ก
คำนำ จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทย ได้ขยายขอบเขตการแพร่ของโรคออกไปในวงกว้างกระจายไปในหลายพ้ืนท่ีการตรวจพบผู้ป่วยยืนยัน ติด เชื้อรายใหม่โดยเฉพาะกรณีที่เป็นการติดเชื้อภายในประเทศมีจานวนเพ่ิมสูงขึ้นในแต่ละวัน ประกอบกับมี การเดินทางของบุคคลากรจากเขตพ้ืนท่ีสถานการณ์ท่ีกาหนดให้เป็นเขตพื้นที่ควบคุม สงู สุด ซ่ึงส่วนใหญย่ ัง ไม่ปรากฏอาการของโรคเป็นเหตุให้เชื้อโรคแพรอ่ อกไปในลกั ษณะเป็นกลุ่มก้อน ผู้ตดิ เชือ้ โรค บางสว่ น ปกปิดข้อมูลการเดนิ ทาง ทาใหข้ ้ันตอนการสอบสวนโรคเกิดความล่าชา้ และเป็น อุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน อื่นที่เก่ียวข้อง จนส่งผลให้ เกิดการระบาดขยายเป็นวงกว้างรัฐบาลและ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง โดยศูนย์ บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ (COVID-19) จึงไดก้ าหนด นโยบายและแนวปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย ให้กับประชาชน ทั้งประเทศ โรงเรยี นเพียงหลวง 16 สังกดั สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 4 จึง ได้ขยายผลการดาเนินงานตามนโยบายและแนวปฏิบัติดังกล่าว เพื่อขับเคลื่อนการศึกษาไทย ให้ ก้าวต่อไป ในภาวะฉุกเฉินน้ี มีความห่วงใยผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา และ นักเรียนในสังกัดทุก คน โรงเรียนบ้านวนาหลวง จึงจัดทาแผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์การแพร่ ระบาดของไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ปีการศึกษา ๒๕๖5 ระลอกใหม่ ทางโรงเรียนเพียง หลวง 16 หวังเป็นอย่างยิ่งว่า จะ ได้นาไปใช้ประกอบและเป็นแนวปฏิบัติท่ีทันต่อเหตุการณ์ อันจะ ส่งผลให้นักเรียน บุคลากรทางการศึกษา และผู้เก่ียวข้อง ปลอดภัย ไม่เส่ียง และสามารถดาเนินชีวิต อยา่ งปกตสิ ุขตามแนวชวี ิตวิถใี หม่ (New Normal) โรงเรียนเพียงหลวง 16
สำรบญั หน้า คำนำ สำรบัญ ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลทวั่ ไปของสถานศึกษา ๑ - วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ เป้าประสงค์ 3 - กลยทุ ธ์โรงเรียน 3 - อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ จุดเนน้ 4 - ข้อมูลบุคลากร 5 - ขอ้ มูลจานวนนักเรยี น 5 ส่วนท่ี 2 แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของของไวรสั โคโรนา 7 ๒๐๑๙(COVID ๑๙) ๕ 1. แนวปฏิบัตแิ ผนเผชญิ เหตฯุ 7 2. การปอ้ งกนั เช้ือโรคไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19) จากต่างประเทศ 7 3. การปอ้ งกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ภายในประเทศ 7 4. การเฝา้ ระวงั และการสอบสวนโรค 8 5. การสรา้ งความรว่ มมอื จากทกุ ภาคส่วน 8 ๑. ตารางปฏบิ ัตแิ ผนเผชิญเหตุฯ 9 ๒. แนวปฏิบัติการผอ่ นคลายมาตรการสาหรบั สถานศึกษา 10 - แนวปฏิบัติสาหรบั สถานศึกษาในการเปิดภาคเรยี นให้นักเรียนมาเรียนในห้องเรียน 10 หรือ On site 100 % - แนวปฏบิ ตั สิ าหรบั สถานศกึ ษารองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 11 - แนวทางปฏบิ ตั ิการปิดหรือไม่ปดิ สถานศกึ ษากรณีเกดิ โรคโควดิ 19 11 - แนวทางปฏบิ ตั ิเมื่อพบผปู้ ่วยยืนยันโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา ๑2 - 6 มาตรการหลกั ในการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 ในสถานศึกษา ๑2 - แผนผังการกากับตดิ ตามประเมินผลการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 ๑4 ในสถานศกึ ษา ภำคผนวก - ประกาศโรงเรยี นเพียงหลวง 16 เรื่อง แต่งต้ังคณะกรรมการการเตรียมความพร้อมก่อน เปิดภาคเรียน ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา ๒๕๖5 - ประกาศโรงเรยี นเพียงหลวง 16 เรอ่ื ง มาตรการและแนวทางการขบั เคลื่อนการจัดการ เรยี นการ สอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปี การศกึ ษา ๒๕๖5
แผนเผชญิ เหตรุ องรบั สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๑ ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลท่ัวไปของสถานศกึ ษา ข้อมูลพ้นื ฐำน โรงเรียนเพียงหลวง 16 ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เดิมชื่อ โรงเรียน บ้านร่มโพธิ์ไทยเชียงราย สังกัด สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4 ตั้งอยู่ท่ี หมู่ 9 ตาบลตับเต่า อาเภอเทิง จังหวัดเชียงรายเปิดสอนระดับช้ัน อนุบาลปีท่ี 2 ถึง ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี 3 เนอื้ ที่ 5 ไร่ 45 ตารางวา โดยรับผดิ ชอบจัดการศกึ ษาในพื้นที่เขตบริการ 8 หมู่บา้ น ดังน้ี 1. หมู่บ้านร่มโพธไิ์ ทย หมู่ 9 ตาบลตบั เตา่ อาเภอเทิง จงั หวดั เชียงราย 2. หมบู่ ้านพญาเลาอู หมู่ 23 ตาบลตบั เต่า อาเภอเทิง จงั หวัดเชียงราย 3. หมบู่ า้ นขุนตา้ หมู่ 11 ตาบลตับเต่า อาเภอเทงิ จงั หวดั เชยี งราย 4. หมู่บ้านร่มฟ้าไทย หมู่ 24 ตาบลตับเต่า อาเภอเทิง จังหวดั เชียงราย 5. หมบู่ ้านพิทกั ษ์ไทย หมู่ 20 ตาบลตบั เต่า อาเภอเทิง จงั หวัดเชยี งราย 6. หมบู่ า้ นไทยสามัคคี หมู่ 16 ตาบลตบั เต่า อาเภอเทิง จงั หวัดเชียงราย 7. หมู่บา้ นเล่าตาขาว หมู่ 21 ตาบลตบั เตา่ อาเภอเทิง จงั หวดั เชียงราย 8. หมู่บ้านรม่ โพธ์ทิ อง หมู่ 19 ตาบลตบั เต่า อาเภอเทงิ จงั หวดั เชยี งราย โรงเรียนเพียงหลวง 16 ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2511 โดยนักสอนศาสนาชาวอเมริกัน เป็นอาคารไม้ขนาด 2 ห้องเรียนตอ่ มาพน่ี ้องชาวม้ง ได้หลงผิด เข้าต่อสกู้ บั ทางราชการ โรงเรียนจึงถกู ปดิ ลงและถูกไฟไหมใ้ นเวลาต่อมา ปี พ.ศ. 2525 ชาวเขาเผ่าม้งได้เข้ามอบตัวและได้ขอสร้างโรงเรียนข้ึนมา โดยทาง ร.พัน 174 อาเภอเชียงคา มอบหมายให้ทางทหารร้อย ร.4732 ในสมัยน้ัน ร่วมกับชาวบ้านได้สร้างอาคาร เรียนขึ้นจานวน 1 หลัง 2 หอ้ งเรยี น โดยมีชื่อวา่ โรงเรียนบ้านเลาอู อยใู่ นความดู และ รับผิดชอบของทหาร ต่อมาทหารได้มอบให้มาอยู่ในความรบั ผิดชอบของสานกั งานการประถมศึกษาแห่งชาติ โดยยกฐานะเป็นโรงเรียนบา้ นปางคา่ และไดเ้ ปลย่ี นช่ือใหม่วา่ โรงเรียนบา้ นปางคา่ สาขาบา้ นร่มโพธ์ิไทย พ.ศ. 2532 ทางสานกั งานการประถมศึกษาแห่งชาติได้อนุมัติยกฐานะโรงเรยี นให้เป็นโรงเรียนหลัก โดยใชช้ ่ือวา่ โรงเรยี นบา้ นรม่ โพธไ์ิ ทย โดยมนี ายชัยพชิ ติ อิ่นคา รกั ษาการในตาแหน่งครใู หญ่ ปี พ.ศ. 2534 ทางสานกั งานการประถมศึกษาจงั หวดั เชียงราย ได้แต่งตั้งให้ นายฉัตรชยั สุวรรณ จกั ษ์ มาดารงตาแหน่งครใู หญ่ ปี พ.ศ. 2535 ทางหมู่บ้านขุนต้า ไดข้ อจัดตง้ั โรงเรยี นขึ้น ทางสานกั งานการประถมศึกษาจังหวัด เชียงราย จึงให้โรงเรยี นบา้ นขนุ ตา้ เปน็ โรงเรียนสาขาของโรงเรียนบา้ นรม่ โพธไ์ิ ทย ปี พ.ศ. 2538 ทางรฐั บาลมนี โยบายให้หน่วยงานทางการศึกษาในภาคบังคบั ให้ท่ัวถึงทุกตาบลทุก หมู่บ้าน ดังน้ัน ทางโรงเรียนสาขาของโรงเรียนบ้านร่มโพธิ์ไทยจึงได้ขอเปิดห้องเรียนเพิ่มอีก 2 แห่งท่ี หม่บู ้านร่มฟา้ ไทย และหมู่บ้านพิทักษไ์ ทย ซ่ึงเป็นหมู่บ้านป้องกันตัวเองชายแดน ไทย – ลาว โดยใชช้ ื่อ วา่ โรงเรียนบา้ นร่มโพธ์ิไทยหอ้ งเรียนบา้ นร่มฟ้าไทย และโรงเรียนบ้านรม่ โพธ์ไิ ทยหอ้ งเรียนบา้ นพิทักษ์ไทย
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๒ ปี พ.ศ. 2544 ทางหมู่บ้านบา้ นร่มโพธิ์ทองได้รับการตั้งเป็นหมู่บ้านหลัก และทางโรงเรียนบ้านร่ม โพธ์ิไทยเหน็ วา่ มนี ักเรยี นเป็นจานวนมาก ทไ่ี ด้เดนิ ทางมาเรียนท่โี รงเรียนบ้านร่มโพธ์ิไทย ต้องเดินทางด้วย เท้าเป็นระยะทางไปกลับวันละ 10 กิโลเมตร จึงได้จัดต้ังห้องเรียนสาขาชื่อว่า โรงเรียนบ้านร่มโพธ์ิไทย ห้องเรียนบ้านร่มโพธิ์ทอง มีนักเรียนท้ังหมด 23 คน โรงเรียนบ้านร่มโพธิ์ไทยมีโรงเรียนในความ รับผิดชอบ 1 โรงเรียน 1 สาขา 3 ห้องเรียน และมีนายฉัตรชัย สุวรรณจักษ์ ตาแหน่งผู้อานวยการ โรงเรียน ระดับ 8 เปน็ ผ้บู ริหาร ปี พ.ศ. 2548 โรงเรียนบ้านร่มโพธ์ิไทยมีอาคารเรียนถาวร 2 หลัง ขนาด 3 ห้องเรียนใช้ สาหรับเป็นห้องสมุด ห้องพักครู ห้องปฏิบัติการทางภาษา ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ อาคารเรียน ช่ัวคราวแบบรื้อถอนได้จานวน 5 หลังใช้เป็นห้องเรียน ห้องเก็บพัสดุ ห้องตัดผม อาคารชั่วคราวกึ่ง ถาวร 2 หลัง ใช้สาหรับเป็นอาคารเรียน 1 หลัง โรงอาหารประชุม 1 หลัง (อาคารท้ังสองหลังนี้ชุด ปฏิบตั ิ การของทหารในพืน้ ทีส่ ร้างให้ 1 หลัง นักศกึ ษาจากมหาวิทยาลัยรามคาแหงสร้างให้ 1 หลงั ) ปีพ.ศ. 2548 ทางสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาเชยี งรายเขต 4 ได้มีคาสั่งให้ นายสากล อินต๊ะ วงศ์ มาดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้านร่มโพธิ์ไทย ซ่ึงได้ดาเนินการบริหารงานการจัดการศึกษา ของโรงเรียนมาจนถงึ วนั ท่ี 2 ตุลาคม พ.ศ. 2550 ปี พ.ศ. 2550 นายบุญธรรม ยังไว ได้ย้ายมาดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้านร่มโพธ์ิ ไทย ซึ่งไดด้ าเนนิ การบรหิ ารงานการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนมาจนถงึ ปี พ.ศ. 2556 ปี พ.ศ. 2556 นายพิพัฒน์ อุทธิยา ได้ย้ายมาดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้านร่มโพธ์ิ ไทย ซงึ่ ไดด้ าเนินการบรหิ ารงานการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี นมาจนปจั ุบัน ปี พ.ศ. 2557 โรงเรียนบ้านร่มโพธ์ิไทยเข้าร่วมโครงการโรงเรียนเพียงหลวง ในทูลกระหม่อมหญิง อบุ ลรตั นราชกัญญา สริ ิวฒั นาพรรณวดี ปี พ.ศ. 2558 โรงเรียนบ้านร่มโพธิ์ไทย ได้รับพระราชพระอนุญาตเปล่ียนช่ือโรงเรียน จาก “โรงเรียนบ้านร่มโพธิ์ไทย” เป็น “โรงเรียนเพียงหลวง 16 ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริ วฒั นาพรรณวดี” ในวนั ที่ 7 พฤษภาคม 2558 ปจั จบุ ันโรงเรียนเพยี งหลวง 16 ในทลู กระหม่อมหญงิ อบุ ลรตั นราชกญั ญา สริ วิ ฒั นาพรรณวดี ภายใต้ การบริหารงานโดยนายพิพัฒน์ อุทธิยา ผู้อานวยการโรงเรียน และ นายสุริยา สมฤทธ์ิ รองผู้อานวยการ โรงเรยี น โดยจดั การเรียนการสอนสอนตัง้ แต่ชัน้ อนุบาล 1 ถงึ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 รับผิดชอบ 1 โรงเรยี น 1 สาขา 4 หอ้ งเรยี น ดงั น้ี 1. โรงเรยี นเพียงหลวง 16 2. โรงเรยี นเพียงหลวง 16 สาขาบา้ นขนุ ต้า 3. โรงเรยี นเพยี งหลวง 16 ห้องเรยี นบา้ นร่มโพธท์ิ อง 4. โรงเรยี นเพียงหลวง 16 ห้องเรียนบ้านร่มฟ้าไทย 5. โรงเรียนเพียงหลวง 16หอ้ งเรยี นบา้ นพทิ กั ษไ์ ทย 6. โรงเรียนเพียงหลวง 16 หอ้ งเรียนบา้ นเลา่ ตาขาว
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๓ พนั ธกิจ (Mission) 1. พฒั นา ครูและบุคลากรให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานวชิ าชพี 2. พฒั นา การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผูเ้ รียนมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 3. ส่งเสริมผูเ้ รียนใหม้ ีความรู้ ทักษะตามอตั ลักษณ์ของสถานศึกษา 4. สง่ เสรมิ ผู้เรียนใหม้ คี วามรู้ ทักษะตามเอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา 5. สง่ เสรมิ และพฒั นาผู้เรียนใหม้ ีความรู้ ทกั ษะตามมาตรการส่งเสรมิ ของสถานศึกษา 6. พัฒนาการจดั การเรยี นรู้ให้เกิดสมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น 7. สง่ เสรมิ ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม ตามคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 8. สง่ เสริมให้ชุมชน ภาคีเครอื ข่าย มสี ่วนรว่ มและสนบั สนนุ การจดั การศกึ ษา ตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง เปำ้ ประสงค์ 1. ครแู ละบุคลากรมีคณุ ภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ 2. ผ้เู รยี นมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 3. ผูเ้ รียนมคี วามรู้ ทกั ษะตามอัตลักษณข์ องสถานศึกษา 4. ผ้เู รยี นมคี วามรู้ ทกั ษะตามเอกลักษณข์ องสถานศกึ ษา 5. ผู้เรียนมคี วามรู้ ทักษะตามมาตรการสง่ เสรมิ ของสถานศกึ ษา 6. ผ้เู รยี นมีสมรรถนะสาคัญตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 7. ผเู้ รียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 8. ชมุ ชน ภาคีเครือข่าย มสี ่วนรว่ มและสนับสนนุ การจัดการศึกษา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง กลยทุ ธ์ กลยุทธท์ ่ี 1 คุณธรรมนาความรนู้ ้อมนาปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบัติ กลยทุ ธ์ท่ี 2 ขยายโอกาสทางการศึกษา กลยุทธท์ ี่ 3 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ กลยทุ ธ์ท่ี 4 การกระจายอานาจไปยงั สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา และสถานศึกษา กลยุทธ์ที่ 5 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชน ภาคเอกชนและท้องถิ่นในการจัด การศกึ ษา
แผนเผชญิ เหตรุ องรบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๔ จดุ เนน้ โรงเรียนเพียงหลวง 16ไดจ้ ัดการศึกษาได้อยา่ งมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา โดยมีแผนการ * ปฐมวัย นักเรยี นมสี นุ ทรยี ภาพทางด้านรา่ งกาย อารมณ์ สงั คมและสติปัญญา * ป. 1 -3 นักเรยี นมีทักษะในศตวรรษที่ 21 สามารถอา่ นออก เขยี นได้ คดิ เลขเปน็ ลายมือสวย มีจิตสาธารณะ สามารถใช้เทคโนโลยเี พ่อื การศึกษาได้ * ป. 4-6 นกั เรียนมที ักษะในศตวรรษท่ี 21 อา่ นคลอ่ ง เขยี นคลอ่ ง คิดเลขคลอ่ ง คดิ วิเคราะหไ์ ด้และสามารถใช้เทคโนโลยีเพอื่ การเรยี นรู้ ใช้ภาษาในการสื่อสารได้ ตามช่วงวัย มีจิตสาธารณะอยู่รว่ มกบั ผูอ้ น่ื ได้อยา่ งมคี วามสุข * ม. 1-3 นักเรยี นมที ักษะในศตวรรษท่ี 21 สามารถแสวงหาความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง และ สามารถใช้เทคโนโลยเี พ่ือการเรียนรู้คิดวเิ คราะห์ได้ และ มีทักษะในการ ดารงชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ใช้ภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษในการส่ือสารได้ตามชว่ งวัยมจี ิตสาธารณอยู่ร่วมกบั ผอู้ ื่นอย่างมี ความสุข
แผนเผชญิ เหตรุ องรบั สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๕ ข้อมูลบุคลำกร ข้อมลู บุคลากรจานวน 22 คน (ขอ้ มลู ณ วนั ที่ ๑6 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖5) วุฒกิ ำรศึกษำ ต่ำกว่ำอนปุ ริญญำ ตัง้ แต่ปริญญำขึ้นไป วุฒปิ ระเภทบุคคล ไ ่ม ีม ุว ิฒทำงครู (่ตาคกน่วา)) อนุปริญญา (คน) อนุปริญญา (คน) ปริญญาตรี (คน) ปริญญาโท (คน) ปริญญาเอก (คน) รวมท้ัง ิ้สน(คน) ผ้บู ริหาร -- - - 2 - 2 ขา้ ราชการครู -- - 9 2 - 11 พนักงานราชการ -- - 2 - - 2 ครธู รุ การ -- - 2 - - 2 ครู LD -- - 1 - - 1 ครูอตั ราจา้ ง -- - 3 - 3 ชา่ งไฟฟา้ ระดับ ช. 3 -1 - - - - 1 รวม - 1 - 17 4 - 22 ข้อมูลจำนวนนกั เรยี น หมำยเหตุ ปีการศึกษา ๒๕๖5 มีจานวนช้ันเรียน 11 หอ้ ง และจานวนนกั เรยี น 309 คน (ข้อมลู ณ วันท่ี ๑6 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖5) ดังนี้ ที่ ช้ัน จำนวนนักเรียน ชำย หญิง รวม 1 อนุบาล 2 15 22 37 2 อนุบาล 3 16 10 26 31 32 63 รวมอนบุ ำล 3 ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 20 13 33 4 ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 2 23 18 41 5 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 13 17 30 6 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 16 16 32 7 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 15 8 23 8 ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 12 10 22
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๖ ท่ี ชัน้ จำนวนนกั เรียน หมำยเหตุ ชำย หญงิ รวม รวมประถมศกึ ษำ 9 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 99 82 181 10 ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 2 9 11 20 11 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 10 8 18 12 15 27 รวมมธั ยมศกึ ษำต้อนตน้ 31 34 65 รวมท้ังสนิ้ 161 148 309
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๗ ส่วนท่ี ๒ แผนเผชิญเหตรุ องรับสถำนกำรณ์กำรแพรร่ ะบำดของของไวรัสโคโรนำ ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ในประเทศไทยและจังหวัดเชียงราย ทัง้ 16 อาเภอ โดยตาบลตับเต่า มีผู้ติดเชื้อกระจายอยู่ตามหมู่บา้ นต่าง ๆ และมแี นวโน้มคลี่คลาย เปน็ ไปในทางท่ีดี ขน้ึ แต่สถานการณ์ทั่วโลกและประเทศใกล้เคียง โดยเฉพาะอาเภอเทงิ มีเขตติดต่อ ประเทศเพ่ือนบ้านทยี่ ังมี ความรุนแรงอย่างต่อเนื่องในการเปิดภาคเรียนของสถานศึกษาให้มีการเรียนการ สอนตามปกติ 100% ดังนั้น จึงควรกาหนดให้มีแผนเผชิญเหตุรองรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค โควิด 19 ใน สถานศึกษาเพ่ือเป็นการเตรียมการและเตรียมพร้อมรองรับสถานการณ์ท่ีอาจจะเกิดข้ึนอัน เป็นแนวปฏิบัติ ตามมาตรการการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 อยา่ งเครง่ ครดั ๑. แนวปฏบิ ัติแผนเผชิญเหตุรองรับสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคโควิด 19 ในสถำนศึกษำ คอื 1. กำรปอ้ งกนั เช้อื โรคไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID – 19) จำกตำ่ งประเทศ • นักเรียนนักศึกษาต่างประเทศ/ต่างด้าวที่พักอาศัยอยู่ในประเทศไทยให้จัดการเรียน การ สอนตามปกติ สาหรับนักเรียนนักศึกษาที่ไม่ได้พักอาศัยอยู่ในประเทศไทย เมื่อ เข้า ประเทศไทยต้องรับการกักกันในสถานที่ที่รัฐจัดให้ (Statequarantine/Local quarantine) เป็นเวลา 10 วนั ข้อเสนอกำรพิจำรณำสิทธปิ ระโยชนส์ ำหรบั นักเรียนรหสั G • การไดร้ ับสทิ ธปิ ระกันสงั คมหรือประกันสขุ ภาพ • การใช้กองทนุ ของ ศธ. เพื่อซ้อื ประกนั สขุ ภาพให้นกั เรยี นรหัส G • การใชร้ ะบบการศึกษาทางไกลแทนการเข้ามาศึกษาในประเทศไทย • ด่านชายแดนทางเขา้ และ Organizational Quarantine • ประกันภยั โควดิ 19 ระยะเวลา 1 ปี 2. กำรปอ้ งกนั กำรแพรร่ ะบำดของโรคโควิด 19 ภำยในประเทศ • มีศูนย์เฉพาะกิจการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโค วิด 19 โดยสานักงานเขตพ้ืนที่เป็นจัดผู้ต้ังศูนย์เฉพาะกิจข้ึนมา ผู้บริหารสถานศึกษา ทกุ แห่งรว่ มเปน็ คณะกรรมการ • พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 • เปิดศูนย์รับฟังความคิดเห็นเก่ียวกับการจัดการศึกษาทางไกลในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคโควดิ 19 • จัดทาแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคโควดิ 19 • จัดทาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ชุดโปรแกรมและแพลตฟอร์มการเรียนรู้ครบวงจรหรือ ใบงานชดุ ความรู้
แผนเผชญิ เหตรุ องรบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๘ • จัดทาแนวทางการบริหารจัดการสาหรับโรงเรียนเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ ระบาดของโรคโควดิ 19 • มีแผนการเตรียมการรองรับนักเรียนจากต่างประเทศท่ีกลับเข้ามาเรียนในประเทศ ไทยของสถานศึกษาภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 • มคี ู่มือแนวทางการขับเคล่ือนการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ ระบาด ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 1๙) ของโรงเรียนเพียงหลวง 16 และแผน เผชิญเหตุ รองรบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) 3. กำรเฝำ้ ระวงั และกำรสอบสวนโรค • คัดกรองนักเรียนผู้บริหารครูบุคลากรและผู้เกี่ยวข้องมีการสวมหน้ากากการล้างมือ การเว้นระยะห่างการทาความสะอาด (ห้องเรียนห้องปฏิบัติการโรงฝึกงานอาคาร เรียน โรงอาหารโรงนอนพน้ื ทสี่ ว่ นกลาง) และลดความแออดั • มีแนวปฏิบัติสาหรับผู้บริหารครู และบุคลากรในสถานศึกษาในการดาเนินการ เกี่ยวกับโรคโควิด 19 เช่น จัดทาแนวทางการบริหารจัดการสาหรับโรงเรียนเพื่อ ปอ้ งกนั และควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 มาตรการคัดกรองสุขภาพด้าน สาธารณสุข การดาเนินการเมื่อมีกลุ่มเสีย่ งหรอื ผูป้ ว่ ยยืนยนั ในสถานศกึ ษา • การปดิ สถานศึกษาท่ีเกิดการระบาดและควบคุมการระบาดในสถานศกึ ษา • รายงานการประเมินสถานการณ์ผลการดาเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และให้ ข้อเสนอแนะแก่หน่วยงานต้นสังกัด และคณะกรรมการโรคติดต่อระดับจังหวัดเพื่อ การตัดสนิ ใจ 4. กำรสร้ำงควำมร่วมมือจำกทุกภำคส่วน • มีศนู ยป์ ระสานงานและติดตามขอ้ มลู ระหวา่ งสถานศึกษาและหนว่ ยงานตา่ ง ๆ • สถานศึกษาจับคู่โรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลตับเต่า ความ ร่วมมอื ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 • มมี าตรการของชุมชนในการปิดหมู่บ้าน (คนในห้ามออกคนนอกห้ามเข้า) โดยทา การ ปิดหมู่บ้านเพื่อป้องกันโรค COVID-19 ในกรณีที่พบว่าในพ้ืนท่ีตาบลตับเต่า มีการ แพรร่ ะบาดของโรคโควดิ 19 • สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นฝ่าย ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้อานวยการสถานศึกษา คณะครูและบุคลากร ทางการศึกษา นักเรียนแกนนาสุขภาพ ตัวแทน อสม.ประจาหมู่บ้านและตัวแทน ผู้ปกครอง
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๙ ๒. ตำรำงปฏิบัติแผนเผชิญเหตรุ องรบั กำรแพรร่ ะบำดของโรคโควดิ 19 ในโรงเรยี นเพยี งหลวง 16 1. กำรปอ้ งกนั เช้ือไวรัส โคโรนำ 2. กำรปอ้ งกันกำรแพร่ 3. กำรเฝ้ำระวังและ 4. กำรสร้ำงควำมรว่ มมือ ระบำดของโรคโควิด 19 กำรสอบสวนโรค จำกทกุ ภำคส่วน 2019 (โควิด 19) จำก ต่ำงประเทศ อำยในประเทศ • ครูต่างประเทศ ตอ้ งรบั การ - มีศูนย์เฉพาะกจิ การจดั - คัดกรองนักเรยี น - มีศนู ย์ประสานงานและ กกั กันในสถานท่ีท่ีรัฐ จัดให้ การศกึ ษาทางไกล ผบู้ ริหาร ครู บุคลากร ตดิ ตามข้อมลู ระหวา่ ง (Statequarantine) เปน็ เวลา 10 - พัฒนาระบบสารสนเทศ และผู้เก่ยี วข้อง มีการ สถานศึกษาและหน่วยงาน วนั (ถา้ มี) • มนี กั เรยี นนักศึกษา เพอื่ การบรหิ ารใน สวมหน้ากาก การล้าง ตา่ ง ๆ ตา่ งประเทศ/ตา่ งด้าวที่พัก อาศัย สถานการณ์การแพรร่ ะบาด มอื การเวน้ ระยะหา่ ง - สถานศึกษาจบั คู่ อยูใ่ นประเทศไทย ให้จดั การเรียน - เปิดศนู ยร์ บั ฟงั ความ คิดเห็น การทาความสะอาด โรงพยาบาลหรือ การสอน ตามปกติ สาหรับนกั เรียน เกยี่ วกบั การจดั การศึกษา และลดความแออดั • โรงพยาบาลส่งเสริม นกั ศึกษาท่ีไม่ไดพ้ ักอาศัย อยู่ใน ทางไกล มีแนวปฏบิ ัติสาหรบั สุขภาพตาบลถ้าลอดใน ประเทศไทยเม่อื เข้า - จดั ทาแนวทางการจัดการ ผู้บรหิ าร ครู และ ความร่วมมือป้องกนั การ ประเทศไทย ต้องรับการ เรียนการสอนทางไกลใน บคุ ลากรใน แพร่ระบาดของโรคโควดิ กักกันในสถานท่ีท่รี ฐั จัดให้ สถานการณ์การแพรร่ ะบาด สถานศึกษา ในการ 19 (Statequarantine/Local ของโรค ดาเนินการ เกย่ี วกับ - มมี าตรการของชมุ ชนใน quarantine) เปน็ เวลา - จดั ทาแพลตฟอรม์ การ โรคโควดิ 19 การปดิ หมู่บา้ น (คนใน 10 วัน (ถ้ามี) เรยี นรู้ชดุ โปรแกรมและ - การปดิ สถานศึกษาท่ี หา้ มออกคนนอกหา้ มเข้า) แพลตฟอร์มการเรยี นรู้ครบ เกดิ การระบาดและ โดยทาการปดิ หมูบ่ า้ นเพื่อ วงจรหรอื ใบงานชดุ ความรู้ ควบคมุ การระบาดใน ป้องกนั โรค COVID-19 - จดั ทาแนวทางการบริหาร สถานศกึ ษา ในกรณีที่พบว่าในพื้นท่ี จดั การสาหรบั โรงเรียนเพื่อ - รายงานการประเมนิ อาเภอปางมะผ้ามกี ารแพร่ ป้องกนั และควบคมุ การแพร่ สถานการณผ์ ลการดา ระบาดของโรคโควดิ 19 ระบาดของโรคโควดิ 19 เนนิ งานปญั หา - แผนการเตรยี มการรองรบั อปุ สรรค และ ให้ - สถานศกึ ษาแตง่ ตง้ั นกั เรียนจากตา่ งประเทศที่ ขอ้ เสนอแนะแก่ กลับเขา้ มาเรียนในประเทศ หนว่ ยงาน ตน้ สังกดั คณะกรรมการปอ้ งกนั ไทยของสถานศกึ ษา และคณะกรรมการ - แนวทางรบั มือตอบโต้ ภาวะ โรคติดตอ่ ระดับจงั หวดั การแพรร่ ะบาดของโรคโค เพ่ือการตัดสินใจ วิด 19 ประกอบด้วย เจ้าหนา้ ที่สาธารณสขุ เจ้าหนา้ ทอ่ี งคก์ รปกครอง ส่วนท้องถ่นิ ฝา่ ยปกครอง ฉุกเฉินกรณีการระบาด ของ คณะกรรมการสถานศึกษา โรคโควดิ 19 ใน สถานศึกษา
แผนเผชญิ เหตรุ องรบั สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๑๐ ๓. แนวปฏิบัติกำรผ่อนคลำยมำตรกำรสำหรับสถำนศึกษำ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ไม่ได้มกี ารแพร่ระบาดภายในประเทศเป็น ระยะเวลานาน และมีการคลายลอ็ กมาตรการตา่ ง ๆ พอควร จึงเห็นควรปลดล็อกให้มาเรียนในหอ้ งเรยี น แบบเตม็ รปู แบบได้ เพราะจัดทาใหจ้ ัดการเรียนการสอนได้อย่าง เตม็ ท่ี หากสลบั วันเรียนอาจส่งผลใหก้ าร เรยี นขาดความต่อเน่ือง ทงั้ นี้สถานศกึ ษาท่ีตอ้ งการจดั การเรียนการ สอนให้นักเรียนทุกคนในสถานศึกษาได้ ตามปกติแนวปฏิบัติสาหรับสถานศึกษาในการเปิดอาคารเรียนให้ นักเรียนมาเรียนในห้องเรียนหรอื On site 100 % มดี งั นี้ 1. ให้มกี ารจดั การเรยี นการสอนได้ปกติ Onsite 2. การจดั หอ้ งเรียนสามารถจดั ได้ตามจานวนนักเรียนปกติโดยจดั ระยะห่างใหม้ ากทส่ี ุดเทา่ ทจ่ี ะ ทาได้ 3. กรณหี ้องเรยี นเปน็ หอ้ งแอร์ให้เปดิ ประตูหน้าตา่ งชว่ งพกั เท่ียงหรือชว่ งท่ีไม่มกี ารเรียนการสอน ในหอ้ งนั้น 4. มาตรการเสรมิ ต้องเขม้ ขน้ ดงั น้ี - การคัดกรองแยกผปู้ ว่ ยส่งรักษา - การสวมหน้ากากอนามัยลา้ งมอื บ่อย ๆ ลดการจับกลุ่มพูดคยุ กนั โดยไมจ่ าเปน็ - ลดกิจกรรมร่วมกันหลายห้อง - กรณี มีการเดนิ เรยี นใหท้ าความสะอาดพน้ื ผวิ โตะ๊ เก้าอห้ี รืออปุ กรณ์ท่ีใช้รว่ มกันหลงั จบ การ เรยี นการสอนทุกคาบ - ทุกห้องเรยี นใหท้ าสะอาดพืน้ ผิวโตะ๊ เก้าอ้ี หรืออปุ กรณท์ ่ีใช้รว่ มกนั ทุกสองชวั่ โมง 5. ให้มีการบันทึกการป่วยด้วยโรคทางเดินหายใจการส่งต่อตรวจหาโควิด 19 และสรุปผลการ ตรวจทุกสัปดาห์ส่งต้นสังกัดกรณีมีเด็กป่วยหรือขาดเรียนมากกว่าปกติให้ประสานสานักงาน สาธารณสุขอาเภอหรือจงั หวดั ในพนื้ ที่ 6. ให้มีการดาเนินการผ่อนคลายมาตรการ กากับโดยคณะกรรมการสถานศึกษาและหน่วยงาน สาธารณสุขในพน้ื ท่ี 7. การปรับมาตรการให้พิจารณาตามสถานการณ์การระบาดและข้อมูลที่มีอยู่ในขณะน้ัน เป็น ระยะ ๆ
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๑๑ แนวปฏิบัติสำหรับสถำนศกึ ษำรองรับสถำนกำรณ์กำรแพรร่ ะบำดของโรคโควิด 19 จากสถานการณ์การ แพร่ระบาดของโรคโควดิ 19 ที่มีความรุนแรงมากข้นึ ท่ัวโลกและประเทศใกล้เคียง ซ่ึงประเทศไทย มีพื้นที่ชายแดน จานวนผู้ป่วยติดเชื้อสะสมเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่องอาจเป็นภาวะเส่ียงต่อการติดเช้ือ โรคโควิด 19 ในเขตพน้ื ทขี่ องชุมชนและสถานศึกษา อาจส่งผลกระทบตอ่ การจัดการเรียนการสอน ดงั น้ัน สถานศกึ ษา ควรมีแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนตามตารางประสานสอดคล้องตาม สถานการณ์ความรุนแรง ของการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ของสถานศึกษาจาแนกตาม สถานศกึ ษาแต่ละประเภทมดี งั นี้ สถานศึกษาประเภทการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน กล่มุ นักเรียน - สถานศกึ ษาจดั การเรียนการสอนตามปกติ (ครบคนครบห้องครบชัน้ เรียน) สีขาว-สเี ขียว - สถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในพื้นท่ีท่ีไม่พบผู้ติดเชื้อไม่น้อยกว่า 90 วัน (พ้ืนท่ีสีเขียว) ได้รับการพิจารณา อนญุ าตจากศนู ยป์ ฏิบัติการควบคมุ โรคจงั หวัดให้จดั การเรียนการสอนได้ตามปกติ - โรงเรียนมมี าตรการให้นักเรียน ครบู ุคลากรทางการศกึ ษาและเจ้าหน้าท่ที ุกคนสวมหน้ากากผ้า หรือ หนา้ กากอนามัยมีอุปกรณ์ล้างมอื และล้างมือบ่อย ๆ มีการทาความสะอาดห้องเรียน ห้องปฏิบตั ิการ หรือโรงฝึกงานและทาความสะอาดอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอนการฝึกปฏิบัติ ก่อนและหลังใช้ งานทุกคร้ัง ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข สีเหลอื ง - สีส้ม - สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยมีการสลับวันเรียนแต่ละชั้นเรียนหรือมีการ แบ่งจานวนนกั เรยี นให้เหมาะสมกบั การเวน้ ระยะหา่ ง ระหว่างกัน (Social distancing) - มีมาตรการให้นักเรียน ครูบุคลากรทางการศึกษาและเจ้าหน้าท่ีทุกคน สวมหน้ากากผ้าหรือ หนา้ กากอนามยั มอี ุปกรณล์ า้ งมอื และลา้ งมือบอ่ ย ๆ - มีการทาความสะอาดห้องเรียน ห้องปฏิบัติการหรือโรงฝึกงานและทาความสะอาดอุปกรณ์ที่ใช้ใน การเรยี นการสอนการฝกึ ปฏิบตั กิ อ่ นและหลงั ใช้งานทุกคร้ัง สแี ดง - สถานศกึ ษาจดั การเรียนการสอนแบบ On Air หรือ On Hand แนวทำงปฏบิ ัตกิ ำรปิดหรือไม่ปิดสถำนศกึ ษำกรณีเกดิ โรคโควิด 19 นิยำม - ผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด 19 หมายถึง ผู้ท่ีมีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการพบว่า ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 - ผู้สัมผัสที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง (High risk contact) (ผู้สัมผัสเสี่ยงสูง) หมายถึง ผู้สัมผัส ใกล้ชิดกับผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด 19 ตามลักษณะข้อใดข้อหนึ่ง ดังน้ี ผู้ที่เรียนผู้อาศัยร่วมห้องพัก หรือทางานในหอ้ งเดยี วกัน คลุกคลีกัน o ผ้สู ัมผัสท่ีมีการพูดคุยกับผู้ป่วยในระยะ 1 เมตร นานกว่า 5 นาที หรือถูกไอ จาม รด จาก ผู้ปว่ ยโรคโควดิ 19 โดยไม่มกี ารปอ้ งกนั เช่น ไมส่ วมหน้ากากอานามยั หรอื หน้ากาก ผ้า o ผู้ท่ีอยู่ในบริเวณท่ีปิดไม่มีการถ่ายเทอากาศ เช่น ในรถปรับอากาศ ในห้องปรับอากาศ ร่วมกับผู้ป่วยโรคโควิด 19 และอยู่ห่างจากผู้ป่วยไม่เกิน 1 เมตร นานกว่า 15 นาที โดย ไมม่ กี ารป้องกนั เชน่ ไมส่ วมหน้ากากอานามัยหรือหน้ากากผ้า
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๑๒ - ผู้สัมผัสที่มีความเส่ียงต่อการติดเช้ือต่า (Low risk contact) (ผู้สัมผัสเส่ียงตต่า) หมายถึง ผู้ที่ทา กิจกรรมอื่น ๆ ร่วมกับผ้ปู ว่ ยโรคโควดิ 19 แตไ่ ม่เข้าเกณฑ์ความเสยี่ งสงู - ผู้ใกล้ชิด ผู้ใกล้ชิดกับผู้สัมผัสเส่ียงสูง จัดเป็นผู้ที่มีความเส่ียงต่อการติดเช้ือต่า ผู้ใกล้ชิดกับผู้สัมผัส เส่ยี งต่า จัดเป็นผ้ไู มม่ ีความเส่ียง (No risk) แนวทำงปฏบิ ตั เิ ม่ือพบผปู้ ่วยยนื ยันโรคโควดิ 19 ในสถำนศึกษำ ให้ ปดิ หอ้ งเรียน/ ชั้นเรียน/สถานศกึ ษากรณีพบผูป้ ว่ ยยืนยันโรคโควดิ 19 1. เมื่อพบผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด 19 จานวน 1 รายขึ้นไปให้ปิดห้องเรียนเป็นเวลา 3 วัน เพ่ือทา ความสะอาด 2. เมื่อพบผู้ป่วยยืนยันโรคโควิด 19 มากกว่า 1 ห้องเรียนให้ปิดช้ันเรียนเป็นเวลา 3 วัน เพ่ือทา ความสะอาด 3. หากมีหลักฐานและความจาเป็นต้องปิดสถานศึกษาให้ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ โรคตดิ ตอ่ จงั หวัด ไมต่ อ้ งปิดห้องเรียน/ชัน้ เรียน/สถานศึกษา กรณีที่ไมพ่ บผู้ป่วยยนื ยนั โรคโควิด 19 ในสถานศึกษา โดยมีแนวทางดาเนินการดงั นี้ 1. ผู้สัมผัสท่ีมีความเส่ียงต่อการติดเชื้อสูง (Highrisk contact) ในสถานศึกษาดังน้ี ผู้สัมผัสที่มี ความเสี่ยงต่อการติดเช้ือสูง (Highrisk contact) ให้สังเกตอาการที่บ้านเป็น เวลาอย่างน้อย 10 วนั หากพบอาการผดิ ปกตใิ ห้ไปพบแพทยเ์ พอื่ ตรวจวินจิ ฉัย ระหวา่ ง รอผลให้กักตวั ทบี่ า้ น สถานศึกษา ดาเนินกิจกรรมได้ตามปกติและสื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าใจความเส่ียงและ แนว ทางการดาเนนิ การในระยะต่อไป 2. ผู้สัมผัสท่ีมีความเส่ียงต่อการติดเช้ือต่า (Lowrisk contact) ให้สังเกตอาการเป็นเวลา 3 วัน ไม่จาเป็นต้องหยดุ เรยี นและไมจ่ าเป็นต้องปดิ สถานศกึ ษา (รักษาตามอาการหายป่วยแลว้ เรียน ตอ่ ได้) 3. ผใู้ กลช้ ดิ ผู้ใกล้ชิดกับผู้สัมผัสเส่ียงสูงจัดว่ามีความเสี่ยงต่า ไม่จาเป็นต้องหยุดเรียนแต่ให้สังเกตอาการ เปน็ เวลา 3 วัน ผใู้ กลช้ ดิ กบั ผู้สมั ผัสเส่ยี งตา่ จดั วา่ ไมม่ คี วามเสี่ยง ไม่จาเปน็ ต้องหยดุ เรียนแต่ใหส้ ังเกตอาการเป็น เวลา 3 วัน หมำยเหตุ ทง้ั นีใ้ นทุกกรณขี อใหด้ าเนินการบนพนื้ ฐานของข้อมูลการสอบสวนและ สถานการณโ์ รคในพ้ืนที่ มำตรกำรหถกั ในกำรป้องกนั กำรแพร่ระบำดของโรคโควดิ -19 ในสถำนศึกษำ ประกอบดว้ ย 1. มมี าตรการคดั กรองวดั ไข้และอาการเส่ียงกอ่ นเข้าสถานศึกษา (อุณภมู ิไมเ่ กนิ 37.5 c) - กรณปี กติใหต้ ดิ สญั ลักษณผ์ ่าน
แผนเผชญิ เหตรุ องรบั สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๑๓ - กรณมี ีไขส้ งู กว่าปกติ ใหน้ ัง่ พกั 5 – 10 นาทแี ละวดั ซา้ - กรณีมีไข้สูงกว่า ปกติ หรือมีอาการของระบบทางเดินหายใจ ให้กันแยกไว้ต่างหากและบันทึก ข้อมูล และแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพ้ืนท่ีเพื่อรับตรวจสอบตามมาตรการของสาธารณสุข ตอ่ ไป 2. สวมหนา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามัยตลอดเวลา 3. จดั จุดลา้ งมอื หรือเจลแอลกอฮอล์อย่างเพยี งพอ 4. จดั ระยะหา่ งระหว่างบคุ คลอย่างน้อย 1 - 2 เมตร 5. ทาความสะอาดห้องเรยี น/พ้นื ผิวสัมผัสรว่ ม เปิดหน้าต่างประตู ระบายอากาศ 6. ไมจ่ ดั กิจกรรมรวมกลุ่มคนจานวนมาก เหลอื่ มเวลา ลดเวลาทากิจกรรม
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๑๔
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๑๕
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๑๖
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๑๗
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๑๘
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๑๙
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๒๐
แผนเผชญิ เหตรุ องรบั สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๒๑ ภำคผนวก
แผนเผชญิ เหตรุ องรบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๒๒ คาส่งั โรงเรยี นเพียงหลวง 16 ท่ี 037/2565 เรอ่ื ง แต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินการตามมาตรการและแนวทางเตรยี มความพร้อมการจัดการเรยี นการสอน ในวนั เปดิ ภาคเรียนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ภาคเรียนที่ 1 ประจาปีการศึกษา 2565 ………………………………………………………………………………… ด้วยผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงศึกษาธิการได้ร่วมประชุมหารือเรื่องการเปิดภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 เนื่องจากสถานการณ์โดยรวมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกใหมท่ ่ัวประเทศอาจจะมีความรุนแรงมากข้ึนในหลายพ้ืนท่ีและจะกระทบต่อการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน จากหนังสือสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้จัดทาแนวทางเตรียมความพร้อมการ จัดการเรียนการสอนในวันเปิดภาคเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ภาคเรียนที่ 1 ประจาปีการศึกษา 2565 เพ่ือสรา้ งความม่ันใจให้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และ ประชาชนทั่วไป ท้ังน้ี โรงเรียนเพียงหลวง 16 สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4 จึง ได้แต่งต้ังคณะกรรมการดาเนนิ การตามมาตรการและแนวทางการดาเนินการเพ่อื การเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข ดงั นี้ 1. ฝำ่ ยอำนวยกำร ประกอบด้วย 1.1 นายสรุ ิยา สมฤทธิ์ ผ้อู านวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ 1.2 นางสาวเกศรินทร์ บัวผัด รองผูอ้ านายการโรงเรียน รองประธานกรรมการ 1.3 นายโกศล เปก็ สาร ครู คศ. 3 กรรมการ 1.4 นางสาวนบั ดาว ปัญญะติ ครู คศ. 3 กรรมการ 1.5 นางสาวชไมพร วงศ์วุฒิ ครู คศ. 2 กรรมการ 1.6 นางสาวอจั ฉราพร อะทะวงศ์ ครู คศ. 2 กรรมการและเลขานุการ มหี น้ำที่ ดังนี้ อานวยการให้กจิ กรรมดาเนนิ สาเร็จตามวัตถุประสงค์
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๒๓ 2. ฝำ่ ยคณะกรรมกำรดำเนินงำน ประกอบด้วย 2.1 นางสาวอจั ฉราพร อะทะวงศ์ ครู คศ. 2 ประธานกรรมการ ครู คศ. 3 กรรมการ 2.2 นายโกศล เปก็ สาร ครู คศ. 2 กรรมการ ครู คศ. 3 กรรมการและเลขานกุ าร 2.3 นางสาวชไมพร วงศ์วฒุ ิ 2.4 นางสาวนับดาว ปัญญะติ มหี น้ำที่ ดงั น้ี ควบคุม กากับ ดแู ล แนะนาในการดาเนนิ งาน 5 ด้าน 3. ฝำ่ ยดำเนนิ งำนดำ้ นสขุ ภำพ ประกอบด้วย ครู คศ.2 ประธานกรรมการ 6.1 นางสาวอัจฉราพร อะทะวงศ์ ครู คศ.1 กรรมการ 6.2 นายหสั นัยน์ ปนั นา ครู คศ.1 กรรมการ 6.3 นางสาวสปุ ราณี ใจมขุ ครู คศ.1 กรรมการ 6.4 นางสาววริศรา พศิ จารย์ ครู คศ.1 กรรมการ 6.5 นางสาวศริ ิมาศ เตรยี มทนะ พนักงานราชการ กรรมการ 6.6 นางสาวนชุ นันท์ ชนะชยั เจรญิ กุล ครขู นั้ วกิ ฤตฯ กรรมการ 6.7 นางสาวรุ่งนภา วงศใ์ หญ่ ครูธรุ การ กรรมการและเลขานุการ 6.8 นางสาวนฤมล ลือชยั มหี นำ้ ที่ ดงั นี้ 1. เตรยี มความพรอ้ มตามมาตรการความปลอดภยั 6 มาตรการหลกั DMHT-RC 2. เตรียมความพรอ้ มตามมาตรการความปลอดภยั 6 มาตรการเสรมิ SSET-CQ 3. เตรียมความพร้อมการดาเนนิ ตาม 7 มาตรการเข้มงวด 4. ฝ่ำยดำเนนิ งำนด้ำนควำมปลอดภยั ของนกั เรียน ประกอบดว้ ย 4.1 นายอาทิตย์ แซล่ ิ้ม ครู คศ.1 ประธานกรรมการ กรรมการ 4.2 นางสาวศิรกิ ันยา เผ่าอนิ ทร์ ครู คศ.1 กรรมการ กรรมการและเลขานุการ 4.3 นางสาวธิดา ทาแกง ครอู ตั ราจา้ ง 4.4 นายสุเทพ เมืองดี ช่างไฟฟ้าช้ัน 3 มหี นำ้ ท่ี ดังน้ี 1. เตรียมแผนการดาเนินงานเรื่องความปลอดภัยรอบด้านในสถานศึกษา 2. สารวจจุดอันตรายในบริเวณโรงเรียน เส้นทางเดินไป-กลับ ของนักเรยี น 3. ประสานงานกบั หนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือดูแลและสร้างความรว่ มมือในการ ปอ้ งกนั แกไ้ ขปัญหาต่างๆ ให้เกิดความปลอดภยั กับนักเรียน 4. ดาเนนิ การเกี่ยวกบั การทาประกันชวี ติ และทาประกนั อุบัติเหตใุ ห้กบั นกั เรยี น
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๒๔ 4. ฝำ่ ยดำเนนิ งำนดำ้ นสงิ่ กอ่ สรำ้ ง สิง่ อำนวยควำมสะดวกและสภำพแวดลอ้ มในโรงเรยี น ประกอบด้วย 4.1 นายโกศล เป็กสาร ครู คศ.3 ประธานกรรมการ 4.2 นายอทิ ธฤิ ทธ์ิ รวมสขุ ครู กรรมการ 4.3 นายอาทิตย์ แซ่ลมิ้ ครู คศ.1 กรรมการและเลขนุการ มีหนำ้ ท่ี ดังน้ี 1. เตรยี มความพร้อมของสญั ญาณอนิ เทอรเ์ นต็ 2. ดูแลความสะอาดเรียบร้อยของอาคารเรียน ห้องเรียน อาคารประกอบ 3. ความพรอ้ มใช้งานของอาคารเรียน หอ้ งเรียน อาคารประกอบ 4. ดูแลระบบไฟฟา้ ประปา มคี วามปลอดภัย ใชง้ านได้ 5. กาจัดแหล่งเพาะพนั ธ์ุ และท่ีอยู่อาศัยของสัตวม์ ีพิษและสัตว์รา้ ยต่างๆ 5. ฝ่ำยดำเนินงำนด้ำนอำหำรกลำงวันโรงเรยี น/สถำนทร่ี บั ประทำนอำหำร ประกอบด้วย 5.1 นางสาวชไมพร วงศว์ ุฒิ ครู ค.ศ. 2 ประธานกรรมการ 5.2 นางสาววไิ ลพรรณ ธรรมสอน ครขู ัน้ วกิ ฤตฯ กรรมการ 5.4 นางสาวสายฝน จาเริญราช ครูธรุ การ กรรมการและเลขนุการ มีหนำ้ ที่ ดังน้ี 1. ประสานกับ อปท. ในการเปดิ -ปิด ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 เพือ่ ขอรบั การสนับสนุนงบประมาณโครงการอาหารกลางวัน 2. จัดทาคาส่ังแต่งตั้งผู้รับผิดชอบรับเงินอุดหนุนอาหารกลางวันโรงเรียนจากอปท. 3. การจัดที่นั่งโรงอาหาร โดยจัดเว้นระยะระหว่างกัน อย่างน้อย 1-2 เมตร (ยดึ หลัก Social Distancing) 4. การจดั จุดล้างมอื หรือมเี จลแอลกอฮอลส์ าหรับใช้ทาความสะอาดมือ บรเิ วณ ทางเขา้ โรงอาหาร 6. ฝำ่ ยดำเนนิ งำนด้ำนอำหำรเสรมิ (นม) โรงเรียน ประกอบด้วย 6.1 นางสาวนบั ดาว ปัญญะติ ครู ค.ศ. 3 ประธานกรรมการ กรรมการ 6.2 นางสาวรัตติยา ถาเปยี ง ครู LD กรรมการและเลขานุการ 6.3 นางสาวณัฐณชิ า ใจวังโลก พนกั งานราชการ มหี น้ำท่ี ดงั น้ี 1. ประสานกับ อปท. ในการเปิด-ปดิ ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 เพอื่ ขอรบั การสนับสนนุ งบประมาณโครงการอาหารเสรมิ (นม) 2. จัดทาคาส่ังแต่งต้ังผู้รับผิดชอบในการ รับ-ส่ง มอบนมโรงเรียนให้กับนักเรียน 3. โรงเรียนได้จัดเตรียมอุปกรณ์ในการจดั เก็บควบคุมอุณหภูมิของนมโรงเรียนก่อน ให้นักเรียนบรโิ ภค (ตแู้ ช่นม,ถงั แชน่ ม ฯลฯ) สาหรับนมถงุ และจดั เตรยี มสถานท่ีเก็บนม กลอ่ ง ได้ถูก สขุ ลกั ษณะ
แผนเผชญิ เหตรุ องรับสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๒๕ 8. ฝำ่ ยสรุปงำน ประกอบด้วย อะทะวงศ์ ครู คศ.2 ประธานกรรมการ 8.1 นางสาวอัจฉราพร ใจมุข ครู คศ.1 กรรมการ 8.2 นางสาวสปุ ราณี แซ่ล้มิ ครู คศ.1 กรรมการ 8.3 นายอาทติ ย์ เตรียมทนะ ครู คศ.1 กรรมการและเลขนุการ 8.4 นางสาวศิรมิ าศ มีหน้ำท่ี ดังน้ี สรุปงาน จดั ทารายงานเสนอผู้อานวยการโรงเรียน ให้คณะกรรมการท่ีไดร้ บั การแต่งตัง้ ดาเนินการด้วยความต้งั ใจ และเสยี สละ ทง้ั นี้ ต้ังแต่ วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 เป็นตน้ ไป สั่ง ณ วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 (นายสุริยา สมฤทธ์ิ) ผู้อานวยการโรงเรียนเพียงหลวง 16
แผนเผชญิ เหตรุ องรบั สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๒๖ ประกำศโรงเรียนเพยี งหลวง 16 เรอื่ ง มำตรกำรป้องกัน และเฝ้ำระวงั กำรแพร่ระบำดของเช้อื ไวรสั โคโรนำ ๑๙ ................................................................. มาตรการเพ่ือความปลอดภัยของนักเรียน ครู และบุคลากรของโรงเรียนเพียงหลวง 16 รวมท้ัง เพ่ือเป็น การร่วมรับผิดชอบต่อสังคมในการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัส COVID ๑๙ โรงเรยี นเพียง หลวง 16 จึงขอดาเนนิ การตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัส ดังกล่าว โดย 6 มาตรการหลัก 6 มาตรการเสรมิ 7 มาตรการเขม้ งวด และเฝา้ ระวังการแพร่ระบาดเช้อื ไวรัส COVID ๑๙ ดังน้ี 1. 6 มาตรการหลกั DMHT-RC 1. เว้นระยะห่าง 2. สวมหน้ากาก 3. ล้างมือ 4. คัดกรองวดั ไข้ 5. ลดการแออัด 6. ทาความสะอาด 2. 6 มาตรการเสรมิ SSET-CQ 1. ดูแลตนเอง 2. ใช้ช้อนกลางสว่ นตัว 3. กินอาหารปรงุ สกุ ใหม่ 4. ลงทะเบียนไทยชนะ 5. สารวจความเสยี่ งของนกั เรยี นท่เี ดนิ ทางมาจากพื้นท่ีเส่ยี ง 6. กักกันตนเอง 14 วันนบั จากการสมั ผัสหรอื อยู่ในพน้ื ทเี่ สย่ี งท่ีมกี ารระบาด 3. 7 มาตรการเขม้ งวด ของสถานศึกษา 1. สถานศกึ ษาผา่ นการประเมิน TSC+ (ประเมนิ 44 ขอ้ และไดร้ บั ใบ Certificate) 2. เน้นการจัดกิจกรรมแบบ Small Bubble 3. ใหบ้ รกิ ารตามหลักสุขาภบิ าลอาหาร 4. จดั การด้านอนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม 5. มสี ถานที่แยกกักตวั ในสถานศึกษา School Isolation 6. ควบคุมดูแลการเดินทางกรณมี กี ารเข้าและออก
แผนเผชญิ เหตรุ องรบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ๒๗ 7. มี School Pass สาหรับนักเรียน ครู และบุคลากร (ประเมินTST, ตรวจ ATK, ฉีด วคั ซีน ร้อยละ 85) ทั้งนี้ ตงั้ แตบ่ ัดน้ีเป็นต้นไป ประกาศ ณ วันท่ี 16 พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖5 (นายสรุ ยิ า สมฤทธิ์) ตาแหน่ง ผ้อู านวยการโรงเรียนเพยี งหลวง 16
Search
Read the Text Version
- 1 - 30
Pages: