หนา้ 1 จาก 17
หน้า 2 จาก 17 ในปจั จบุ นั การเล้ยี งสตั วเ์ ป็นอาชพี ทางการเกษตรแขนงหน่ึง ทไ่ี ด้รับความนยิ มคอ่ น ข้างมากเพราะเกษตรกรผเู้ ล้ยี งสตั วเ์ ขา้ ใจดวี า่ อาชพี การเลีย้ งสตั วเ์ ป็นอาชีพ ท่ีดีกวา่ การปลูกพืชหลายประการคือ การเล้ยี งสตั ว์ใช้พน้ื ทีน่ อ้ ยไมต่ อ้ งเลือกฤดูกาล เลีย้ งไดท้ ุกสภาพพื้นที่ ลงทุนน้อย และมตี ลาดทีแ่ น่นอนกวา่ การปลูกพืช จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายความเป็นมาและประโยชนข์ องการเล้ียงสตั วไ์ ด้ 2. อธิบายสภาวะการเลี้ยงสัตวข์ องประเทศไทยและตา่ งประเทศได้ 3. แสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกับแนวโนม้ การเลยี้ งสตั วใ์ นอนาคตได้ 4. วางแผนเริม่ ต้นเล้ยี งสัตวไ์ ดถ้ กู ตอ้ งตามหลักการ 5. เลือกทีต่ งั้ ฟารม์ และวางผงั ฟารม์ เลี้ยงสตั วต์ ามหลักการ 6. บอกแหลง่ เงนิ ทนุ มาดาเนินการฟารม์ 7. สามารถวเิ คราะห์ตลาดท่ีเหมาะสมต่อการเลี้ยงสตั ว์แต่ละชนดิ ได้ 8. บอกหน่วยงานและแหลง่ วชิ าการท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การเลยี้ งสัตวท์ ใี่ กลแ้ ละสะดวกได้
หน้า 3 จาก 17 1. ความเปน็ มาของการเลีย้ งสตั ว์ การเล้ยี งสตั ว์เรม่ิ มาตั้งแต่เม่อื ใดไม่มีหลกั ฐานยนื ยนั ได้ ตอ่ มาเม่อื มนุษยส์ ารวจพบภาพแกะสลกั ภาพวาดตามผนงั ถา้ ทมี่ นุษยเ์ คยอาศัย และจากซากกระดูกทปี่ ะปนอยใู่ นหมู่บา้ นโบราณในยคุ กอ่ นประวัติศาสตร์ ทาใหน้ ักวชิ าการเกี่ยวกบั มนุษยส์ าขาตา่ งๆ สรปุ ความเห็นตรงกนั ว่า มนษุ ย์เรม่ิ มีการเลย้ี งสตั วแ์ ละเพาะปลกู พืช มานานหลายพันปี โดยในช่วงแรกๆ ที่มนุษยถ์ ือกาเนิดมา มนษุ ย์ยังไมร่ จู้ ักนาเนื้อสัตว์มาเปน็ อาหาร ในยคุ ตอ่ ๆ มามนษุ ย์เริ่มจบั สตั ว์กนิ เปน็ อาหาร แตย่ งั ไมร่ จู้ กั การเลี้ยงสตั ว์และเพาะปลกู พชื เพราะมนุษยด์ ารงชีพด้วยการหาสงิ่ที่มอี ยู่ตามธรรมชาติเปน็ อาหารและใชถ้ า้ เป็นทอ่ี ยู่อาศัย เมอ่ื ความอดุ มสมบรู ณ์ตามธรรมชาติเร่ิมลดน้อยลง มนษุ ยจ์ ะรอ่ นเรไ่ ปหาทีอ่ ยูใ่ หม่ เปน็ อย่างน้เี รื่อยไป ดังนน้ั หน้าทีห่ ลักของมนุษย์ในอดตี คือ กิน นอน และผสมพนั ธุ์ เม่อื มีเวลาในการผสมพันธุ์มาก จานวนของมนษุ ยจ์ ึงเพิม่มากขน้ึ เร่ือยๆ มีผลให้มนษุ ย์เรม่ิ มคี วามย่งุ ยากในการร่อนเร่และหาอาหาร จากเหตผุ ลนเ้ี องทาให้มนุษย์เรมิ่ อยูเ่ ป็นหลักแหล่ง และเรม่ิ มกี ารนาสัตว์ทไี่ ด้จากการลา่ และยังมชี วี ติ อยู่มาผกู ไว้ใกล้ที่อยู่อาศัย เพื่อกกั ตนุ ไว้เปน็ อาหาร เม่ือสตั วต์ า่ งๆ ไดอ้ ยู่ในความดูแลของมนุษย์นานๆ เขา้กม็ ีการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมเดิมจากสัตวท์ ม่ี นี สิ ยั ดุร้าย ตื่นตกใจงา่ ย กจ็ ะมีนสิ ัยเชื่องชา้ ขึน้จากสตั วป์ ่าก็คอ่ ยๆ เปลย่ี นเปน็ สตั ว์เลีย้ ง มีการผสมพันธุ์แพรพ่ ันธ์ุเพ่ิมจานวนขึน้ เม่อื มนษุ ย์อพยพถิน่ ฐานก็จะนาสตั ว์เหล่าน้ตี ามไปด้วย ดงั น้ันหน้าตารูปร่างของสตั ว์จงึ ปรบั ตวั เปล่ยี นแปลงไปตามสภาพแวดลอ้ ม สตั วแ์ ต่ละชนดิ จึงแบ่งออกเปน็ หลายประเภทหลายพนั ธุ์ มีลกั ษณะแตกต่างกัน ดงั ปรากฏให้เห็นทั่วไปในปัจจุบนั 2. ประโยชนจ์ ากการเล้ียงสัตว์ 2.1 ใชผ้ ลผลติ เปน็ อาหาร มนษุ ย์สามารถใช้ผลผลิตจากสัตว์เกือบทุกสว่ นมาเปน็ อาหาร แต่ที่นิยมบรโิ ภคเป็นอาหารโดยท่ัวไปคอื เน้ือ นา้ นม และไข่ ผลผลติ เหลา่ น้ลี ว้ นแตม่ คี ณุ คา่ ทางอาหารสงู ทงั้ สน้ิ 2.1.1 สตั วท์ ี่นยิ มเลยี้ งเพอื่ ใช้เน้อื เป็นอาหาร สตั วท์ ่ีนยิ มเลีย้ งเพ่อื ใชเ้ น้ือเปน็ อาหารได้แก่ ไก่ สกุ ร โค กระบอื แพะ แกะและกระต่าย ซ่ึงส่วนประกอบทางโภชนะของเน้อื สตั วแ์ ต่ละชนิดยอ่ มแตกตา่ งกนั จากการวิเคราะห์พบวา่ เน้อื กระต่ายมโี ปรตีนสูงทสี่ ดุ เน้อื ไกม่ ีโปรตนี รองลงมา สว่ นเน้ือโค เน้อื แกะและเนอ้ื สกุ รมีโปรตีนท่ีลดหล่นั กันลงมาตามลาดบั หากพิจารณาสว่ นประกอบท่ีใหพ้ ลงั งาน โดยเฉพาะผบู้ ริโภคทีก่ ลัวความอ้วน เน้อื กระตา่ ยและเน้อื ไก่นา่ สนใจทีส่ ุดเพราะเน้อื กระต่ายและเนือ้ ไก่มีไขมนั นอ้ ยกว่าเนือ้ แกะ เนื้อโคและเนือ้ สุกร 2.1.2 สตั วท์ นี่ ยิ มเล้ียงเพื่อใชน้ า้ นมเปน็ อาหาร สตั วก์ ลุม่ นีไ้ ด้แก่โค กระบือ และแพะ น้านมจากสัตวแ์ ต่ละชนดิ มีคุณค่าทางอาหารท่แี ตกตา่ งกนั เม่อื นานา้ นมของโค กระบอื แพะ และแกะ มาผ่านกระบวนการวิเคราะห์ทางเคมี เพ่อื เปรยี บเทยี บกบั นา้ นมมนษุ ย์ พบว่าน้านมโคและแพะมสี ว่ นประกอบใกล้เคยี งกับ
หนา้ 4 จาก 17นา้ นมมนษุ ย์มากที่สุด แตโ่ ดยทั่วไปผู้บริโภคนยิ มบริโภคน้านมจากโคมากวา่ น้านมจากสตั ว์ชนดิ อื่น เหตุผลเพราะโคเปน็ สตั ว์ที่นิยมเล้ียงเพื่อเอาน้านมมากกว่าสัตวช์ นิดอ่ืนๆ 2.1.3 สตั ว์ทน่ี ิยมใชไ้ ขม่ าเปน็ อาหาร สตั วใ์ นกล่มุ นีป้ ระกอบด้วยไก่ เปด็ ห่าน และนก ขนาดไขท่ ไ่ี ด้จากสัตว์ปกี แต่ละชนดิ จะแตกต่างกันตามขนาดของลาตวั เชน่ ไข่นกกระจอกเทศจะโตกวา่ ไขห่ า่ น ไขห่ า่ นจะโตกว่าไขเ่ ปด็ ไขเ่ ป็ดจะโตกว่าไข่ไก่และไข่ไก่จะมขี นาดโตกวา่ ไข่นกกระทาเปน็ ต้น แตห่ ากมองในด้านสว่ นประกอบแลว้ ไข่ท่ไี ด้จากสตั ว์ปกี ทุกชนดิ ล้วนมคี ณุ ค่าทางอาหารและสว่ นประ กอบที่ใกล้เคยี งกนั 2.2 ใชแ้ รงงาน ในอดีตมนษุ ย์นิยมใชแ้ รงงานจากสตั วก์ ันมากเช่นใช้ช้างและมา้ เปน็ พาหนะ ใชโ้ คและกระบือในการเกษตร ในปจั จบุ นั นเี้ ทคโนโลยีพัฒนารวดเรว็ มากทาให้มกี ารใช้เครื่อง จักรกลเข้าแทนแรงงานจากสัตว์มากขึ้นความสาคญั ในการใช้แรงงานจากสัตว์จงึ ลดนอ้ ยลงไป 2.3 ใชผ้ ลผลติ เปน็ เครอื่ งนงุ่ หม่ และเครอื่ งใช้ ผลผลิตจากสตั ว์หลายๆ ส่วนสามารถนามาใชป้ ระโยชน์ทาเป็นเคร่ืองน่งุ ห่มและเครอื่ งใชร้ วมถึงเคร่อื งประดับ เช่นใชข้ นแกะ ขนแพะและขนกระตา่ ยทาเคร่ืองนงุ่ หม่ ใชข้ นไก่มาทาไมป้ ัดฝุน่ และลกู แบดมนิ ตัน ใช้หนงั โค กระบือ นกกระจอกเทศและจระเข้ มาผลติ เปน็หมวก เสื้อ เขม็ ขัด กางเกง รองเทา้ กระเป๋าและทาเป็นสว่ นประกอบของเครอ่ื งดนตรีเชน่ หมุ้กลองและตะโพน และใช้เขาและกระดูกทาดา้ มมีด ด้ามปืนและเคร่อื งประดบั เป็นต้น 2.4 ใชม้ ลู ทาปุย๋ มลู สัตว์หรอื เรยี กอกี อย่างหน่งึ ว่าปยุ๋ คอกโดยทว่ั ไปจะมีธาตอุ าหารคอ่ นข้างต่า หากนามลู ไก่ เป็ด ห่าน ม้า แกะ และโค มาเปรียบเทยี บกันก็สามารถเห็นถึงความแตกต่างของส่วนประกอบทางเคมไี ดช้ ัดเจน ดังตารางชนดิ สตั ว์ ตารางแสดงสว่ นประกอบทางเคมจี ากมูลสตั วช์ นิดต่าง ๆ ส่วนประกอบทางเคม(ี %) ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P2O5) โปแตสเซยี ม (K2O)ไก่ 1.63 1.54 0.90เปด็ 1.10 1.40 0.60หา่ น 0.60 0.50 1.00สกุ ร 0.60 0.50 0.40ม้า 0.55 0.31 0.33แกะ 0.60 0.30 0.20โค 0.31 0.21 0.21หมายเหตุ : อตั ราส่วนทางเคมีอาจเปลี่ยนแปลงไปตามอายุสตั วอ์ าหารที่สตั ว์ได้รับแลสภาพแวดลอ้ ม ทมี่ า : ศริ ขิ ัณฑ์ (2539)
หนา้ 5 จาก 17 จากตารางจะเหน็ ได้วา่ มลู ไกแ่ ละมูลเป็ด มีธาตอุ าหารสงู กว่ามลู โค และมูลกระบือ ในมูลสตั วม์ ปี ริมาณธาตุอาหารมากหรอื นอ้ ยจะขึ้นอยูก่ ับอาหารท่ีสัตวก์ นิ เขา้ ไป กลา่ วคือสัตว์ชนดิใดกนิ อาหารท่ีมโี ปรตนี สูงเปน็ อาหารหลัก มลู ท่ไี ดจ้ ะมธี าตุอาหารสงู กว่าสัตว์ทกี่ ินหญ้าหรือกนิพืชเป็นอาหารหลกั และมูลทถ่ี ่ายใหมๆ่ จะมปี ริมาณธาตุอาหารสงู กว่ามลู เกา่ และเกบ็ ไวน้ าน 2.5 ใหค้ วามเพลดิ เพลนิ สตั ว์ทกุ ชนดิ ท่นี ามาเลีย้ งสามารถให้ความเพลิดเพลนิ กับผเู้ ลี้ยงแทบทงั้ สิ้น สัตว์ท่นี ยิ มเล้ียงไว้ดูเล่นหรอื ให้ความเพลิดเพลินโดยตรง เช่นกระตา่ ยและไก่แจ้ สตั วบ์ างชนิดเลย้ี งเพ่อืตอ่ สู้กนั ในเชิงกฬี าเชน่ การชนโค การชนไก่ ก็สามารถให้ความเพลดิ เพลนิ ได้เช่นกัน 2.6 ใชใ้ นการทดลองทางวทิ ยาศาสตร์ สตั วห์ ลายชนิดมปี ระโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ เชน่ ใช้หนูตะเภา ลิง และกระต่ายเปน็สัตวท์ ดลอง ใช้ไขฟ่ ักและกระต่ายเป็นตวั กลางในการผลติ วคั ซนี และใช้มา้ เปน็ ตัวกลางในการผลิตเซร่มุ และใชส้ ัตวอ์ กี หลายชนดิ ทดลองเปรียบในเชิงวจิ ยั เปน็ ตน้ 2.7 ใชเ้ ปน็ อาหารสตั ว์ ผลผลิตจากสตั วบ์ างชนดิ มนษุ ย์ไมส่ ามารถนามาใช้ประโยชนไ์ ดห้ รือผลผลติ ทเ่ี หลือจากการใชป้ ระโยชนส์ ามารถนามาเป็นอาหารสัตวไ์ ด้ เช่นเน้ือปน่ ปลาป่น เลอื ดป่น แกลบกุ้ง หางนมผงซ่ึงจัดเป็นวัตถดุ ิบอาหารสัตวใ์ นกลุม่ โปรตนี และกระดกู ป่นซง่ึ จัดเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ในกลุ่มแร่ธาตเุ ป็นต้น ผลผลติ ที่นามาใชเ้ ป็นวัตถดุ บิ อาหารสตั วเ์ หลา่ นมี้ สี ว่ นประกอบแตกตา่ งกัน หากพจิ ารณาจากยอดโภชนะย่อยได้ ผลผลิตจากสัตว์ทมี่ คี ุณคา่ ทางอาหารสูงทีส่ ดุ ได้แก่นมผง รองลงมาไดแ้ ก่ปลาปน่ และเนอ้ื ปน่ ตามลาดบั 2.8 เปลย่ี นเศษอาหารและสง่ิ เหลอื ใชจ้ ากการเกษตรเปน็ ผลผลติ เศษอาหารที่เกิดจากการประกอบอาหารภายในครวั เรอื น สามารถนามาเลย้ี งสกุ ร ไก่เปด็ และหา่ น ซงึ่ สตั ว์เหล่าน้สี ามารถเปลยี่ นเศษอาหารใหเ้ ปน็ เน้อื และไข่ ฟางขา้ ว เปลือกสับปะรด และเปลอื กข้าวโพดฝกั อ่อนนามาใช้เลี้ยงโค กระบอื แพะและแกะ เม่อื สัตวเ์ หล่าน้ีกนิเขา้ ไปแล้ว สามารถเปลยี่ นเป็นเนื้อและนา้ นมได้ 2.9 ทาใหม้ อี าชพี เพมิ่ ขนึ้ การเลีย้ งสตั ว์ทาให้มอี าชีพเพิ่มขึ้นมากมายท้งั อาชีพทเ่ี กดิ จากการเลีย้ งสัตว์โดยตรงและอาชีพท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การเล้ยี งสตั ว์ได้แก่ อาชพี ทาฟารม์ ปศุสตั ว์ อาชพี แปรรปู ผลิตภณั ฑ์จากสัตว์ อาชพี ผลิตวัตถดุ ิบอาหารสตั ว์ อาชพี ผลิตอาหารสัตวส์ าเรจ็ รปู และอาชพี ค้าขาย ฯลฯ 2.10 ใช้พ้นื ทว่ี า่ งเปลา่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ พืน้ ท่ขี องประเทศไทยส่วนใหญใ่ ชป้ ระโยชน์ในการปลูกพชื มีบา้ งบางส่วนท่ีดนิ ขาดความอุดมสมบรู ณ์ ปลกู พืชแล้วไม่เจริญงอกงามสามารถนาพ้นื ทสี่ ่วนน้ันมาใชป้ ระโยชน์ในการเลยี้ งสตั ว์ได้ เชน่ ใช้ปลูกสรา้ งโรงเรอื นเลยี้ งสัตว์ เกษตรกรบางรายปลูกสรา้ งสวนไมผ้ ลไม้ยนื ตน้ ระหว่างแถวของต้นไม้เหลา่ น้นั ยังสามารถนามาเลี้ยงสตั วไ์ ด้
หน้า 6 จาก 17 2.11 ทาใหค้ รอบครวั สังคม และประเทศมเี ศรษฐกจิ ดขี น้ึ ไมว่ ่าการเลี้ยงสัตวจ์ ะทาโดยจุดประสงค์ใด หากไดผ้ ลผลิตจานวนมากเกินความต้องการแลว้ ก็สามารถนาผลผลติ นั้นไปจาหน่ายทาให้มรี ายได้เพิม่ ข้นึ หรือผูเ้ ลยี้ งบางรายเลย้ี งเพอ่ื จาหน่ายโดยตรงทาให้มรี ายได้เปน็ กอบเป็นกา หรอื บางรายเลย้ี งในปรมิ าณมากจนสามารถสง่ ออก ทาให้สินค้าขาเข้าลดลง เปน็ ผลให้เศรษฐกิจของสังคมและประเทศดขี นึ้ 3. สภาพการเลยี้ งสัตว์ในประเทศไทย ประเทศไทยเปน็ ประเทศกสิกรรม ประชากรปลกู พืชและเลย้ี งสตั ว์เปน็ อาชพี หลกั โดยท่ัวไปแลว้ เกษตรกรยงั ยดึ อาชีพการปลูกพืชมากกวา่ การเล้ยี งสตั ว์ เน่อื งจากเข้าใจว่าอาชีพการเลี้ยงสตั ว์เปน็ อาชีพที่ยุง่ ยากต้องเอาใจใสด่ แู ลตลอดเวลา ดงั นนั้ การเล้ยี งสัตวใ์ นอดตี จึงเปน็ การเล้ียงสาหรบั การใช้งานด้านการเกษตรและกนิ เศษอาหารในครัวเรอื นเท่านั้น ยังไม่มเี กษตรกรทเ่ี ลี้ยงสัตวเ์ ปน็ อาชพี หลัก ในปัจจบุ ันจานวนประชากรเพิ่มมากขึน้ ไดร้ บั การศกึ ษาสูงขนึ้ การถ่ายทอดเทคโนโลยีการส่ือสารเป็นไปด้วยความรวดเรว็ ฉบั ไวมากข้ึน ประกอบกับภาคเอกชนได้ดาเนนิ การเลีย้ งและทาเป็นแบบอยา่ ง ร่วมกับการสนบั สนุนจากรฐั บาลในหลายๆ โครงการ ทาใหเ้ กษตรกรหันมาประกอบอาชพี การเลย้ี งสตั วม์ ากขนึ้ ซง่ึ พอจะสรปุ สภาพการเลี้ยงสตั ว์ในประเทศไทยได้ดงั นี้ 3.1 สภาพการเลยี้ งสตั วใ์ หญ่ สตั ว์ใหญเ่ ป็นสตั ว์ที่กินหญ้าเป็นอาหารหลกั สามารถเลย้ี งแบบปล่อยใหห้ ากินตามธรรมชาติไดด้ ี ในอดีตเลย้ี งเพอื่ ใชแ้ รงงาน แต่ในปัจจบุ ันนยิ มเลี้ยงเพอ่ื เอาผลผลิตมาเป็นอาหาร ในบางท้องที่ยงั นิยมเลี้ยงเพ่อื ความเพลิดเพลิน สภาพการเลยี้ งสัตวใ์ หญใ่ นประเทศไทยมีดังนี้ 3.1.1 สภาพการเลีย้ งโค โคนยิ มเล้ยี งแพร่หลายทัว่ ทุกภาคของประเทศ โดยทั่วไปนิยมเล้ียงโคเนอ้ื โคนมและโคใชแ้ รงงานซงึ่ เปน็ โคพันธพุ์ ืน้ เมือง นอกเหนอื จากการเล้ยี งโคพื้นเมอื งเพื่อใช้แรงงานแลว้ ยังเลยี้ งโดยมจี ดุ ประสงค์เพอ่ื ความเพลดิ เพลินและเกมกีฬา เชน่ โคลานในจังหวัดเพชรบรุ แี ละโคชนในพ้ืนทีจ่ ังหวดั ภาคใต้เปน็ ตน้ 3.1.2 สภาพการเล้ยี งกระบอื กระบือเปน็ สตั ว์ที่ใช้ประโยชนไ์ ดเ้ ช่นเดียวกบั โค สามารถทางานในพ้นื ทีม่ ีน้าขงัได้ดี กว่าโค แตก่ ระบอื มีขอ้ เสยี คอื ทนร้อนได้นอ้ ยกวา่ โคและมนี ิสัยชอบสีตวั กบั ตน้ ไม้ ทาให้กระบือมีขอบเขตการเล้ียงจากดั กว่าโค ดังจะเห็นการเลีย้ งกระบอื อย่ทู วั่ ไปในพนื้ ทท่ี ี่มนี ้าสมบูรณ์ทโ่ี ลง่ ไม่มไี มผ้ ลไม้ยนื ต้น
หน้า 7 จาก 17 3.2 สภาพการเลยี้ งสตั วเ์ ลก็ สตั วเ์ ลก็ ทนี่ ยิ มเล้ียงในประเทศไทย มที ้งั ชนิดทก่ี นิ อาหารขน้ เป็นอาหารหลักไดแ้ ก่สกุ ร และชนิดท่ีกินอาหารหยาบเปน็ อาหารหลกั ไดแ้ กแ่ พะและแกะ การเลี้ยงสตั วเ์ ลก็ ส่วนใหญ่นยิ มเล้ียงเพ่อื เอาผลผลติ มาเปน็ อาหารและเคร่ืองนงุ่ หม่ แตย่ ังมีสัตว์เลก็ บางชนดิ ทนี่ ยิ มเลย้ี งเพ่อื ความเพลดิ เพลินและใชเ้ ป็นสัตวท์ ดลองทางวิทยาศาสตร์ เชน่ กระตา่ ยเปน็ ต้น สภาพการเลย้ี งสตั ว์เลก็ ในประเทศไทย มีดงั นี้ 3.2.1 สภาพการเลย้ี งสกุ ร สุกรเป็นสตั วท์ ี่นยิ มเล้ียงเพ่ือใชเ้ ปน็ อาหารเพียงดา้ นเดยี ว เนอ่ื งจากสกุ รเปน็สัตว์ทีม่ ีประสิทธิภาพในการผลิตเน้ือ เล้ยี งงา่ ย ให้ลกู ดก สามารถขยายพันธไุ์ ด้ทนั กบั ความต้องการของมนษุ ย์ จึงนิยมเลยี้ งแพรห่ ลายแทบทกุ ส่วนของประเทศ ในอดีตประเทศไทยนิยมเล้ยี งสกุ รประเภทมัน ต่อมาคา่ นยิ มบริโภคน้ามนั จากสตั ว์ลดลง พนั ธ์สุ ุกรจงึ ถกู ปรับปรงุ ใหม้ เี นื้อมากขน้ึ มไี ขมันลดลง ในปัจจบุ นั การเล้ียงสกุ รกระจายไปทวั่ ทกุ ภาค ภาคทม่ี ีการเล้ยี งสกุ รมากทส่ี ดุ คอื ภาคกลาง สว่ นภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ภาคเหนือ และภาคใตเ้ ล้ียงรองลงมาตามลาดบั 3.2.2 สภาพการเลยี้ งแพะ แพะเปน็ สัตว์ทีใ่ ชอ้ าหารหยาบเปน็ อาหารหลักเช่นเดียวกบั สตั ว์ในกลุ่มสตั ว์ใหญ่เลี้ยงไดท้ ่วั ไปทุกสภาพอากาศ นยิ มเลย้ี งเพื่อใชเ้ นือ้ และนา้ นมเป็นอาหาร โดยท่วั ไปในประเทศไทยยงั เลีย้ งกันนอ้ ย เพราะขาดค่านิยมในการบริโภคเนื้อและน้านม แตก่ ็มเี ลย้ี งบา้ งในพืน้ ท่ีของภาคใตโ้ ดยเฉพาะในกล่มุ ของชาวไทยมสุ ลมิ 3.2.3 สภาพการเลย้ี งแกะ แกะเป็นสตั ว์ทีม่ ปี ระโยชน์ใกลเ้ คยี งกับแพะ ชาวไทยในกลุม่ มสุ ลิมภาคใตน้ ิยมนาแกะมาชนกนั เพอื่ ความเพลิดเพลิน และนาเน้อื มาทาอาหาร 3.2.4 สภาพการเลย้ี งกระตา่ ย กระตา่ ยเปน็ สัตวท์ ีม่ ปี ระโยชนห์ ลายดา้ น สามารถเลย้ี งได้ทกุ พนื้ ท่ีของประ เทศในอดีตคนไทยนิยมเล้ียงกระตา่ ยเพ่ือความเพลิดเพลินเพยี งอยา่ งเดียว โดยเลย้ี งบา้ นละหนงึ่ถึงสองตัวยังไมน่ ิยมทาเปน็ ฟารม์ ขนาดใหญ่ เพราะคนไทยมนี ้าใจโอบออ้ มอารี รกั เอ็นดูสัตว์จึงไม่มคี ่านิยมในการบริโภคเนอื้ กระตา่ ยเปน็ อาหาร แตค่ ่านิยมของผบู้ รโิ ภคเร่มิ เปลี่ยนแปลงไป เรมิ่ เหน็ ความสาคญั ของเนอื้ กระต่าย จึงมกี ารเล้ยี งกระต่ายเชงิ ธรุ กจิ เกดิ ข้นึ ในปัจจบุ ัน
หนา้ 8 จาก 17 3.3 สภาพการเลยี้ งสตั วป์ กี สตั วป์ ีกทนี่ ิยมเลี้ยงมากทส่ี ดุ คือไก่ รองลงมาคอื เป็ด หา่ น และนกกระทาตามลาดับสว่ นใหญแ่ ลว้ การเลีย้ งสัตว์ปกี จะเลี้ยงโดยมีจุดประสงค์เพ่ือนาเนอ้ื และไขเ่ ปน็ อาหาร แต่มสี ตั ว์ปกี บางชนิด บางประเภทที่นยิ มเลี้ยงเพื่อความเพลิดเพลิน สภาพการเลี้ยงสัตวป์ ีกในประเทศไทยมดี ังน้ี 3.3.1 สภาพการเล้ียงไก่ ไก่เป็นสัตวท์ ่มี ปี ระสิทธิภาพการให้ผลผลติ สงู และสามารถเพ่มิ จานวนไดเ้ รว็ กวา่สตั วช์ นิดอืน่ ๆ โดยเฉพาะไกเ่ นอื้ ทเ่ี รยี กวา่ ไก่กระทง สว่ นไกไ่ ข่นยิ มเล้ยี งรองลงมาจากไกเ่ นอื้สาเหตเุ พราะการเลย้ี งไก่ไขม่ คี วามยงุ่ ยากกว่าการเลีย้ งไกเ่ น้ือ ในปัจจบุ นั ไกเ่ ปน็ สตั วเ์ ศรษฐกจิ ที่เลีย้ งมากที่สุดในประเทศไทย โดยมีแหล่งการเลี้ยงกระจายอยูท่ ั่วประเทศ 3.3.2 สภาพการเลยี้ งเปด็ เป็ดทน่ี ยิ มเลีย้ งในประเทศไทยมีอยสู่ องประเภท คอื เป็ดเน้อื และเปด็ ไข่ ส่วนใหญ่นิยมเลี้ยงมากในพืน้ ทีแ่ ถบชายทะเล และพื้นท่ที ่ีมนี ้าขัง เช่นจังหวดั นครปฐม จังหวดัสมุทรปราการ จังหวดั สมทุ รสาครและจงั หวัดสมุทรสงคราม แตเ่ มือ่ เปรียบเทยี บกับไก่แล้วประเทศไทยยังมกี ารเลี้ยงเปด็ น้อยมาก 3.3.3 สภาพการเลีย้ งหา่ น หา่ นเปน็ สัตวท์ เ่ี ลยี้ งงา่ ยทนตอ่ สภาพแหง้ แลง้ ชอบกนิ หญา้ หรอื วชั พืชเป็นอาหาร ในปจั จบุ ันการเล้ยี งหา่ นในรปู ของฟารม์ เพ่ือผลติ ห่านเนื้อขายพอมีอยู่บ้างในบางจงั หวดัของภาคกลาง แต่โดยทัว่ ไปแลว้ การเล้ียงหา่ นในประเทศไทย ยังนยิ มเลย้ี งโดยมจี ุดประสงค์เพอื่ ใชเ้ ฝ้าบ้านแทนสุนขั มากกว่าใชเ้ น้ือและไข่เป็นอาหาร 3.3.4 สภาพการเลีย้ งนกกระทา นกกระทาท่นี ิยมเล้ียงในประเทศไทยในปัจจบุ ันนิยมเลี้ยงเพอ่ื นาเน้ือและไข่มาบริโภคเป็นอาหาร เพราะเนอื้ นกกระทามีรสชาตดิ ี และไขม่ ขี นาดเลก็ สามารถใชบ้ ริโภคได้ท้ังในรูปอาหารคาวและอาหารหวาน แหลง่ เลีย้ งนกกระทาในปจั จุบันยงั ไม่มากนัก ส่วนใหญเ่ ป็นฟาร์มขนาดเลก็
หนา้ 9 จาก 17 4. แนวโน้มการเลี้ยงสัตวใ์ นประเทศไทย ประเทศไทยยังไมม่ ีกฎหมายกาหนดคณุ สมบัติของผ้ปู ระกอบอาชีพการเลี้ยงสตั ว์และควบคุมจานวนหรอื ปริมาณสตั ว์ทเี่ ล้ยี ง ดงั น้ันแนวโน้มการเลี้ยงสัตวใ์ นประเทศไทยจะไปในทศิ ทางใดจะเล้ียงสตั วช์ นดิ ไหนเพ่ิมข้นึ หรอื ลดลงจานวนเท่าใดขึน้ อย่กู ับปัจจยั หลายประการดังนี้ 4.1 การเพมิ่ ของจานวนประชากร ประชากรของประเทศเพม่ิ ขนึ้ ทกุ ปี ความตอ้ งการอาหารเพ่ิมข้ึน ทาใหก้ ารเลีย้ งสตั ว์เพิม่ ขึ้นตามไปด้วย 4.2 การนบั ถอื ศาสนา เน่ืองจากประชากรไทยสว่ นใหญน่ ับถอื ศาสนาพุทธ สามารถบริโภคเนือ้ สตั ว์แทบทกุชนดิ เปน็ อาหารไดโ้ ดยไมม่ ีข้อหา้ ม แต่มีประชากรอีกสว่ นหน่งึ ที่นบั ถือศาสนาอิสลามซงึ่ มขี อ้หา้ มในการบรโิ ภคเน้ือสัตว์บางชนดิ โดยเฉพาะเนือ้ สกุ ร ทาให้มกี ารเลย้ี งสกุ รน้อยในชุมชนทีม่ ีชาวมสุ ลิมอาศัย แต่ในทางตรงกนั ข้ามในชมุ ชนนั้นกลับมีการเลยี้ งแพะมากกว่าท่ีอนื่ เพราะชาวมสุ ลิมนอกจากใชเ้ น้ือและน้านมแพะเป็นอาหารแล้วยังใชใ้ นพิธกี รรมต่างๆ ดว้ ย 4.3 ประเพณแี ละเทศกาล ประเทศไทยเปน็ ประเทศท่ีมวี ฒั นธรรมและประเพณีหลากหลาย วัฒนธรรมประเพณีในแต่ละเทศกาล ยอ่ มมผี ลตอ่ การผลติ สตั ว์ทั้งสิน้ เช่นยอดการบริโภคเน้ือสตั ว์จะลดลงในเทศกาลถือศลี กินเจ และยอดความต้องการเนอื้ ไก่จะเพิม่ ขึ้นในเทศกาลตรุษจนี 4.4 สภาวะตลาดเนือ้ สตั วข์ องตา่ งประเทศ การเล้ียงสตั วใ์ นประเทศไทยนอกจากจะเลย้ี งเพื่อการบรโิ ภคภายในประเทศแล้ว ส่วนหนึง่ ยงั สง่ จาหนา่ ยต่างประเทศอีกดว้ ย โดยเฉพาะเนอื้ ไก่มยี อดส่งจาหนา่ ยต่างประเทศในรปูแช่แขง็ ปลี ะหลายล้านตัน บางครัง้ มปี ญั หาเร่อื งโรคระบาดตา่ งประเทศมีมาตรการเขม้ งวดในการนาเขา้ เนือ้ สตั ว์ ทาใหป้ ระเทศทผ่ี ลติ เนือ้ สตั ว์ตอ้ งทาลายสตั ว์ซ่ึงเปน็ ตน้ ตอของโรคทง้ิ มีผลถึงการลดคู่แข่งทางตลาดเนอ้ื สตั ว์ในต่างประเทศ การเลี้ยงสัตว์ในประเทศจึงเพม่ิ มากขน้ึ 4.5 การใชป้ ระโยชนจ์ ากพน้ื ท่ี ประเทศไทยเปน็ ประเทศเกษตรกรรม คอื เน้นทางดา้ นการปลูกพชื และเลีย้ งสตั ว์ ในอดีตการปลกู พชื มมี ากกวา่ การเลี้ยงสตั ว์ เน่อื งจากเกษตรกรเขา้ ใจว่าการปลูกพืชเปน็ อาชีพท่ีไม่ย่งุ ยากเหมือนการเล้ยี งสตั ว์ มีการขยายพน้ื ทีก่ ารปลกู พชื มากข้นึ พน้ื ที่ทีอ่ ุดมสมบูรณเ์ หมาะสมในการปลูกพืชย่อมลดลงและคอ่ ยๆ หมดไปในทสี่ ดุ เกษตรกรจึงหันมาใชพ้ ้นื ทท่ี ป่ี ลกู พชื ไม่ได้เลย้ี งสตั ว์แทน จากตวั อย่างทก่ี ล่าวมาแล้วสรปุ ได้วา่ ในภาพรวมแนวโนม้ การเล้ียงสตั ว์ในประเทศไทยจะเพ่มิ ขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะสัตว์ปีกซง่ึ เป็นสตั ว์ทใี่ ชพ้ ้ืนทีแ่ ละเวลาในการเลย้ี งนอ้ ย นิยมบริโภคกันทกุ ชนช้นั ศาสนา และราคาซอื้ ขายในท้องตลาดคอ่ นขา้ งแนน่ อน หากมคี วามผันแปรก็ไมม่ ากนกั ต่างจากสัตว์ชนิดอ่นื ๆ
หน้า 10 จาก 17 5. เศรษฐกิจการเล้ยี งสตั วข์ องโลก มีหลายประเทศในโลกท่ีสนับสนนุ ให้เกษตรกรประกอบอาชีพการเล้ียงสตั ว์เปน็ อาชีพหลกัจนสามารถผลิตสตั ว์เปน็ สนิ ค้าส่งไปจาหน่ายตา่ งประเทศและทารายได้เข้าส่ปู ระเทศน้ัน ๆ ปีละหลายพันล้านบาทจากข้อมูลในวารสารสัตวบาล ปีที่ 5(ฉบบั ประจาเดือนพฤษภาคม-มิถนุ ายน 2538 และกรกฎาคม-สงิ หาคม 2538) ไดส้ รปุ ประเทศที่เลีย้ งสัตวม์ าก 20 อันดบัแรกของโลกและการบริโภคผลิตภัณฑ์สัตวข์ องบางประเทศในปี 2537 สรุปได้วา่ 5.1 โค ประเทศท่ีเล้ียงโคมากทสี่ ดุ คือประเทศอนิ เดีย รองลงมาคือประเทศบราซลิ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า และประเทศจีนตามลาดับ สว่ นประเทศไทยไมต่ ิดอนั ดบั แต่ตามสภาพแท้จริงแลว้ ประเทศอินเดียไมไ่ ด้เล้ียงโคเปน็ สตั ว์เศรษฐกจิ แต่เลยี้ งโคตามความเช่ือทางศาสนามากกว่า 5.2 สกุ ร ประเทศจนี เลีย้ งสุกรมากท่สี ดุ รองลงมาคอื ประเทศสหรฐั อเมริกา ประเทศบราซิลและประเทศเยอรมันตามลาดับ สว่ นประเทศไทยไมต่ ดิ อันดับ 5.3 ไก่ ประเทศจนี เลี้ยงไก่มากทสี่ ุด รองลงมาคือประเทศสหรฐั อเมรกิ า ประเทศรัสเซีย และประเทศบราซลิ ตามลาดับ ส่วนประเทศไทยตดิ อนั ดบั 14 ของโลก 6. ปัจจัยสาคญั ในการเลี้ยงสตั ว์ หวั ใจสาคัญของการผลิตสัตว์คอื การเลย้ี งสตั ว์ใหไ้ ด้คณุ ภาพและกาไรสูงสดุ การเลยี้ งสตั ว์จะบรรลุเปา้ หมายได้ ตอ้ งอาศยั ปัจจัยหลายประการคือ ผคู้ ดิ จะประกอบอาชีพเลย้ี งสตั ว์ต้องมีคุณสมบตั ทิ ่ีเหมาะสม เริม่ ต้นเลี้ยงสัตวไ์ ด้ถูกตอ้ ง เลือกสถานท่ีเลี้ยงสตั ว์ไดเ้ หมาะสม วางผังฟารม์ เลี้ยงสตั ว์ได้ถกู ต้อง มีทนุ และแหล่งเงินทนุ ที่เพียงพอ เข้าใจแนวทางและปัญหาการตลาด สามารถจดั การฟาร์มได้ และรูห้ น้าทแ่ี ละสถานท่ีต้งั หนว่ ยงานและแหล่งวิชาการที่เกย่ี วขอ้ งกับการเลี้ยงสตั ว์ ปัจจัยท่สี าคัญในการเล้ยี งสัตวม์ ีดงั นี้ 6.1 คุณสมบตั ขิ องผเู้ ลย้ี งสตั ว์ ผ้ทู ่ีจะเลยี้ งสัตวใ์ ห้ประสบความสาเร็จต้องมีคุณสมบัตดิ งั ตอ่ ไปนี้ 6.1.1 มีนิสัยรัก เมตตาสตั ว์ หากผูเ้ ล้ียงสัตว์มคี วามรัก มคี วามเมตตาต่อสัตวแ์ ลว้ จะทาให้เอาใจใสด่ ูแลสัตว์ท่ีเล้ยี งอยา่ งใกลช้ ิดทาให้สตั วท์ ่ีเล้ยี งมกี ารเจรญิ เติบโตดี ใหผ้ ลผลติ สงู และสามารถรบั รปู้ ัญหาที่เกดิ ขึ้นอยา่ งทันท่วงที ทาใหก้ ารเลีย้ งสตั วบ์ รรลวุ ัตถปุ ระสงค์ทีว่ างไว้ แต่ทัง้ น้คี วามรกั ความเมตตาน้ันต้องเป็นไปโดยเหตุและผลมิใชร่ ักเมตตาจนเกนิ เหตุ เชน่ พบสัตวป์ ่วย สัตว์พกิ ารแลว้
หน้า 11 จาก 17ไมท่ าลายจนเปน็ สาเหตใุ หเ้ กิดโรคระบาดขึ้นในฟารม์ หรอื รักจนไม่ยอมจาหน่ายสตั วท์ เี่ ลยี้ งออกไปเมอ่ื ถึงช่วงเวลาทีจ่ ะจาหน่าย หากเปน็ เชน่ นคี้ วามรกั ความเมตตากเ็ ป็นสาเหตุของความลม้ เหลวในการประกอบอาชพี นี้ไดเ้ ช่นกัน 6.1.2 มนี สิ ยั ชอบแสวงหาความรู้ ความชานาญ ความรู้และความชานาญเปน็ สงิ่ ท่คี วบคกู่ นั แต่ต่างกันตรงท่ีความรู้สามารถหาได้โดยท่วั ไปทัง้ ตาดู หูฟัง จมูกดมกล่นิ ลน้ิ ชิมรส กายสมั ผสั และสมองจา เมอื่ นาความรูท้ ี่ไดม้ าส่กู ารปฏบิ ตั จิ ริงเรียกวา่ ประสบการณ์ และการปฏบิ ตั ิซา้ หลายๆ คร้ังจนเขา้ ใจถงึ เรอื่ งเหลา่นนั้ อยา่ งถอ่ งแทจ้ ึงเรียกว่าความชานาญ ดังนัน้ ผู้ท่จี ะเลย้ี งสตั ว์เป็นอาชีพจะต้องแสวงหาความรคู้ วามชานาญในหลายๆ ดา้ นด้วยกนั การเลีย้ งสัตว์จงึ จะประสบความสาเร็จได้ 6.1.3 เป็นคนใจเยน็ ความใจเยน็ ทาใหค้ นสุขมุ มีมานะอดทน รจู้ กั คิดรจู้ ักตรึกตรองหากพบปญั หาในการเลยี้ งสตั ว์กส็ ามารถแกป้ ัญหาด้วยความรอบคอบ การเลย้ี งสัตวจ์ งึ จะประสบความสาเรจ็ 6.1.4 สนใจในอาชพี การเลย้ี งสตั ว์ ผู้เลย้ี งสตั วห์ ลายรายเริ่มเล้ยี งสัตว์เพราะคล้อยตามคาชักจูงของผู้อนื่ หรือเหน็ผู้อืน่ เล้ียงสตั วป์ ระสบความสาเร็จเลยเลีย้ งตามบา้ ง ส่วนใหญ่แล้วผูท้ ี่เลีย้ งสัตวโ์ ดยเหตผุ ลน้มี ักจะไมป่ ระสบความสาเร็จเพราะขาดความสนใจในอาชีพการเล้ียงสตั ว์อย่างจรงิ จงั พอมีปัญหาและอุปสรรคย่อมเกิดความเบื่อหนา่ ยและเลิกเลยี้ งไปในทส่ี ดุ 6.1.5 มคี วามซอื่ ตรงตอ่ ตนเองและเวลา ผเู้ ล้ียงสตั ว์ท่ีดตี ้องรบั ผดิ ชอบตอ่ งานทท่ี า ไม่ผัดวันประกันพรงุ่ จนทาให้เสียงานเชน่ ต้องถา่ ยพยาธิ ให้วัคซีนตามโปรแกรม ให้อาหาร รดี นมตรงเวลาเปน็ ตน้ เพราะหากไมถ่ า่ ยพยาธิตามกาหนดจะทาใหส้ ตั ว์ที่เลี้ยงสุขภาพทรดุ โทรม แคระแกรน็ หากให้วคั ซีนไมต่ รงตามโปรแกรมทาให้สัตวไ์ มเ่ กิดภมู คิ ุม้ โรคหรอื เกดิ ภมู ิคุ้มโรคไม่เต็มท่ี ทาใหส้ ตั ว์ปว่ ยเปน็ โรคจนถึงเกิดโรคระบาดในฟารม์ ได้ หากใหอ้ าหารไมต่ รงเวลาทาให้สตั ว์เครียด ซึ่งความเครียดเป็นบอ่เกิดของการเกิดโรคได้ และหากรีดนมไมต่ รงเวลาทาใหไ้ ดน้ า้ นมน้อยและทาใหแ้ ม่โคเกดิ โรคเต้านมอกั เสบเปน็ ต้น จากตัวอยา่ งจะเห็นไดว้ า่ หากผู้เล้ยี งสัตว์ไม่มคี วามซ่อื ตรงต่อตน เองและเวลาแลว้ ทาใหอ้ าชพี การเลี้ยงสตั วป์ ระสบความล้มเหลวได้ 6.1.6 ตอ้ งเปน็ คนขยนั อดทนและไมก่ ลวั งาน อาชพี การเลยี้ งสตั วเ์ ปน็ อาชีพทต่ี ้องทาดว้ ยตนเอง หรือต้องคอยควบคมุ ดูแลอย่างใกล้ชิดจึงจะประสบความสาเร็จ เพราะงานเล้ียงสัตวเ์ ป็นงานที่จกุ จิก ต้องทาอยเู่ รือ่ ยๆ ในบางครั้งฝนตกหนกั หรอื แดดออกจัด หากมีความจาเป็นก็ตอ้ งทา ดงั นั้นหากผ้เู ลย้ี งสัตว์ขาดความขยนั และอดทนเมอ่ื ใดโอกาสทจี่ ะประสบความลม้ เหลวก็จะตามมา
หน้า 12 จาก 17 6.2 การเรม่ิ ตน้ เลย้ี งสตั ว์ แม้วา่ ผ้เู ล้ียงสตั ว์จะมคี ณุ สมบตั เิ หมาะสมในหลายหวั ขอ้ ตามที่กล่าวมาแลว้ ก็ตามหลกั การเร่ิมตน้ เลย้ี งที่ถกู ต้องกย็ งั มีความสาคญั ไม่ต่างกนั กลา่ วคือหากเรมิ่ ต้นถูกตอ้ งจะเปน็การทางานแบบคอ่ ยเปน็ ค่อยไป สะสมประสบการณ์จนเกิดความชานาญ ทาใหผ้ ู้เลยี้ งเกดิ ความมัน่ ใจและประสบความสาเรจ็ ได้ในท่สี ดุ โดยการเร่ิมตน้ เลยี้ งสัตวค์ วรยึดหลกั สาคัญดงั นี้ 6.2.1 เร่ิมตน้ จากงานงา่ ยๆ สัตวแ์ ตล่ ะชนิดสามารถแบง่ ออกได้เป็นหลายประเภท หากผู้เล้ียงยังขาดประสบการณ์และความชานาญ ควรเรม่ิ ตน้ เล้ยี งสัตวป์ ระเภทท่เี ล้ียงงา่ ยกอ่ น เชน่ เลี้ยงไก่พ้ืนเมอื งจนเกดิ ความชานาญจึงเลย้ี งไกเ่ น้อื เมื่อเลีย้ งไกเ่ นื้อจนเกิดความชานาญแล้วจึงเล้ียงไกไ่ ข่ หรือหากจะเลยี้ งสกุ รควรเลยี้ งสกุ รขุนจนเกิดความชานาญจึงเลีย้ งสุกรพันธุ์ หรอื หากคิดจะเลีย้ งโคควรเรมิ่ ต้นด้วยการเล้ียงโคเนือ้ เมอื่ เกดิ ความชานาญแลว้ จงึ ค่อยขยับขยายหรือเลี้ยงโคนมเป็นอนั ดับตอ่ ไป 6.2.2 เร่มิ ตน้ เล้ียงสตั วจ์ านวนนอ้ ยกอ่ น การเร่ิมต้นเลี้ยงสัตว์จากสัตวท์ ี่เลี้ยงงา่ ยแล้ว ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งเล้ยี งจานวนมากควรจะเล้ยี งจานวนนอ้ ยกอ่ น โดยมจี ุดประสงค์คอื เพ่อื ใหผ้ ูเ้ ล้ยี งมีการเรียนรู้ เกิดประสบการณ์และความชานาญจากการเล้ยี งก่อน เม่ือเกดิ ความมัน่ ใจจงึ ค่อยขยายเป็นกจิ การขนาดใหญ่ตอ่ ไป หรือแมว้ ่าบางคร้งั เล้ียงสัตว์แล้วประสบความลม้ เหลวจะดว้ ยเหตุผลใดก็ตามก็จะเสยีเงนิ ทนุ ไปไมม่ าก ยงั มกี าลังใจใหเ้ ร่มิ ต้นใหม่ตอ่ ไปไดอ้ กี 6.2.3 เร่ิมตน้ ดว้ ยสตั วพ์ นั ธดุ์ ี สตั วพ์ นั ธดุ์ ีในทีน่ ห้ี มายถึงสตั ว์ท่ีเลีย้ งในสภาพภูมอิ ากาศของประเทศไทยแลว้ทนตอ่ โรคแมลง มกี ารเจรญิ เติบโตดี ให้ผลผลิตสูงคุ้มกับการลงทนุ สตั ว์พันธดุ์ มี ีราคาคอ่ นข้างแพงแตใ่ ห้ผลตอบแทนสูงกว่าสัตวพ์ ันธุไ์ มด่ ี ซึง่ เสียเวลาในการจัดการและเลยี้ งดูเทา่ กนั 6.3 การเลอื กสถานทท่ี าฟารม์ เลยี้ งสตั ว์ หากจะเลยี้ งสัตวเ์ ปน็ อตุ สาหกรรม สถานที่เลี้ยงสัตว์หรือท่ตี ัง้ ฟารม์ ยอ่ มมคี วามสาคัญเปน็ อย่างมาก เพราะสถานทเ่ี ลี้ยงมผี ลกระทบตอ่ ความสาเรจ็ หรือความล้มเหลวในการประกอบการ ดังน้ันผู้เล้ียงสตั วต์ อ้ งพิจารณาในการเลอื กสถานทท่ี าฟาร์มอยา่ งรอบคอบคือ 6.3.1 ตอ้ งอยหู่ า่ งจากชมุ ชนและผเู้ ลยี้ งรายอื่นพอสมควร ปญั หาสาคัญของการเล้ียงสัตวค์ อื กล่นิ และเสยี ง หากเลือกสถานท่อี ยใู่ กล้ชุมชนมากเกินไปย่อมจะสรา้ งความราคาญใหก้ บั ผูท้ ่ีอาศยั อยใู่ กล้เคยี งได้ หากสถานทต่ี ้งั ฟาร์มอยู่ไกลออกไปปัญหาดังกลา่ วกจ็ ะหมดไปในขณะเดียวกันผทู้ ี่อาศยั อยู่ภายในฟารม์ ย่อมขาดความสะดวกในการติดต่อกบั ชุมชนดงั นัน้ สถานทที่ าฟารม์ เลย้ี งสัตวต์ ้องอยไู่ ม่ใกล้หรอื ไกลจากชุมชนมาก
หน้า 13 จาก 17เกนิ ไป แต่ตอ้ งอยูใ่ ห้ไกลจากผเู้ ลยี้ งรายอ่ืนๆ เพื่อสะดวกในการสขุ าภบิ าลฟาร์ม และป้องกันโรคระบาดทอี่ าจจะเกิดขน้ึ ได้ 6.3.2 ต้องมที าเลทเ่ี หมาะสม นอกจากสถานท่ีทาฟาร์มอยไู่ ม่ใกล้หรอื ไกลจากชุมชนและผูเ้ ลี้ยงรายอ่นื แล้วยงั ตอ้ งพิจารณาอีกว่าสถานท่ีตง้ั ฟารม์ มคี วามสะดวกในการติดตอ่ กบั ตลาดและชมุ ชนหรือไม่การขนสง่ เปน็ อย่างไร สถานทจ่ี าหนา่ ยสตั วแ์ ละผลผลิตรวมท้งั แหลง่ ผลติ อาหารสตั ว์อยใู่ กลไ้ กลมากนอ้ ยแค่ไหน เพราะสถานทีต่ ้งั ฟาร์มทีเ่ หมาะสมยอ่ มมีผลต่อค่าใชจ้ า่ ยในการดาเนินกจิ การฟารม์ นอกจากน้ีในฟารม์ ย่อมจะมคี รอบครวั เจา้ ของฟารม์ และผดู้ แู ลอาศยั อยู่ดว้ ยดังนนั้จาเปน็ ต้องคานงึ ถงึ ความสะดวกในการตดิ ตอ่ กบั สังคมรอบข้างดว้ ย เชน่ สถานทีท่ าบญุ สถานท่ีใหก้ ารศึกษา และสถานทดี่ ูแลรักษาสุขภาพ เปน็ ตน้ 6.3.3 สถานทเ่ี ลย้ี งสตั วค์ วรปราศจากศตั รขู องสตั ว์ ศตั รขู องสัตว์มีมากมายหลายชนดิ ท้ังขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ ควรพจิ ารณาให้รอบคอบ หากหลีกเลย่ี งไมไ่ ดจ้ าเป็นต้องต้งั ฟาร์มในพ้นื ทท่ี ่มี ีศตั รขู องสตั ว์อาศัยอยกู่ ต็ อ้ งสรา้ งโรงเรอื นและรัว้ ให้ป้องกันศตั รูของสัตวไ์ ด้ แต่ศตั รขู องสตั วอ์ กี ชนิดหนึ่งที่โรงเรอื นและร้วัธรรมดาไม่สามารถปอ้ งกันไดค้ อื พวกขโมย เพราะฉะนั้นกอ่ นการตัดสินใจตั้งฟารม์ เลย้ี งสัตว์ตอ้ งพจิ ารณาถึงนสิ ัยของผคู้ นทอี่ าศยั อยใู่ นชุมชน หรอื บริเวณใกลเ้ คยี งใหร้ อบคอบด้วย 6.3.4 สภาพพน้ื ท่ีเหมาะสม พื้นที่ต้งั ฟาร์มเลย้ี งสัตวต์ อ้ งเป็นพืน้ ทีค่ อ่ นข้างราบ ไมล่ ุ่มตา่ หรอื สูงจนเกินไป มีขนาดกว้างขวางเพียงพอทีจ่ ะขยายกิจการไดใ้ นอนาคต หากพจิ ารณาถึงความอุดมสมบรู ณ์ของพ้ืนท่ี ดินจะตอ้ งมีความอุดมสมบูรณด์ ีเหมาะแกก่ ารปลกู พืชอาหารสัตว์ มีการระบายนา้ ดี น้าไมท่ ่วมขัง นอกจากน้ีในพ้ืนทตี่ ้ังฟาร์มจะตอ้ งมีน้าสะอาดเพียงพอสาหรับกจิ การและผอู้ ยอู่ าศัยท่ีสาคญั มากกวา่ น้นั คอื สภาพพ้นื ทที่ ี่จะต้ังฟารม์ เลยี้ งสตั วต์ ้องไมเ่ คยมีโรคระบาดมากอ่ น 6.3.5 สภาพภมู อิ ากาศเหมาะสม สภาพอากาศในพื้นทีท่ ีจ่ ะตง้ั ฟาร์มเลีย้ งสัตว์โดยท่วั ไปต้องปกติ อากาศไม่เปล่ยี นแปลงรวดเร็ว เพราะการเปล่ียนแปลงของอากาศจะมีผลต่อการปรับตัวของสตั ว์ หากสตั ว์ปรบั ตวั ไมท่ ันจะทาใหส้ ุขภาพสัตว์อ่อนแออาจเจ็บปว่ ยและตายได้ นอกจากน้ีต้องพิจารณาถงึ การตกของฝน ความแรงของลม เพราะฝน แดดและลม ล้วนเป็นปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ สขุ ภาพของสตั ว์ทง้ั สิ้น
หนา้ 14 จาก 17 6.4 การวางผงั ฟารม์ เลย้ี งสตั ว์ การวางผังฟารม์ จะต้องคานึงถึงสภาพพื้นที่ ถนน ระบบนา้ ไฟฟ้า และชนิดของสตั ว์ท่เี ลยี้ ง โดยพิจารณาวางผงั ฟารม์ ดงั นี้ 6.4.1 การแบง่ พืน้ ทฟี่ ารม์ ออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกใช้เปน็ ที่อยู่อาศยั โรงเกบ็ อาหาร โรงกาเนดิ ไฟฟ้าสารอง โรงประปาหรอื บอ่ นา้ บาดาล เปน็ ต้น สว่ นท่ีสองเป็นบรเิ วณทีใ่ ช้เลย้ี งสัตว์ โดยทัง้ สองสว่ นนี้ต้องหา่ งกันพอประมาณ 6.4.2 การเขยี นแผนผงั แสดงขอบเขตของสถานทตี่ ง้ั ฟารม์ ตอ้ งเขียนให้ถกู ต้องชัดเจน โดยวางแผนการตดั ถนนในฟาร์มให้สะดวกต่อการปฏิบตั งิ านและจุดทเ่ี ชอ่ื มกับถนนทางหลวงแผน่ ดนิ ตอ้ งอยู่ในจดุ ทเ่ี กิดอันตรายน้อยทส่ี ดุ เมื่อนาพาหนะเขา้ ออกจากฟารม์ 6.4.3 การจดั กลมุ่ และการวางตาแหนง่ โรงเรอื น โดยจัดใหอ้ ย่เู ป็นกลุ่มๆ ตามชนิด ประเภท ขนาดและอายุของสตั ว์ โดยวางโรงเรือนแตล่ ะหลงั ใหห้ า่ งกนั ประมาณ 30 เมตร และใหค้ วามยาวโรงเรอื นวางอย่ใู นแนวทิศตะวนั ตก-ตะวนั ออก ยกเวน้ โรงเรือนแพะและแกะทย่ี กพ้ืนสงู ตอ้ งวางโรงเรอื นให้อยู่ในแนวแสงแดดสอ่ งเข้าใต้พ้ืนโรงเรอื นได้ 6.4.4 การกาหนดจดุ วางถงั ประปาและระบบไฟฟ้าภายในฟารม์ การกาหนดจดุ วางถงั ประปาและระบบไฟฟ้าภายในฟาร์ม ต้องคานึงถึงการประหยดั วัสดุและพลังงานให้มากทสี่ ุด 6.4.5 การวางแผนทารว้ั รอบฟารม์ โดยให้รว้ั อยหู่ า่ งจากโรงเรือนประมาณ 50 เมตร โดยใหม้ ีประตเู ขา้ ออกเพียงทางเดียวเพอ่ื เป็นการจัดการสขุ าภบิ าล 6.5 ทุนและแหลง่ เงนิ ทนุ 6.5.1 ทนุ นอน ทุนนอนเปน็ ทุนทีม่ กี ารลงทนุ ครง้ั เดียวแต่ต้องใช้เวลานานกว่าจะคนื ทนุ ได้ การลงทนุ ประเภทนี้ไม่ควรเกินครง่ึ หนงึ่ ของเงนิ ทนุ ทงั้ หมดเช่นค่าทีด่ ิน และค่าโรงเรอื น 6.5.2 ทุนหมนุ เวยี น ทุนหมนุ เวยี นเปน็ ทุนท่ีสามารถคนื ทุนได้ในเวลาอันรวดเร็ว เม่ือลงทนุ ไปแลว้สามารถหมุน เวียนกลบั มาใชใ้ หม่ไดใ้ นการเล้ียงสตั วร์ ุน่ ต่อไปเช่น คา่ อาหารสตั ว์ ค่าพันธสุ์ ตั ว์ค่าแรงงานและคา่ เวชภัณฑเ์ ปน็ ตน้ สตั ว์ทก่ี ินอาหารขน้ เปน็ อาหารหลกั ค่าใช้จ่ายค่าอาหารสูงประมาณ 60-70 เปอรเ์ ซ็นตข์ องต้นทุนการผลิตท้ังหมด ดงั น้ันทุนหมุนเวยี นควรจัดสรรไว้อยา่ งน้อยไม่ต่ากว่า 50 เปอรเ์ ซ็นตข์ องทุนท้ังหมด
หน้า 15 จาก 17 หากผเู้ ลยี้ งสัตว์มีทนุ ทีใ่ ชใ้ นการเล้ียงสัตว์อย่แู ลว้ ถอื ว่าเปน็ การเริ่มต้นทดี่ ี แต่ปัญหาของนักเล้ยี งสัตวส์ ่วนใหญ่ในปจั จบุ นั ยงั ขาดเงนิ ลงทนุ ในการเล้ียงสัตว์ เพอ่ื เป็นการแก้ปัญหาภาครฐั ได้จดั เงินกู้ดอกเบ้ียต่าให้กบั กลมุ่ ผู้เล้ียงสตั วโ์ ดยผา่ นทางธนาคารพาณชิ ย์ เชน่ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณก์ ารเกษตร ซ่งึ เปน็ ธนาคารท่ตี ัง้ ขึน้ มาเพื่อการเกษตรโดยเฉพาะ ดังนน้ั หากเกษตรกรไม่มที นุ ในการดาเนนิ การ สามารถเขยี นโครงการนาเสนอขอก้เู งินจากธนาคารมาดาเนนิ ธุรกจิ เลย้ี งสัตวไ์ ด้ 6.6 การตลาดและปญั หาการตลาด การตลาดและปญั หาการตลาด คือหวั ใจสาคญั ของการเล้ยี งสตั ว์ทที่ าใหไ้ ด้กาไรหรือขาดทุน เนื่องจากระบบการตลาดการเกษตรของประเทศไทยยังไมม่ ีระบบประกนั ราคา หรือควบคมุ ปรมิ าณการผลติ ทไ่ี ด้ผล ผู้เรม่ิ ต้นเล้ียงสัตว์จาเป็นต้องศึกษาหาขอ้ มูลความต้องการและความมัน่ คงของตลาด ตดิ ตามขา่ วสาร ภาวะความเคล่อื นไหวและแนวโน้มตา่ งๆ ทเี่ ปลยี่ นแปลงของตลาดอย่างใกลช้ ดิ ซง่ึ จะนามาสูค่ วามเขา้ ใจระบบตลาด มกี ารคาดการณไ์ ดถ้ กู ตอ้ งสามารถผลติ สัตวอ์ อกจาหน่ายในช่วงทมี่ คี วามตอ้ งการของตลาดหรอื ผลผลติ มีราคาแพง เช่นการวางแผนเล้ียงไกใ่ หส้ ง่ ขายได้ทนั ชว่ งเทศกาลตรุษจนี หรอื เลย้ี งไก่งวงใหท้ ันจาหนา่ ยในช่วงเทศกาลครสิ ต์มาส เปน็ ตน้ 6.7 การจดั การฟารม์ การจดั การฟาร์มเป็นปัจจัยทีส่ าคัญปจั จัยหน่ึงของการเลย้ี งสตั ว์ ผูจ้ ดั การฟาร์มตอ้ งมีความสามารถในการวางแผนการผลิต การควบคมุ การผลติ ใหเ้ ปน็ ไปตามแผน การแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ การกล้าตัดสินใจ ฯลฯ การจดั การฟาร์มทด่ี ีทาให้การเลี้ยงสัตว์ประสบความสาเร็จ 7. หน่วยงานและแหล่งวิชาการทเี่ กยี่ วขอ้ งกับการเลย้ี งสตั ว์ 7.1 หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การเลยี้ งสตั ว์ หน่วยงานท่ีรับผดิ ชอบเร่อื งการเล้ียงสตั ว์โดยตรงได้แกก่ รมปศสุ ตั ว์ ซง่ึ ข้นึ อย่กู ับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หนว่ ยงานนจ้ี ะมีอาสาสมคั รสัตวแพทยป์ ระจาหมู่บ้าน ปศุสัตว์อาเภอ ปศุสตั ว์จังหวดั และปศุสัตว์เขตรับผดิ ชอบในการให้คาแนะนาและช่วยเหลอื เกษตรกรนอกจากทก่ี ล่าวมาแล้ว กรมปศุสัตว์ยงั มีหนว่ ยงานทม่ี ีหนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบแตกต่างกันกระจายอยู่ท่วั ประเทศไดแ้ ก่ ศูนยว์ ิจัยและพฒั นาอาหารสตั ว์ สถานีพฒั นาอาหารสัตว์ ศนู ย์วจิ ยั และบารุงพันธุส์ ตั ว์ สถานวี จิ ยั และทดสอบพนั ธส์ุ ตั ว์ และศนู ยว์ ิจยั การผสมเทยี มและเทคโนโลยีชวี ภาพ 7.1.1 ศนู ยว์ จิ ยั และพฒั นาอาหารสตั ว์และสถานพี ฒั นาอาหารสตั ว์ เปน็ หนว่ ยงานที่ทาหน้าท่ีศึกษาค้นควา้ และวิจัยด้านอาหารสตั ว์ โดยเฉพาะอาหารหยาบ พรอ้ มทงั้ ผลิตเมลด็ พนั ธ์ุพชื อาหารสัตวแ์ ละเกบ็ สะสมอาหารหยาบสารองเพอ่ืจาหนา่ ย จ่ายแจกใหแ้ กเ่ กษตรกรสาหรบั นาไปใช้เปน็ ประโยชน์
หนา้ 16 จาก 17 7.1.2 ศูนยว์ จิ ยั และบารงุ พนั ธส์ุ ตั ว์ และสถานวี จิ ยั และทดสอบพนั ธ์สุ ตั ว์ เปน็ หนว่ ยงานท่ีทาหนา้ ท่ศี ึกษา ค้นควา้ และวิจัยดา้ นการปรบั ปรุงพันธสุ์ ัตว์เพ่ือใหไ้ ดส้ ตั วพ์ นั ธ์ดุ มี คี ณุ คา่ ทางเศรษฐกิจเหมาะสมกบั การเลยี้ งในแต่ละท้องถิ่น พรอ้ มท้งั ให้ความรูแ้ ก่เกษตรกรและส่งเสริมให้เกษตรกรเลี้ยงสัตว์ โดยจาหนา่ ยสตั ว์พันธุด์ ใี หแ้ ก่เกษตรกรในราคามาตรฐาน 7.1.3 ศนู ยว์ จิ ยั การผสมเทยี มและเทคโนโลยีชวี ภาพ เปน็ หน่วยงานที่ทาหนา้ ทีใ่ ห้บรกิ ารผสมเทียมโค กระบอื และสกุ รให้เกษตรกรโดยไมค่ ดิ มูลค่า นอกจากนย้ี ังใหบ้ รกิ ารอนื่ ๆ เก่ียวกับการเลยี้ งสตั ว์ ใหบ้ รกิ ารทาง ดา้ นสตั วแพทย์ เช่น การควบคุมสุขภาพทางเพศของสตั ว์ การตรวจการตงั้ ท้อง การช่วยเหลอื การคลอดยาก การแก้ไขปญั หาการผสมไม่ติด การตอนสัตว์ ตรวจและรักษาพยาบาลสัตวป์ ่วย การทดสอบโรค และการฉดี วัคซีนป้องกนั โรคระบาด เป็นตน้ ผ้เู ลยี้ งสตั ว์ท่สี นใจขอรบั การบรกิ ารผสมเทยี มสามารถติดตอ่ สอบถามรายละเอยี ดและขอสมคั รเปน็ สมาชิกผสมเทยี มไดท้ ีศ่ ูนยผ์ สมเทียม ศนู ย์วจิ ยั การผสมเทยี มและหนว่ ยบริการผสมเทียม ซึ่งสว่ นใหญ่สานักงานปศสุ ตั วอ์ าเภอเป็นหนว่ ยให้บรกิ าร 7.2 แหลง่ วชิ าการทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเลยี้ งสตั ว์ นอกจากกรมปศุสัตว์ท่ีทาหน้าทเ่ี กย่ี วข้องกบั การเลย้ี งสัตว์โดยตรงแลว้ ยงั มสี ถาบนัการศึกษาต่างๆ ท่ัวประเทศท่ีเปน็ แหล่งข้อมูล ความรู้ทางวชิ าการ สามารถใหค้ าแนะนาแกผ่ ู้เลยี้ งสตั ว์ ไดแ้ กม่ หาวทิ ยาลยั วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยี และวิทยาลยั ประมง 7.2.1 มหาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยเปน็ สถาบันการศึกษาระดับสูงทาหน้าทผ่ี ลิตนสิ ิตนักศกึ ษา สาขาสัตวบาล สัตวศาสตร์ และเทคโนโลยกี ารผลิตสตั ว์ นอกจากนมี้ หาวทิ ยาลัยยังทาหนา้ ทีศ่ ึกษาค้นคว้า ทดลองและวจิ ัยทางดา้ นสตั ว์เพอ่ื สง่ เสรมิ ปรับปรุงรูปแบบการเล้ียงสตั วใ์ ห้ทนั สมัย 7.2.2 วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยี และวทิ ยาลยั ประมง เปน็ สถาบนั การศึกษาทีส่ งั กัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษากระทรวงศึกษาธกิ าร ทาหนา้ ท่ีผลติ นกั สตั วบาลในระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) และระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้นั สงู (ปวส.) นอกจากนภี้ ายในวทิ ยาลยั ยงั มฟี ารม์ ปศสุ ตั วท์ ้งั กลุ่มสตั วใ์ หญ่ สตั วเ์ ลก็ และสตั ว์ปีก เพือ่ ใชเ้ ปน็ แหล่งเรยี นร้ขู องนกั เรยี นนักศึกษาและเกษตรกรผ้สู นใจท่ัวไป
หนา้ 17 จาก 17 สรุป มนุษย์มีการเลยี้ งสตั วม์ านานแลว้ โดยมจี ดุ ประสงคห์ ลักคอื การเล้ียงเพื่อใชเ้ ป็นอาหารและใชแ้ รงงาน คาดวา่ ในอนาคตจะมีการเลยี้ งสตั ว์เพม่ิ มากข้ึนโดยเฉพาะสัตวท์ ่มี ีช่วงการเล้ียงสั้นใหผ้ ลผลติ เร็วและสามารถจาหน่ายไดท้ ่ัวไปท้ังภายในและต่างประเทศ นอกจากนีผ้ ูเ้ ลย้ี งสตั ว์ต้องมคี ุณสมบตั ิเหมาะสม เริ่มต้นไดถ้ ูกตอ้ ง เลอื กสถานทท่ี าฟารม์ และวางผังฟารม์ ได้เหมาะสม เข้าใจถงึ ระบบการจัดการฟารม์ จดั การเรื่องตลาดไดเ้ ป็นอย่างดี มที ุนเพยี งพอแก่การดาเนินการ และตอ้ งรูจ้ กั หนา้ ทแ่ี ละสถานทต่ี ั้งของหนว่ ยงานและแหลง่ วิชาการท่ีเกี่ยวข้อง แบบฝกึ หัด / คาถามท้ายบท 1. อธบิ ายความเปน็ มาของการเลย้ี งสตั ว์มาใหเ้ ข้าใจ 2. ประโยชนข์ องการเลยี้ งสตั วใ์ นข้อใดสาคญั ที่สดุ เพราะเหตใุ ดอธบิ ายใหเ้ ขา้ ใจ 3. ในอนาคตแนวโนม้ การเลยี้ งสัตว์ของประเทศไทยเปน็ อยา่ งไร เพราะเหตุใด 4. นักศกึ ษาคดิ ว่าปจั จัยใดท่มี ีผลต่อความสาเรจ็ ในการประกอบอาชีพเลยี้ งสตั ว์มากท่ีสดุเพราะเหตุใด 5. นกั ศึกษามีคุณสมบัตเิ หมาะสมตอ่ อาชีพการการเลย้ี งสตั ว์หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด 6. หากนักศึกษาตอ้ งการเล้ียงสตั ว์สามารถติดต่อหนว่ ยงานและแหล่งวิชาการทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การเล้ียงสตั วใ์ ดบ้างทใ่ี กลแ้ ละสะดวก แหลง่ ความรู้เพิม่ เติมกนกวรรณ ศรที ศั นีย,์ บรรณาธิการ. (2541). กระตา่ ย. สมุทรปราการ : ไฟว์อดี เิ ตอร์.กรมปศุสัตว์. (2541). 5 พฤษภาคม วนั สถาปนากรมปศสุ ัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ม.ป.ท. (กรมปศสุ ัตวพ์ มิ พแ์ จกในโอกาสวันสถาปนากรมฯ)คณาจารย์มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ (2532). รวมเร่ืองโคเน้ือ. พมิ พค์ ร้งั ที่ 3. นครปฐม : ศนู ย์ส่งเสริมและฝึกอบรมการเกษตรแห่งชาติ.คลีนคิ สตั วบาล. (2538, พฤษภาคม-มถิ ุนายน, กรกฎาคม-สิงหาคม). ประเทศทเี่ ลีย้ งสัตว์ มาก 20 อันดบั แรกของโลกและการบรโิ ภคผลิตภณั ฑส์ ตั ว์ของบางประเทศในปี 2537. สัตวบาล, ปีที่ 5 (ฉบบั ที่ 27,28), 99 หนา้ : 95-96ศริ ขิ ัณฑ์ พงษพ์ ฒั น.์ (2539, พฤษภาคม-มถิ ุนายน). มูลไก่ไม่ใชข่ ี้ไก่. สตั วบาล ปที ่ี 6 (ฉบับ ที่ 33), 96 หนา้ : 18สุวรรณ เกษตรสวุ รรณ และคณาจารย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (3535). การเลี้ยงไก.่ พมิ พ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : ประชาชน.สวุ ทิ ย์ เฑยี รทอง. (2536). หลกั การเล้ยี งสตั ว์. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ : โอ เอส พร้ิน ติง้ เฮา้ ท.์
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: