Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่3

บทที่3

Published by 6032040035, 2018-09-05 04:12:12

Description: บทที่3

Search

Read the Text Version

ลักษณะการเชอื่ มตอ่ เครอื ขา่ ย จดุ ปลายทางของการรับ-ส่งข้อมูล เรียกว่า โหนด (Node) ซึ่งการท่ีจะทาให้แต่ละโหนดติดต่อรับ-ส่งข้อมูลถึงกันได้น้ันต้องมีการเชื่อมต่อท่ีเป็นระบบ ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์น้ีสามารถแบ่งลักษณะของการเช่อื มโยงออกเป็น 4 ลกั ษณะ คือ1. เครือข่ายแบบดาว (Star Network) จะมีคอมพิวเตอร์หลักเป็นโฮสต์ (Host) ต่อสายส่ือสารกับคอมพิวเตอร์ย่อยที่เป็นไคลเอนต์ (Client) คอมพิวเตอร์ที่เป็นไคลเอนต์แต่ละเคร่ืองไม่สามารถติดต่อกันได้โดยตรง การตดิ ต่อจะตอ้ งผ่านคอมพิวเตอร์โฮสตท์ เี่ ปน็ ศูนย์กลาง

เครอื ข่ายแบบดาว (Star Network)ข้อดีของเครือขา่ ยแบบดาว 1.) มีความคงทนสูง คือ หากสายเคเบิลของบางโหนดเกิดขาดก็จะไม่ส่งผลกระทบต่อระบบโดยรวมโดยโหนดอนื่ ๆ ยัง สามารถใช้งานไดต้ ามปกติ 2.) เนื่องจากมจี ุดศูนยก์ ลางอยทู่ ่ีฮบั (Hub) ดังนั้น การจดั การและการบริการจะงา่ ยและสะดวกข้อเสียของเครอื ข่ายแบบดาว 1.) ใช้สายเคเบิลมากเทา่ กับจานวนเคร่ืองที่เชอ่ื มต่อ หมายถงึ คา่ ใชจ้ า่ ยที่สูงขึ้นด้วย แต่ก็ใช้สายเคเบิลมากกว่าแบบ BUS กบั แบบ RING 2.) การเพ่ิมโหนดใด ๆ จะต้องมีพอร์ตเพียงพอต่อการเช่ือมโหนดใหม่ และจะต้องโยงสายจากพอร์ตของฮบั (Hub) มายงั สถานที่ท่ตี ง้ั เครอ่ื ง 3.) เนื่องจากมีจุดศูนย์กลางอยู่ท่ีฮับ (Hub) หากฮับเกิดข้อขัดข้องหรือเสียหายใช้งานไม่ได้คอมพิวเตอร์ตา่ ง ๆ ทีเ่ ชอ่ื มตอ่ เข้ากบั ฮับ (Hub) ดังกล่าวก็จะใชง้ านไมไ่ ด้ทง้ั หมด

2. เครือข่ายแบบวงแหวน (Ring Network) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ด้วยสายเคเบิลเดียวในลักษณะวงแหวนไม่มีเคร่ืองคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลาง ข้อมูลจะต้องผ่านไปยังคอมพิวเตอร์รอบ ๆ วงแหวนและผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องเพื่อไปยังสถานีที่ต้องการ ซึ่งข้อมูลที่ส่งไปจะไปในทิศทางเดียวกัน การว่ิงของข้อมูลในเครือข่ายวงแหวนจะใช้ทิศทางเดียวเท่าน้ัน เมื่อคอมพิวเตอร์เครื่องหน่ึงส่งข้อมูลจะส่งไปยังเคร่ืองคอมพิวเตอร์ตัวถัดไป ถ้าข้อมูลที่รับมาไม่ตรงตามท่ีคอมพิวเตอร์ต้นทางระบุก็จะส่งผ่านไปให้คอมพิวเตอร์เคร่ืองถัดไป ซ่ึงจะเป็นข้ันตอนแบบน้ีไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะถึงคอมพิวเตอร์ปลายทาง ที่ถูกระบุตามท่ีอยู่จากเคร่อื งต้นทาง

เครือขา่ ยแบบวงแหวน (Ring Network)ขอ้ ดขี องเครือขา่ ยแบบวงแหวน 1.) แต่ละโหนดในวงแหวนมีโอกาสที่จะสง่ ข้อมูลได้เทา่ เทยี มกัน 2.) ประหยดั สายสัญญาณ โดยจะใชส้ ายสญั ญาณเท่ากบั จานวนโหนดทเ่ี ช่ือมต่อ 3.) ง่ายตอ่ การติดต้ังและการเพิ่ม/ลบจานวนโหนดขอ้ เสียของเครือขา่ ยแบบวงแหวน 1.) หากวงแหวนเกิดขาดหรือเสียหายจะสง่ ผลตอ่ ระบบท้งั หมด 2.) ยากต่อการตรวจสอบ ในกรณที ่ีมีโหนดใดโหนดหนึ่งเกิดขัดข้อง เน่ืองจากต้องตรวจสอบทีละจุดวา่ เกิดขอ้ ขัดขอ้ ง อย่างไร

3. เครือข่ายแบบบัส (Bus Network) จะมีการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์บนสายเคเบิล ซ่ึงเรียนว่า บัสคอมพิวเตอรเ์ ครอ่ื งหนงึ่ ๆ สามารถส่งถ่ายข้อมูลไดเ้ ปน็ อิสระในการสง่ ข้อมูลน้ันจะมเี พยี งคอมพวิ เตอรต์ วั เดยี วเท่าน้ันท่ีสามารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ จากนั้นข้อมูลจะว่ิงไปตลอดความยาวของสายเคเบิล แล้วคอมพวิ เตอร์ปลายทางจะรบั ขอ้ มูลท่วี ิง่ ผ่านมา

เครือข่ายแบบบสั (Bus Network)ข้อดีของเครือขา่ ยแบบบสั 1.) เปน็ โครงสร้างท่ีไมซ่ ับซ้อน และตดิ ตง้ั งา่ ย 2.) ง่ายตอ่ การเพมิ่ จานวนโหนด โดยสามารถเชอื่ มตอ่ เขา้ กับสายแกนหลกั ไดท้ นั ที 3.) ประหยัดสายส่งข้อมลู เน่ืองจากใช้สายแกนเพยี งเส้นเดยี วข้อเสียของเครือขา่ ยแบบบสั 1.) หากสายเคเบิลที่เป็นสายแกนหลักขาดจะส่งผลให้เครือข่ายตอ้ งหยดุ ชะงักในทันที 2.) กรณรี ะบบเกดิ ขอ้ ผิดพลาดใด ๆ จะหาข้อผดิ พลาดไดย้ าก 3.) ระหวา่ งโหนดแตล่ ะโหนดจะตอ้ งมีระยะห่างตามขอ้ กาหนด

4. เครือข่ายแบบผสม (Hybrid Network) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีผสมผสานระหว่างรูปแบบต่าง ๆหลาย ๆ แบบเขา้ ดว้ ยกนั คือ มเี ครือข่ายคอมพวิ เตอรย์ อ่ ยหลาย ๆ เครอื ข่าย เพือ่ ให้เกดิ ประสิทธภิ าพสงู สดุ ในการทางานเครือข่ายบริเวณกว้าง ซึ่งเครือข่ายที่ถูกเช่ือมต่ออาจจะอยู่ห่างกันคนละจังหวด หรืออาจจะอยู่คนละประเทศกเ็ ป็นได้

ลกั ษณะของโครงสรา้ งเครอื ขา่ ยภาษาเทคนิคเรยี กวา่ (Topology) เป็นลักษณะการเชอ่ื มต่อทางกายภาพระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครอื ข่าย ซ่ึงแบง่ ออกตามหลกั วชิ าการตง้ั แต่สมยั ก่อนนน้ั แบง่ ได้เปน็ 4 แบบ คือ- โครงสรา้ งแบบบสั (Bus Topology)- โครงสร้างแบบสตาร์ (Star Topology)- โครงสร้างแบบวงแหวน (Ring Topology)- โครงสร้างแบบผสม (Hybrid Topology)มีเพม่ิ เตมิ มาคอื โครงสรา้ งเครอื ข่ายแบบไรส้ าย(Wireless Network)

1. โครงสร้างแบบบัส (Bus Network) ลักษณะการเชื่อมต่อแบบน้ีจะเป็นแบบอนุกรม โดยใช้สายเคเบิลเส้นเดียว ลากต่อกันไป ทาให้โครงสร้างแบบน้ีมีจุดอ่อนก็คือเม่ือคอมพิวเตอร์ตัวใดตัวหน่ึงมีปัญหากับสายเคเบิล กจ็ ะทาใหเ้ ครอื่ งรวนไปทัง้ ระบบ ข้อดีของโครงสร้างแบบนกี้ ค็ อื ไม่ต้องมีอุปกรณอ์ ย่างเช่น ฮับ/สวิทช์ใชส้ ายเพียงเส้นเดียวก็เพยี งพอแล้ว โครงสรา้ งแบบน้ีจึงเหมาะกับเครือข่ายท่ีมีขนาดเล็กที่มีจานวนเครือ่ งไม่มาก และในปัจจุบันไม่นิยมใช้กันแล้ว เนื่องจากไม่ได้มีการพัฒนาอะไรเพิ่มเติมเลย ความเร็วก็เพียง 10Mbps

2. โครงสร้างแบบสตาร์ (Star Network) เข้าไปอกี ลกั ษณะการเชือ่ มตอ่ ของโครงสร้างแบบสตาร์นี้ ดูไปแล้วจะคล้ายๆ ดาวกระจาย คอื จะมอี ุปกรณเ์ ชน่ ฮับ หรือสวิทช์ เป็นศูนยก์ ลาง ซึ่งการเชื่อมต่อแบบี้มีประโยชน์คือถ้ามีสายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุดหรือเสียก็จะไม่มีผลกระทบต่อการทางานของระบบ นอกจากน้ีถ้าหากเราเพ่ิมเครือ่ งคอมพวิ เตอรใ์ นเครือขา่ ยก็สามารถทาได้ทนั ที การตอ่ แบบนี้เปน็ ทน่ี ยิ มมากในปัจจบุ นั เนอื่ งจากอุปกรณ์ที่ใชเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางคอื ฮับ/สวิทช์ ราคาไดถ้ กู ลงอยา่ งมากแลว้ ในขณะทป่ี ระสทิ ธภิ าพก็ไดเ้ พ่ิมสูงข้นึ เร่ือยๆ จนในปัจจุบันเปน็ ความเรว็ ขนาดกกิ าบติ แล้ว

3. โครงสร้างแบบรงิ (Ring Network) ลกั ษณะการเช่อื มต่อจะเปน็ ลกั ษณะวงแหวน การส่งข้อมูลจะเป็นแบบทิศทางเดียว ซึ่งถ้าส่งไปแล้วไม่ตรงกับคอมพิวเตอร์เครื่องรับตามที่เครื่องต้นทางระบุมา ก็จะส่งไปยังเคร่ืองถดั ไป จนกว่าจะถงึ ปลายทางคอื ตรงกบั เครื่องใครกจ็ ะรับ ไมส่ ่งต่อ จดุ อ่อนของระบบกค็ ลา้ ยๆแบบบสั ปัจจุบันผมยงั เหน็ ใช้อยใู่ นธนาคาร พวก Mainframe IBM AS/400 เป็นต้น

4. โครงสร้างแบบผสม (Hybrid Network) ลักษณะสุดท้ายของของโครงสร้างแบบน้ีก็คือการนาเครือข่ายๆ ย่อยๆ ที่มีโครงข่ายตามแบบที่ผมกล่าวข้างต้นท้ัง สามแบบมารวมกัน หรือ เช่ือมต่อกันให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ลักษณะแบบน้ียังมีช่ือเรียกเฉพาะอีกด้วย เช่น โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree หรือHierarchical หรือ Mesh) ก็คอื เครอื ข่ายผสมที่เกิดจากการนาเอาเครือข่ายที่มีโครงสร้างแบบบัสและแบบสตาร์มาผสมกัน หรือโครงสร้างแบบไร้รูปแบบ (Mesh) ซึ้งก็คือโครงสร้างแบบสตาร์ผสมกับบัสท่ีเชอื่ มต่อกนั แบบไมม่ ีโครงสรา้ งแนน่ อน

5. โครงสรา้ งเครอื ข่ายแบบไรส้ าย(Wireless Network) ท่ีกล่าวมาทั้งหมดเกี่ยวกับโครงข่ายข้างต้นนั้นเป็นโครงสร้างที่ใช้กันสาหรับเครือข่ายแบบใช้สายแต่เน่ืองจากปัจจุบันน้ีมีเทคโนโลยีเครือข่ายแบบใหม่เกิดขึ้นมา ท่ีเรียกว่าเครือข่ายแบบไร้สาย(Wireless) จะใช้คล่ืนวิทยุในการรับส่งข้อมูล จึงทาให้แตกต่างกันออกไป และโครงสรา้ งแบบนไี้ ดแ้ บง่ เป็น 2 แบบ คอื Peer-to-Peer และ Client Server นอกจากนย้ี งัมีเครือข่ายของโทรศัพท์มือถือหรือ Cellular Network ซึ่งจัดอยู่ในรูปแบบโครงสร้างแบบไร้สายด้วยลักษณะจะคลา้ ยๆเป็นรปู รงั ผงึ้

ส่วนประกอบของเครอื ขา่ ย ในชีวิตประจาวันของเราน้ันเกี่ยวข้องกับเครือข่ายตลอดเวลา เพระทุกการติดต่อสื่อสารนั้นต้องผ่านระบบเครอื ข่ายมาแล้วท้ังส้ิน ไม่ว่าจะเป็น โทรศัพท์ SMS ATM วิทยุ โทรทัศน์ ล้วนเป็นระบบเครือข่ายทั้งส้ินโดยที่ Internet เป็นระบบเครือข่ายที่ใหญ่ที่สุดในโลก ในที่น้ีจะกล่าวถึงส่วนประกอบของระบบเครือข่าย ซ่ึงประกอบไปดว้ ย เคร่ืองบริการข้อมลู (Server) เครอ่ื งลกู ข่ายหรือสถานี (Client) การด์ เครอื ขา่ ย (Network Interface Cards) สายเคเบิลทใ่ี ชบ้ นเครือข่าย (Network Cables) ฮับหรอื สวติ ช์ (Hubs and Switches) ระบบปฏิบัติการเครอื ข่าย (Network operating System)

เครอ่ื งศนู ย์บริการข้อมูลโดยมกั เรียกวา่ เครอ่ื งเซริ ์ฟเวอร์ เปน็ คอมพวิ เตอร์ทีท่ าหน้าท่ีบรกิ ารทรพั ยากรให้กับเครือ่ งลูกข่าย เช่น การบรกิ ารไฟล์ การบริการงานพิมพ์ เป็นต้น เนื่องจากเครื่องเซฟเวอร์มักต้องรับภารกิจหนักในระบบจึงมักใช้เครื่องที่มีขีดความสามารถมาเป็นเครือ่ งแม่ขา่ ยเครอื่ งลูกข่ายหรอื สถานีเครือข่ายเครื่องลูกข่ายเป็นคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่าย ซึ่งอาจเรียกว่า เวิร์กสเตชัน ก็ได้ โดยมักเป็นเครื่องของผู้ใช้งานท่ัวไปสาหรับติดต่อเพ่ือขอใช้บริการจากเซิร์ฟเวอร์ ซ่ึงสามารถจะขอหรือนา software ทั้งข้อมูลจากเครื่องแม่ข่ายมาประมวลผลใชง้ านได้และยงั ติดต่อสื่อสาร รับ-สง่ ขอ้ มูลจากคอมพวิ เตอร์เคร่ืองอื่นๆในเครือข่ายได้การด์ เครอื ข่ายแผงวงจรสาหรับใช้ในการเชื่อมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย คอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองในเครือข่ายจะต้องมีอุปกรณ์นี้ และหน้าทีของการ์ดกค็ อื แปลงสัญญาณของคอมพิวเตอรส์ ่งผ่านไปตามสายสัญญาณทาให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปล่ียนข้อมลู กนั ได้

สายเคเบลิ ท่ใี ช้บนเครือขา่ ยเครือข่ายคอมพิวเตอร์จาเป็นต้องมีสายเคเบิลเพื่อใช้สาหรับเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ให้อยู่บนเครือข่ายเดียวกันเพ่ือสื่อสารกันได้ นอกจากนี้เครือข่ายยังสามารถสื่อสารระหว่างกันโดยไม่ใช้สายก็ได้ เรียกว่าเครือข่ายไร้สายโดยสามารถใช้คล่ืนวิทยุหรืออินฟาเรด เป็นตัวกลางในการปลงสัญญาณ อีกท้ังยังสามารถนาเครอื ข่ายแบบมีสายและเครือขา่ ยแบบไรส้ ายมาเชอ่ื มตอ่ เขา้ ด้วยกนั เป็นเครอื ข่ายเดียวกันได้ฮบั และสวิตช์เป็นอุปกรณ์ฮับและสวิตช์มักนาไปใช้เป็นศูนย์กลางของสายเคเบิลท่ีเช่ือมต่อเครือข่ายเข้าไว้ด้วยกัน ซึ่งฮับหรือสวิตช์จะมีพอร์ตเพื่อให้สายเคเบิลเช่ือมต่อเข้าระหว่างฮับกับคอมพิวเตอร์ โดยจานวนพอร์ตจะข้ึนอยู่กับแต่ละชนิด เช่น แบบ 4 , 8, 16 , 24 พอรต์ ยังสามารถนาฮับหรือสวิตช์หลายๆตัว มาเช่ือมต่อเข้าด้วยกันเพ่ือขยายเครอื ข่ายได้อีกด้วยระบบปฏบิ ตั ิการเครือข่ายเคร่ืองแม่ข่ายของระบบจาเป็นต้องติดต้ังระบบปฏิบัติการเครือข่ายไว้ เพื่อทาหน้าท่ีควบคุมและรองรับการทางานของเครือขา่ ยไว้ เครือขา่ ยทม่ี ปี ระสิทธิภาพจาเปน็ ต้องพึ่ง Software ที่มปี ระสิทธิภาพตามดว้ ยเช่นกนั

รูปแบบของเครอื ขา่ ย รูปแบบการเช่ือมต่อเครือข่ายหรือมักเรียกส้ัน ๆ ว่า โทโพโลยี เป็นลักษณะทั่วไปท่ีกล่าวถึงการเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์ทางกายภาพว่ามีรูปแบบหน้าตาอย่างไร เพ่ือให้สามารถสื่อสารร่วมกันได้และด้วยเทคโนโลยีเครือข่ายท้องถ่ินจะมีรูปแบบของโทโพโลยีหลายแบบด้วยกัน ดังนั้น จึงเป็นสิ่งสาคัญท่ีจะต้องเรียนรู้และทาความเข้าใจแต่ละโทโพโลยีว่ามีความคล้ายคลึง หรือแตกต่างกันอย่างไร รวมถึงข้อดีและข้อเสียของแตล่ ะโทโพโลยี และโดยปกตโิ ทโพโลยีท่ีนิยมใชก้ นั บนเครือขา่ ยท้องถน่ิ จะมีอยู่ 3 ชนดิ ดว้ ยกัน คือ โทโพโลยีแบบบัส โทโพโลยแี บบดาว โทโพโลยีแบบวงแหวน

1. แบบบัส ( BUS Topology ) เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองบนสายสัญญาณหลักเส้นเดียว ท่ีเรยี กวา่ BUS ทีปลายทง้ั สองด้านปดิ ดว้ ยอปุ กรณ์ทเ่ี รยี กวา่ Terminators ไมม่ ีคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึง่ เป็นศูนย์กลางในการเช่อื มต่อ คอมพิวเตอรเ์ ครอ่ื งใดหยดุ ทางาน กไ็ ม่มผี ลกบั คอมพวิ เตอร์เครือ่ งอ่นื ๆ ในเครอื ขา่ ยข้อดี ของการเช่อื แบบบัส คือสามารถติดต้งั ได้งา่ ย เนอ่ื งจากเปน็ โครงสร้างเครือข่ายทไี่ ม่ซบั ซอ้ นการเดินสายเพ่อื ต่อใช้งาน สามารถทาไดง้ ่ายประหยัดค่าใชจ้ ่าย กล่าวคอื ใชส้ ายสง่ ข้อมูลน้อยกว่า เน่ืองจากสามารถเชอื่ มต่อกบั สายหลักได้ทนั ทีงา่ ยตอ่ การเพม่ิ สถานใี หม่เขา้ ไปในระบบ โดยสถานีนี้สามารถใชส้ ายสง่ ขอ้ มูลที่มอี ยู่แลว้ ได้ข้อเสียของการเชอื่ แบบบัส คือ1. ถ้ามสี ายเส้นใดเส้นหนึง่ หลุดไปจากสถานใี ดสถานหี นง่ึ กจ็ ะทาใหร้ ะบบเครอื ขา่ ยนห้ี ยุดการทางานลงทนั ที2. ถา้ ระบบเกดิ ข้อผดิ พลาดจะหาข้อผิดพกลาดได้ยาก โดยเฉพาะถา้ เป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่

2. แบบดาว ( Star topology ) เป็นการเชื่อมต่อสถานีหรือจุดต่างๆ ออกจากคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือคอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่เรียกว่า File Server แต่ละสถานีจะมีสายสัญญาณเช่ือมต่อกับศูนย์กลาง ไม่มีการใช้สายสัญญาณร่วมกัน เม่ือสถานีใดเกิดความเสียหายจะไม่มีผลกระทบกับสถานีอ่ืน ๆ ปัจจุบันนิยมใช้อุปกรณ์HUB เปน็ ตัวเชือ่ มต่อจากคอมพวิ เตอร์แม่ข่ายหรือคอมพวิ เตอรศ์ ูนยก์ ลางข้อดีของการเช่ือมแบบดาว คือ ง่ายต่อการใช้บริการ เพราะมีศูนย์กลางอยู่ท่ีคอมพิวเตอร์แม่ข่ายอยู่เครื่องเดียวและเมื่อเกิดความเสียหายท่ีคอมพิวเตอร์เคร่ืองใดเคร่ืองหนึ่ง คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นก็จะไม่มีผลกระทบอันใดเพราะใช้สายคนละเส้นข้อเสียของการเช่ือมแบบดาว คือ ต้องใช้สายสัญญาณจานวนมาก เพราะแต่ละสถานีมีสายสัญญาณของตนเองเชื่อมต่อกับศูนย์กลางจงึ เหมาะสมกับเครือข่ายระยะใกล้มาก กว่าการเช่ือมต่อเครือข่ายระยะไกล การขยายระบบกย็ ุ่งยากเพราะตอ้ งเชอ่ื มต่อสายจากศนู ยก์ ลางออกมา ถา้ ศูนย์กลางเสยี หายระบบจะใชก้ ารไม่ได้

3. แบบวงแหวน ( Ring Topology ) เป็นการเช่ือมต่อเครือข่ายเป็นรูปวงแหวนหรอื แบบวนรอบ โดยสถานีแรกเชื่อมต่อกับสถาน สุดท้าย การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายจะต้องผ่านทุกสถานี โดยมีตัวนาสารว่ิงไปบนสายสัญญาณของแต่ละสถานี ต้องคอยตรวจสอบขอ้ มลู ท่สี ง่ มา ถ้าไม่ใช่ของตนเองต้องส่งผ่านไปยังสถานีอ่ืนตอ่ ไปข้อดีของการเช่ือมแบบวงแหวน คือ ใช้สายสัญญาณน้อยกว่าแบบดาว เหมาะกับการเชื่อมต่อด้วยสายสญั ญาณใยแกว้ นาแสง เพราะสง่ ขอ้ มลู ทางเดยี วกันดว้ ยความเร็วสงูข้อเสียของการเช่ือมแบบวงแหวน คือ ถ้าสถานีใดเสียระบบก็จะไม่สามารถทางานต่อไปได้จนกว่าจะแก้ไขจุดเสยี น้นั และยากในการตรวจสอบวา่ มีปัญหาท่จี ุดใดและถา้ ต้องการเพิ่มสถานเี ขา้ ไปจะพกหระทาได้ยากดว้ ย

อปุ กรณท์ ใี่ ชเ้ ชอ่ื มตอ่ ระบบเครอื ขา่ ย1.เคร่อื งทวนสัญญาณ (Repeater) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ขยายหรือเพิ่มระยะทางการส่ือสารของเครือข่ายในการส่งข้อมูลในระบบเครอื ข่าย ตามมาตรฐานต่าง ๆ เช่น ในมาตรฐานการสง่ ขอ้ มลู ในระบบเครอื ข่ายใช้ 10BaseT ซ่ึงมีข้อกาหนดของมาตรฐาน การเช่ือมต่อระบบได้ในระยะทางไม่เกิน 100 เมตร ถ้าความยาวของระบบมากกว่า 100เมตรต้องมีเครอ่ื งทวนสญั ญาณในการขยายสัญญาณเพ่ือใหเ้ ป็นระบบเครอื ขา่ ยเดยี วกัน

2. บริดจ์ (Bridge) เปน็ อุปกรณ์ทใ่ี ช้เชือ่ มต่อระบบ LAN เข้าด้วยกนั โดยออกแบบมาเพื่อใช้ตดิ ต่อระหว่างเครือข่ายท้องถิ่นLAN จานวน 2 เครือข่ายที่มีโปรโตคอลเหมือนกันหรือต่างกัน เพื่อให้สามารถขยายขอบเขตของ LANออกไปได้ โดยประสิทธิภาพในทางรวมลดลงไม่มากเนื่องจากการติดต่อของเครื่องอยู่ในเซกเมนด์เดียวกันจะไม่มีการส่งผา่ นต่างเซกเมนด์ (Segment)

3. ฮับ (Hub)เป็นอุปกรณ์ท่ีทาหน้าที่กระจายช่องทางการสื่อสารข้อมูลได้หลายช่องทางในระบบเครือข่าย โดยการขยายสัญญาณท่ีส่งผ่านมา ทาให้สามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ ผ่านสายเคเบิลได้ใกล้ข้ึน และใช้กับระบบเครอื ขา่ ยแบบ Star ในปัจจุบันHub มีความเร็วในการสื่อสารแบบ 10 และ 100 Mbps ลักษณะการทางานของ Hubจะแบ่งความเร็วตามจานวนช่องสัญญาณ (Port) ที่ใช้งานตามมาตรฐานความเร็วเช่น ระบบเครือข่ายใช้มาตรฐานความเร็วเป็นแบบ 10 Mbpsและมีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีต่อในระบบ 5 เครื่องแต่ละเครื่องสามารถสอ่ื สารกนั ภายในระบบโดยใช้ความเร็วเทา่ กับ 10/5 คอื 2Mbps

4. สวิตช์ (Switch)สวิตซ์หรือ อีเธอร์เนตสวิตช์ (Ethernet Switch) เป็นอุปกรณท์ ่ีทาหน้าท่ีกระจายช่องทางการส่ือสารข้อมูลหลายช่องทางในระบบเครือข่าย คล้ายกับ Hubต่างกันตรงที่ลักษณะการทางานและความสามารถในเร่ืองของความเร็ว การทางานของSwitch ไม่ได้แบ่งความเร็วตามจานวนช่องสัญญาณ (port)ตามมาตรฐานความเร็วเหมือน Hub โดยแต่ละช่องสัญญาณ (port)จะใช้ความเร็วเป็นอิสระต่อกันตามมาตรฐานความเร็วเชน่ ระบบเครือข่ายใช้มาตรฐานความเร็วเป็นแบบ 100 Mbpsและมีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่ต่อในระบบ 5 เครื่องแต่ละเคร่ืองก็จะส่ือสารกันภายในระบบโดยใชค้ วามเร็วเทา่ กับ 100 Mbps

5. เราทเ์ ตอร์ (Router)เป็นอุปกรณ์ท่ีทาหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายต่างชนิดกันหรือใช้โปรโตคอลต่างกัน เข้าด้วยกัน คล้าย ๆ กับBridgeแต่ลกั ษณะการทางานของ Router นั้นจะซับซอ้ นกวา่ เพราะนอกจากจะเชือ่ มตอ่ แลว้ ยงั เก็บสภาวะของเครือข่ายแตล่ ะส่วน (Segment)ด้วย และสามารถทาการกรอง (Filter)หรอื เลอื กเฉพาะชนิดของข้อมูลท่ีระบุไว้วา่ ใหผ้ ่านไปไดท้ าใหช้ ่วยลดปญั หาการจราจรที่คับค่ังของข้อมูลและเพ่ิมระดับความปลอดภัยของเครือข่ายซ่ึงสภาวะของระบบเครือข่ายที่เช่ือมต่อกันนี้ Routerจะจัดเก็บในรูปของตารางที่เรียกว่า Routing Table ซึ่งตาราง Routing Tableน้ีจะมปี ระโยชนใ์ นด้านของความเรว็ ในการหาเส้นทางการส่ือสารข้อมูลระหว่างระบบเครือขา่ ยโดยเฉพาะกบั ระบบเครอื ขา่ ยที่ซบั ซอ้ นมาก ๆ เชน่ ระบบ MAN, WANหรือ Internet เปน็ ต้น

6. เกตเวย์ (Gateway)เปน็ อปุ กรณท์ ่ีทาใหเ้ ครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 2 เครือข่ายหรือมากกวา่ ท่มี ลี กั ษณะไม่เหมอื นกันสามารถตดิ ต่อกนัได้เหมือนเป็นเครือข่ายเดียวกันเปรียบเสมือนเป็นประตูทางผ่านในการส่ือสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ต่างชนิดกัน เช่น ระหว่างเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ท่ัว ๆไปกับเคร่ืองมินิคอมพิวเตอร์ หรือเมนเฟรมซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็นต้น อุปกรณ์ท่ีทาหน้าท่ีเป็นGateway น้ันอาจจะใช้คอมพิวเตอร์เคร่ืองใดเครื่องหนงึ่ ทาหน้าท่ีก็ได้

7. โมเดม็ (Modem)เป็นอปุ กรณ์ที่ทาหน้าที่ในการแปลงสัญญาณจากดิจติ อล (Digital)ให้เป็นสัญญาณอนาล็อก (Analog) และจากสญั ญาณอนาลอ็ กใหเ้ ป็นสญั ญาณดิจติ อลโมเด็มเป็นอปุ กรณท์ ีม่ ีความสาคญัในการสื่อสารบนระบบเครือขา่ ยอินเตอร์เนต็ เพราะโมเดม็ ทาหน้าทใี่ นการแปลงสญั ญาณคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณที่อุปกรณ์สื่อสารอื่น ๆ ในระบบเครือข่ายสามารถเข้าใจได้หลังจากนั้นเครื่องคอมพวิ เตอรท์ ่รี ับข้อมูลตอ้ งมโี มเด็มเพอื่ แปลงสัญญาณจากอุปกรณ์สอ่ื สารให้เป็นสญั ญาณที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ซ่ึงความสามารถของโมเด็มสามารถวัดได้จากความเร็วในการรับส่งข้อมูลจานวน 1บิตต่อ 1 วินาที (บิตต่อวินาที) หรือ bps (bit per second) ปัจจุบัน Modemมีสองประเภท คือโมเด็มท่ีติดตั้งไว้ในเคร่ือง (Internal Modem)และโมเด็มที่ไม่ได้ติดตั้งไว้ในเคร่ือง (External Modem)ซึ่งผู้ใช้สามารถเลือกใชไ้ ด้ตามความเหมาะสม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook