืองความสัมพันธ์ระหว่างมวลของ ดาวกับแรงโนม้ ถว่ งของดาว ในใบงานท่ี 20 5) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ ก่อนทากิจกรรม โดยรว่ มกนั ตอบคาถามก่อนทากิจกรรมดังนี้ - ปญั หาของการทากจิ กรรมน้ีคืออะไร แนวคาตอบ มวลของดาวสัมพนั ธก์ ับแรงโนม้ ถว่ งของดาวอย่างไร - นักเรยี นคดิ ว่าดาวเคราะหแ์ ตล่ ะดวงท่เี ป็นบริวารของดวงอาทติ ย์ มีมวลเท่ากนั หรอื ไม่ แนวคาตอบ ดาวเคราะห์แตล่ ะดวงมีมวลไมเ่ ทา่ กัน - นกั เรียนคิดวา่ มวลของดาวเคราะห์มคี วามสมั พนั ธ์กับจานวนดาวบรวิ ารของดาวเคราะหห์ รอื ไม่ อยา่ งไร แนวคาตอบ มวลของดาวเคราะหจ์ ะมคี วามสัมพนั ธ์กบั จานวนดาวบริวารของดาวเคราะห์ โดยดาว เคราะหท์ ี่มมี วลมากจะมีจานวนดาวบรวิ ารมาก สว่ นดาวเคราะห์ทมี่ ีมวลนอ้ ยจะมจี านวนดาวบรวิ ารนอ้ ย 6) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังลงมือทากิจกรรมตามขั้นตอนท่ีกาหนดในใบงานท่ี 20 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างมวลของดาวกับแรงโน้มถ่วงของดาว โดยดูแลให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิด และบันทึกผลการทา กจิ กรรมในใบงานที่ 20 7) หลังจากนักเรียนทากิจกรรมและบันทึกผลการทากิจกรรมแล้ว ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอ ผลการทากิจกรรมหน้าชั้นเรียน นักเรียนแต่ละกลุ่มเปรียบเทียบผลการนาเสนอของแต่ละกลุ่มว่าเหมือนหรือแตกต่าง กนั อยา่ งไร ขนั้ สรปุ 1) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ อภิปราย และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับผลการทากิจกรรม โดย รว่ มกันตอบคาถามหลังทากิจกรรม ดงั นี้ - เรยี งลาดบั มวลของดาวเคราะหจ์ ากมากท่สี ดุ ไปนอ้ ยท่ีสดุ ได้อย่างไร แนวคาตอบ เรียงลาดับมวลของดาวเคราะหจ์ ากมากท่ีสดุ ไปนอ้ ยทส่ี ดุ ดังน้ี 1. ดาวพฤหสั บดี 2. ดาวเสาร์ 3. ดาวเนปจนู 4. ดาวยูเรนัส 5. โลก 6. ดาวศุกร์ 7. ดาวอังคาร 8. ดาวพุธ

- เรยี งลาดบั ดาวเคราะห์ท่มี ีจานวนดาวบริวารจากมากทีส่ ุดไปน้อยทส่ี ุดได้อยา่ งไร แนวคาตอบ เรียงลาดับดาวเคราะหท์ ี่มจี านวนดาวบรวิ ารจากมากทีส่ ดุ ไปนอ้ ยท่สี ดุ ได้ ดงั นี้ 1. ดาวพฤหัสบดี 2. ดาวเสาร์ 3. ดาวยเู รนัส 4. ดาวเนปจูน 5. ดาวอังคาร 6. โลก 7. ดาวพุธ และดาวศกุ ร์ - มวลของดาวเคราะหส์ มั พนั ธ์กับจานวนดาวบรวิ ารของดาวเคราะห์หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ดจึงเปน็ เช่นนน้ั แนวคาตอบ มวลของดาวเคราะห์ค่อนข้างสัมพันธ์กับจานวนดาวบริวารของดาวเคราะห์ เพราะหาก พิจารณาข้อมูลในตารางบันทึกผลจะเห็นได้ว่า ดาวเคราะห์ช้ันใน ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร เปน็ ดาวเคราะห์ทม่ี มี วลน้อยและมีจานวนดาวบริวารนอ้ ย ส่วนดาวเคราะหช์ ัน้ นอก ได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาว ยเู รนัส และดาวเนปจูน เป็นดาวเคราะห์ที่มีมวลมากและมีจานวนดาวบริวารมากกว่า เนื่องจากดาวท่ียิง่ มีมวลมากจะ ย่ิงมแี รงโนม้ ถว่ งมาก ส่งผลให้สามารถดงึ ดูดดาวบริวารให้โคจรรอบดาวเคราะหใ์ หม้ ากตามไปด้วย - สรุปผลการทากิจกรรมได้อยา่ งไร แนวคาตอบ มวลของดาวมีความสมั พนั ธ์กับแรงโน้มถว่ งของดาว โดยดาวท่ีมมี วลมาก แรงโน้มถ่วงของ ดาวก็จะยงิ่ มีค่ามาก 2) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปผลการทากิจกรรมและสรุปส่ิงท่ีเข้าใจเป็นความรู้ร่วมกันเก่ียวกับ ความสัมพนั ธ์ระหว่างมวลของดาวกบั แรงโน้มถ่วงของดาวว่า มวลของดาวมีความสัมพันธ์กบั แรงโนม้ ถ่วงของดาว โดย ดาวท่ีมีมวลมาก แรงโนม้ ถ่วงของดาวจะย่ิงมคี า่ มาก 3) นักเรยี นร่วมกนั คดิ วเิ คราะห์เพ่ิมเตมิ เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะดา้ นการคดิ โดยร่วมกนั ตอบคาถาม ดงั นี้ - นอกจากมวลของดาวแล้ว ยังมีปัจจยั ใดอีกบา้ งที่สง่ ผลต่อแรงโนม้ ถว่ งของดาว อยา่ งไร แนวคาตอบ ระยะหา่ งของดาวโดยระยะหา่ งของวตั ถใุ ด ๆ จากดาว มผี ลตอ่ ขนาดของแรงโนม้ ถว่ งที่ดาว กระทาต่อวัตถุนั้น 4) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังวางแผน ออกแบบ และเขียนแผนภาพ ปัจจัยท่ีส่งผลต่อแรงโน้ม ถว่ งของดาวเคราะหใ์ นระบบสุริยะ จัดทาเปน็ ชิน้ งาน (ตวั อย่างแผนภาพ) ดาวเคราะห์ท่ีมีมวลมากจะมีแรงโนม้ ถ่วงมาก มวลของดาวเคราะห์ ปัจจยั ทส่ี ่งผลต่อ ดาวเคราะหท์ ี่มีมวลน้อยจะมีแรงโน้มถว่ งนอ้ ย แรงโน้มถว่ งของ ระยะหา่ งจากดาวเคราะห์ วตั ถทุ ีอ่ ยูใ่ กลจ้ ากดาวเคราะห์จะมแี รงโน้มถว่ งมาก ดาวเคราะห์ วัตถทุ อี่ ยู่ไกลจากดาวเคราะห์จะมีแรงโน้มถว่ งน้อย ในระบบสรุ ยิ ะ แผนภาพ ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลต่อแรงโนม้ ถว่ งของดาวเคราะห์ในระบบสรุ ยิ ะ

5) นักเรยี นรว่ มกนั สรปุ ส่งิ ท่ีเข้าใจเป็นความรู้ร่วมกนั ดงั น้ี  ปจั จยั ที่สง่ ผลต่อแรงโนม้ ถว่ งของดาว ไดแ้ ก่ มวลของดาวเคราะห์ และระยะหา่ งของดาว  แรงโน้มถ่วงของดาว จะกระทาต่อวัตถุที่เข้ามาในบริเวณสนามโน้มถ่วงของดาว โดยทิศทางของแรง โน้มถ่วงและทศิ ทางของสนามโน้มถว่ งจะมที ิศทางเข้าหาจดุ ศนู ย์กลางของดาว 9. สือ่ การเรยี นรู้/แหลง่ เรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรียนวิทยาศาสตร์รายวชิ าพืน้ ฐาน (สสวท) ม.3 เล่ม 1 2) ภาพ ดาวเคราะห์และวัตถตุ า่ ง ๆ ท่ีเป็นบรวิ ารของดวงอาทิตย์ เรยี งลาดับวงโคจร 3) วดิ ีทัศน์เกย่ี วกบั กาเนดิ ระบบสรุ ยิ ะ 4) ใบงานที่ 20 เรอื่ งความสัมพันธร์ ะหวา่ งมวลของดาวกับแรงโนม้ ถ่วงของดาว 5) ppt เรื่องปฎสิ มั พนั ธ์ในระบบสรุ ิยะ แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องสมุด 2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื เกณฑ์ ภาระงาน/กิจกรรม แบบประเมิน รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ใบงานที่ 20 เรื่องความสมั พันธร์ ะหว่างมวลของ ดาวกับแรงโน้มถ่วงของดาว แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม

11. บนั ทกึ ผลหลังการเรยี นรู้ (บนั ทกึ ตามตวั ชวี้ ดั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สมรรถนะและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ท่สี อดคลอ้ งกบั การกาหนดแนวทางการวัดและประเมนิ ผล) ผลการจดั การเรียนรตู้ ามตวั ชวี้ ดั / ผลการเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สมรรถนะในการเรยี นแตล่ ะด้าน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคแ์ ต่ละด้าน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแก้ปัญหา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ คน้ พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ………………………………..ผ้สู อน (นางสาวนาตยา แซ่เตยี ว) ………./……………………../…………

ใบงานท่ี 20 เร่อื ง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งมวลของดาวกับแรงโนม้ ถ่วงของดาว วนั ที่________เดอื น_______________พ.ศ.___________ ได_้ _________คะแนน ช่ือ_____________________________เลขท่ี______ชนั้ ________ คะแนนเตม็ 10 คะแนน คาชแ้ี จง นกั เรียนแต่ละกลุ่มปฏบิ ัติ ดังน้ี 2. ตอบคาถามก่อนทากิจกรรม 1. อา่ นวิธีทากจิ กรรมใหเ้ ข้าใจ 4. ตอบคาถามหลงั ทากจิ กรรม 3. ทากจิ กรรมและบนั ทกึ ผล วิธที า 1. แบ่งกล่มุ แต่ละกล่มุ รว่ มกนั สืบค้นข้อมลู จากแหลง่ การเรียนรูต้ ่าง ๆ ทีห่ ลากหลายเกยี่ วกบั ดาวเคราะห์ ทั้ง 8 ดวงท่ีเปน็ บรวิ ารของดวงอาทติ ย์ในประเด็น ดังนี้ 1.1 มวลของดาวเคราะห์ 1.2 จานวนดาวบริวารของดาวเคราะห์ 2. ออกแบบตารางบนั ทึกผลการสบื ค้นข้อมูลในแบบทีน่ ่าสนใจ แล้วบันทกึ ผล คาถามก่อนทากจิ กรรม ปัญหา 1. ปัญหาของการทากจิ กรรมน้คี ืออะไร (มวลของดาวสัมพันธก์ บั แรงโนม้ ถ่วงของดาวอย่างไร) จากการทดลองเพอื่ อธิบายเกี่ยวกบั โครงสรา้ งภายในของอะตอม) สมมุติฐาน 2. นักเรียนคิดว่าดาวเคราะห์แต่ละดวงทีเ่ ป็นบรวิ ารของดวงอาทิตย์ มมี วลเท่ากันหรือไม่ (ดาวเคราะห์แตล่ ะดวงมมี วลไมเ่ ทา่ กนั ) จากการทดลองเพอ่ื อธบิ ายเก่ียวกบั โครงสร้างภายในของอะตอม) 3. นักเรียนคดิ ว่ามวลของดาวเคราะห์มีความสัมพันธ์กบั จานวนดาวบรวิ ารของดาวเคราะห์หรือไม่ อยา่ งไร (มวลของดาวเคราะหจ์ ะมีความสมั พนั ธ์กับจานวนดาวบรวิ ารของดาวเคราะห์ โดยดาวเคราะห์ ที่มีมวลมากจะมจี านวนดาวบริวารมาก ส่วนดาวเคราะหท์ ่ีมีมวลน้อยจะมีจานวนดาวบริวารน้อย)

บันทกึ ผลการทากจิ กรรม ตาราง (มวลดาวเคราะห์และจานวนดาวบรวิ ารของดาวเคราะห์แต่ละดวง)

คาถามหลงั ทากจิ กรรม แปลความหมายและสรุปผล 1. เรยี งลาดับมวลของดาวเคราะห์จากมากที่สุดไปน้อยท่ีสุดได้อย่างไร (เรียงลาดบั มวลของดาวเคราะห์จากมากที่สดุ ไปน้อยทีส่ ดุ ดงั นี้ 1. ดาวพฤหสั บดี 2. ดาวเสาร์ 3. ดาวเนปจูน 4. ดาวยเู รนัส 5. โลก 6. ดาวองั คาร 7. ดาวศุกร์ 8. ดาวพุธ) 2. เรยี งลาดบั ดาวเคราะห์ทม่ี ีจานวนดาวบรวิ ารจากมากท่สี ดุ ไปนอ้ ยที่สดุ ได้อย่างไร (เรียงลาดับดาวเคราะห์ทม่ี ีจานวนดาวบริวารจากมากทีส่ ดุ ไปนอ้ ยทส่ี ุดได้ ดังน้ี 1. ดาวพฤหัสบดี 2. ดาวเสาร์ 3. ดาวยูเรนสั 4. ดาวเนปจูน 5. ดาวองั คาร 6. โลก 7. ดาวพุธและดาวศกุ ร์) 3. มวลของดาวเคราะห์สัมพนั ธ์กับจานวนดาวบรวิ ารของดาวเคราะห์หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ดจึงเปน็ เชน่ น้นั (มวลของดาวเคราะห์ค่อนขา้ งสมั พันธก์ ับจานวนดาวบริวารของดาวเคราะห์ เพราะหากพิจารณา ขอ้ มูลในตารางบันทึกผลจะเห็นได้ว่าดาวเคราะหช์ นั้ ใน ไดแ้ ก่ ดาวพธุ ดาวศกุ ร์ โลก และดาวองั คาร เป็นดาวเคราะห์ท่ีมีมวลน้อยและมีจานวนดาวบรวิ ารน้อย สว่ นดาวเคราะหช์ ัน้ นอก ไดแ้ ก่ ดาวพฤหสั บดี ดาวเสาร์ ดาวยเู รนสั และดาวเนปจูน เปน็ ดาวเคราะหท์ ่ีมีมวลมากและมจี านวน ดาวบริวารมากกว่า เน่อื งจากดาวทยี่ งิ่ มีมวลมากจะยิง่ มีแรงโน้มถ่วงมาก สง่ ผลให้สามารถดึงดดู ดาวบรวิ ารให้โคจรรอบดาวเคราะห์ใหม้ ากตามไปด้วย) 4. สรุปผลการทากิจกรรมน้ีได้อย่างไร (มวลของดาวมคี วามสมั พันธ์กับแรงโน้มถ่วงของดาว โดยดาวท่มี ีมวลมาก แรงโนม้ ถ่วงของดาว จะย่งิ มคี ่ามาก) จงทากจิ กรรมอย่างรวมพลงั ด้วยความมุง่ มน่ั และตั้งใจ

แบบประเมนิ ตามสภาพจริง (Rubrics) แบบประเมินการปฏบิ ตั ิการทากจิ กรรมการทดลอง รายการการประเมิน 4 ระดบั คุณภาพ 1 32 1. การทากิจกรรม ทากจิ กรรมการทดลอง ทากจิ กรรมการทดลอง ทากิจกรรมการทดลอง ทากิจกรรมการทดลอง การทดลอง ตามวิธกี ารและขั้นตอน ตามวธิ ีการและข้ันตอน ตามวธิ ีการและขั้นตอน ไม่ถกู ตอ้ งตามวธิ กี าร ตามแผนทก่ี าหนด ท่กี าหนดไว้อย่างถกู ต้อง ทก่ี าหนดไวด้ ้วยตนเอง ทกี่ าหนดไว้ โดยมีครูหรือ และขนั้ ตอนท่ีกาหนดไว้ ด้วยตนเอง มีการปรบั ปรงุ มีการปรบั ปรงุ แก้ไขบา้ ง ผู้อน่ื เป็นผ้แู นะนา ไมม่ ีการปรบั ปรุงแก้ไข แกไ้ ขเป็นระยะ 2. การใช้อปุ กรณ์ ใช้อุปกรณแ์ ละ/หรือ ใช้อปุ กรณแ์ ละ/หรอื ใช้อปุ กรณ์และ/หรือ ใชอ้ ุปกรณแ์ ละ/หรือ และ/หรอื เครอื่ งมือ เคร่ืองมอื ในการทา เคร่อื งมอื ในการทา เครื่องมอื ในการทา เคร่อื งมือในการทา กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง กจิ กรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง ได้อย่างถูกตอ้ ง ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง โดยมีครู ไมถ่ ูกต้อง และไมม่ ี ตามหลักการปฏบิ ัติ ตามหลกั การปฏิบัติ หรอื ผอู้ ่ืนเปน็ ผ้แู นะนา ความคลอ่ งแคล่ว และคล่องแคลว่ แตไ่ มค่ ล่องแคลว่ ในการใช้ 3. การบันทึกผล บนั ทกึ ผลเปน็ ระยะ บันทกึ ผลเปน็ ระยะ บันทกึ ผลเปน็ ระยะ บนั ทกึ ผลไมค่ รบ การทากจิ กรรม อยา่ งถูกต้อง มีระเบยี บ อยา่ งถกู ตอ้ ง มรี ะเบียบ แต่ไมเ่ ปน็ ระเบียบ ไมม่ กี ารระบหุ นว่ ย การทดลอง มีการระบหุ น่วย มกี าร มีการระบหุ น่วย มีการ ไม่มกี ารระบหุ น่วย และไม่เปน็ ไปตาม อธิบายข้อมูลใหเ้ หน็ อธบิ ายขอ้ มูลใหเ้ ห็น และไม่มกี ารอธบิ ายข้อมลู การทากจิ กรรม ความเชอื่ มโยงเป็นภาพรวม ถงึ ความสมั พนั ธ์ ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ การทดลอง เปน็ เหตเุ ป็นผล เป็นไปตามการทา ของการทากิจกรรม และเป็นไปตาม กิจกรรมการทดลอง การทดลอง การทากจิ กรรมการทดลอง 4. การจัดกระทาขอ้ มลู จัดกระทาข้อมลู จดั กระทาข้อมลู จดั กระทาขอ้ มลู จัดกระทาข้อมลู อยา่ ง และการนาเสนอ อยา่ งเปน็ ระบบ อย่างเปน็ ระบบ มกี าร อยา่ งเป็นระบบ ไมเ่ ป็นระบบ และมีการ มีการเชอ่ื มโยงให้เห็น จาแนกข้อมูลให้เห็น มกี ารยกตวั อยา่ งเพมิ่ เตมิ นาเสนอไมส่ ื่อความหมาย เปน็ ภาพรวม และนาเสนอ ความสมั พันธ์ นาเสนอ ให้เขา้ ใจง่าย และนาเสนอ และไม่ชดั เจน ดว้ ยแบบต่าง ๆ อย่างชดั เจน ดว้ ยแบบต่าง ๆ ได้ ดว้ ยแบบตา่ ง ๆ ถูกตอ้ ง แตย่ ังไมช่ ดั เจน แต่ยังไม่ชดั เจน และไมถ่ กู ต้อง

รายการการประเมิน 4 ระดับคุณภาพ 1 32 5. การสรุปผล สรปุ ผลการทากิจกรรม สรปุ ผลการทากิจกรรม สรุปผลการทากจิ กรรม สรุปผลการทากจิ กรรม การทากิจกรรม การทดลอง การทดลองได้ถกู ตอ้ ง การทดลองได้ โดยมคี รู การทดลองตามความรู้ การทดลอง ได้อย่างถกู ต้อง กระชบั แต่ยังไมค่ รอบคลมุ ข้อมลู หรอื ผอู้ ืน่ แนะนาบ้าง ท่พี อมอี ยู่ โดยไม่ใช้ขอ้ มลู ชดั เจน และครอบคลมุ จากการวเิ คราะห์ท้งั หมด จงึ สามารถสรปุ ได้ถูกต้อง จากการทากจิ กรรม ข้อมลู จากการวเิ คราะห์ การทดลอง ท้งั หมด 6. การดแู ลและการเกบ็ ดแู ลอุปกรณ์และ/หรือ ดูแลอุปกรณแ์ ละ/หรอื ดูแลอปุ กรณแ์ ละ/หรือ ไม่ดูแลอปุ กรณแ์ ละ/หรอื อุปกรณ์และ/หรือ เครื่องมอื ในการทา เคร่ืองมอื ในการทา เคร่ืองมอื ในการทา เครือ่ งมือในการทา เครอ่ื งมือ กิจกรรมการทดลอง กจิ กรรมการทดลอง กิจกรรมการทดลอง กจิ กรรมการทดลอง และมกี ารทาความสะอาด และมกี ารทาความสะอาด มีการทาความสะอาด และไมส่ นใจทาความ และเก็บอย่างถูกต้อง อย่างถกู ตอ้ ง แตเ่ กบ็ แต่เกบ็ ไมถ่ กู ตอ้ ง สะอาด รวมทง้ั เกบ็ ตามหลกั การ และแนะนา ไม่ถูกตอ้ ง ต้องใหค้ รูหรือผอู้ น่ื แนะนา ไมถ่ ูกต้อง ใหผ้ ้อู น่ื ดูแลและ เกบ็ รักษาไดถ้ กู ต้อง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook