โครงงานพัฒนาจรยิ คณุ โรงเรยี นคุณธรรม ระดับโรงเรยี น เรือง เด็กดอยวัยใส หัวใจนักออม น้อมนําเศรษฐกิจพอเพียง (Moral project: Children Saver’s heart adopts following of the Sufficiency Economy Philosophy) ป ๒ ๕ ๖ ๔ โรงเรยี นเพยี งหลวง ๑๖ สาํ นกั งานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศกึ ษา เชยี งราย เขต ๔
โครงงานพัฒนาจรยิ คณุ โรงเรียนคุณธรรม เร่ือง เด็กดอยวัยใส หัวใจนักออม น้อมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง (Moral project:\"Children Saver’s heart adopts following of the Sufficiency Economy Philosophy) ผรู้ ับผิดชอบโครงงาน ๑.เด็กหญงิ ธดิ าวลั ย์ แซ่วา่ ง ประธานโครงงาน ๒.เดก็ หญิงไลลา แซย่ า่ ง รองประธานโครงงาน ๓.เด็กหญิงธัญชนก แซ่หาญ เหรัญญกิ ๔.เด็กหญิงนฤมล แซ่ท่อ กรรมการ ๕.เด็กหญงิ อตินชุ แซย่ ่าง เลขานกุ าร โรงเรียนเพยี งหลวง 16 ตาบลตบั เต่า อาเภอเทิง จังหวัดเชยี งราย สานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาเชยี งรายเขต
โครงงานพฒั นาจริยคุณโรงเรียนคุณธรรม เรื่อง เดก็ ดอยวัยใส หัวใจนกั ออม นอ้ มนาเศรษฐกจิ พอเพยี ง (Moral project:\"Children Saver’s heart adopts following of the Sufficiency Economy Philosophy) ผ้รู ับผดิ ชอบโครงงาน ๑.เดก็ หญงิ ธิดาวลั ย์ แซว่ ่าง ประธานโครงงาน ๒.เดก็ หญงิ ไลลา แซ่ย่าง รองประธานโครงงาน ๓.เด็กหญิงธญั ชนก แซห่ าญ เหรญั ญิก ๔.เด็กหญงิ นฤมล แซ่ทอ่ กรรมการ ๕.เดก็ หญิงอตินชุ แซ่ยา่ ง เลขานกุ าร พระอาจารย์ท่ีปรึกษาโครงงาน พระครสู ถิตย์ ผาสกุ จิ เจา้ อาวาสวัดหัวดง รองเจ้าคณะตาบลหงาว อาเภอเทงิ จงั หวดั ราย ผ้บู ริหารท่ปี รึกษาโครงงาน นายสรุ ิยา สมฤทธิ์ หมายเลขโทรศพั ท์ 093-0434275 ผูอ้ านวยการโรงเรียนเพียงหลวง 16 นางสาวเกศรนิ ทร์ บวั ผดั หมายเลขโทรศัพท์ 062-1307200 รองผอู้ านวยการโรงเรยี นเพียงหลวง 16 ครูทป่ี รึกษาโครงงาน ๑.นางสาวศิรกิ ันยา เผ่าอินทร์ หมายเลขโทรศัพท์ 061-3588056 ๒.นางสาววรศิ รา พิศจารย์ หมายเลขโทรศัพท์ 061-3263017 3.นางสาวนุชนันท์ ชนะชัยเจรญิ กุล หมายเลขโทรศัพท์ 098-0039611 4.นางสาววธิดา ทาแกง หมายเลขโทรศัพท์ 098-7891716 โรงเรียนบา้ นเพียงหลวง 16 หมู่ 9 ตาบลตบั เตา่ อาเภอเทิง จงั หวัดเชียงราย หมายเลขโทรศัพท์ สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งรายเขต ๔
ก บทคัดยอ่ ในการศึกษาเล่าเรียนนั้นจาเป็นต้องใช้ปัจจัยหลายหลายอย่างที่จาเป็นมากในการศึกษาต่อและ ปัจจยั ที่ขาดไม่ไดเ้ ลยกค็ ือเงนิ ทนุ ในการศกึ ษาเหลา่ เรียนมาว่าจะเป็นในเรื่องของค่าเทอม ค่าชุดนักเรียนค่า อปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการเรียนและคา่ ใชจ้ า่ ยอ่ืนๆ ที่จาเป็นต่อการเรียนโดยส่วนมากแล้วทุนท่ีใช้จ่ายในการเรียน น้ัน ส่วนใหญ่มาจากเงินของผู้ปกครองเพียงอย่างเดียวเราจึงมีแนวคิดว่าจะช่วยแบ่งเบาภาระของ ผปู้ กครองปกครองลงโดยการออมระหวา่ งเรยี นการออมน้ันจะได้มาจากผู้ปกครองให้เป็นค่าขนมในการมา เรียนในแต่ละวัน เพื่อเป็นการช่วยแบ่งเบาภาระในการทางานของผู้ปกครอง และเพ่ือให้เรามีงานทุนใน การศึกษาเล่าเรยี นในระดบั ตอ่ ไปในอนาคต
ข กิตติกรรมประกาศ การศึกษาโครงงานเร่ืองน้ีสาเร็จ ได้ด้วยความช่วยเหลือให้คาปรึกษาจาก คุณครูศิริกันยา เผ่า อินทร์ คุณครูวริศรา พิศจารย์ คุณครูนุชนันท์ ชนะชัยเจริญกุล และคุณครูธิดา ทาแกง ที่ได้อนุเคราะห์ เสียสละเวลาอนั มีคา่ ยง่ิ ทไ่ี ดใ้ หค้ าแนะนา ขอ้ เสนอแนะ การแก้ไขปญั หาต่างๆ รวมทั้งตรวจสอบการศึกษา โครงงานเรื่องนี้ให้ถูกต้องยิ่งขึ้น รวมทั้งให้กาลังใจผู้ศึกษาตลอดนับตั้งแต่ การทาการศึกษาด้วย ผู้ศึกษา รสู้ กึ ซาบซึง้ ในความกรณุ าของท่านและใคร่ขอขอบพระคุณคณะครูเปน็ อยา่ งสงู มา ณ ทนี่ ี้ ขอขอบคุณพระอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน พระครูสถิตย์ ผาสุกิจ เจ้าอาวาสวัดหัวดง รองเจ้า คณะตาบลหงาว อาเภอเทิง จังหวัดราย ที่ให้คาแนะนาเกี่ยวกับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และ การเสยี สละเวลามาให้ความรู้ รวมทงั้ ใหก้ าลังใจผศู้ ึกษาตลอดนบั ตั้งแต่การทาการศกึ ษาดว้ ย ขอขอบพระคุณท่านผู้อานวยการโรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียน รวมถึงคณะครูโรงเรียน เพียงหลวง 16 ท่ีได้ให้ความอนุเคราะห์อานวยความสะดวกแหล่งค้นคว้าข้อมูล และการทากิจกรรมใน ครัง้ น้ีการศึกษาโครงงานคร้งั นไ้ี ดร้ บั การช่วยเหลือเป็นอย่างดีจากเพื่อน รุ่นพ่ี ที่คอยรับฟัง ช่วยเหลือ และ ให้กาลงั ใจมาโดยตลอด รวมทั้งรุ่นน้องที่ให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นอย่างดี จึงขอขอบคุณ มา ณ โอกาสนแี้ ละท่สี าคัญขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา และญาติทุกคนของคณะผู้ศึกษา ท่ีผู้ศึกษา เคารพย่ิง ทา่ นไดค้ อยให้ความรกั กาลังใจ ให้คาปรกึ ษา ส่งเสริมสนับสนุนในทุกๆ เร่ือง ให้ความช่วยเหลือ ในทุกๆ ด้าน คอยเตือนสติและให้ข้อคิดต่างๆ ในการเรียนรู้และยังให้กาลังใจผู้ศึกษาตลอดระยะเวลาใน การศกึ ษาเอกสารคร้ังนี้ หากการศึกษาครั้งนี้สามารถเกิดประโยชน์ในทางการศึกษา ไม่ว่าจะมากหรือน้อย ผู้ศึกษาขอ อทุ ศิ ความดีแด่บดิ า มารดา คณาจารยแ์ ละผู้ทม่ี สี ว่ นเกย่ี วข้องในการศกึ ษาโครงงานนี้ คณะผู้จดั ทา
สารบัญ ค เรื่อง หน้า บทคดั ย่อ ก กิตตกิ รรมประกาศ ข สารบญั ค บทที่ ๑ บทนา 1 1 ท่ีมาและความสาคัญ 1 วตั ถปุ ระสงค์ 1 ขอบเขตของการศึกษา 2 บทท่ี ๒ การดาเนนิ การโครงงาน 2 ขน้ั ตอนวธิ ีการดาเนินงาน 2 กิจกรรมและแผนการดาเนินงาน 2 งบประมาณ 2 ผลท่คี าดว่าจะไดร้ บั 3 บทที่ ๓ ผลการดาเนนิ งาน 4-5 บทท่ี ๔ การศึกษาวเิ คราะห์ 4 ปญั หาและสาเหตุ 4 เป้าหมายและทางแก้ 4 หลักการและหลักธรรมทีน่ ามาใช้ 5 ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน 6 บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ 7 บรรณานกุ รม 7 เอกสารอา้ งอิง 8-28 ภาคผนวก
1 บทที่ 1 บทนาํ ท่มี าและความสาํ คัญ โรงเรียนเพียงหลวง 16ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการออม จึงได้น้อมนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มาเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาด้วย การ บรูณาการกับหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และจัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมการออมทรัพย์ โดยส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักการบริหารในการใช้เงิน รู้จักการ ออม รู้จักกระบวนการออมเงิน สามารถนากระบวนการต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นไปประยุกต์ใช้ ใน ชวี ติ ประจาวนั อยา่ งเหมาะสมกบั วัย ร้จู ักการใชเ้ งินให้เปน็ ประโยชน์มากที่สุด อันจะส่งผลให้การดาเนินชีวิต ในอนาคตเป็นคนที่มคี ณุ ภาพ ดังนั้นโรงเรียนเพียงหลวง 16 ได้เล็งเห็นความสาคัญดังกล่าว จึงได้จัดโครงการส่งเสริมกลุ่มออม ทรัพย์สาหรับนักเรียนขึ้นมา เพ่ือเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การปฏิบัติจริง ส่งเสริมระเบียบวินัย และมีเจตคตทิ ่ีดีต่ออาชพี ตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื ใหน้ กั เรียนรจู้ ักการวางแผนในการใชจ้ ่ายเงิน และมวี ินยั ในการใช้จ่ายเงนิ 2. เพื่อส่งเสรมิ และปลกู ฝังให้นักเรยี นมนี สิ ยั รักการออม 3. เพื่อใหน้ กั เรียนเขา้ ร่วมกิจกรรมและรู้จกั การดาเนินชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. เพ่อื ฝึกการทาบญั ชี รายรับ รายจ่าย รู้จกั การวางแผนการใชจ้ า่ ยเงิน มีความรบั ผิดชอบรว่ มกัน 5. เพอ่ื นาประโยชนท์ ไี ด้จากการออมไปใช้ในชีวิตประจาวนั ขอบเขตของการศกึ ษา เป้าหมาย เป้าหมายดา้ นปริมาณ ๑) ร้อยละ ๑๐๐ นกั เรยี นโรงเรียนเพียงหลวง16 เข้าร่วมโครงงาน “เด็กดอยวัยใส หัวใจนักออม น้อมนาเศรษฐกจิ พอเพียง” ๒) ร้อยละ ๑๐๐ ของนักเรียน โรงเรียนเพียงหลวง16 ในปีการศึกษา ๒๕64 มีเงินออมเป็น คา่ ใช้จา่ ยในการศึกษาต่อในระดบั ทีส่ ูงขน้ึ เปาู หมายด้านคณุ ภาพ ๑) นักเรียนโรงเรียนเพียงหลวง16 ทุกคนมีวินยั ในการใช้จา่ ยเงนิ ๒) นักเรียนทุกคนมีการวางแผนจดั การการเงินและสามารถนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้ นักเรียนโรงเรียนเพียงหลวง 16 ตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 2 ถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้เข้า ร่วมโครงงาน “เด็กดอยวัยใส หัวใจนักออม น้อมนาเศรษฐกิจพอพียง” นักเรียนที่ร่วมกิจกรรมได้เล็งเห็น ความสาคัญของการออมเพราะค่าใช้จ่ายส่วนใหญ่มาจากผู้ปกครองเพียงอย่างเดียว เราจึงมีแนวคิดว่าจะ ชว่ ยแบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง โดยการออมระหว่างเรียน ซ่ึงเป็นเงินที่ได้มาจากผู้ปกครองให้เป็นค่าขนม ในการมาเรียนในแต่ละวนั เพอ่ื ใหเ้ รามเี งินทุนในการศึกษาเล่าเรียนในระดบั ตอ่ ไปในอนาคตได้
2 บทท่ี ๒ การดาํ เนินการโครงงาน การจดั ทาโครงงาน“เด็กดอยวัยใส หัวใจนักออม น้อมนาเศรษฐกิจพอพยี ง” ไดด้ าเนนิ การตาม ขั้นตอนการดาเนนิ การดงั น้ี ระยะเวลา ตลุ าคม 2563 – กรกฎาคม 2564 สถานท่ี โรงเรยี นเพยี งหลวง 16 ขนั้ ตอนและวิธดี ําเนนิ การ 1. ประชมุ เพื่อวิเคราะห์ปัญหา (S) 2. วางแผนงานกิจกรรม (P) 3. แต่งตัง้ ผรู้ ับผดิ ชอบ และดาเนนิ การตามข้ันตอน (D) 4. นิเทศ ติดตามการดาเนนิ งาน (C) 5. ประเมนิ ผล และสรปุ รายงาน (A) กิจกรรมและแผนการดาํ เนินงาน ระยะเวลา ผ้รู ับผิดชอบ ดําเนนิ การ ท่ี กจิ กรรม ต.ค.63 นางสาวศริ ิกนั ยา เผา่ อนิ ทร์ นางสาววริศรา พศิ จารย์ 1 ประชุมคัดเลือกคณะกรรมการ ต.ค. 63 นางสาวนชุ นันท์ ชนะชยั เจรญิ กลุ 2 ทัศนศึกษาแลกเปลีย่ นเรียนรู้กบั นางสาวธดิ า ทาแกง ต.ค.63-ก.ค.64 สานักงานสหกรณ์จังหวดั เชยี งราย 3 อบรมการจัดทาบัญชีออมทรัพย์ งบประมาณรวม 5,000 บาท ผลทีค่ าดว่าจะได้รับ 1. นกั เรยี นรู้จักการวางแผนในการใช้จ่ายเงิน และมวี ินัยในการใช้จา่ ยเงนิ 2. นกั เรยี นมนี สิ ยั รกั การออม 3. นักเรียนดาเนินชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4. นักเรียนสามารถทาบัญชี รายรบั - รายจา่ ยได้ 5. นกั เรียนนาประโยชนจ์ ากการออมท่ีไดไ้ ปใชใ้ นชีวิตประจาวนั
3 บทที่ ๓ ผลการดําเนนิ งาน ผลการศึกษาได้รู้ถงึ ความหมายของเงนิ การออม และบัญชรี ายรบั – รายจ่าย ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีมนุษย์เรา ให้ ความสาคัญมาก ไม่ว่าต้องการอะไร ส่ิงใดก็ใช้เงินสาหรับการท่ีจะได้ส่ิงน้ันมาให้ได้ เงินเป็นสิ่งที่มนุษย์ สมมติข้นึ มาเพอ่ื ใชแ้ ทนการแลกเปลยี่ นสิ่งของซึ่งกันและกัน แต่ผู้คนส่วนใหญ่ใช้เงินอย่างฟุมเฟือย โดยส่วน ใหญ่ใช้ไปกับส่ิงที่ไม่มีประโยชน์และไม่มีความจาเป็น โดยไม่คิดถึงอนาคตของตนเอง ซ่ึงในตอนนี้มีการ สนับสนุนให้มีการเปิดบัญชีเพื่อที่จะได้มีการออมมากข้ึนและช่วยส่งเสริมให้มนุษย์รักการออมอีกด้วย แต่ อย่างไรน้ันมนุษย์ก็ยังคงมีการใช้เงินอีกมากมาย ทั้งนี้ เงินคือส่ิงจาเป็นก็จริงถ้าใครมีเงินก็สามารถใช้ชีวิตได้ อยา่ งสบายไม่ตอ้ งลาบากอะไรเลย แต่ถา้ มีเงินแตใ่ ชอ้ ยา่ งไม่ประหยดั เงินกจ็ ะหมดได้เชน่ กนั เราควรใช้เงินให้ มีคุณค่าที่สุดเพื่อตัวเราเอง ดังน้ัน ไม่ว่าเราจะมีรายได้มากหรือน้อยเราก็สามารถออมเงินได้อย่างไม่ต้องกัง วนเพราะออมแค่ 1 บาทก็ถือว่าเป็นการออมแล้ว เราต้องการอยากให้มนุษย์หันมาออมเพื่อชีวิตความ เป็นอยู่ท่ดี ใี นอนาคต จากการดาเนินโครงงานคุณธรรมเรื่อง “เด็กดอยวัยใส หัวใจนักออม น้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง” มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนรู้จักการวางแผนในการใช้จ่ายเงิน มีวินัยในการใช้จ่ายเงิน ส่งเสริมและปลูกฝังให้นักเรียนมีนิสัยรักการออม เข้าร่วมกิจกรรมและรู้จักการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง และมีการฝึกการทาบัญชี รายรับ รายจ่าย รู้จักการวางแผนการใช้จ่ายเงิน มีความ รับผิดชอบร่วมกัน
4 บทที่ ๔ การศึกษาวเิ คราะห์ ปญั หาและสาเหตุ นกั เรยี นสว่ นใหญม่ ีพฤตกิ รรมการใชเ้ งินฟุมเฟือย ไมม่ เี หตผุ ลในการใชจ้ า่ ย ยดึ ติดค่านิยมทางวตั ถุ และเทคโนโลยีทั้งทย่ี ังไม่สามารถหารายไดด้ ้วยตนเอง จงึ สง่ ผลใหพ้ อ่ แมต่ อ้ งรับภาระคา่ ใชจ้ ่ายในการเลย้ี งดู มากขน้ึ นอกจากนั้นนักเรียนขาดการวางแผนสาหรับการดาเนินชวี ติ ในอนาคต เมื่อถึงเวลาจาเปน็ ทจ่ี ะต้อง ใชเ้ งนิ ไม่สามารถหาเงินได้ ทาให้พอ่ แมต่ ้องเดือดร้อน เป้าหมายและทางแก้ โรงเรยี นเพียงหลวง 16 ได้ตระหนักถึงความสาคัญดงั กล่าวจึงไดน้ ้อมนาหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศมหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร มาเปน็ แนวทางในการแกป้ ญั หาด้วยการบรู ณาการกบั หลกั สูตรสถานศึกษา ตามหลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และจดั ให้มโี ครงการ “เด็กดอยวยั ใส หัวใจนกั ออม น้อมนา เศรษฐกิจพอพียง” โดยสง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนรูจ้ กั บริหารจดั การการใช้เงนิ มที ักษะและเปูาหมายทีช่ ดั เจนใน การออม และรจู้ ักคุณค่าของเงนิ สามารถนากระบวนการต่างๆ ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวันอย่าง เหมาะสมใหเ้ ปน็ ประโยชนม์ ากท่สี ดุ หลักการและหลักธรรมท่นี ํามาใช้ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพียง เป็นกรอบแนวคิด ซึง่ มงุ่ ให้ทุกคนสามารถพง่ึ พาตัวเองได้ รวมถึงการพัฒนาใหด้ ี ยง่ิ ขน้ึ จนเกดิ ความย่ังยนื คาว่า พอเพียงคือการดาเนินชวี ิตแบบทางสายกลางโดยต้งั อยู่บน หลกั สาคญั สาม ประการ คือ ความพอประมาณ ความมเี หตุผลและการมภี ูมคิ ้มุ กนั ทดี่ ี ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 3 ห่วง 2 เงอ่ื นไข ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 3 ห่วง ห่วง 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ี่ไมน่ ้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผูอ้ ่ืน เช่น การผลิตและการบรโิ ภคทอ่ี ยใู่ นระดับพอประมาณ ห่วง 2. ความมเี หตุผล หมายถงึ การตัดสนิ ใจเกย่ี วกบั ระดับของความพอเพยี งนนั้ จะตอ้ งเป็นไปอยา่ งมี เหตผุ ล โดยพิจารณาจากเหตุปจั จยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งตลอดจนคานึงถงึ ผลทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ อย่างรอบคอบ ห่วง 3. การมีภูมิคุ้มกนั ท่ดี ีในตวั หมายถงึ การเตรียมตวั ให้พรอ้ มรบั ผลกระทบ และการเปลย่ี นแปลงดา้ น ตา่ ง ๆ ทจี่ ะเกิดข้ึนโดยคานึงถึงความเปน็ ไปได้ของสถานการณต์ า่ ง ๆ ทคี่ าดว่าจะเกดิ ข้ึนในอนาคตทั้งใกล้ และไกล ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2 เง่อื นไข 1. เงื่อนไข ความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรเู้ กยี่ วกับวชิ าการต่าง ท่เี ก่ียวข้องอยา่ งรอบด้าน ความรอบคอบ ท่ีจะนาความรเู้ หล่านัน้ มาพิจารณาใหเ้ ช่อื มโยงกนั เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมดั ระวงั ในขน้ั ปฏบิ ตั ิ 2. เง่อื นไข คุณธรรม ทจี่ ะต้องเสรมิ สร้างประกอบดว้ ย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความช่อื สัตยส์ จุ ริต และมคี วามอดทน มีความพากเพียร ใชส้ ติปญั ญาในการดาเนนิ ชวี ติ
5 อริยมรรคมีองค์ ๘ คอื คุณธรรมทท่ี าใหป้ ระสบผลสาเรจ็ ๑ .สัมมาทฏิ ฐิคอื ปญั ญาเหน็ ชอบ หมายถงึ การปฏบิ ัตอิ ยา่ งเหมาะสมตามความเป็นจรงิ ดว้ ยปญั ญา ๒ .สัมมาสังกปั ปะคือ ดาริชอบหมายถึง การใช้สมองความคิดพิจารณาแตใ่ นทางกศุ ลหรือความดงี าม ๓ .สมั มาวาจาคอื เจรจาชอบ หมายถงึ การพูดต้องสุภาพ แต่ในสิ่งทสี่ รา้ งสรรค์งดงาม ๔ .สมั มากัมมันตะคือ การประพฤตดิ ีงาม ทางกายหรือกจิ กรรมทางกายทง้ั ปวง ๕ .สมั มาอาชีวะคือ การทามาหากนิ อยา่ งสุจริตชน ไม่คดโกง เอาเปรยี บคนอนื่ ๆมากเกินไป ๖ .สมั มาวายามะคือ ความอุสาหะพยายาม ประกอบความเพียรในการกุศลกรรม ๗ .สมั มาสตคิ ือ การไม่ปล่อยใหเ้ กดิ ความพล้งั เผลอจิตเล่ือนลอย ดารงอยดู่ ว้ ยความรตู้ ัวอยเู่ ปน็ ปกติ ๘ .สัมมาสมาธิคอื การฝึกจิตให้มัน่ สงบ จากกิเลส นิวรณอ์ ยู่เปน็ ปกติ ประเมนิ ผลการดาํ เนินงาน 1) บนั ทึกรายละเอียดขอ้ มลู ต่างๆในระหว่างการจัดกจิ กรรมตามโครงการ\"เดก็ ดอยวัยใส หวั ใจนักออม นอ้ ม นาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง\"ดว้ ยวธิ กี ารดงั น้ี - สังเกตจากพฤตกิ รรมการออมของเด็ก - การสอบถาม - การร่วมกจิ กรรม - สรุปผลการดาเนนิ งาน - แบบประเมนิ 2) นาข้อมลู จากการประเมนิ ระหวา่ งการดาเนนิ กิจกรรมด้วยวธิ ีการทีห่ ลากหลายมานาเสนอตอ่ ทีป่ ระชุม คณะทางานเพื่อสรุปจุดเดน่ และจดุ ทตี่ ้องพฒั นาเป็นข้อเสนอแนะสาหรบั การดาเนนิ งานต่อไป
6 บทท่ี ๕ บทสรปุ และขอ้ เสนอแนะ สรุปเก่ียวกับโครงงานคุณธรรม”เด็กดอยวัยใส หัวใจนักออม น้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ครั้งน้ี ไดก้ าหนดวัตถุประสงค์ไว้ดงั นี้ 1. เพอ่ื ใหน้ กั เรียนร้จู ักการวางแผนในการใชจ้ า่ ยเงนิ และมวี นิ ยั ในการใชจ้ า่ ยเงนิ 2. เพ่ือส่งเสรมิ และปลกู ฝังให้นกั เรียนมีนสิ ยั รักการออม 3. เพ่อื ใหน้ ักเรียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมและร้จู กั การดาเนินชีวติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4. เพ่อื ฝกึ การทาบัญชี รายรับ รายจ่าย ร้จู กั การวางแผนการใชจ้ ่ายเงนิ มคี วามรับผดิ ชอบรว่ มกนั 5. เพอ่ื นาประโยชน์ทไี ด้จากการออมไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั โรงเรียนเพียงหลวง 16 ไดต้ ระหนกั ถึงความสาคัญดังกล่าวจึงได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช มาเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาด้วยการบูรณาการกับ หลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และจัดให้มี โครงการ “เด็กดอยวัยใส หัวใจนักออม น้อมนาเศรษฐกิจพอพียง” โดยส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักบริหาร จัดการการใช้เงิน มีทักษะและเปูาหมายท่ีชัดเจนในการออม และรู้จักคุณค่าของเงิน สามารถนา กระบวนการตา่ งๆ ไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวันอยา่ งเหมาะสมให้เป็นประโยชนม์ ากทสี่ ุด ขอ้ เสนอแนะ จากการศึกษาโครงงานคุณธรรมเร่ืองนี้ ทาให้นักเรียนได้รู้จักการออมมากข้ึน รู้จักคุณค่าของการ ออมวา่ มปี ระโยชน์อยา่ งไรบา้ ง ไดร้ ูถ้ งึ การทาบัญชรี ายรบั – รายจ่าย ให้นกั เรียนรูจ้ กั วางแผนการใช้เงิน เพ่ือ ลดปัญหาด้านการเงนิ ของครอบครัว
7 บรรณานุกรม นวพร เรืองสกุล.(2553:15-20).การออม การศึกษาเร่ืองการบริหารเงินออมระยะยาวของกองทุน ประเภทเดยี วนี้ มาก่อนนนั้ เรานาไปสบู่ ทสรปุ ว่า นโยบายการจัดสรรสินประเภทนี้ มาก่อนเราเพ่ือการลงทุน ท่ดี ี การวางแผนการขอ้ มูลของตนเองและ สามารถเพมิ่ พนู งานออมไดม้ ากข้นึ ภาวดี ยิงสขุ .(2548:5).กองทนุ การออมแหง่ ชาตอิ ย่างทว่ั ถึง เพือ่ สรา้ งอนาคต ท่ีม่นั คง ของทุกคนต่อไป กลุ ชุลี ทรัพย์สินอุดม.(2558: 75-76).เงินทองไม่ใช่แขนขาที่จะเดินหนีไปจากเราได้และก็ไม่สามารถท่ีจะ ว่งิ ตามหาเราได้เช่นกันอยูท่ ี่ว่าเราจะร้จู กั รักษาและเกบ็ ออมเงินอย่างไร วุฒิ บุรณเขตต์.(2553):16-19). เงิน เป็นส่ิงท่ีทุกคนปรารถนา ทางานหนักทุกวันก็เพื่อเงิน ชีวิตอยู่ได้ก็ เพราะเงนิ ไมว่ ่าคุณจะเลือกชีวิตแบบไหนคณุ ก็ต้องมีเงนิ เพราะเงินบนั ดาลความสุขแกผ่ ู้ทีค่ รอบครองมัน เงิน เรม่ิ มีบทบาทในสงั คม มากข้นึ เม่อื มนุษยเ์ ร่มิ เปลี่ยนวิธีการดารงชีวิตจากเรียบง่ายท่ีอยู่กับธรรมชาติ จากเงิน ท่ีใช้ซอ้ื ของ อาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม มาเป็นส่ิงที่สังคมแบ่งปันอย่างรวดเร็วท้ังด้านความรู้ความสามารถ มนุษย์ จงึ เร่ิมให้ ความสาคัญกับเงนิ http///www.thaiyoudvie.com.(10กนั ยายน2558).เงนิ คอื ส่ิงท่ีสังคมสมมุติข้ึน เพื่อเป็นสื่อกลางในการ แลกเปล่ียน ความสาคัญของเงินไม่ว่า มนุษย์จะอยู่ในระบบเศรษฐกิจแบบใดก็ต้องอาศัยเงินเป็นประการ สาคัญเพราะเงินช่วยอานวยความ สะดวกในการแลกเปล่ียนการผลิตและการจัดสรรหาทรัพยากรได้อย่าง เหมาะสม ถนดั ศรีบุญเรอื ง.(2558: 32-34).วนั ที่9 กันยายน 2558 นายจะเทพ เสรีวงศ์ ณ อยุธยา โฆษกธนาคาร แหง่ ธปท. ชี้แจงว่า ค่าเงินบาททีอ่อนลงในช่วงที่ ผ่านมาจนสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐฯ แข็งค่าขึ้นไม่ใช้ปัจจัย ภายในประเทศ หรือภูมิภาค และคณะนี้ ค่าเงินบาทผังหยวน ยังอยู่ในระดับกลางๆของภูมิภาคโดย ธปท . ค่าเงินบาทท่ีอ่อนตัวลงนี้ ช่วยเสริมสภาพคล่องในการส่งออกทาให้ผู้ส่งออกบางราย สามารถปรับลดราคา สนิ ค้าลงเพ่ือให้ ราคาทเี่ สนอขายสามารถแบง่ ปันไดม้ ากขึ้น ส่งผลทาให้การส่งออกฟื้นตัวได้มากน้อยแค่ไหน คงต้องอาศัยท้ังการฟ้ืนตัวที่แข็งแรงของเศรษฐกิจโลก และการปรับปรุงคุณภาพการผลิต และคุณภาพ สินคา้ ให้ตรงกับความตอ้ งการของตลาดโลก บัญญมน ดิษกุลนรภัทร.(2557:40-42).วิธีการอยู่ประหยัด (1) ทาอาหารกินเอง (2) ปลูกผักกินเอง (3) เลือกสถานที่ซื้อ (4) ห่อข้าวกลางวัน (5) ไม่กินของจุกจิก (6) งดม้ือเย็นนอกบ้าน (7) งดซ้ือของ ฟุมเฟือย (8) ออมเงิน (9) ซ้ือของท่ีมีคุณภาพ (10) เปรียบเทียบราคาก่อนซื้อ (11) ทาบัญชี รายรบั รายจา่ ย
8 ภาคผนวก เอกสารหลกั ฐานอ้างองิ
9 คําสั่งโรงเรยี นเพยี งหลวง 16 ท่ี 050 / 2564 เร่ือง แต่งต้ังคณะกรรมการดําเนินงานโครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม ประจําปกี ารศกึ ษา 2564 ................................................................................................................... ด้วยโรงเรียนเพียงหลวง 16 ได้ดาเนินการพัฒนาโรงเรียนในโครงการโรงเรียนคุณธรรม ตาม แนวทางการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. และมูลนิธิยุวสถิรคุณเป็นการดาเนินงานเพ่ือสืบ สานพระราชปณิธานเดนิ ตามรอยเบือ้ งพระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ตามพระราชประสงคส์ มเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 10 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาให้นักเรียน ครู ผู้บริหาร และบคุ ลากร ตระหนกั รู้ เข้าใจ และมีกระบวนการคิดอย่างมเี หตุผล ซึมชบั คณุ ค่าแห่งคุณธรรมความดีอย่าง เป็นธรรมชาติ สร้างความรู้สึกผิดชอบชั่วดี รวมทั้งสร้างเครือข่ายชุมชนองค์กรแห่งคุณธรรม โดยประสาน ความร่วมมือจากหน่วยงานและองค์กรท่ที างานด้านคุณธรรมอย่างเป็นรูปธรรมทีช่ ดั เจน ดังนั้น เพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อยและประสบผลสาเร็จตาม วัตถปุ ระสงค์ จงึ ขอแตง่ ตง้ั คณะกรรมการดาเนินงานโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม ของโรงเรียนเพียงหลวง 16 ดังน้ี 1. คณะกรรมการฝ่ายอาํ นวยการ 1. นายสรุ ยิ า สมฤทธิ์ ผูอ้ านวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ 2. นางสาวเกศรนิ ทร์ บวั ผดั รองผอู้ านวยการโรงเรยี น รองประธานกรรมการ 3. นายโกศล เปก็ สาร ครู คศ.3 กรรมการ 4. นางสาวนบั ดาว ปัญญะติ ครู คศ.3 กรรมการ 5. นางสาวนฤมล ลอื ชยั ครธู รุ การ กรรมการ 6. นางสาวสายฝน จาเริญราช ครูธรุ การ กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ ให้คาปรึกษา แนะนา ช่วยเหลือ เพ่ือให้การปฏิบัติงานดานเนิการเป็นไปด้วย ความเรียบรอ้ ย 2. คณะกรรมการดําเนนิ งาน 1. นายอาทิตย์ แซล่ ิม้ ครู คศ.1 ประธานกรรมการ 2. นางสาวชไมพร วงศ์วุฒิ ครู คศ.2 กรรมการ 3. นางสาวศริ กิ ันยา เผา่ อนิ ทร์ ครู คศ.1 กรรมการ 4. นางสาวศริ มิ าศ หมูก้อน ครูผูช้ ่วย กรรมการ 5. นายอทิ ธิฤทธ์ิ รวมสขุ ครูผ้ชู ว่ ย กรรมการและ เลขานุการ มีหน้าที่ วางแผน ประสาน ดาเนินงานด้านต่างๆ ให้สาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ และ เป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย /3. คณะกรรมการจัดกิจกรรม…
10 3. คณะกรรมการจัดกจิ กรรมและพัฒนาโรงเรียนตามโครงการคุณธรรม 3.1 ระดับปฐมวัย 1. นางสาวศิริกนั ยา เผ่าอินทร์ ครู คศ.1 ประธานกรรมการ 2. นางสาวนชุ นันท์ ชนะชยั เจรญิ กลุ พนกั งานราชการ กรรมการ 3. นางสาวธดิ า ทาแกง ครอู ัตราจา้ ง กรรมการ 4. นางสาววริศรา พศิ จารย์ ครู คศ.1 กรรมการและ เลขานกุ าร 3.2 ระดับประถมศกึ ษาตอนต้น ครผู ชู้ ว่ ย ประธานกรรมการ 1. นางสาวศริ ิมาศ หมกู ้อน ครูขั้นวกิ ฤตฯ กรรมการ 2. นางสาววไิ ลพรรณ ธรรมสอน 3. นางสาวรตั ติยา ถาเปียง ครู LD กรรมการ 4. นางสาวอจั ฉราพร อะทะวงศ์ ครู คศ.2 กรรมการและ เลขานกุ าร 3.3 ระดบั ประถมศึกษาตอนปลาย 1. นายอาทิตย์ แซ่ลิม้ ครู คศ.1 ประธานกรรมการ 2. นางสาวรุ่งนภา วงศใ์ หญ่ ครูข้ันวกิ ฤตฯ กรรมการ 3. นางสาวณัฐณชิ า ใจวังโลก พนักงานราชการ กรรมการและ เลขานกุ าร 3.4 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ครผู ู้ช่วย ประธานกรรมการ 1. นายอทิ ธิฤทธิ์ รวมสุข 2. นายโกศล เปก็ สาร ครู คศ.3 กรรมการ 3. นางสาวนับดาว ปญั ญะติ ครู คศ.3 กรรมการ 4. นายหัสนยั น์ ปันนา ครู คศ.1 กรรมการ 5. นางสาวชไมพร วงศ์วฒุ ิ ครู คศ.2 กรรมการและ เลขานุการ มีหน้าท่ี 1. ร่วมคดิ ร่วมทากาหนดคณุ ธรรมอัตลักษณแ์ ละพฤติกรรมบ่งชีข้ องโรงเรยี น และนโยบายสพฐ. 2. ดาเนินการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมตามกระบวนการของมูลนิธิยุวสถิรคุณ 3. เป็นท่ีปรึกษาให้กับนักเรียนที่เป็นครูประจาชั้นในการดาเนินการจัดทา โครงงานคุณธรรมของแต่ละห้องเรียน ให้สาเร็จลุลว่ ง เปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย 4. กจิ กรรมอื่นๆ ท่ปี ฏบิ ตั ิในโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. ทกุ กิจกรรม 5. คณะกรรมการฝา่ ยสรุปผลและประเมินผล ประกอบไปด้วย 1. นายอาทิตย์ แซ่ลมิ้ ครู คศ.1 ประธานกรรมการ 2. นางสาวชไมพร วงศ์วฒุ ิ ครู คศ.2 กรรมการ 3. นางสาวศริ กิ ันยา เผ่าอนิ ทร์ ครู คศ.1 กรรมการ 4. นางสาวศิรมิ าศ หมกู อ้ น ครูผูช้ ว่ ย กรรมการ
11 5. นายอิทธิฤทธ์ิ รวมสุข ครผู ู้ช่วย กรรมการและ เลขานกุ าร มหี น้าท่ี จัดทาแบบประเมินผลการดาเนนิ งานตามโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สรปุ ผลการ ประเมนิ รปู เลม่ เพ่อื รายงานให้ผู้บรหิ ารทราบต่อไป /ใหค้ ณะกรรมการ… ให้คณะกรรมการที่ได้รับแต่งต้ังปฏิบัติหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ และบังเกิด ผลดี บรรลวุ ตั ถุประสงค์ของการจัดงาน หากมีปัญหาในการปฏิบัติงานให้รายงานคณะกรรมการอานวยการ และผ้เู ก่ียวขอ้ งทราบ เพอื่ แกไ้ ขต่อไป ท้ังนี้ตัง้ แต่บัดน้ีเป็นตน้ ไป สง่ั ณ วันท่ี 18 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2564 (นายสุริยา สมฤทธ์ิ) ผู้อานวยการโรงเรียนเพยี งหลวง 16
12 ประชมุ เลอื กคณะกรรมการและวางแผนดาเนนิ งาน
13 อบรมพัฒนาความรสู้ หกรณอ์ อมทรพั ย์ นกั เรยี น
14 ออมวนั ละนดิ จิตแจม่ ใส
15 หนูนอ้ ยนักออม ระดบั ปฐมวัย
16 รางวัลนกั ออมดีเด่น
17 อบรมเพมิ่ ความรู้ นกั ออมนอ้ ย
18 ศกึ ษาดูงานแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ นกั ออมนอ้ ย
19 ทศั นศกึ ษาดูงาน ณ อาํ เภอเชยี งแสน จงั หวัดเชยี งราย
20 สมดุ บนั ทกึ การฝากออมทรัพย์ของเด็กนักเรยี น
21 สมดุ ออมทรัพยข์ องเด็กนกั เรยี น
22 รางวลั สุดยอดเด็กดมี เี งินออม สานักงานสหกรณจ์ ังหวดั เชยี งราย ขอมอบเกียรตบิ ัตรฉบบั นี้ให้ไว้เพ่ือแสดงวา่ เดก็ ชายกรวิชญ์ แซห่ าญ ได้รบั รางวลั ชนะเลศิ อนั ดบั 1 การประกวด “สดุ ยอดเดก็ ดีมีเงินออม” ระดับชนั้ ประถมศกึ ษา ในโครงการประกวดสดุ ยอดเดก็ ดีมีเงินออม ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ให้ไว้ ณ วันท่ี 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 สานกั งานสหกรณ์จังหวดั เชยี งราย ขอมอบเกียรตบิ ัตรฉบบั น้ีให้ไว้เพื่อแสดงว่า เดก็ หญงิ สิรยิ ากรณ์ แซห่ าญ ได้รบั รางวัลชนะเลศิ อนั ดบั 2 การประกวด “สดุ ยอดเดก็ ดมี เี งนิ ออม” ระดับชนั้ ประถมศกึ ษา ในโครงการประกวดสดุ ยอดเดก็ ดีมีเงินออม ของกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ ให้ไว้ ณ วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563
23 สานักงานสหกรณ์จงั หวดั เชียงราย ขอมอบเกียรตบิ ตั รฉบบั นี้ใหไ้ วเ้ พือ่ แสดงว่า เดก็ หญงิ รุ้งรดา แซ่โซ้ง ไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ อนั ดบั 3 การประกวด “สดุ ยอดเดก็ ดมี เี งินออม” ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษา ในโครงการประกวดสดุ ยอดเดก็ ดมี ีเงินออม ของกรมสง่ เสริมสหกรณ์ ให้ไว้ ณ วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 สานักงานสหกรณ์จังหวัดเชยี งราย ขอมอบเกียรตบิ ัตรฉบบั นใี้ ห้ไวเ้ พ่ือแสดงว่า เดก็ หญงิ สธุ าสินี แซ่กง ได้รบั รางวัลชนะเลศิ อนั ดบั 1 การประกวด “สดุ ยอดเดก็ ดีมเี งินออม” ระดับชน้ั อนุบาล ในโครงการประกวดสุดยอดเดก็ ดีมีเงินออม ของกรมสง่ เสริมสหกรณ์ ใหไ้ ว้ ณ วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563
24 สานกั งานสหกรณจ์ ังหวดั เชียงราย ขอมอบเกยี รตบิ ตั รฉบบั นใ้ี หไ้ ว้เพอ่ื แสดงวา่ เดก็ บหุ รง หาญสวุ รรณชยั ไดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ อนั ดบั 2 การประกวด “สดุ ยอดเดก็ ดีมเี งนิ ออม” ระดบั ชน้ั อนบุ าล ในโครงการประกวดสดุ ยอดเดก็ ดมี เี งนิ ออม ของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 สานักงานสหกรณจ์ ังหวัดเชยี งราย ขอมอบเกยี รตบิ ตั รฉบบั นี้ใหไ้ ว้เพอื่ แสดงวา่ เดก็ หญงิ เด่นนภา แซก่ ง ได้รบั รางวัลชนะเลศิ อนั ดบั 3 การประกวด “สดุ ยอดเดก็ ดีมเี งนิ ออม” ระดบั ชน้ั อนุบาล ในโครงการประกวดสุดยอดเดก็ ดมี ีเงินออม ของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ ใหไ้ ว้ ณ วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563
25 สานักงานสหกรณจ์ งั หวัดเชยี งราย ขอมอบเกียรตบิ ัตรฉบบั นใี้ หไ้ ว้เพอ่ื แสดงว่า เดก็ หญงิ ศศิธร แซจ่ าง ไดร้ บั รางวัลชมเชย การประกวด “สดุ ยอดเดก็ ดีมเี งนิ ออม” ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษา ในโครงการประกวดสุดยอดเดก็ ดีมีเงินออม ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 สานกั งานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย ขอมอบเกยี รตบิ ัตรฉบบั นใ้ี ห้ไวเ้ พ่อื แสดงวา่ เดก็ หญงิ ปวรรตั น์ แซ่โซง้ ไดร้ บั รางวลั ชมเชย การประกวด “สดุ ยอดเดก็ ดีมีเงินออม” ระดับชนั้ ประถมศกึ ษา ในโครงการประกวดสุดยอดเด็กดีมเี งินออม ของกรมสง่ เสริมสหกรณ์ ให้ไว้ ณ วันท่ี 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563
26 สานักงานสหกรณจ์ ังหวดั เชยี งราย ขอมอบเกียรตบิ ัตรฉบบั นีใ้ ห้ไว้เพอ่ื แสดงวา่ เดก็ หญงิ นติ กิ านต์ ทรงสวัสดวิ์ งศ์ ได้รบั รางวัลชนะเลศิ อนั ดบั 1 การประกวด “สดุ ยอดเดก็ ดีมเี งนิ ออม” ระดับชนั้ มัธยมศึกษา ในโครงการประกวดสดุ ยอดเดก็ ดีมเี งินออม ของกรมสง่ เสริมสหกรณ์ ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 สานกั งานสหกรณจ์ ังหวัดเชียงราย ขอมอบเกยี รตบิ ตั รฉบบั นใี้ หไ้ วเ้ พื่อแสดงวา่ เดก็ ชายสาธติ บาย่อ ไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ อนั ดบั 2 การประกวด “สดุ ยอดเดก็ ดมี เี งินออม” ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษา ในโครงการประกวดสุดยอดเดก็ ดีมเี งินออม ของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ ให้ไว้ ณ วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563
27 สานกั งานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย ขอมอบเกียรตบิ ตั รฉบบั น้ีให้ไวเ้ พือ่ แสดงวา่ เดก็ ชายศตายู แซห่ าญ ไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ อนั ดบั 3 การประกวด “สดุ ยอดเดก็ ดมี เี งนิ ออม” ระดับชนั้ มธั ยมศึกษา ในโครงการประกวดสดุ ยอดเดก็ ดมี เี งนิ ออม ของกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 สานักงานสหกรณ์จังหวดั เชียงราย ขอมอบเกียรตบิ ัตรฉบบั นี้ให้ไวเ้ พื่อแสดงว่า เดก็ หญงิ ยพุ นิ แซย่ ่าง ไดร้ บั รางวัลชมเชย การประกวด “สดุ ยอดเดก็ ดมี เี งินออม” ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษา ในโครงการประกวดสุดยอดเด็กดีมเี งนิ ออม ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ให้ไว้ ณ วันท่ี 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563
๒๘ สานกั งานสหกรณ์จังหวดั เชียงราย ขอมอบเกียรตบิ ตั รฉบบั น้ใี ห้ไวเ้ พื่อแสดงว่า เดก็ หญงิ สายฝน แซก่ ง ไดร้ บั รางวลั ชมเชย การประกวด “สดุ ยอดเดก็ ดีมเี งินออม” ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษา ในโครงการประกวดสุดยอดเดก็ ดมี ีเงนิ ออม ของกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ ให้ไว้ ณ วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 สานกั งานสหกรณ์จงั หวัดเชียงราย ขอมอบเกียรตบิ ัตรฉบบั นีใ้ ห้ไว้เพ่อื แสดงว่า เดก็ หญงิ ธดิ าวลั ย์ แซ่วา่ ง ได้รบั รางวัลชมเชย การประกวด “สดุ ยอดเดก็ ดีมเี งินออม” ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษา ในโครงการประกวดสุดยอดเดก็ ดีมเี งินออม ของกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ ใหไ้ ว้ ณ วันท่ี 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563
กดอยวยั ใส หวั ใจนกั ออ ม เ ็ด น้อมนาํ เศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรียนเพียงหลวง ๑๖ ๑๕๙ ม.๙ ต.ตับเต่า อ.เทิง จ.เชียงราย ๕๗๑๖๐ ๐๙๓-๒๗๔-๙๓๔๖
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: