หนา้ 1 จาก 16
หนา้ 2 จาก 16จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. เลอื กใชโ้ รงเรอื นสาหรับเลยี้ งสตั วไ์ ด้ถกู ต้องตามหลักการและกระบวนการเลยี้ งสัตว์แต่ละชนิด 2. จดั เตรียมอปุ กรณส์ าหรบั เลย้ี งสตั วไ์ ด้ถกู ตอ้ งตามหลกั การและกระบวนการเลยี้ งสัตว์แต่ละชนิด การเลือกสถานท่ตี ั้งฟารม์ สัตว์ เปน็ ปัจจัยหนึง่ ทีส่ าคัญตอ่ ความสาเรจ็ ของการเลยี้ งสตั ว์หากไดท้ ่ตี งั้ ฟารม์ ไม่เหมาะสม ปญั หาต่างๆ ย่อมจะเกิดขน้ึ มากมาย ในทานองเดยี วกนั เมอ่ื เลือกสถานทตี่ งั้ ฟาร์มได้เหมาะสมแล้วจะตอ้ งพิจารณาวางรปู แบบโรงเรือนตลอดจนการเลือกใช้อปุ กรณ์ตา่ งๆ ใหเ้ หมาะสมกบั สถานทีแ่ ละชนิดของสตั วท์ ี่จะเลยี้ ง1. หลักการสรา้ งโรงเรอื นเลย้ี งสตั ว์ การสรา้ งโรงเรอื นต้องเหมาะสมกับชนิด ประเภท และจานวนสตั วท์ ี่จะเล้ียง โดยพิจารณาถึงหลกั ทัว่ ๆ ไป ดังนี้ 1.1 ความสะอาด ส่งิ ท่ตี ้องคานึงถงึ ในการสร้างโรงเรือน คือ สภาพโรงเรือนสามารถทาความสะอาดได้ง่ายโดยเลือกใชว้ ัสดทุ ี่ทาความสะอาดไดง้ ่าย เชน่ พ้ืนสแลททาความสะอาดได้ง่ายกวา่ พน้ื คอนกรตี พน้ื คอนกรีตทาความสะอาดได้ง่ายกวา่ พื้นไมแ้ ละพ้นื ดินเป็นตน้ ในการออกแบบกอ่ สร้างตอ้ งคานึงถงึ หลักสุขาภิบาล โดยพจิ ารณาความลาดเทของพน้ื คอกและการระบายน้า โรงเรือนที่สรา้ งต้องไม่มซี อกมมุ ซง่ึ จะทาใหย้ ุ่งยากในการทาความสะอาด 1.2 ความสะดวกในการปฏบิ ตั งิ าน โรงเรอื นทีส่ รา้ งนอกจากทาความสะอาดไดง้ า่ ยแลว้ จะต้องออกแบบใหส้ ะดวกในการปฏบิ ัตงิ าน เชน่ หลังคาไม่ต่าจนเกินไป สภาพภายในสามารถเดินไปมาได้สะดวกโดยไม่ต้องออ้ มไปออ้ มมาทาให้เสียเวลาและโรงเรอื นท่ดี ตี อ้ งตอ่ เตมิ ไดใ้ นอนาคต 1.3 ความสบาย โครงสรา้ งโรงเรือนต้องอาศยั ความสบายของสัตว์ท่ีอาศยั อยู่เปน็ หลกั ดังนัน้ โรงเรือนที่สรา้ งตอ้ งระบายอากาศไดด้ ี เพอื่ ใหบ้ รรยากาศในโรงเรอื นเยน็ สบาย สามารถป้องกนั ฝนสาดได้ดี แดดไมส่ ่องมากเกินไปและต้องไมม่ ีศัตรูของสตั ว์รบกวน พ้ืนคอกไมข่ ดั มนั บรเิ วณรอบ
หนา้ 3 จาก 16โรงเรอื นตอ้ งแห้งสะอาด เลอื กใช้วัสดุมงุ หลงั คาทท่ี าให้สัตวอ์ ยูไ่ ดส้ บาย เชน่ กระเบอ้ื งจะเย็นสบายกวา่ สังกะสี นอกจากน้ขี นาดของโรงเรอื นจะตอ้ งเหมาะสมกบั จานวนสตั ว์ที่เลีย้ ง ความตอ้ งการพืน้ ที่ต่อตัวแตกตา่ งกนั ตามชนิด ประเภท ขนาดและอายขุ องสตั ว์ 1.4 ราคาถกู เลือกใชว้ ัสดุท่ีมรี าคาถกู และหาได้ง่ายในท้องถิ่น วสั ดุมคี วามแขง็ แรงทนทาน และต้องมีทีเ่ ก็บอาหาร ตลอดจนอุปกรณท์ ่จี าเปน็ ต่อการเลยี้ งสัตวค์ รบถ้วน คาวา่ “ราคาถกู ”ในที่นี้ไมไ่ ดห้ มายถึงโรงเรือนทใี่ ชค้ ่ากอ่ สรา้ งตา่ เพียงอย่างเดยี วแตต่ อ้ งคานงึ ถึงอายุการใชง้ านของโรงเรือนดว้ ย แล้วนามาเฉลี่ยเปน็ ราคาต่อปี โรงเรือนท่มี รี าคาตอ่ ปีตา่ แสดงว่าโรงเรือนน้ันราคาถูก ยกตัวอยา่ งเชน่ นายแดงสรา้ งโรงเรอื นขนาดกว้าง 6 เมตรยาว 30 เมตร เสาทาดว้ ยไม้ หลงั คามุงดว้ ยจาก ลงทนุ คา่ กอ่ สร้างไปทง้ั หมด 36,000 บาทประมาณการว่าโรงเรือนหลงั นม้ี อี ายุการใชง้ าน 3 ปี ดงั นั้นราคาเฉลีย่ ตอ่ ปขี องโรงเรือนนายแดงเทา่ กับ 12,000 บาท แต่ในขณะเดียวกัน นายเขียวสรา้ งโรงเรือน ขนาดเดยี วกนั กับของนายแดง แตน่ ายเขียวใชเ้ สาคอนกรีตและหลงั คามุงดว้ ยกระเบือ้ งอยา่ งดี ลงทุนค่ากอ่ สรา้ งไปทงั้ หมด 150,000 บาท ประมาณอายกุ ารใช้งาน 15 ปี ดงั นน้ั ราคาเฉลีย่ ตอ่ ปีของโรงเรือนนายเขยี วเท่ากับ 10,000 บาท จากตัวอย่างน้ีจะเหน็ ไดว้ ่าโรงเรอื นของนายเขยี วคา่ ก่อสร้างแพงก็จริง แต่อายกุ ารใช้งานมากเมื่อเปรยี บเทียบราคาเฉลี่ยตอ่ ปแี ล้ว โรงเรือนของนายเขยี วมรี าคาถูกกวา่ โรงเรือนของนายแดง2. ประเภทและแบบของโรงเรอื น 2.1 ประเภทของโรงเรอื น การจาแนกประเภทของโรงเรือนมีดงั น้ี 2.1.1 จาแนกตามลกั ษณะการใชง้ าน สามารถแบง่ ออกได้เปน็ 2 ประเภท ได้ดงั นี้ คอื 1) โรงเรือนรวม โรงเรือนรวมมีลกั ษณะเป็นโรงเรอื นหลังเดยี ว ขนาดใหญ่ภายในก้นั เป็นคอกยอ่ ยสาหรับสัตว์แต่ละกลุม่ อายุ โรงเรอื นแบบน้ีราคาจะถกู กว่าแบบอน่ื ๆ แต่เนื่องจากเป็นโรงเรือนทส่ี ัตวอ์ ยรู่ วมกนั จงึ มีโอกาสเกดิ โรคระบาดได้ง่าย เชน่ โรงเรอื นเลยี้ งโคทว่ั ไปในฟาร์มวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ทุกแห่งทว่ั ประเทศ 2) โรงเรือนเดย่ี ว ลกั ษณะโรงเรือนแบบน้ีคล้ายกบั แบบแรก แตม่ ีขนาดเลก็ กวา่สตั ว์แตล่ ะเพศ แต่ละอายุจะแยกกนั อยตู่ ามโรงเรอื นแต่ละหลงั เช่น โรงเรอื นสุกรพนั ธุ์โรงเรอื นสกุ รขนุ โรงเรอื นไก่ไข่ โรงเรอื นไก่กระทงและโรงรดี นมโคเปน็ ต้น โรงเรือนแบบนี้สามารถป้องกนั โรคต่างๆ ไดด้ ี แตเ่ ล้ียงสตั วไ์ ด้น้อย ต้นทนุ ในการกอ่ สรา้ งสูง
หน้า 4 จาก 16 2.1.2 จาแนกตามลกั ษณะการควบคมุ อณุ หภมู ิ โรงเรอื นเลี้ยงสตั ว์จาแนกตามลักษณะการควบคุมอณุ หภมู ิ สามารถแบง่ ออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1) โรงเรอื นแบบควบคมุ อณุ หภมู ไิ มไ่ ดห้ รอื โรงเรอื นแบบเปดิ เปน็ โรงเรอื นทพี่ บเหน็ โดยทว่ั ไป ท่จี ดั สร้างขึน้ มาเพ่ือใชเ้ ลย้ี งสัตว์ โรงเรือนในฟารม์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยเี กือบทุกแห่งในประเทศไทยสว่ นใหญย่ งั เป็นโรงเรอื นลักษณะน้ี 2) โรงเรือนแบบควบคมุ อณุ หภมู ิไดห้ รอื โรงเรอื นแบบปดิ โรงเรอื นแบบนีเ้ ป็นโรงเรือนท่สี ร้าง ขน้ึ มาโดยมุ่งเน้นการกาหนดทิศทางการถา่ ยเทของอากาศท่ีผ่านโรงเรือนเป็นหลกั ดังนัน้ การสร้างโรงเรือนแบบนีจ้ งึ นิยมสร้างแบบปิดมดิ ชดิ คอื ใหม้ ีชอ่ งอากาศเขา้ และออกในทิศทางที่ตอ้ งการ โดยชอ่ งทางท่ีอากาศเขา้ จะมีแผน่ ความช้นื กั้นอยู่และมนี ้าหล่อเลี้ยงตลอดเวลา สว่ นช่องที่กาหนดให้อากาศออกจะอย่ดู ้านตรงข้ามกับชอ่ งอากาศเข้า และติดตัง้ พดัลมดดู อากาศไว้ เพอื่ ดดู อากาศผ่านโรงเรือน สามารถต้ังค่าอุณหภมู ภิ ายในโรงเรือนได้ตามต้องการ และเลีย้ งสัตวต์ ่อพ้ืนที่ได้จานวนเพมิ่ มากข้ึนกว่าโรงเรือนแบบควยคมุ อุณหภมู ไิ มไ่ ด้ 2.2 แบบของโรงเรอื น โรงเรือนแต่ละประเภทสามารถจาแนกออกได้หลายแบบตามลกั ษณะรูปทรงของหลงั คาคอื 2.2.1 แบบเพงิ หมาแหงน โรงเรอื นแบบน้สี ร้างงา่ ยกวา่ โรงเรือนแบบอื่น มลี กั ษณะหลงั คาด้านหน้าสงู กวา่ด้านหลงั ตน้ ทุนค่าก่อสร้างตา่ มขี อ้ เสียคือถ้าหันหน้าเข้าในแนวทางของลมมรสมุ ฝนจะสาดได้มากและมีอายุการใช้งานส้นั 2.2.2 แบบหนา้ จว่ั เป็นแบบทส่ี ร้างยากข้นึ ลกั ษณะหลงั คาเปน็ รูปสามเหลีย่ มหนา้ จั่ว ค่าก่อสรา้ งสงูกว่าแบบแรกแตก่ นั แดดกันฝนได้ดีกวา่ โรงเรือนแบบน้มี ีข้อเสียคอื ค่าวัสดุและคา่ แรงงานจะสูงเมือ่ เปรยี บเทียบกับแบบเพิงหมาแหงน นอกจากนเ้ี ม่อื เล้ียงสตั วอ์ ณุ หภมู ิจากตัวสัตว์ท่ีแผ่ออกมารวมกับความร้อนท่หี ลังคาได้รับจากแสงแดดจะกลายเปน็ แหลง่ ของความรอ้ นท่ีอาจจะสะทอ้ นกลบั ลงมาทาใหส้ ตั ว์อยู่ไมส่ บายได้ ดงั นน้ั เพื่อแกป้ ญั หาดงั กลา่ วในปจั จบุ ันเกษตรกรผู้เล้ียงสตั ว์จึงนยิ มสรา้ งโรงเรือนท่มี หี ลังคาแบบหนา้ จั่วให้เป็นโรงเรือนแบบควบคุมอุณหภมู ิได้ 2.2.3 แบบหนา้ จว่ั 2 ช้นั เป็นโรงเรือนท่ีแก้ไขขอ้ บกพร่องของแตล่ ะแบบแลว้ จดั ว่าเปน็ แบบทดี่ ที ่สี ุดในปจั จบุ นั เพราะจ่วั ชน้ั บนเป็นท่รี ะบายอากาศภายในโรงเรอื นได้ดีกวา่ ทกุ แบบ แต่เปน็ แบบท่ีสิ้นเปลืองค่าใชจ้ า่ ยมากกวา่ แบบอืน่ ผ้ทู ี่จะเลือกใชโ้ รงเรอื นแบบนีค้ วรคานึงถงึ สภาพภมู ิประเทศและภูมิอากาศในฟาร์มของตนให้ดี ถา้ ลมโกรกอยู่เสมอกไ็ ม่ควรเลอื กใช้แบบนี้ เพราะสิ้นเปลอื งคา่ ใช้จา่ ยมากเกนิ ไป ใชแ้ บบหน้าจ่ัวกน็ ่าจะเพียงพอ
หนา้ 5 จาก 16 เพ่ือประหยดั ตน้ ทนุ และปรับปรงุ ใหโ้ รงเรอื นกันแดด กนั ลม กนั ฝนสาดได้ดีย่ิงขึ้น เกษตรกรบางรายจงึ ดัดแปลงตอ่ เติมรปู แบบหลังคาให้เหมาะสมต่อสภาพพ้นื ท่ีและนิยมเรียกโรง เรอื นที่มกี ารดัดแปลงรปู แบบหลังคาว่า แบบกลาย เชน่ แบบเพิงหมาแหงนกลายแบบหน้าจ่วั กลาย และแบบหน้าจ่ัวสองช้ันกลาย เปน็ ต้นหลังคาหน้าจ่ัว หลงั คาหนา้ จ่ัว หลงั คาหนา้ จั่วสองชน้ั ภาพ : แสดงรูปแบบหลงั คาโรงเรือน ท่ีมา : คานงึ หนดู าษ 2.3 ขอ้ ควรพจิ ารณาในการสรา้ งโรงเรอื นเลย้ี งสตั วช์ นดิ ตา่ งๆ ความแตกต่างของโรงเรือนเลีย้ งสตั ว์ข้ึนอยูก่ บั ปจั จยั ดังนี้ 2.3.1 ชนดิ ประเภท อายุและขนาดของสตั ว์ ชนดิ ประเภท อายุและขนาดของสตั ว์ทต่ี า่ งกัน จะมคี วามตอ้ งการความสะดวกสบายไม่เหมอื นกัน ตลอดจนพฤติกรรมที่แตกต่างกันจงึ ทาใหโ้ รงเรอื นสัตว์แตล่ ะชนิดไมเ่ หมอื นกัน 2.3.2 วิธกี ารเลย้ี งดทู ต่ี า่ งกัน วธิ กี ารเลยี้ งดูทีต่ ่างกนั เชน่ วิธีการใหอ้ าหาร ใช้วธิ กี ารให้อาหารสตั ว์ถึงคอกหรือปล่อยสตั วห์ าอาหารกินเองหรือวธิ กี ารเลยี้ ง เชน่ เลี้ยงไกไ่ ขใ่ นกรงตบั กบั เลี้ยงแบบปล่อยพืน้การสรา้ งโรงเรือนย่อมแตกต่างกนั
หน้า 6 จาก 16 2.3.3 สภาพภมู อิ ากาศแตล่ ะท้องถน่ิ การสรา้ งโรงเรอื นตอ้ งมีความแตกตา่ งกัน ตามสภาพภูมิอากาศแตล่ ะจังหวัด แต่ละภาคและหรอื แตล่ ะประเทศเพ่ือให้สัตว์สามารถอยูไ่ ด้อย่างสบายในสภาพภมู ิอากาศน้ันๆ 2.3.4 วัสดทุ ่ีใชใ้ นการกอ่ สรา้ งโรงเรอื น วสั ดุทใ่ี ชส้ รา้ งโรงเรอื นมหี ลายชนดิ จงึ ต้องสรา้ งโรงเรือนไปในลักษณะทแ่ี ตกต่างเพอื่ ให้สอดคลอ้ งกับวัสดทุ ี่ใช้ 2.3.5 วตั ถปุ ระสงคข์ องการเลยี้ งสตั วแ์ ตล่ ะประเภท วตั ถปุ ระสงคข์ องการเลยี้ งสตั วจ์ ะเปน็ ตัวกาหนดวา่ ควรจะสร้างโรงเรอื นแบบใดจงึ จะเหมาะสมกับสตั ว์ทีเ่ ลย้ี งเพอื่ วตั ถปุ ระสงค์นน้ั ๆ 2.3.6 ปรมิ าณสตั วท์ เี่ ลยี้ ง ปรมิ าณสตั ว์ทีเ่ ลีย้ งมมี ากน้อยไม่เท่ากนั โรงเรอื นท่ีสรา้ งย่อมจะแตกต่างกนั 2.4 ขนาดของโรงเรอื นเลย้ี งสตั ว์ ขนาดของโรงเรือนที่จะสรา้ งตอ้ งมีความสัมพันธ์กับจานวนสัตวท์ ี่เลย้ี ง และการถ่ายเทอากาศภายในโรงเรอื น โดยท่วั ไปโรงเรือนเลีย้ งสตั วค์ วรมีความกวา้ งไม่เกิน 10 เมตร เพราะถ้ากวา้ งเกนิ ไปกจ็ ะทาใหห้ ลงั คากว้างและลาดมากอากาศจะถ่ายเทไม่สะดวกในทางตรงกนั ขา้ มถ้าโรงเรอื นแคบเกนิ ไปก็จะกนั ฝนสาดไมไ่ ด้ ส่วนความยาวใหพ้ ิจารณาถึงความสะดวกต่อการจดั การเปน็ หลกั แต่จะสรา้ งโรงเรือนขนาดใดตอ้ งคานงึ ถึงความต้องการพื้นทโ่ี รงเรอื นของสตั ว์เปน็ สาคัญเพราะสตั วแ์ ต่ละชนดิ แตล่ ะประเภท มคี วามตอ้ งการพื้นที่ตอ่ ตัวของโรงเรือนแตกต่างกัน เชน่ ไก่ระยะไข่ (20-74 สปั ดาห์) เล้ยี งบนพืน้ คอนกรตี ใชพ้ ้นื ที่ 6-7 ตวั ต่อตารางเมตร ในขณะเดียวกนั หากเล้ียงบนกรงตับสามารถเลย้ี งไดถ้ ึง 20 ตัวต่อตารางเมตร หรือเลย้ี งไก่กระทงในโรงเรือนท่คี วบคุมอณุ หภูมิไม่ไดจ้ ะเล้ียงได้เพียง 8 -10 ตัวต่อตารางเมตร แต่หากเลยี้ งในโรงเรือนทส่ี ามารถควบคุมอณุ หภมู ไิ ด้สามารถเลยี้ งไดถ้ งึ 14-16 ตัวตอ่ ตารางเมตร เป็นตน้ ตัวอยา่ ง การคานวณพ้ืนทโี่ รงเรอื นเลีย้ งไก่กระทงในโรงเรือนแบบควบคุมอุณหภูมิได้จานวน 12,000 ตัว โดยกาหนดพ้ืนท่ี 1 ตารางเมตร เลย้ี งไม่เกิน 15 ตวั สามารถคานวณได้ดังนี้ 2.4.1 คานวณพนื้ ทที่ ต่ี อ้ งการ การคิดพืน้ ทส่ี ามารถคิดได้ดงั น้ี ไก่ 15 ตวั ตอ้ งการพืน้ ท่ี 1 ตารางเมตร ไก่ 12,000 ตวั ต้องการพ้นื ที่ 12,000/15 = 800 ตารางเมตร
หน้า 7 จาก 16 2.4.2 กาหนดความกวา้ งของโรงเรอื น สมมติว่าตอ้ งการสรา้ งโรงเรือนกว้าง 8 เมตร ก็นาความกว้างไปคานวณหาความยาวของโรงเรือน ซ่งึ ทาไดโ้ ดยนาพื้นทีท่ งั้ หมดตั้ง หารดว้ ยความกวา้ ง ผลที่ออกมาคอื ความยาวของโรงเรือนหลังท่ตี อ้ งการสร้าง (800/8 = 100 เมตร) ดังน้ันถ้าจะเลยี้ งไก่กระทงในสดั ส่วน15 ตวั ต่อพน้ื ท่โี รงเรอื น 1 ตารางเมตร จานวน 12,000 ตวั ต้องสร้างโรงเรอื นขนาดกวา้ ง 8เมตร ยาว 100 เมตร จานวน 1 หลงั 2.5 หลกั การจดั หมวดหมขู่ องโรงเรอื น การจัดหมวดหมู่ของโรงเรอื นเป็นหลกั เบ้ืองต้นในการจัดการฟาร์ม การจัดหมวดหมขู่ องโรงเรือนท่ีถกู ตอ้ งทาให้สะดวกในการปฏิบตั งิ าน สตั วอ์ ยู่ไดส้ บายและสตั วส์ ะอาดปราศ จากการติดตอ่ ของโรค การจดั หมวดหม่ขู องโรงเรือนควรคานงึ ถึงหลักการต่อไปน้ี 2.5.1 โรงเรอื นทอ่ี ยอู่ าศยั ของสตั วก์ บั สถานท่เี กบ็ อาหาร โรงเรือนทอ่ี ยอู่ าศยั ของสตั ว์กบั สถานทเี่ ก็บอาหารหรอื โรงผสมอาหาร ควรอยูใ่ นตาแหน่งที่สะดวกต่อการนาอาหารไปใช้เลย้ี งสตั ว์ 2.5.2 โรงเรือนรกั ษาสตั วป์ ว่ ย โรงเรอื นรกั ษาสัตวป์ ว่ ยแยกอยู่อยา่ งอิสระและอย่หู ่างจากโรงเรือนอืน่ เพอ่ืป้องกันการแพร่ระบาดของโรค 2.5.3 สถานทจี่ ดั เก็บเวชภณั ฑแ์ ละอปุ กรณท์ จ่ี าเปน็ สถานที่จดั เก็บเวชภัณฑ์และอปุ กรณท์ จ่ี าเปน็ กบั สตั ว์ในกลุ่มน้ันๆ ไว้เป็นประจาในโรงเรือนแตล่ ะหลัง ยกเว้นเวชภัณฑแ์ ละอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกนั หรือนานๆ ใชค้ ร้ังควรจดั เกบ็ไวใ้ นศูนย์กลางทีใ่ ดที่หน่งึ ซึง่ สะดวกในการนามาใช้งาน 2.5.4 คอกคลอด คอกคลอดควรจดั ให้อยู่ใกล้ผ้เู ลยี้ งมากทส่ี ุดเพอื่ สะดวกต่อการปฏิบตั งิ าน และช่วยเหลอื สัตว์เมอื่ มปี ัญหาได้ทนั ที 2.5.5 ระยะหา่ งระหวา่ งโรงเรอื น โรงเรือนแตล่ ะหลังควรอยู่ห่างกนั ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 เมตร เพื่อเปน็ การป้องกนั การแพร่ระบาดของโรค แตถ่ า้ อยู่หา่ งเกนิ ไปก็จะเสยี เวลาในการปฏิบตั งิ านและสน้ิ เปลอื งเนอื้ ที่ 2.6 ส่วนประกอบของโรงเรอื นเลย้ี งสตั ว์ โรงเรือนเลย้ี งสตั วม์ ักประกอบไปดว้ ยสว่ นสาคญั ดังต่อไปน้ี 2.6.1 เสา เสาโรงเรือนสามารถทาด้วยวสั ดตุ ่างกนั เชน่ ไมไ่ ผ่ ตน้ หมาก ไมเ้ นอื้ แข็ง เหล็กหรือคอนกรตี เสรมิ เหลก็ เสาจากวสั ดุแตล่ ะแบบย่อมมีข้อดขี ้อเสยี ต่างกนั กลา่ วคอื เสาไม้ เสาเหล็กมกั มปี ญั หาเร่ืองเสาขาดคอดินอาจแก้ไขได้โดยการหลอ่ คอนกรีตหมุ้ โคนเสาสูงจากพืน้ ดิน
หนา้ 8 จาก 16พอประมาณ ส่วนเสาคอนกรตี เสริมเหลก็ มคี วามคงทนถาวรดีมากแตม่ ีปญั หาในการสร้างเพราะไม่สามารถตตี ะปูไดต้ ้องใชน้ อ๊ ตยึดเทา่ นั้น ส่วนเสาไมเ้ นื้อออ่ น ไม้ไผ่ อายุการใช้งานจะส้ันเพราะมีความคงทนน้อย 2.6.2 หลังคา การสรา้ งหลังคาโรงเรือนแบบใดขนึ้ อย่กู ับวัตถุประสงค์และความเหมาะสมเพราะหลังคาทกุ แบบจะมสี ่วนประกอบทส่ี าคญั อยู่ 2 สว่ นคือโครงหลงั คาและวสั ดมุ งุ หลงั คา 1) โครงหลังคา หากสร้างเปน็ โรงเรือนช่ัวคราวอาจจะใช้ไม้ไผ่ ไม้รวก แต่ถ้าสร้างเป็นโรง เรอื นถาวรตอ้ งใช้โครงไม้เน้อื แขง็ หรือโครงเหลก็ กไ็ ด้ 2) วสั ดุมงุ หลังคา หากเป็นโรงเรอื นช่ัวคราวนิยมใชห้ ญา้ คา จาก ใบตองตึงเพราะอายุการใช้งานค่อนข้างสัน้ และทาใหอ้ ากาศภายในโรงเรอื นเย็นสบาย ถ้าเปน็ โรงเรือนถาวรนยิ มใชก้ ระเบ้ืองหรอื สงั กะสี 2.6.3 ผนงั โรงเรอื น สัตว์แตล่ ะชนิดจะใช้วัสดุกน้ั หรือผนังโรงเรอื น แตกต่างกนั 1) สัตว์ใหญ่ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งมผี นังโรงเรือน แต่จะใชไ้ ม้หรือเหล็กกน้ั ให้หา่ งพอไมใ่ ห้สตั ว์ลอดออกไปข้างนอกได้ เรยี กวา่ รั้ว 2) สัตว์เลก็ พวกแพะและแกะ วสั ดุกั้นโรงเรือนจะกน้ั แนวต้ัง หรอื ใช้ตาข่ายขนาดใหญแ่ ทน 3) สตั ว์ปีก วสั ดกุ ั้นโรงเรือนสัตว์ปกี นยิ มใชต้ าขา่ ยขนาดไม่เกนิ 1x1 น้วิ เพราะนอกจากจะเป็นการกกั บริเวณสัตว์แล้ว ผนงั โรงเรือนต้องสามารถปอ้ งกนั ศตั รูเข้ามาทาร้ายสัตว์ปกี และปอ้ งกนั สตั ว์ซึง่ เป็นพาหะนาโรคได้ด้วย 2.6.4 พ้นื โรงเรอื น พน้ื โรงเรือนถอื วา่ มคี วามสาคัญต่อการเลยี้ งสัตว์มาก พ้นื เปน็ สว่ นของโรงเรือนท่ีสัตว์ทุกชนิดต้องสัมผัสอยูต่ ลอดเวลา ในการสร้างพ้นื โรงเรือนนอกจากจะถกู ตอ้ งตามชนดิ ของสัตวแ์ ล้วจะตอ้ งคานงึ ถงึ ความทนทาน การสขุ าภบิ าลและความสะดวกสบายของสัตวเ์ ป็นหลกัโดยสามารถแบง่ พน้ื โรงเรือนได้ดังนีค้ ือพื้นคอนกรตี พ้นื ไม้ระแนง พ้นื ดนิ และพืน้ สแลต 1) พื้นคอนกรีต เปน็ พนื้ โรงเรอื นทน่ี ิยมใชม้ ากเพราะสร้างงา่ ย ทนทานและสะดวกในการดแู ลรกั ษาทาความสะอาดได้งา่ ย แต่สัตวอ์ าจได้รบั อันตรายไดถ้ า้ พนื้ นน้ั หยาบหรอืล่ืนเกนิ ไปจงึ นยิ มเทพ้นื คอนกรตี โดยไม่ขัดมัน และต้องมีความลาดเอียงประมาณ 2-3 องศาเพื่อป้องกันน้าขงั 2) พื้นไม้ระแนง นยิ มใชก้ บั โรงเรอื นแพะ แกะ โดยใช้ไมร้ ะแนงขนาด 1x2 นว้ิตเี ว้นชอ่ งหา่ งกันประมาณ 3/4 น้ิว เพอ่ื ใหม้ ลู แพะ แกะ หลน่ ลงขา้ งลา่ งได้ ทาให้โรงเรือนสะอาด ในทานองเดียวกันถ้าห่างเกนิ ไป เทา้ ของแพะ แกะ ลอดช่องลงไปทาให้เปน็ อนั ตรายได้
หน้า 9 จาก 16 3) พนื้ ดนิ เป็นพนื้ ท่ีนยิ มในอดีตโดยใชด้ นิ ถมเป็นเนินอัดแนน่ เพอื่ ป้องกนั ไม่ให้นา้ ท่วมขัง ปัจจบุ ันยังใชก้ นั บ้างในโรงเรือนโคกระบอื พืน้ ดินจะดูแลรกั ษาและทาความสะอาดได้ยาก ชนื้ แฉะง่ายเปน็ ที่สะสมของเช้อื โรค เปน็ ผลต่อสุขภาพของสตั ว์ทเี่ ลยี้ งในฟารม์ 4) พืน้ สแลต จัดเปน็ พ้ืนโรงเรือนท่ีทนั สมัยทีส่ ุด นยิ มใช้มากในฟารม์ ขนาดใหญ่ในปัจจบุ นั มพี ้นื สแลตท่ีทาจากปูนซเี มนต์ ทาจากพลาสตกิ แขง็ และพื้นสแลตทีท่ าจากเหล็กถกัทน่ี ยิ มมากคือทาจากปูนซเี มนตแ์ ละพลาสตกิ แขง็ พน้ื แบบนี้มขี อ้ ดคี อื ทาความสะอาดได้งา่ ยการระบายอากาศภายในโรงเรอื นดี โรงเรือนแหง้ สะอาด ในพื้นทเ่ี ท่ากนั สามารถเล้ยี งสัตวไ์ ด้จานวนมากตวั กวา่ พ้นื ชนิดอ่ืน พ้ืนชนดิ น้ีมขี ้อเสยี คือราคาแพง 2.6.5 วัสดรุ องพน้ื วัสดรุ องพนื้ ไมจ่ ดั เปน็ ส่วนประกอบของโรงเรอื นโดยตรง แตว่ สั ดุรองพืน้ มีความจาเป็นสาหรับสตั ว์ท่เี ลย้ี งบนพนื้ คอนกรีตและพ้นื ดนิ เพอ่ื ตอ้ งการใหส้ ตั ว์อยู่อยา่ งสบาย และสะดวกในการทาความสะอาด จาเป็นตอ้ งใชว้ สั ดุรองพืน้ โรงเรือนใหม้ คี วามหนาประมาณ 2-3นิว้ วสั ดรุ องพ้นื ทน่ี ิยมใช้ได้แก่ แกลบ ขี้กบ ขี้เลื่อย เปน็ ต้น จะใช้วัสดชุ นิดใดรองพื้นขนึ้ อย่กู ับฤดูกาลและสามารถหาได้ง่ายในทอ้ งถนิ่ รวมถึงความเหมาะสม เช่นนิยมใชแ้ กลบหรือขเ้ี ล่อื ยเปน็ วสั ดุรองพ้ืนเลย้ี งไก่กระทง แตจ่ ะใชข้ ้กี บรองพ้นื เลีย้ งเป็ดและไกไ่ ข่เป็นต้น3. เครือ่ งมอื และอุปกรณท์ ใี่ ชใ้ นการเลยี้ งสตั ว์ เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ในการเลย้ี งสัตว์ท่ีนิยมใช้โดยทวั่ ไปมดี งั น้ี 3.1 อุปกรณใ์ หน้ า้ ใหอ้ าหาร อุปกรณ์กล่มุ นีม้ อี ย่หู ลายแบบทัง้ แบบตดิ ตัง้ ถาวรและแบบเคล่อื นท่ีได้ แบบธรรมดาและแบบอัตโนมตั ิ วัสดุทใี่ ช้มีเหลก็ พลาสตกิ และคอนกรีต อุปกรณใ์ ห้น้าให้อาหารสัตวจ์ าแนกตามชนิดของสัตว์ดังนี้ 3.1.1 อุปกรณใ์ หน้ า้ โค กระบอื รางนา้ โคกระบอื อาจจะใช้ท่อซีเมนต์ปิดกน้ กอ่ อิฐฉาบปูนเปน็ อา่ งขนาดใหญ่ หรอืถา้ เปน็ โคท่ีเลย้ี งแบบผูกยนื โรงนยิ มใช้ท่ใี หน้ า้ แบบอัตโนมัติ ส่วนรางอาหารถา้ เป็นอาหารข้นจะกอ่ รางปูนเปน็ รางยาวตลอดโรงเรอื น สว่ นอาหารหยาบนิยมทารางใหอ้ ยู่ในระดับพอท่ีให้โคกินไดส้ ะดวกโดยใช้ไม้ระแนงตีห่างๆ 3.1.2 รางนา้ รางอาหารแพะ แกะ รางนา้ รางอาหารแพะ แกะเช่นเดยี วกบั โค กระบือ แต่มขี นาดเล็กกว่า เนื่องจากแพะ แกะ มนี สิ ยั ชอบกินอาหารในทสี่ งู จงึ จาเปน็ ตอ้ งสร้างรางอาหารหยาบใหส้ งู เพ่อื ปอ้ งกันการสญู เสีย
หน้า 10 จาก 16 3.1.3 รางนา้ รางอาหารสกุ ร สุกรพ่อพนั ธ์ุ แม่พันธใ์ุ ชร้ างอาหารธรรมดา เพราะต้องควบคุมปริมาณอาหารทใ่ี ห้สุกรขนุ อาจใชร้ างอาหารอตั โนมตั ิ สว่ นรางน้านิยมจบุ๊ นา้ อตั โนมัติจานวน 1 จุ๊บต่อสุกร 10 ตวั 3.1.4 รางนา้ รางอาหารไก่ รางนา้ รางอาหารไกข่ ้ึนอยู่กบั ประเภทและวิธีการเลี้ยง การเลี้ยงบนพน้ื นยิ มใช้กระปกุ นา้ ขนาด 1 ลิตร สาหรบั ไก่เลก็ ขนาด 1 แกลลอนสาหรับไกร่ ุ่นและขนาด 2 แกลลอนสาหรับไก่ใหญ่ หรืออาจใชร้ างอัตโนมัติ 1 รางแทนกระปุกขนาด 2 แกลลอนก็ได้ เพราะสะดวกและประหยดั เวลาในการปฏิบัติงาน สว่ นรางอาหารไก่เลก็ อาจใช้ถาดให้อาหารหรอื กล่องใสล่ กู ไก่กไ็ ด้ เมอ่ื ไกม่ ีขนาดใหญข่ น้ึ จงึ คอ่ ยเปลย่ี นมาใช้รางอาหารอัตโนมตั แิ ทน สว่ นไก่ทีเ่ ล้ียงบนกรงตับเป็นไกท่ ่ีโตเกือบเตม็ ที่ (ไกร่ นุ่ สาว) รางนา้ รางอาหารนยิ มใช้แบบรางยาวตลอดแนว 3.2 อปุ กรณใ์ นการกก การกกคือการให้ความอบอนุ่ แก่สตั ว์ ลกู สตั ว์เล็กๆ ที่ยงั ไม่แขง็ แรงมีความจาเปน็ อยา่ งยง่ิ ท่ตี ้องใหค้ วามอบอุน่ โดยเฉพาะสัตวป์ กี และสุกร วิธกี ารกกท่ีนิยมใชใ้ นปจั จุบนั มีดงั น้ี 3.2.1 ใชก้ ระแสไฟฟา้ อาจใชห้ ลอดไฟขนาด 60-100 วัตต์ หรือใชข้ ดลวดไฟฟา้ อปุ กรณ์หาซ้อื ได้ง่ายราคาถกู แต่สิ้นเปลอื งไฟมากคดิ รวมแลว้ ตน้ ทนุ จะสูง 3.2.2 ใชแ้ กส๊ อปุ กรณ์ทใ่ี ชซ้ ้อื หาได้ยาก ราคาเร่ิมต้นคอ่ นข้างสูงแตเ่ มือ่ รวมแลว้ ตน้ ทุนจะต่ากว่าใช้กระแสไฟฟ้า การกกทัง้ สองวธิ ีสว่ นใหญ่จะใชอ้ ุปกรณ์ทีม่ ฝี าหรือกระโจมครอบเพอื่ ใหค้ วามร้อนตกลงมายังบรเิ วณทตี่ อ้ งการ สาหรบั เกษตรกรรายย่อยไมส่ ะดวกในการใช้อปุ กรณ์ทั้งสองชนดิตามทก่ี ลา่ วมาแลว้ อาจจะใชต้ ะเกยี งหรือเตาถา่ นกไ็ ด้ 3.3 อุปกรณใ์ นการผสมอาหาร อปุ กรณ์กลมุ่ นปี้ ระกอบดว้ ยตาชงั่ เคร่อื งบดอาหาร พล่ัวและเครื่องผสมอาหารอปุ กรณผ์ สมอาหารควรมีทีเ่ ก็บตา่ งหากเพอื่ สะดวกในการผสมทาให้อาหารทไ่ี ด้สะอาดมีคุณภาพและสะดวกในการทจี่ ะนาไปเลยี้ งสตั ว์ 3.4 อปุ กรณใ์ นการตอนสตั ว์ อุปกรณใ์ นการตอนสัตวจ์ ะมีขนาดและความแตกตา่ งกันตามชนิดและจดุ ประสงค์ในการตอน อุปกรณใ์ นการตอนสัตวท์ ี่นยิ มใช้ พอจะจาแนกไดต้ ามชนดิ ของสตั ว์ ดงั น้ี 3.4.1 อุปกรณใ์ นการตอนไก่ อปุ กรณ์หรอื เครื่องมือตอนไก่มี 2 แบบ คือแบบผา่ ข้างและแบบฝงั ฮอร์โมน แบบผ่าขา้ งประกอบด้วย คันธนู ตะขอเก่ยี วปกี และขา มีดผ่าตัด คีมถา่ งแผล ห่วงเก่ยี วเมด็ อัณฑะ
หน้า 11 จาก 16ชอ้ นตกั เม็ดอัณฑะและยาฆ่าเชือ้ สว่ นแบบฝงั ฮอรโ์ มนประกอบดว้ ยเขม็ ฝังฮอร์โมน และฮอร์โมน 3.4.2 อปุ กรณใ์ นการตอนสุกร สกุ รนยิ มตอนโดยผ่าถงุ อณั ฑะเพือ่ เอาเมด็ อณั ฑะออก อปุ กรณท์ ี่จาเป็นตอ้ งใช้ประกอบด้วย โตะ๊ ตอน มีดผา่ ตดั คีมหนีบเสน้ เลอื ด ดา้ ยผกู เสน้ เลือด ยาฆา่ เชอื้ และยาโรยแผลปอ้ งกนั แมลง แต่ถ้าเปน็ สกุ รพ่อพันธน์ุ ยิ มตอนโดยใช้คีมตอนเชน่ เดยี วกับการตอนโค 3.4.3 อุปกรณใ์ นการตอนโค-กระบอื การตอนโค-กระบือในปัจจบุ นั นิยมใชค้ มี หนบี ทอ่ นานา้ เชอื้ ใหข้ าด อปุ กรณ์ที่จาเปน็ ตอ้ งใช้ประกอบด้วย คีมตอน เชอื กบงั คับ ยาฆา่ เช้ือและยาโรยแผลปอ้ งกนั แมลง คมี ตอนโค กระบอื ภาพ : คมี ตอนสตั ว์ ที่มา : กิสส์ มารเ์ ก็ตติ้ง (ม.ป.ป.) 3.5 อุปกรณใ์ นการทาเครอ่ื งหมาย การทาเครอื่ งหมายมีทง้ั แบบชว่ั คราวและแบบถาวรการทาเครอ่ื งหมายแตล่ ะวธิ จี ะเหมาะสมกับสตั ว์ต่างประเภท ตา่ งชนิด ตา่ งอายุกนั โดยทัว่ ไปอปุ กรณ์ในการทาเคร่อื งหมายที่นิยมมดี ังนี้ คอื 3.5.1 อุปกรณท์ าเครอื่ งหมายบรเิ วณใบหู อุปกรณท์ าเครื่องหมายบรเิ วณใบหเู ชน่ ชุดสกั เบอร์หู กรรไกรตัดเบอร์หู และป้ายตดิ เบอร์หู 3.5.2 อปุ กรณท์ าเครอ่ื งหมายบรเิ วณปกี อปุ กรณ์ทาเครอ่ื งหมายบริเวณปีก เชน่ ป้ายตดิ ปกี ไก่ 3.5.3 อุปกรณท์ าเครอ่ื งหมายบรเิ วณลาตวั อุปกรณ์ทาเครื่องหมายบรเิ วณลาตัว เช่น ชุดตีเบอร์รอ้ น ชดุ ตีเบอรเ์ ยน็ ที่ตีไหลส่ กุ รและแท่งสีเขียนตัวสตั ว์ 3.5.4 อปุ กรณ์ทาเครอ่ื งหมายในตาแหนง่ อนื่ ๆ อปุ กรณท์ าเครื่องหมายในตาแหนง่ อนื่ ๆ เช่น ชดุ ตีเบอร์เขา และปา้ ยโซ่คอ
หนา้ 12 จาก 16คมี สักเบอรห์ ู คมี ตดิ ปา้ ยเบอรห์ ูคีมดงึ จมูกภาพแสดงอปุ กรณท์ าเครอื่ งหมายสตั ว์ ทีม่ า : กสิ ส์ มาร์เก็ตติง้ (ม.ป.ป.) 3.6 อปุ กรณ์ เครอื่ งมอื และเวชภณั ฑร์ กั ษาสตั ว์ เปน็ อุปกรณ์ที่ใชใ้ นการรักษาสัตว์และให้วัคซนี สตั ว์ ประกอบดว้ ยปรอทวดั อุณหภมู ิสัตว์เทปประเมนิ น้าหนกั สัตว์ ท่ีกรอกยาสัตว์ เข็มฉีดยา กระบอกฉดี ยา ทส่ี อดยาเขา้ มดลกู หมอ้ ตม้นา้ รอ้ น อุปกรณ์ผา่ ตดั เข็มหยอดวัคซนี ไก่และเขม็ แทงปกี ไก่เปน็ ตน้ 3.7 อปุ กรณช์ ว่ ยคลอดและจดั การหลงั คลอด ประกอบด้วยเครื่องมอื ตรวจการต้งั ทอ้ ง คีมดงึ ช่วยคลอด โซ่ช่วยคลอด คมี ตดั หางสุกรและคีมตดั เขย้ี วสุกรเป็นตน้ 3.8 อปุ กรณต์ ดั แตง่ รกั ษากบี เปน็ อปุ กรณท์ ใ่ี ชต้ ดั แต่งรักษาใหก้ บี อยู่ในรูปทรงปกติ ประกอบด้วย คีมตดั กีบ มีดปาดกบี ตะไบแต่งกบี กรรไกรตดั แต่งกีบและมีดตัดแต่งกบี เป็นตน้ 3.9 อุปกรณบ์ งั คบั สตั ว์ เพ่อื สะดวกในการปฏบิ ตั ิตอ่ สัตว์ จะต้องบงั คับใหส้ ตั ว์อย่นู ่ิงพอท่ีจะปฏิบตั ิการตา่ งๆได้อปุ กรณก์ ลุ่มนีป้ ระกอบด้วยคมี ดึงจมูกโค หว่ งจมูกโค ขลุมโค ท่ถี า่ งปากโค กา้ นป้องกันโคเตะลวดมดั ปากสกุ ร ทไ่ี ล่ต้อนสตั ว์ ซองบงั คบั สัตว์ เปน็ ต้น คมี ดงึ จมูกโค ทถ่ี า่ งปากโค ห่วงจมูกโค คีมดงึ จมกู คมี ดึงจมูกภาพแสดงชดุ อุปกรณบ์ ังคับสตั ว์ ท่มี า : กสิ ส์ มาร์เกต็ ตงิ้ (ม.ป.ป.)
หน้า 13 จาก 16 3.10 อปุ กรณผ์ สมเทยี ม อุปกรณผ์ สมเทียมประกอบด้วยเคร่ืองมอื ตรวจการเปน็ สดั ชดุ รดี น้าเชอ้ื ท่อยางผสมเทยี มสกุ ร ถงั เกบ็ นา้ เชื้อแช่แข็ง ถังไนโตรเจนเหลว ปืนฉีดน้าเชอ้ื แช่แข็ง ถงุ มอื ผสมเทียมเป็นต้น กรรไกรฯกระติคนา้ ร้อน ถงั สนาม ถังเกบ็ ไนโตรเจน กระบอกเกบ็ ปืนฯ แซนนซิ าร่ชี ีท ปืนผสมเทยี ม พ ลา ส ต ิกช ที ถงุ มือ ผา้ กนั เป้ือนรองเทา้ บทู ภาพ แสดงอุปกรณ์ผสมเทียมโค ท่ีมา : พรรณพิไล (2548)
หนา้ 14 จาก 16 3.11 อุปกรณอ์ นื่ ๆ ทจ่ี าเปน็ 3.11.1 อุปกรณอ์ น่ื ๆ ทจ่ี าเปน็ ในสตั วใ์ หญ่ อุปกรณอ์ น่ื ๆ ท่จี าเป็นในสัตวใ์ หญ่ เช่น เคร่อื งรดี นม ถงั นม ชุดตรวจสอบคุณภาพน้านม อปุ กรณท์ าลายเขา เปน็ ต้น คมี ตดั เขาโค ท่ีสญู เขาไฟฟา้หลอดควกั เขาลูกโค คมี ตัดเขา คมี ตัดเขา เขา เขา ท ี่เ จ า ะ ก ระ เ พ า ะ โ ค คมี ตัดเขา แทง่ แมเ่ หล็ก ที่ถา่ งชอ่ งคลอดท่ชี ๊อตไลต่ อ้ นสตั ว์ ท่ีป้อนแท่งแมเ่ หล็ก ภาพแสดงอปุ กรณท์ จ่ี าเปน็ ถ้วยตรวจนา้ นมอักเสบ สาหรับสตั ว์ใหญ่ ท่ีมา : กิสส์ มารเ์ กต็ ตงิ้ (ม.ป.ป.)
หนา้ 15 จาก 16 3.11.2 อุปกรณอ์ น่ื ๆ ท่ีจาเปน็ ในสตั วเ์ ลก็ อุปกรณ์อ่ืนๆ ที่จาเป็นในสตั ว์เล็ก เชน่ เคร่ืองวดั ความหนาไขมันสันหลังสกุ รซองคลอด และคอกอนุบาลสกุ ร เป็นต้นชดุ รีดนา้ เชอ้ื สกุ ร เทปวดั นา้ หนกั ไฟฉายสอ่ งชอ่ งคลอดเครือ่ งตรวจการเป็นสัด เครอ่ื งตรวจวัดไขมนั สนั หลังสุกร ค ีม ต ัด เ บ อ ร์ห ู ภาพแสดงอุปกรณท์ ี่จาเป็น สาหรับสัตว์เลก็ ทีม่ า : กสิ ส์ มาร์เก็ตต้งิ (ม.ป.ป.) 3.11.3 อุปกรณอ์ นื่ ๆ ทีจ่ าเปน็ ในสตั วป์ กี อปุ กรณ์อน่ื ๆ ที่จาเปน็ ในสัตว์ปีก เชน่ เครื่องฟกั ไข่ ทส่ี อ่ งไข่ แผงใส่ไข่ เครื่องตดั ปาก กรงตับ รังไข่ เปน็ ตน้ทีใ่ หน้ า้ และใหอ้ าหาร เขม็ หยอดจมูก เข็มฝงั ฮอรโ์ มน ไก่ ทใี่ หน้ า้ และใหอ้ าหาร ทใี่ หน้ า้ และใหอ้ าหาร ไกไ่ ก่ ไก่ไก่ เขม็ ใหว้ คั ซนี โดยวธิ แี ทงปกี ทีใ่ ห้นา้ และใหอ้ าหาร ไก่ ไก่ค ีม ต ิด เ บ อ ร์ป ีก ไ ก ่ ภาพแสดงอุปกรณท์ ีจ่ าเปน็ สาหรบั สตั วป์ กี ทมี่ า : กสิ ส์ มาร์เก็ตติง้ (ม.ป.ป.)
หน้า 16 จาก 16 3.11.4 อปุ กรณท์ วั่ ไปทใ่ี ชใ้ นฟารม์ เช่น สอ้ มโกยหญ้า พล่ัว สายยาง ไม้กวาด ไม้กวาดหยากไย่ ผา้ กันเปอื้ น และรองเทา้ บูต๊ เป็นตน้ อุปกรณ์ตา่ งๆ ตามท่ีกลา่ วมาแลว้ มีหลายชนิด จะตอ้ งใช้ใหถ้ ูกต้องและเหมาะสมกบั ชนิดของสัตว์ เพราะอุปกรณบ์ างชนิดสามารถใช้ร่วมกนั ได้ แต่บางชนดิ ก็จะใช้เฉพาะสัตวไ์ ม่สามารถใช้รว่ มกันกับสัตวช์ นิดอ่ืนได้ ควรจดั เกบ็ อุปกรณ์ต่างๆไว้ในสภาพที่พร้อมจะใช้งานตลอดเวลา หม่นั ดูแลรกั ษาและควรทาความสะอาดทันทีหลงั ใช้งานเสรจ็ พร้อมเกบ็เขา้ ทเ่ี ดิมเพื่อสะดวกในการใช้งานครง้ั ต่อๆ ไปสรปุ การเลย้ี งสตั ว์ตอ้ งสร้างโรงเรอื นใหส้ ตั วอ์ ย่อู ย่างสบาย ปลอดภยั มีขนาดถูกตอ้ งตรงตามชนิด ประเภทของสตั วท์ ีเ่ ล้ยี ง มรี าคาถกู และตอ้ งเลือกอุปกรณ์ให้ถูกตอ้ ง เพียงพอตามชนิดและประเภทของสตั วน์ นั้ ๆแบบฝกึ หดั /คาถามท้ายบท 1. หากนกั ศกึ ษาตอ้ งการสร้างโรงเรือนเลยี้ งสัตว์ นกั ศกึ ษาจะเลือกใช้โรงเรอื นแบบใดเพราะเหตใุ ด 2. หากนักศึกษาต้องการเลย้ี งไกก่ ระทงจานวน 5,000 ตัว ต้องจดั เตรียมอปุ กรณ์ใดบ้างจานวนเทา่ ใดแหลง่ ความรเู้ พม่ิ เตมิกิสส์ มาร์เก็ตตงิ้ ,บรษิ ทั . (ม.ป.ป.). แคตตาลอ็ คอุปกรณต์ า่ งๆ ในการผลติ สตั ว.์ ม.ป.ท. (เอกสารพิมพแ์ จกเพอื่ การโฆษณา)คณาจารย์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.์ (2532). รวมเรอื่ งโคเนอื้ . พิมพค์ รงั้ ที่ 3. นครปฐม : ศนู ยส์ ่งเสรมิ และฝกึ อบรมการเกษตรแหง่ ชาต.ิปฐม เลาหเกษตร. (2540). การเลยี้ งสตั วป์ กี . พิมพค์ ร้ังที่ 3. นนทบุรี.: สหมิตรออฟเซท.พรรณพิไล เสกสิทธ์ิ, บรรณาธิการ. (2548). การผสมเทยี มโค. ม.ป.ท.สรุ ชน ตา่ งวิวฒั น,์ อารกั ษ์ ชัยกุล และสุวิทย์ อโนทยั สินทวี. (2546). การเลยี้ งแพะ. พิมพค์ ร้ังท่ี 6. กรงุ เทพฯ : ชุมนุม สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย. (เอกสาร คาแนะนา กรมปศุสตั ว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ)์สุวรรณ เกษตรสวุ รรณ และคณาจารยม์ หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (3535). การเลยี้ งไก.่ พิมพค์ ร้งั ที่ 7. กรงุ เทพฯ : ประชาชน.สวุ ิทย์ เฑียรทอง. (2536). หลกั การเลยี้ งสตั ว.์ พมิ พค์ รงั้ ท่ี 2. กรุงเทพฯ : โอ เอส พร้นิ ต้งิ เฮ้าท.์
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: