อีวา มุคตาร์ จากจาการ์ต้า กล่าวว่า “หากคุณคิดว่าความประทับใจเม่ือแรกเห็น มีความหมาย ลองฟังเร่ืองน้ีดู ขอให้นึกภาพว่ามีเด็กๆ อายุต่างๆ กันกว่า 60 คนจากใน หมู่บ้านมานั่งรวมกันบนพ้ืนบ้านแห่งหน่ึง ต่างคนต่างกำาลังอ่านหนังสือในมืออย่าง ตั้งอกตั้งใจดื่มด่ำา พวกเขามาอ่านหนังสือท้ังๆ ท่ีฝนกำาลังตกหนัก พวกเขาแทบจะ ไม่คุยกันและไม่มีใครวิ่งไปมาเลย พวกเขาเอาแต่น่ังอ่านหนังสือ ใช่แล้วล่ะ ฉันก็คิด อย่างน้นั เหมือนกัน ฉันได้ยินเร่อื งความคิดริเร่ิมเรื่องอุทยานการอ่านสายรุ้งมาได้สักพักหน่ึง แล้ว แต่ฉันไม่คาดคิดเลยว่าผลกระทบที่โครงการมีต่อเด็กๆ จะมหาศาลและมหัศจรรย์ ขนาดน้จี นกระทัง่ ฉันได้มาเห็นด้วยตาของฉันเอง” 4. ทางออกท่ีเป็นไปได้และจุดแข็งของโครงการอุทยานการอ่าน สายรุ้ง เม่ือดูจากข้อมูลป้อนกลับและคำาบอกเล่าจากอาสาสมัครผู้ดูแลห้องสมุด มีทางออก ท่ีเป็นไปไดด้ ังนี้ 1. การทาำ ใหป้ ระชาชนเหน็ ความสาำ คญั ของการศกึ ษาและการอา่ นเปน็ สงิ่ จาำ เปน็ กจิ กรรมนจ้ี ะเพมิ่ มลู คา่ ใหก้ บั ความพยายามของทกุ ฝา่ ยทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ทง้ั น ี้อาจ ทาำ ไดโ้ ดยการขอใหเ้ ดก็ โตมาอา่ นหนงั สอื ใหเ้ ดก็ เลก็ ในหมบู่ า้ นฟงั เพอื่ ทพ่ี วกเขาจะ ไดเ้ ขา้ ใจความสาำ คญั ของการถา่ ยทอดนสิ ยั รกั การอา่ น โปรแกรมนอี้ าจอยใู่ น รปู การรณรงคใ์ นระดบั หมบู่ า้ นเพอื่ ขยายผลไปสรู่ ะดบั ทกี่ วา้ งขวางขนึ้ อกี ความคดิ หนงึ่ คอื การรณรงค ์“รกั การอา่ น” โดยรว่ มมอื กบั นกั เลา่ นทิ านเพอ่ื กระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ๆ สนใจการอ่าน 2. ในระดบั ชาต ริ ว่ มมอื กบั องคก์ รทมี่ เี ปา้ หมายเดยี วกนั และหนว่ ยงานภาครฐั ทงั้ ใน ระดบั ทอ้ งถนิ่ และระดบั จงั หวดั ในการจดั การรณรงคร์ ะดบั ชาตดิ า้ นการอา่ นใน วนั สาำ คญั ตา่ งๆ ความรว่ มมอื ระหวา่ งภาครฐั และเอกชนเปน็ สงิ่ สาำ คญั ทจ่ี ะทาำ ให้ การรณรงคด์ ้านการอ่านและการศึกษาประสบความสำาเรจ็ 3. เชญิ ชวนใหพ้ อ่ แมผ่ ปู้ กครองมาเยยี่ มเยอื นหอ้ งสมดุ และแสดงใหพ้ วกเขาเหน็ ประโยชนข์ องการอา่ นแทนทจ่ี ะบอกเลา่ ดว้ ยคาำ พดู เทา่ นน้ั ห รอื อาจจดั หาหนงั สอื ให้ บรรดาพ่อแมอ่ า่ นในห้องสมดุ เดยี วกันกับลูกๆ กไ็ ด้ 50 | อ่านเขา อ่านเรา
4. จดั การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารสาำ หรบั อาสาสมคั รโดยจดั ใหม้ กี ารสาธติ วธิ กี ารและ เทคนคิ ทป่ี ฏบิ ตั ไิ ดจ้ รงิ ในการกระตนุ้ ใหเ้ ดก็ ๆ เกดิ ความสนใจในการอา่ นและให้ เดก็ ๆ ไดป้ ลดปล่อยจนิ ตนาการของพวกเขาอยา่ งอสิ ระ 5. จดั กจิ กรรมทสี่ นกุ สนานและมปี ฏสิ มั พนั ธ ์เชน่ การแขง่ ขนั อา่ น เขยี น ประกวด บทกว แี ละการจดั นทิ รรศการตา่ งๆ ทง้ั น นี้ อกจากจะกระตนุ้ ใหเ้ กดิ จนิ ตนาการ แลว้ กจิ กรรมเหลา่ นย้ี งั ชว่ ยทาำ ใหท้ กั ษะการอา่ นและเขยี นของเดก็ ๆ เฉยี บคมขนึ้ อกี ดว้ ยย งิ่ ไปกวา่ นนั้ ยงั จะเปน็ การสนบั สนนุ ใหพ้ อ่ แมผ่ ปู้ กครองและครเูรม่ิ หนั มา ใหค้ วามสนใจนสิ ยั ดา้ นการอา่ นและการเขยี นของลกู ๆห รอื นกั เรยี นของตนดว้ ย นับเป็นความท้าทายอย่างหนึ่งท่ีจะเปล่ียนแปลงความเชื่อของผู้ใหญ่โดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ ผใู้ หญท่ อ่ี าศยั อยใู่ นพน้ื ทห่ี า่ งไกล อทุ ยานการอา่ นสายรงุ้ พยายามทจ่ี ะเปลย่ี นพฤตกิ รรม ของผคู้ นและทาำ ใหพ้ อ่ แมแ่ ละเดก็ ๆ เหน็ ความสาำ คญั ของการอา่ น และทส่ี าำ คญั ทส่ี ดุ อทุ ยานฯ ตอ้ งการกลอ่ มเกลาใหเ้ ดก็ ๆ ทอ่ี าศยั อยใู่ นพน้ื ทห่ี า่ งไกลเกดิ ความรกั หนงั สอื หนงั สอื เปน็ เสมอื น ส่ือกลางที่เปิดประตสู ู่โลกใบใหมท่ ่ีไร้ขอ้ จำากดั ดว้ ยหนงั สือนเ้ี อง เด็กๆ จะได้รบั การกระต้นุ ให้ เตบิ โต เออ้ื มไปจนถงึ ความฝนั ของพวกเขาและกา้ วสอู่ นาคตทส่ี ดใส เดก็ ๆ ทอ่ี าศยั อยใู่ นหมบู่ า้ น หา่ งไกลลว้ นมสี ทิ ธทิ จ่ี ะประสบความสำาเรจ็ เชน่ เดยี วกนั กบั เพอ่ื นรนุ่ ราวคราวเดยี วกนั ทอ่ี าศยั อยู่ ในเมอื งใหญ่ ในเวลาเดียวกันกับท่ีอุทยานการอ่านสายรุ้งดำาเนินการผลักดันให้เด็กๆ รักการอ่าน ทางองค์กรเองก็ยังหันกลับไปมุ่งที่จุดแข็งซ่ึงมักถูกมองข้ามไปบ่อยครั้ง นั่นคือ การสร้าง เครอื ขา่ ย โดยที่ผา่ นมาอทุ ยานการอ่านสายรงุ้ ได้จัดทาำ ความร่วมมือกับองคก์ รอน่ื ๆ ทม่ี ีความ ห่วงใยเด็กๆ ร่วมกัน และอาศัยความเชี่ยวชาญขององค์กรเหล่านั้นในการช่วยให้โครงการ อทุ ยานการอ่านสายร้งุ บรรลเุ ปา้ หมาย และ/หรือสนบั สนุนการดาำ เนินงานของอทุ ยานฯ อาทิ ก. ความรว่ มมอื กบั สายการบนิ ตา่ งๆ อทุ ยานการอา่ นสายรงุ้ รว่ มมอื กบั สายการบนิ ทรานสน์ สุ า (เอวเิ อสตารแ์ อรไ์ ลน)์ และแอรเ์ อเซยี อนิ โดนเีซยี ในการจดั สง่ หนงั สอื ไปยงั เกาะตา่ งๆ ทห่ี า่ งไกลซง่ึ เปน็ ตน้ ทนุ คา่ ใชจ้ า่ ยทส่ี งู ทส่ี ดุ ขององคก์ รระดบั รากหญา้ แหง่ น ้ีสายการบนิ ทง้ั สองยอมยกเวน้ คา่ จดั สง่ ใหซ้ ง่ึ เปน็ เสมอื นการ ยกภาระอนั หนกั หนาสาหสั ออกจากองคก์ รเลยกว็ า่ ได ้ อุทยานการอา่ นสายรุง้ | 51
ข.ความร่วมมือกับสมาพันธ์เรือยอชท์ อุทยานการอ่านสายรุ้งร่วมมือกับ อนิ โดยอชทซ์ พั พอรท์ และยอชทเ์ อดสโ์ กลบอล ซง่ึ ทง้ั สององคก์ รนชี้ ว่ ยระดมทนุ ใหก้ บั อทุ ยานการอา่ นสายรงุ้ และยงั ชว่ ยจดั สง่ หนงั สอื ไปยงั เกาะทหี่ า่ งไกลท่ี สมาชกิ ลอ่ งเรอื อนั หรหู ราไปเยอื นอกี ดว้ ย ความรว่ มมอื นช้ี ว่ ยลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการ จดั สง่ หนงั สอื และเปดิ โอกาสใหผ้ ทู้ อี่ ยบู่ นเรอื ยอชทไ์ ดม้ ปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั ชาวบา้ น ชาวอนิ โดนเี ซยี และทาำ บางสงิ่ เปน็ การตอบแทนชมุ ชนทพี่ วกเขาไปเยอื น ค.รว่ มมอื กบั อาสาสมคั รจากระดบั รากหญา้ ในการทจ่ี ะชว่ ยคา้ำ จนุ โครงการ หอ้ งสมดุ ใหด้ าำ เนนิ อยตู่ อ่ ไปไดอ ้ ทุ ยานการอา่ นสายรงุ้ ไดร้ ว่ มมอื กบั ชมุ ชนพนื้ บา้ น และเชญิ ชวนผนู้ าำ ชมุ ชนใหเ้ ขา้ มาเปน็ อาสาสมคั รย งิ่ ไปกวา่ นนั้ อทุ ยานการอา่ น สายรงุ้ ยงั ไดร้ ว่ มมอื กบั ผบู้ รหิ ารและผทู้ าำ งานวชิ าชพี ทอ่ี าศยั อยใู่ นกรงุ จาการต์ า้ นครหลวงของอนิ โดนเีซยี โดยขอใหพ้ วกเขาเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในโครงการรณรงค์ บรจิ าคหนงั สอื ทชี่ อื่ “Drive Books, Not Cars.” โดยการรณรงคน์ ยี้ งั ไดร้ บั ความ รว่ มมอื จากรา้ นคา้ ปลกี ตา่ งๆ เชน่ สตารบ์ คั ส ์สถานทตู ตา่ งๆ เปน็ ตน้ ใหเ้ ปน็ สถานทตี่ ง้ั กลอ่ งรบั บรจิ าคหนงั สอื ไมว่ า่ จะเปน็ หนงั สอื สาำ หรบั เดก็ ทเี่ ปน็ ภาษา อนิ โดนเีซยี หรอื นวนยิ ายภาษาองั กฤษจ ากนนั้ อาสาสมคั รจะมารบั หนงั สอื เหลา่ นี้ ไป หนงั สอื เดก็ จะถกู สง่ ไปยงั อทุ ยานการอา่ นสายรงุ้ ในขณะทนี่ วนยิ ายภาษา องั กฤษจะถกู นาำ ไปจาำ หนา่ ยตามตลาดนดั เพอื่ ระดมเงนิ ทนุ อาสาสมคั รของ โครงการอุทยานการอ่านสายรงุ้ จะเป็นผ้ดู ำาเนนิ กจิ กรรมเหล่านี้ ง. หาแหลง่ สนบั สนนุ จากบคุ คลทว่ั ไป สถาบนั และบรษิ ทั ตา่ งๆ ผา่ นโซเชยี ล มีเดียหรอื สอื่ สงั คมออนไลน์ โซเชยี ลมเี ดียเปน็ ที่นยิ มแพรห่ ลายมากใน อนิ โดนเี ซยี หากทวติ เตอรม์ เี มอื งหลวง เมอื งนน้ั กค็ งจะเปน็ จาการต์ า้ ปจั จบุ นั มี ผใู้ ชเ้ ฟซบคุ๊ 47 ลา้ นคนในอนิ โดนเี ซยี ซง่ึ ทาำ ใหเ้ ปน็ ประเทศทใี่ หญเ่ ปน็ อนั ดบั สี่ ในแงจ่ าำ นวนผใู้ ช อ้ ทุ ยานการอา่ นสายรงุ้ ใชโ้ ซเชยี ลมเี ดยี เหลา่ นใ้ี นการหาความ สนบั สนนุ จากผคู้ นและองคก์ รตา่ งๆ และใชเ้ ปน็ ชอ่ งทางในการแบง่ ปนั ภาพถา่ ย และคาำ บอกเลา่ จากอาสาสมคั รอกี ดว้ ย โซเชยี ลมเี ดยี ยงั มปี ระโยชนม์ ากในการ กระตนุ้ ใหส้ าธารณชนรบั รถู้ งึ การรณรงคข์ องอทุ ยานการอา่ นสายรงุ้ ทท่ี าำ รว่ มกบั หนว่ ยงานหรือบริษทั ตา่ งๆ 52 | อ่านเขา อา่ นเรา
จ. เปดิ รบั การสรา้ งเครอื ขา่ ยกบั องคก์ รดา้ นการอา่ นและวฒั นธรรมระดบั นานาชาติ อทุ ยานการอา่ นสายรงุ้ เปดิ รบั การรว่ มมอื กบั องคก์ รอนื่ ๆ ทม่ี เี ปา้ หมายรว่ มกนั ความรว่ มมอื นอ้ี าจพฒั นากลายเปน็ กจิ กรรมรปู แบบตา่ งๆก ารรณรงคห์ รอื แมแ้ ต่ งานดา้ นอาสาสมคั รในพนื้ ท อี่ ทุ ยานการอา่ นสายรงุ้ เชอ่ื วา่ ยง่ิ มผี เู้ ขา้ รว่ มมากขนึ้ เทา่ ไรกจ็ ะยง่ิ ดาำ เนนิ งานครอบคลมุ พนื้ ทไ่ี ดก้ วา้ งขวางมากขน้ึ เทา่ นน้ั และนน่ั หมายความวา่ จะยง่ิ มเี ดก็ ๆ ในพน้ื ทห่ี า่ งไกลสามารถเขา้ ถงึ หนงั สอื ดๆี ไดจ้ าำ นวน มากขนึ้ และโครงการอทุ ยานการอา่ นสายรงุ้ กจ็ ะสามารถเขา้ ถงึ ผคู้ นจาำ นวนมาก ย่งิ ขน้ึ ตามไปดว้ ย โครงการอุทยานการอ่านสายรุ้งหวังท่ีจะเติบโตต่อไปและจัดต้ังห้องสมุดสำาหรับเด็ก เพิ่มข้ึน และมอบแรงบันดาลใจให้เด็กๆ ที่อาศัยอยู่ในพ้ืนที่ห่างไกลในอินโดนีเซียตะวันออก ไดม้ โี อกาสปลดปลอ่ ยจนิ ตนาการของพวกเขาใหโ้ ลดแลน่ อยา่ งอสิ ระและสรา้ งเสรมิ ความมน่ั ใจ ใหก้ บั พวกเขาผ่านทางพลงั ของหนังสอื หาขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ เกย่ี วกับโครงการอทุ ยานการอ่านสายร้งุ ไดท้ ี่ www.tamanbacaanpelangi.com. Twitter: @pelangibook. Facebook: www.facebook.com/pelangibook. E-mail: [email protected] อทุ ยานการอ่านสายรุ้ง | 53
หล�ยคนบอกว่�คนล�วไมช่ อบอ่�นหนังสอื แตอ่ นั ทีจ่ ริงแล้วพวกเร�มีวรรณกรรม และประเพณีก�รเล่�เรอ่ื งซง่ึ ตกทอดจ�กรุ่นสรู่ ุน่ ม�ย�วน�น ผลจ�กก�รสำ�รวจพบว่�เดก็ ๆ รักก�รอ�่ น แต่ยงั ข�ดอปุ กรณ์ และผู้น�ำ พ�ที่จะช่วยหลอ่ หลอมคว�มสนใจของพวกเข� 54 | อา่ นเขา อ่านเรา
การสง่ เสรมิ การอา่ นและหอ้ งสมดุ ในสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว สมเพ็ด พงพาจนั (Somphet Phongphachanh) ขอ้ มูลประเทศ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) เปน็ ประเทศทม่ี ขี นาดเลก็ มีพ้ืนท่ีเพียง 236,000 ตารางกิโลเมตร ความยาวจากทิศเหนือจรดทิศใต้เป็นระยะทางกว่า 1,700 กิโลเมตร และความกว้างจากทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตกคิดเป็นระยะทาง ประมาณ 100-400 กิโลเมตร สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเป็นประเทศท่ีไม่มี ทางออกสู่ทะเล ทิศเหนือของประเทศมีพรมแดนติดจีน ทางทิศตะวันออกติดประเทศ เวยี ดนาม ทศิ ใตต้ ดิ กัมพชู า และทิศตะวนั ตกติดประเทศพม่าและประเทศไทย พรมแดนดา้ น ตะวันตกส่วนใหญ่เลาะเลียบตามลำาแม่น้ำาโขง พื้นท่ีประมาณร้อยละ 80 ของประเทศเป็น ภูเขาและเกือบคร่ึงหนึ่ง (47%) เป็นป่าไม้ การท่ีพ้ืนท่ีส่วนใหญ่เป็นภูเขาก่อให้เกิดความ ยากลำาบากในเรื่องของการขนส่งและการสื่อสาร อย่างไรก็ตามด้วยความท่ีประเทศเต็มไป ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของแม่น้ำาหลายสาย พื้นที่ซึ่งเป็นภูเขาสูงจึงเอื้อประโยชน์อย่างมาก ต่อการพัฒนาไฟฟ้าพลังนำ้า นอกจากน้ันผืนป่ายังอุดมไปด้วยพืชและสัตว์ป่านานาชนิดรวม ทั้งไม้เน้ือแข็ง แร่ธาตุจำานวนไม่น้อย อาทิ แร่เหล็กและถ่านหินก็มีกระจัดกระจายอยู่ท่ัวไป ตามภูเขา ลาวเปน็ ประเทศทม่ี ปี ระชากรหนาแนน่ นอ้ ยสดุ ในบรรดาประเทศแถบเอเชยี ตะวนั ออก- เฉียงใต้ น่ันคือเฉลี่ยมีประชากร 24 คนต่อ 1 ตารางกิโลเมตร จำานวนประชากรทั้งสิ้นใน แปลจาก “Reading Promotion and Library in Lao PDR Supporting by Room to Read Laos” นาำ เสนอ ในงานประชมุ วิชาการ Thailand Conference on Reading 2011 วันท่ี 24-25 สงิ หาคม 2554 การสง่ เสรมิ การอ่านและห้องสมดุ ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว | 55
พ.ศ. 2548 มีจำานวน 5,621,982 คนและคาดว่าจะเพ่ิมขึ้นอีกร้อยละ 2.1 ในปี 2552 หรือ คิดเป็นจำานวน 6,100,000 คน ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเขตชนบท (ร้อยละ 80) ตามหมู่บ้านเล็กๆ จากลักษณะภูมิประเทศและการด้อยพัฒนาได้นำาไปสู่ความแตกต่าง อย่างมากท้ังในแง่ของสภาพเศรษฐกิจ สุขภาพ การศึกษาและด้านอ่ืนๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิง ในชนบทและในพ้ืนท่ีห่างไกล ประเทศถูกแบ่งเขตปกครองออกเป็น 16 แขวง [เทียบเท่า จังหวดั ] กับอกี หนง่ึ นครหลวง แตล่ ะแขวงแบง่ ออกเป็นเมอื ง [เทยี บเท่าอำาเภอ] และหมูบ่ ้าน โดยมีจำานวนท้ังส้ิน 142 เมือง และ 10,500 หมู่บ้านในจำานวนนี้ 47 อำาเภอได้รับการ ประเมนิ ว่าเปน็ พน้ื ที่ท่ียากจนทีส่ ุดและสมควรได้รบั การชว่ ยเหลอื จากรฐั บาลเป็นอันดับตน้ ๆ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาวเปน็ ประเทศเกษตรกรรม (ปศสุ ตั ว ์การ ประมง และการป่าไม้) ซ่ึงแรงงานส่วนใหญ่ของประเทศ ร้อยละ 85 อยู่ในภาคน้ี โดยส่วน ใหญ่เป็นเศรษฐกิจแบบพึ่งพาตนเอง แรงงานสตรีมีจำานวนท้ังสิ้นร้อยละ 45 ของจำานวน แรงงานท้ังหมด ภาคอุตสาหกรรมและการบริการคิดเป็นตัวเลขประมาณร้อยละ 40 ของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product : GDP) รายได้ประชากรต่อ หัวต่อปีเท่ากับ 500 เหรียญสหรัฐในปี พ.ศ. 2548 และ 800-900 เหรียญสหรัฐในปี พ.ศ. 2552 (โดยประมาณ) ภายใต้กลไกของเศรษฐกิจยุคใหม่ท่ีประเทศนำามาใช้ในปี พ.ศ. 2529 การผลิตในภาคอุตสาหกรรมและการค้าส่งค้าปลีกในภาคบริการมีการเจริญเติบโตขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ข้อมูลการศกึ ษา ระบบการศกึ ษาของลาวไดร้ บั การพฒั นาปรบั ปรงุ ขน้ึ ใหมใ่ นป พี .ศ.2518 โดยแบง่ ออกเป็นระดับประถมห้าปี มัธยมต้นสามปี และมัธยมปลายสามปี (5+3+3) ต่อมาระหว่าง การประชมุ แห่งชาตใิ นป ี พ.ศ. 2549 ไดม้ ีการเสนอให้มีการปฎิรปู การศกึ ษาโดยรวมซงึ่ ทำาให้ โครงสร้างถูกเปล่ียนเป็น 5+4+3 โดยได้เร่ิมใช้ในปีการศึกษา พ.ศ. 2552-2553 ปัจจุบันมี จำานวนโรงเรียนประถมท้ังสิ้น 8,871 โรง (ร้อยละ 51.9 เป็นโรงเรียนประถมศึกษาอย่าง สมบรู ณ์) และโรงเรยี นมัธยมจาำ นวน 1,125 โรง 56 | อา่ นเขา อา่ นเรา
การรหู้ นงั สอื หมายถงึ ความสามารถในการอา่ น การเขยี นและการนบั ตวั เลข การศึกษานอกระบบและการเข้าเรียนในระดับประถมศึกษาน้ันมีความหลากหลายต่างกันไป ในแต่ละแขวง อตั ราการรหู้ นงั สอื ในผใู้ หญ่มคี วามต่างกันไปตัง้ แตร่ อ้ ยละ 43.1-91.7 สำาหรบั ค่าเฉล่ียของอัตราการรู้หนังสือในระดับประเทศตกอยู่ท่ีร้อยละ 85 ในกลุ่มประชากรอายุ ระหว่าง 15-40 ป ี และรอ้ ยละ 77 ในกลุม่ อายมุ ากกว่า 15 ปขี ้ึนไป ขณะทอ่ี ตั ราสว่ นสุทธิ ของการเข้าเรียนในระบบเท่ากับร้อยละ 73.6 ในแขวงหลวงน้ำาทา และร้อยละ 94.2 ใน นครหลวงเวียงจันทน์ อัตราการรู้หนังสือท้ังในกลุ่มเยาวชนและผู้ใหญ่อยู่ในอัตราท่ีตำ่าทั้งใน แง่ของปริมาณและคุณภาพโดยเฉพาะในพื้นท่ีที่เป็นเทือกเขาสูงและในกลุ่มชาติพันธ์ุ อันเน่ืองมาจากคุณภาพของครู ตามปกติช้ันเรียนสำาหรับผู้ไม่รู้หนังสือจะมีขึ้นหลังช่ัวโมง เรียนปกติและสอนโดยครูผู้สอนช้ันประถมศึกษาซึ่งส่วนใหญ่เป็นครูในพ้ืนท่ีท่ีมักไม่ได้รับการ ฝึกอบรม (ประมาณร้อยละ 15-18 ของจำานวนครูในโรงเรียนประถมศึกษาท่วั ประเทศ) อตั ราการรหู้ นงั สอื ในกลมุ่ ผใู้ หญแ่ ละเยาวชนของประเทศลาวจากผลการสาำ รวจใน ป ี พ.ศ. 2544 สามารถจาำ แนกออกเป็นกลุ่มไดด้ งั นี ้ • ประชากรอายมุ ากกวา่ 15 ปขี นึ้ ไปมรี อ้ ยละ 68.7 เปน็ หญงิ รอ้ ยละ 60.9 และชายร้อยละ77.0 • ผใู้ หญอ่ ายรุ ะหวา่ ง 15-39 ป ีมรี อ้ ยละ 75.4 เปน็ หญงิ รอ้ ยละ 71.1 และชาย ร้อยละ 80.2 • ผใู้ หญอ่ ายรุ ะหวา่ ง 15-59 ป ีมรี อ้ ยละ 72.3 เปน็ หญงิ รอ้ ยละ 65.5 และชาย รอ้ ยละ 79.5 หากดใู นระดบั แขวง กรงุ เวยี งจนั ทนซ์ ง่ึ เปน็ เมอื งหลวงมอี ตั ราการรหู้ นงั สอื ในกลมุ่ ผู้ใหญ่ (อายุมากกว่า 15 ปีข้ึนไป) สูงสุดโดยมีอัตราการรู้หนังสือร้อยละ 93.8 ในเพศชาย และรอ้ ยละ 86.7 ในเพศหญงิ อันดบั สองได้แก่แขวงจาำ ปาสกั โดยมีอตั ราการรหู้ นงั สอื ร้อยละ 83 เท่ากันทั้งในชายและหญิง ท้ังนี้หากพิจารณาในแง่ท่ีว่ากรุงเวียงจันทน์เป็นนครหลวงที่มี ความโดดเด่นกว่าในแง่ของสังคมและเศรษฐกิจถือได้ว่าอัตราการรู้หนังสือสำาหรับผู้ใหญ่อยู่ ในระดบั ปานกลางเทา่ นัน้ คอื เพยี งรอ้ ยละ 81.4 ในเพศชาย และ ร้อยละ 67.8 ในเพศหญงิ จะเห็นได้ว่าอัตราการรู้หนังสือในเพศหญิงนั้นต่ำามาก (ต่ำากว่าร้อยละ 50) ในแขวงสาละวัน พงสาล ี หลวงนา้ำ ทา อุดมไชย หัวพนั หลวงพระบาง และบ่อแก้ว โดยแยกเปน็ ตัวเลขไดด้ ังน้ี การสง่ เสรมิ การอ่านและห้องสมุด ในสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว | 57
อตั ราการร้หู นงั สอื (ในภาษาลาว) ในเขตพ้นื ที่ที่ Room to Read laos ดำาเนินการอยู่ ขอ้ มลู ทเ่ี กบ็ รวบรวมโดยกรมการศกึ ษานอกโรงเรยี นสาำ หรบั ปกี ารศกึ ษา พ.ศ.2551- 2552 จากรายงานของแตล่ ะเขตปกครองตา่ งๆ แม้จะยังไม่เสร็จสมบรู ณ ์ เพราะเปน็ ขอ้ มูลที่ รวบรวมมาจาก 8,925 หมู่บ้านเท่าน้ันจากจำานวน 10,500 หมู่บ้านทั่วประเทศ แต่ก็พอจะ ทำาให้เห็นภาพกว้างๆ ของอัตราการรู้หนังสือของประเทศได้ ตารางด้านล่างเป็นรายงาน แสดงตัวเลขของคนไมร่ ู้หนังสอื ซ่งึ ได้รับการคาำ นวณโดยที่ปรกึ ษา อัตราการไม่รหู้ นังสอื ในเขตปกครองทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนโดย Room to Read 58 | อา่ นเขา อา่ นเรา
ท่ีมา : กรมการศึกษานอกโรงเรยี น 2551-2552 การสง่ เสรมิ การอ่านในลาว ผลสาำ รวจพฤตกิ รรมการอา่ นในหมเู่ ดก็ นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาทไี่ ดร้ บั การจดั ทาำ โดยห้องสมุดแห่งชาติของประเทศลาวและกรมสามัญศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการช่วง ระหว่างปี พ.ศ. 2518 - 2531 พบว่าเด็กท่ีกำาลังศึกษาอยู่ในช่วงสามปีแรกไม่สามารถอ่าน หนังสือได้ (ได้แตท่ ่องตามจนขนึ้ ใจ) แม้แตผ่ ทู้ ่เี รยี นจบระดับประถมศึกษากย็ งั ไม่สามารถอา่ น ได้ดี การสำารวจซ่ึงได้ดำาเนินการในทุกเขตปกครองของประเทศลาวพบว่าการที่เด็กไม่สนุก กับการอ่านก็เพราะว่าไม่มีหนังสือที่เหมาะสมสำาหรับพวกเขานั่นเอง หรือจะพูดให้ถูกก็คือ มีแต่ตำาราเรียนเพียงอย่างเดียว แต่ไม่มีหนังสือภาพท่ีเหมาะสมกับวัยของพวกเขา หลายคน บอกว่าคนลาวไม่ชอบอ่านหนังสือ แต่อันท่ีจริงแล้วพวกเรามีวรรณกรรมและประเพณี การเล่าเรื่องซ่ึงตกทอดจากรุ่นสู่รุ่นมายาวนาน ผลจากการสำารวจพบว่าเด็กๆ รักการอ่าน แต่ยังขาดอุปกรณ์และผู้นำาพาหล่อหลอมความสนใจของพวกเขา จากผลดังกล่าวทำาให้ กระทรวงสารสนเทศและวัฒนธรรม และกระทรวงศึกษาธิการจัดทำาโครงการส่งเสริม การอ่านแห่งชาติข้ึนซึ่งได้ดำาเนินการมาต้ังแต่ปี พ.ศ. 2532 จนถึงปัจจุบันและมีแผน ดำาเนินการตอ่ จนถึงปี พ.ศ. 2563 เพอ่ื สรา้ งให้เกิดสงั คมแห่งการอา่ นขนึ้ การสง่ เสริมการอา่ นและหอ้ งสมุด ในสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว | 59
กจิ กรรมของโครงการประกอบไปดว้ ยการจดั พมิ พห์ นงั สอื เดก็ หอ้ งสมดุ เคลอื่ นท ี่ ห้องสมุดแบบพกพาห้องอ่านหนังสือ ห้องสมุดโรงเรียนและห้องสมุดชุมชน สำาหรับเด็ก ที่ยังไม่ได้ไปโรงเรียนจะจัดให้มีทีมงานระดับหมู่บ้านสำาหรับเล่านิทานโดยใช้การแสดง หุ่นประกอบ นอกจากน้ันจะทำาการเสริมสร้างความเข้าใจเก่ียวกับความสำาคัญของการศึกษา ของเด็กและการอ่านให้ผปู้ กครองไดร้ บั ทราบอีกดว้ ย นอกเหนอื จากการสาำ รวจและจดั กจิ กรรมตา่ งๆ เพม่ิ ใหเ้ กดิ การตระหนกั รบั รู้ เกี่ยวกับความสำาคัญของการรู้หนังสือและบริการห้องสมุดแล้ว ห้องสมุดแห่งชาติยังได้ขอ สนับสนุนเงินทุนจากภายนอกเพื่อนำามาใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างและได้รับการ สนับสนุนเป็นอย่างดีจากนานาประเทศ อย่างไรก็ตามหากเปรียบการสนับสนุนดังกล่าวกับ ฝนซ่ึงอาจตกไม่ท่ัวฟ้า บางคร้ังก็มีปริมาณมากในท่ีหน่ึง ขณะท่ีที่อ่ืนๆ ยังคงแห้งแล้ง ทำาให้ ตลอดระยะ 20 ปีที่ผ่านมาโครงการดังกล่าวสามารถดำาเนินการครอบคลุมได้ประมาณ ร้อยละ 40 ของประเทศเท่าน้ัน จึงยังมีเด็กอีกเป็นจำานวนมากท่ียังต้องการความช่วยเหลือ จากสถิติท่ีเก็บรวบรวมโดยกระทรวงศึกษาธิการพบว่าจากโรงเรียนประถมศึกษาทั้งหมด 8,400 แหง่ หอ้ งสมดุ เคล่ือนทขี่ อง Room to Read Laos เข้าถึงไดเ้ พียง 6,800 โรงเรยี น เท่านั้น ห้องสมุดเคลื่อนท่ีแต่ละหน่วยจะมีกล่องท่ีบรรจุหนังสือ 250 เล่ม หากโรงเรียนใดมี ห้องว่างเราก็จะเข้าไปจัดตั้งห้องอ่านหนังสือขึ้น แต่หากโรงเรียนใดมีพ้ืนท่ีจำากัดก็จะจัดให้มี แคเ่ พยี ง “มมุ อา่ นหนงั สอื ” เม่ือภาครฐั มงี บประมาณพอก็จะดำาเนินการสรา้ งอาคารห้องสมดุ แยกเป็นสดั ส่วนมขี นาดประมาณ 5 x 7 เมตร สามารถบรรจุหนังสอื ได้ 1,500 - 3,000 เลม่ นอกจากน้ียังมีแผนจัดสร้างห้องสมุดประชาชนข้ึนในแต่ละแขวง ปัจจุบันแล้วเสร็จไปเพียง 9 แห่งจากทั้งส้ิน 17 แขวง ห้องสมุดประชาชนเหล่านี้จะมีบทบาทเป็นศูนย์ให้บริการแก่ หอ้ งสมุดดาวเทียมอกี ด้วย โดยสรปุ เงนิ ทนุ จากภายนอกชว่ ยให้ Room to Read Laos สามารถจัดทำา ห้องสมุดเคลื่อนท่ีกว่า 6,000 หน่วย ห้องอ่านหนังสือในโรงเรียนเกือบ 1,000 แห่ง และ สนับสนุนให้มีห้องสมุดโรงเรียน และชุมชนและศูนย์การเรียนรู้อีก 35 แห่ง และห้องสมุด ประจำาแขวงอีก 9 แห่ง ผู้ให้การสนับสนุนหลักได้แก่ Room to Read Laos, Shanti Volunteer Association (SVA), Action for Lao Children (ACL), The American Library Project, Empowerment for All (EFA), Collectif et de Bibliothécaires 60 | อา่ นเขา อ่านเรา
Intervenants en Action Culturelle (COBIAC) และอ่ืนๆ นอกจากน้ียังมีโครงการ ก่อสร้างห้องสมุด ‘10 วัน’ ดำาเนินการโดยผู้นำาโครงการส่งเสริมการอ่านและทีมงาน โดยมีอาสาสมัครจากต่างประเทศมาทำางานกับทีมห้องสมุดแห่งชาติเป็นเวลา 10 วัน ซึ่ง ในระหว่างนั้นบรรดาอาสาสมัครเหล่าน้ีจะได้รับประสบการณ์การใช้ชีวิตในชนบทของลาว กับการเข้าพักอาศัยกับครอบครัวในชุมชน ผู้เข้าร่วมโครงการน้ีต่างก็มีความอ่ิมเอิบใจขณะท่ี ผู้คนในชุมชนก็พากันประหลาดใจที่เห็นห้องสมุดอันสวยงามถูกสร้างข้ึนในเวลาเพียงไม่ก่ีวัน และพากันขนานนามผนู้ าำ โครงการว่าเป็น ‘หญิงมหศั จรรย์ของการกอ่ สรา้ งห้องสมุด’ โครงการสง่ เสรมิ การอา่ นทนี่ าำ เสนอมาขา้ งตน้ เปน็ ปจั จยั ทเ่ี ออ้ื ตอ่ การพฒั นา คุณภาพการศึกษาในพ้ืนท่ีห่างไกลและลดช่องว่างในการเข้าถึงหนังสือของลาวมานานกว่า 20 ปี ความก้าวหน้าของโครงการได้ช่วยลดความเหล่ือมล้ำาของคุณภาพการศึกษาระหว่าง เขตเมืองและชนบทและทำาให้เด็กในพื้นท่ีชนบทหลายแห่งได้มีโอกาสมากขึ้นที่จะเข้าถึง แหลง่ การเรียนรเู้ ช่นการบรกิ ารหอ้ งสมดุ ขณะเดียวกนั ครผู ูส้ อนก็ยงั ได้รบั การปรับปรงุ วิธกี าร สอน จากการศึกษาพบว่าอัตราการไม่รู้หนังสือของประชาชนทำาให้รัฐบาลลาวสนับสนุนการ ส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในประเทศลาวโดยอนุญาตให้องค์กรเอกชนจากต่างประเทศ หลายหน่วยงานเข้ามาให้การสนับสนุนกิจกรรมการอ่านต่างๆ ในสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวและหาวิธีการลดช่องว่างในการเข้าถึงหนังสือและการปรับปรุงคุณภาพ การศกึ ษา (Quality of Education) แมว้ า่ รฐั บาลจะตอ้ งการใหท้ กุ สว่ นของประเทศไดร้ บั การศกึ ษาทม่ี คี ณุ ภาพ แตใ่ น การปฏิบัติยังคงมีความเหล่ือมลำ้าอย่างมีนัยสำาคัญ โดยเฉพาะอย่างย่ิงระดับการอ่านออก เขียนได้ในโรงเรียนประถมศึกษาทั้งในเมืองและชนบทอยู่ในระดับท่ีตำ่ามาก เด็กจากกลุ่ม ชาติพันธ์ุต่างๆ ถูกกำาหนดให้ต้องเรียนรู้ภาษาลาวในปีแรกของการศึกษาระดับประถมศึกษา ก่อนที่จะเร่ิมหลักสูตรปกติในปีที่สอง รัฐบาลเองก็ได้สร้างความคืบหน้าอย่างเห็นได้ชัดใน การก่อสร้างโรงเรียนในชนบทตั้งแต่ระดับอนุบาลถึงระดับมัธยมศึกษาซึ่งพบเห็นได้ทั่ว ประเทศ โดยมีความแตกต่างกันน้อยมากระหว่างเขตเมืองและชนบท รัฐบาลยังมีการผลิต และแจกจ่ายหนังสือเรียนไปยังโรงเรียนทุกแห่งและครูผู้สอนได้รับการฝึกอบรมในแต่ละปี อย่างไรก็ตามยังคงมีความเหลื่อมลำ้าอย่างมีนัยสำาคัญในคุณภาพของการศึกษาระหว่างพื้นที่ ในชนบทและเมืองซ่ึงสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เช่นห้องสมุดและร้านหนังสือ การส่งเสริมการอา่ นและหอ้ งสมดุ ในสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว | 61
คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตได้มากกว่า พื้นท่ีชนบทซ่ึงเป็นท่ีอาศัยของเด็กส่วนใหญ่ ขาดแคลนทรัพยากรการเรียนรู้เหล่าน้ีอย่างมาก การจะช่วยลดความเหลื่อมล้ำานี้ก็คือ “การ พัฒนาทักษะการอ่าน” อันเป็นทักษะท่ีสำาคัญประการหน่ึงที่จะช่วยให้เด็กมีการศึกษาท่ีมี คุณภาพได้ ดงั น้นั Room to Read Laos ไดจ้ ัดทาำ โครงการเพื่อพัฒนาการรู้หนงั สือในพื้นที่ ชนบทขน้ึ อันไดแ้ ก ่ การอ่าน การเขยี นและการพูด โดยการสรา้ งอาคารห้องสมุด การจดั พมิ พ์ หนังสือในภาษาท้องถ่ินสำาหรับเด็กจำานวนมาก และการแจกจ่ายหนังสือไปตามโรงเรียนที่มี ห้องสมุดอยู่แล้ว ฯลฯ จุดมุ่งหมายโดยรวมของโครงการเหล่าน้ีคือการปรับปรุงการบริการท่ี เก่ียวข้องกบั การให้การศกึ ษาและความรูส้ ำาหรับเด็กในประเทศลาวน่ันเอง ในชว่ งเรม่ิ ตน้ ของโครงการ เราไดเ้ ผชญิ กบั ความทา้ ทายมากมาย ตวั อยา่ งเชน่ การขาดแคลนสื่อการอ่านนอกเวลาเพื่อสนับสนุนการศึกษาของเด็กๆ เนื่องจากหนังสือที่มี อยูส่ ่วนใหญเ่ หมาะสำาหรับผู้ใหญม่ ากกวา่ ซง่ึ ทำาให้อ่านยากเกินไปสำาหรับเด็กเล็ก Room to Read พบว่าทางแก้ปัญหานี้ก็คือการจัดพิมพ์หนังสือของเด็กให้มากขึ้นแต่ก็ยังไม่เป็นท่ีน่า พอใจสำาหรับครูและนักเรียนเน่ืองจากความแตกต่างกันทางวัฒนธรรม ในเวลานั้นนักเขียน ลาวยังไม่ได้มีการผลิตหนังสือออกมา ดังนั้นทางเราจึงจัดอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการเขียน สำาหรับนักเขียนเยาวชนข้ึนเพื่อให้นักเขียนเหล่าน้ีสามารถผลิตหนังสือเด็กท่ีดีและน่าอ่าน และจากแนวคดิ นีเ้ องทำาให ้ Room to Read Laos จัดพมิ พ์หนังสือจาำ นวนมากกว่า 80 เรือ่ ง ในช่วงห้าปีที่ผ่านมาและยังได้รับรางวัล “การผลิตหนังสือที่ดีท่ีสุดสำาหรับเด็ก” จากกระทรวง สารสนเทศและวัฒนธรรมตอ่ เนือ่ งกนั ถึงสองปซี อ้ นอกี ด้วย Room to Read Laos ชว่ งปี พ.ศ. 2548-2553 Room to Read ทาำ งานรว่ มกบั รฐั บาลลาวและองคก์ ารเอกชนทส่ี าำ คญั ในอนั ทจี่ ะ ช่วยเสริมสร้างนิสัยรักการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาในประเทศลาว และเพื่อให้ สอดคล้องกับความเชื่อของ Room to Read ที่ว่าการใช้ทีมงานที่เป็นคนในพื้นท่ีจะดีท่ีสุด สำาหรับการทำางานในพื้นท่ี Room to Read Laos จึงได้จัดต้ังทีมงานซึ่งนอกจากจะพูด ภาษาทอ้ งถ่นิ ได้แล้วยังมคี วามคุ้นเคยกบั ขนบธรรมเนียมประเพณีและกฎหมาย และที่สาำ คญั กวา่ น้ันก็คือเข้าใจถึงประเด็นปัญหาต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการดำาเนนิ โครงการ 62 | อ่านเขา อา่ นเรา
Room to Read ไดจ้ ดั วางโครงการสามดา้ นดว้ ยกนั ในประเทศลาวดว้ ยการ สนับสนุนของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและกรมสามัญศกึ ษา ได้แก่ โครงการห้องเรียน โครงการ ห้องอ่านหนังสือ และโครงการจัดพิมพ์หนังสือในภาษาท้องถิ่น ต่อมาได้มีการเพ่ิมโครงการ การศึกษาของเดก็ ผู้หญงิ เข้ามาในเนอื้ งานอีกด้วย เมอ่ื หา้ ปกี อ่ น Room to Read Laos ไดท้ าำ โครงการ”สง่ เสรมิ การศกึ ษาสาำ หรบั เด็กลาว” ขึ้น ทั้งนี้เพราะ “เราเช่ือว่าโลกจะเปลี่ยนแปลงได้ต้องเร่ิมจากเด็กมีการศึกษา” งานในพน้ื ทที่ ีเ่ ราทำาจึงประกอบไปด้วยการจดั ทาำ ห้องอา่ นหนงั สือ การสร้างหอ้ งเรยี น การจดั พิมพห์ นังสือภาษาทอ้ งถน่ิ และการใหท้ ุนการศึกษาแก่นกั เรยี นหญงิ รายงานนไ้ี ดร้ วบรวมสรปุ ผลการทาำ งานของเราไว ต้ วั เลขเหลา่ นเี้ ปน็ ประจกั ษพ์ ยาน แสดงให้เห็นความทุ่มเทและมุ่งมั่นของเราเพื่อตอบสนองเป้าหมายและเพื่อให้บรรลุภารกิจ ทต่ี ้งั ไว้ เราทาำ งานอย่างหนกั เพื่อใหค้ รอบคลุมจำานวนโรงเรยี นใหมๆ่ มากข้ึน และ ขณะเดยี วกนั กม็ งุ่ เนน้ ใหค้ วามสาำ คญั กบั คณุ ภาพและเนอ้ื หาในงานแตล่ ะดา้ น โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การนำาหนังสือท่ีมีคุณภาพเข้ามาไว้ในห้องสมุดของเรา มีการตรวจสอบอย่างเข้มงวดพร้อม ระบบการประเมินผลที่ดี นอกเหนือจากการสนับสนุนของชุมชน ผู้บริหารโรงเรียนและครูท่ี ทำางานหนักเพ่ือให้แน่ใจว่าการดำาเนินโครงการควบคู่ไปกับคุณภาพ นอกจากนี้เรายังเคารพ การตัดสินใจของชุมชนและสนับสนุนให้พวกเขาเป็นเจ้าของร่วมในโครงการตั้งแต่เร่ิมแรก เรายังได้รับความร่วมมือที่ดีจากกระทรวงศึกษาธิการทั้งในระดับแขวงและระดับเมืองโดย คอยให้แรงบันดาลใจ ผลักดันและช่วยเหลือในทุกข้ันตอน แต่ที่มีคุณค่าเหนืออื่นใดเห็นจะ เป็นการสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐในการตรวจสอบและฝึกอบรมทีมงานของเรา นอกเหนอื ไปจากการเข้ามารับช่วงตอ่ ของงานหลังโครงการทีเ่ ราดำาเนนิ การมาสามปสี ้ินสดุ ลง การสนับสนุนจากรัฐบาลเท่ากับเป็นการค้ำาประกันความย่ังยืนในระยะยาวให้กับงานท่ีเราได้ ทำาไป การสง่ เสรมิ การอา่ นและห้องสมุด ในสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว | 63
โครงการหอ้ งอ่านหนงั สอื โครงการหอ้ งอา่ นหนงั สอื ไดร้ เิ รมิ่ ขน้ึ เพอื่ สง่ เสรมิ วฒั นธรรมการอา่ นในเดก็ เพอ่ื ให้ พวกเขาได้รับประโยชน์จากนิสัยรักการอ่าน Room to Read Laos ได้ร่วมมือกับรัฐบาล ผ่านกระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนและชุมชนในการต้ังห้องสมุดตามโรงเรียนซ่ึงต่อไปจะขอ เรยี กว่าห้องอ่านหนงั สอื (Reading Room : RR) รปู แบบหอ้ งอา่ นหนงั สอื ในลาวมดี ว้ ยกนั สองแบบคอื แบบทเ่ี ปน็ หอ้ งแยกตา่ งหาก (Separate Room : SR) หรอื หอ้ งสมุดท่ีเตม็ ไปด้วยหนงั สอื และอุปกรณ์การอ่าน ส่วนแบบที่ สองจะเปน็ ห้องสมดุ ในชน้ั เรียน (Class Room Library : CR) ซ่งึ ประกอบไปด้วยต้แู ละชนั้ วาง หนังสือตั้งไว้ตรงมุมใดมุมหน่ึงของห้องที่ง่ายต่อการเข้าถึง และแบบที่เป็นห้องอ่านหนังสือท่ี ถกู สรา้ งข้นึ มา (Construction Reading Room : CRR) ใหก้ บั โรงเรยี นทีม่ เี ด็กจำานวนมาก หอ้ งสมดุ แตล่ ะแหง่ จะไดร้ บั การสนบั สนนุ เปน็ เวลาสามปใี นดา้ นของอปุ กรณก์ าร อ่านและการฝึกอบรมครู/ผู้ดูแลห้องสมุด การฝึกอบรมมุ่งเน้นเร่ืองการบริหารจัดการ ห้องสมุด การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและวิธีการให้เด็กสามารถเข้าถึงหนังสือได้อย่าง อยา่ งเท่าเทียมกันทั้งในโรงเรียนและชมุ ชน ความพยายามของเราคอื การปลกู ฝงั ความเชอื่ มน่ั และทกั ษะใหก้ บั ชมุ ชนและ โรงเรยี นเพ่ือช่วยใหพ้ วกเขาเข้ามาเป็นเจ้าของโครงการเองได้ภายหลังทเี่ ราถอนตัวไปเมื่อครบ สามปี ในชว่ งระยะเวลาของรายงานชน้ิ น ้ี เราไดจ้ ดั กจิ กรรมมากมายในหกแขวงทเี่ รา ทาำ งานอย่ ู (18 เมือง และหอ้ งสมุด 424 แห่ง) เพอื่ กระตุ้นใหเ้ ดก็ อา่ น กิจกรรมท้ังหมดน้ีได้ รับการตอบรับอย่างดีและจุดประกายให้เด็กสนใจใคร่จะได้ฟังหรืออ่านเร่ืองราวเพ่ิมเติม สรุปก็คือมีนักเรียน 8,229 คน ครู 589 คน และคนในชุมชนอีก 2,055 คนท่ีได้เข้าร่วมใน กิจกรรมเหลา่ น ี้ ผลงาน ตวั เลขขา้ งลา่ งนแ้ี สดงใหเ้ หน็ จาำ นวนหอ้ งอา่ นหนงั สอื ทไ่ี ดร้ บั การจดั ตง้ั ในแตล่ ะป ี 64 | อ่านเขา อา่ นเรา
ปี พ.ศ. 2548 : 50 ห้อง ปี พ.ศ. 2549 : 102 หอ้ ง ปี พ.ศ. 2550 : 210 ห้อง ปี พ.ศ. 2551 : 170 ห้อง ป ี พ.ศ. 2552 : 160 หอ้ ง ป ี พ.ศ. 2553 : 160 หอ้ ง รวมทั้งหมด : จาำ นวน 852 หอ้ ง โครงการจดั พมิ พห์ นังสอื ภาษาทอ้ งถิน่ ดงั ทไี่ ดก้ ลา่ วมาแลว้ วา่ ลาวขาดแคลนหนงั สอื ทน่ี า่ สนใจและสรา้ งสรรคส์ าำ หรบั เดก็ และนักแต่งหนังสือและนักวาดภาพประกอบหนังสือในประเทศก็ด้อยประสบการณ์ใน การผลิตหนงั สอื เด็ก ทาง RtR ลาวจงึ มิไดม้ ุ่งเน้นไปทีก่ ารจัดตงั้ หอ้ งอา่ นหนังสอื เท่านั้นแตย่ ัง มุ่งเน้นในการผลิตหนังสือท่ีมีความสร้างสรรค์และดึงดูดเด็ก โดยร่วมมือกับนักเขียนใน ทอ้ งถ่นิ นกั วาดภาพประกอบ และสำานักพมิ พ์ในประเทศลาวเพอ่ื จดั พิมพ์หนังสอื สาำ หรบั เดก็ ให้มากขนึ้ Room to Read เรม่ิ จดั พมิ พห์ นงั สอื สาำ หรบั เดก็ เปน็ ภาษาทอ้ งถนิ่ เพอ่ื เตมิ เตม็ ช่องว่างในเร่ืองดังกล่าว จากประสบการณ์การทำางานของเราในพื้นที่ทำาให้เราทราบดีว่าการ ที่จะทำาให้เด็กต่ืนเต้นและสนใจในการอ่านได้เด็กต้องเข้าใจภาษาและบริบทเป็นอย่างดีก่อน หนังสือส่วนใหญ่ท่มี ีอย่เู ป็นภาษาอังกฤษมีแต่จะทำาให้เด็กถอยห่างจากการอ่านเพราะพวกเขา ไม่คุ้นเคยกับคำาบางคำาและบางคร้ังก็ไม่ได้เข้าใจในบริบทเพราะหนังสือเหล่านั้นไม่ได้รับการ ออกแบบมาใหเ้ หมาะสมกบั วฒั นธรรมท้องถ่ิน นบั ตงั้ แตม่ กี ารกอ่ ตง้ั หอ้ งอา่ นหนงั สอื ขนึ้ เปน็ หอ้ งแรกในปพ ี .ศ.2548 หอ้ งสมดุ ของ เราได้จัดให้มีอุปกรณ์การอ่านที่มีความเป็นมิตรกับเด็กและเหมาะสมกับวัยอย่างหลากหลาย โครงการทม่ี งุ่ เนน้ กจิ กรรมทง้ั มวลของเราลว้ นแลว้ แตก่ ระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นไดอ้ า่ นและเรยี นเกง่ ขน้ึ ไปพรอ้ มๆ กนั เรายงั ไดส้ งั เกตพบอกี วา่ โครงการของเราไดช้ ว่ ยเสรมิ สรา้ งใหเ้ ดก็ เกดิ ความมน่ั ใจ ขน้ึ จนทำาให้พวกเขาพดู และเข้าสังคมเก่งข้นึ ในโรงเรยี น การสง่ เสรมิ การอา่ นและหอ้ งสมุด ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว | 65
โครงการจดั พมิ พห์ นงั สอื ภาษาทอ้ งถน่ิ (Local Language Publishing Program : LLP) ในลาวได้ทำาการคัดเลือกนักเขียนและนักวาดภาพประกอบท้องถ่ินท่ีมีความสามารถ เพ่ือนำามาเข้ารับการอบรมการเขียนหนังสือให้เด็กๆ เพื่อเด็กๆ ในโรงเรียนชนบทจะได้มี หนังสือท่เี หมาะสมกับระดับการศึกษาและอายุและเป็นหนังสือท่เี ก่ยี วเน่อื งกับวัฒนธรรมและ ท้องถิน่ อยา่ งแทจ้ ริง นอกเหนอื จากการจดั พมิ พห์ นงั สอื ของเราเองแลว้ ทมี งานของเรายงั ไดร้ ว่ มมอื กบั นักเขียนและนักวาดภาพประกอบในท้องถ่ินหลายท่านในการตีพิมพ์หนังสือของพวกเขา อุปกรณ์การอ่านเหล่าน้ีถูกแจกจ่ายไปยังห้องอ่านหนังสือของเราในแขวงต่างๆ และมอบให้ กบั หน่วยงานอ่ืนๆ ที่ร้องขอให้กับชุมชนของพวกเขา และทำาการแจกจา่ ยหนงั สอื เหลา่ นไ้ี ปยงั เขตทยี่ ากจน และห้องสมุดอ่ืนๆ เพื่อลดช่องวา่ งของการเข้าถงึ หนังสอื ในประเทศลาว นอกเหนอื จากการทาำ งานตามปกตคิ อื โครงการจดั พมิ พห์ นงั สอื ภาษาทอ้ งถนิ่ และ โครงการห้องอ่านหนังสือ เรายังได้จัดกิจกรรมหนังสือร่วมกับครูและเด็กในเขตปกครองที่ถูก ทอดทิ้ง (ตัวอย่างเช่นพื้นท่ีในเขตลุ่มแม่นำ้าโขงท่ีไม่ใช่พื้นที่เป้าหมายของเรา) โดยมีการนำา หนังสือไปให้ แลกเปลี่ยนความคิดเก่ียวกับวิธีการท่ีจะส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในเด็กท่ีไม่มี โอกาสในการเข้าถงึ หนงั สอื ผลงาน จดั พมิ พห์ นงั สอื 561,000 เลม่ และพมิ พห์ นงั สอื ทแี่ ตง่ ใหม ่ โปสเตอรแ์ ละบตั ร นิทานภาพ ทงั้ หมดจาำ นวน 98 เรอ่ื ง รางวัลที่ไดร้ ับ หนงั สอื ทเี่ ราไดจ้ ดั พมิ พไ์ ดร้ บั ความนยิ มเปน็ อยา่ งมากและไดร้ บั รางวลั มากมายอ าท ิ พ.ศ. 2551 : รางวลั หนังสือยอดเยี่ยมแหง่ ปี เรอื่ ง “แสงเทยี น” พ.ศ.2552 : รางวลั หนงั สอื ยอดเยยี่ มแหง่ ป ีสาำ หรบั หนงั สอื 2 เลม่ เรอื่ ง “ความฝนั ของนางออย” และ “กระเปา๋ หลายใบ” 66 | อ่านเขา อา่ นเรา
หนงั สอื ทต่ี พี มิ พเ์ ปน็ ภาษาทอ้ งถน่ิ ของ Room to Read สองเลม่ ยงั ไดร้ บั รางวลั หนังสือลาวยอดเย่ียมอันเป็นรางวัลที่ให้เป็นประจำาทุกปีโดยกระทรวงสารสนเทศและ วฒั นธรรม (จากทงั้ หมดสี่รางวลั ) ในปี พ.ศ. 2552 อกี ด้วย เร่ืองราวดีๆ เดก็ ในประเทศลาวตอ้ งการหนงั สอื ในเดอื นกมุ ภาพนั ธ ์พ.ศ.2552 เจา้ หนา้ ทข่ี อง Room to Read พร้อมเพื่อนๆ จาก Warehouse Associates ได้เดนิ ทางไปยังแขวงเซกอง ในภาคใต้ของประเทศลาวเพื่อแจกจ่ายหนังสือให้กับโรงเรียนในพ้ืนที่อันห่างไกลและได้รับ การต้อนรับอย่างอบอุ่นจากเจ้าพนักงานการศึกษาจังหวัดซ่ึงต่างก็พากันยินดีท่ีได้ทราบว่า Room to Read Laos ไดเ้ ดนิ ทางมาแจกหนงั สือในเขตนท้ี ้ังๆ ทีอ่ ยนู่ อกพื้นทีก่ ารทาำ งาน เมอื่ เดนิ ทางมาถงึ โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาเซกอง มคี รจู าำ นวนมากมารวมตวั กนั เพอื่ รอรับหนังสือ พวกเขาต่างต่ืนเต้นท่ีเห็นหนังสือจำานวนมากมายและครูบางคนก็เร่ิมอ่าน หนังสือเหล่านั้นเกือบจะในทันที หลายคนให้ความสนใจเป็นพิเศษกับหนังสือท่ีจัดพิมพ์โดย Room to Read นาย Lisaka Priayen ผอู้ าำ นวยการโรงเรยี นประถมศกึ ษาทอ้ งเล (Thonglay Primary School) ในเมืองละมาำ แขวงเซกอง กล่าววา่ “ผมมาทนี่ ใี่ นวนั นเ้ี พราะผมไดย้ นิ มาวา่ Room to Read จะมาแจกหนงั สอื ใหฟ้ รี และผมก็หวังว่าจะได้รับหนังสือไปบ้างเพ่ือนักเรียนของผมท่ีกำาลังรอผมอยู่ที่โรงเรียน ผมดีใจ ที่ได้เห็นหนังสือนิทานท้ังท่ีเป็นภาษาอังกฤษและภาษาลาว ผมต้องขอขอบคุณเป็นพิเศษ เพราะโรงเรยี นของผมมีความต้องการหนงั สอื นิทานดีๆ พวกนี้สาำ หรบั นกั เรยี น ผมใครข่ อขอบคณุ Room to Read ทไ่ี ดเ้ ดนิ ทางมายงั จงั หวดั ทหี่ า่ งไกลของเราซงึ่ นับว่าเป็นหนึ่งในพื้นท่ีที่ขาดแคลนหนังสือเป็นที่สุดในประเทศลาว และผมยังใคร่ขอเรียน เชญิ ให้ Room to Read Laos ขยายโครงการมาทแ่ี ขวงเซกอง และจัดพมิ พ์หนงั สือใหม้ าก ขน้ึ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ เกย่ี วกบั วรรณกรรมลาว บทกวใี นทอ้ งถน่ิ นทิ านพน้ื บา้ นลาวสาำ หรบั เดก็ ๆ ของเรา” การสง่ เสรมิ การอา่ นและหอ้ งสมุด ในสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว | 67
โครงการหอ้ งเรยี น โครงการหอ้ งเรยี นของ Room to Read เกดิ จากความตอ้ งการเพอ่ื สรา้ งความมน่ั ใจ ว่าโรงเรียนมีสถานท่ที ่จี ะรองรับห้องอ่านหนังสือ ซ่งึ นับเป็นปัจจัยหน่งึ ในการลดช่องว่างของ การเข้าถึงหนังสือเพราะโรงเรียนจำาเป็นต้องมีพ้ืนท่ีสำาหรับการทำากิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และตอ้ งเป็นรปู แบบทีเ่ ปน็ มิตรกบั เด็กดว้ ย เน่ืองจากเราทาำ งานกับกลมุ่ ผู้ดอ้ ยโอกาสในชนบท เราพบว่ามีหลายโรงเรียนที่มีสภาพทรุดโทรมอันไม่ใช่สภาพแวดล้อมท่ีดีท่ีสุดที่จะทำาให้เด็ก อยากมาโรงเรียน นับแต่นั้นเราจึงเริ่มให้การสนับสนุนโรงเรียนเพื่อให้มีโครงสร้างพื้นฐานท่ีดี ขึ้นด้วยความร่วมมือของคนในชุมชนเพื่อให้เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของและทำาให้เกิดความ ย่งั ยืนต่อไป เงนิ ทนุ เพอื่ ความทา้ ทายทเี่ ราจดั สรรขนึ้ กอ่ ใหเ้ กดิ โอกาสอนั มคี วามหมายยงิ่ ตอ่ ชุมชนต่างๆ ในการทีจ่ ะมสี ว่ นรว่ มในโครงการท้งั ในดา้ นของการเงินและการตัดสนิ ใจ เงินทนุ สำาหรับโครงการห้องเรียนน้ีสร้างความม่ันใจว่าชุมชนจะเข้ามามีส่วนร่วมอย่างแข็งขัน การร่วมแรงรว่ มใจของชมุ ชน และการร่วมดแู ลรักษาสงิ่ ทสี่ ร้างขึ้น วตั ถปุ ระสงค์ทส่ี าำ คัญของเงนิ กองทนุ เพอ่ื ความท้าทาย - เพอ่ื สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มอยา่ งแขง็ ขนั ของชมุ ชนในกระบวนการการกอ่ สรา้ ง - เพือ่ พัฒนาความร้สู ึกของความเป็นเจา้ ของในโรงเรยี น ในหม่ชู มุ ชน - เพอื่ สง่ เสรมิ ความยง่ั ยนื ของโครงการโดยถอื เปน็ หนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบของ ชมุ ชนทจี่ ะบาำ รงุ รกั ษาทรพั ยส์ นิ และความตอ่ เนอื่ งของการปฏบิ ตั ทิ ด่ี ซี ง่ึ ไดแ้ สดง ให้เหน็ เป็นแบบอยา่ งระหวา่ งการดำาเนินโครงการ - เพ่อื สร้างความสามารถของชมุ ชนในการบริหารจัดการโรงเรียน - เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโรงเรยี น Room to Read และชมุ ชนให้ แขง็ แกรง่ ขึน้ - เพ่ือให้โอกาสสตรีได้มสี ่วนในการตดั สนิ ใจของชมุ ชน - เพอื่ ลดตน้ ทนุ การดาำ เนนิ การในโครงการหอ้ งเรยี นทง้ั ในสว่ นของ Room to Read เองและในสว่ นของผบู้ ริจาค 68 | อ่านเขา อ่านเรา
นอกเหนอื จาก เงนิ กองทนุ เพอื่ ความทา้ ทายแลว้ เรายงั เพม่ิ ความมนั่ ใจในการมี ส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างโรงเรียนโดยมอบหมายให้ชุมชนเป็นแกนนำา มีการเลือก สมาชิกในหมู่บ้านเพื่อจัดตั้งเป็น “คณะกรรมการการก่อสร้างโรงเรียน” (School Construction Committee: SCC) และคณะกรรมการชุดน้ีจะทำาหน้าท่ีดำาเนินโครงการ ภายใต้การแนะนำาดูแลของ Room to Read ทีมงานซ่ึงมีตัวแทนจำานวนหนึ่งเป็นสตรี ประกอบไปด้วยครู ผู้นำาชุมชน และสมาชิกของสมาคมผู้ปกครองโรงเรียน สมาชิกจาก เยาวชนในท้องถ่ินและสหภาพแม่หญิงและบุคคลผู้เป็นท่ียอมรับนับถือในหมู่บ้าน คณะกรรมการชุดน้ีจะรับผิดชอบในการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ กำากับดูแลการก่อสร้าง และ ควบคุมค่าใช้จ่าย และมีการแต่งตั้งสมาชิกหนึ่งคนให้ทำาหน้าที่รายงานให้ชุมชนทราบเป็น ระยะๆ ถึงความคบื หนา้ ของโครงการ ในพน้ื ท่ที ีก่ รรมการหม่บู ้านมคี วามเขม้ แข็ง กรรมการดงั กลา่ วจะไดร้ บั การ มอบหมายหน้าที่ในการควบคุมตรวจสอบโครงการห้องเรียน อย่างไรก็ตามหากกรรมการ หมู่บ้านไม่เข้มแข็งหรือไม่อาจรับผิดชอบหน้าท่ีนี้ได้ SCC ก็จะทำาหน้าที่น้ีแทน เพ่ือให้มั่นใจ วา่ โครงการห้องเรียนดำาเนินการไปตามแผนทีไ่ ดว้ างไว้ บทบาทและความรับผิดชอบของ SCC • SCC เปน็ คณะทาำ งานทท่ี าำ หนา้ ทล่ี งนามในบนั ทกึ ความเขา้ ใจกบั Room to Read • SCC มหี นา้ ทใ่ี นการขบั เคลอ่ื นชมุ ชน ดงึ ชาวบา้ นใหเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ ม และรายงาน ความคบื หนา้ เรอื่ งงานกอ่ สรา้ งใหช้ าวบา้ นทราบ อกี ทง้ั คอยสรา้ งความมนั่ ใจวา่ ท้ังหมบู่ ้านไดใ้ ห้ความร่วมมอื และสนับสนุนโครงการนี้ • SCC มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมการกอ่ สรา้ งทงั้ มวลท ่ีRoom to Read ทาำ ใหก้ บั ชุมชน • SCC ยงั มหี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบในการจดั ตงั้ อนกุ รรมการและมอบหมายงานสาำ หรบั กจิ กรรมตา่ งๆ อาท ิเชน่ กรรมการจดั ซอื้ วสั ดอุ ปุ กรณ ์กรรมการเหรญั ญกิ • SCC จดั หาวสั ดอุ ปุ กรณต์ ามปรมิ าณทต่ี อ้ งการใหต้ รงตามขอ้ กาำ หนดและ ข้ันตอน การส่งเสริมการอา่ นและห้องสมดุ ในสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว | 69
• SCC จดั หาและกาำ กบั ดแู ลแรงงานท่มี ฝี มี อื และไรฝ้ ีมอื สาำ หรบั โครงการ • SCC เปน็ ผเู้ รยี กเกบ็ “กองทนุ เพอื่ ความทา้ ทาย” จากชมุ ชน/ภาครฐั และ ส่วนอ่ืนๆ ความสำาเร็จที่ผา่ นมา ปี พ.ศ. 2548 : 8 ห้องเรียน ปี พ.ศ. 2549 : 16 หอ้ งเรยี น ป ี พ.ศ. 2550 : 48 หอ้ งเรยี น ป ี พ.ศ. 2551 : 38 หอ้ งเรียน ปี พ.ศ. 2552 : 32 ห้องเรียน ปี พ.ศ. 2553 : 30 หอ้ งเรียน ทัง้ หมด : 172 หอ้ งเรยี น โครงการการศกึ ษาสำาหรับเดก็ หญงิ โครงการการศกึ ษาสาำ หรบั เดก็ หญงิ ของ Room to Read นบั เปน็ งานทส่ี าำ คญั อีกด้านหนึ่งของเราเพราะเป็นการช่วยให้เด็กหญิงที่ด้อยโอกาสได้รับการศึกษา ทีมงานของ เราจะทำาการคัดเลือกเด็กหญิงจากชุมชนชายขอบท่ีมีความอ่อนแอทางเศรษฐกิจ และให้ ทุนการศึกษาแก่พวกเธอให้ได้เรียนจนจบการศึกษา นอกเหนือไปจากการมอบหนังสือ ชุดนักเรียน การกวดวิชาเพิ่มเติม การฝึกอบรมทักษะการดำารงชีวิต หรือแม้แต่รถจักรยาน หากจำาเป็นเพื่อให้เด็กหญิงเหล่าน้ันมีโอกาสสำาเร็จการศึกษา เราได้ให้ความช่วยเหลือเป็น พิเศษกับเด็กผู้หญิงในระดับมัธยมเน่ืองจากเราพบว่าระดับนี้เป็นช่องว่างที่ใหญ่ท่ีสุดในความ เสมอภาคระหวา่ งหญงิ ชายในเร่ืองของการศึกษา ในประเทศลาวการคดั เลอื กผรู้ บั ทนุ การศกึ ษาจะเรมิ่ ตน้ คดั เลอื กจากนกั เรยี นใน ชั้นประถม 3 เพือ่ รบั ทุนเรยี นตอ่ ช้ันประถม 4 และคดั เลือกนักเรียนในชนั้ ประถม 5 เพอ่ื รบั ทุนเรียนต่อระดับมัธยม Room to Read ร่วมกับสำานักงานบริการการศึกษาระดับแขวง (Provincial Education Service - PES) และสำานักการศึกษาเขต (District Education Bureau - DEB) จัดตั้งคณะกรรมการคัดเลือกเด็กนักเรียนหญิงข้ึนประกอบด้วย หัวหน้า 70 | อา่ นเขา อา่ นเรา
หมู่บ้าน ตัวแทนจากสมาพันธ์นักเรียนหญิง นักเศรษฐศาสตร์ประจำาหมู่บ้าน ครูและ ผู้ปกครองจากแต่ละโรงเรียนในพ้ืนที่เพ่ือช่วยกันคัดเลือกเด็กนักเรียนหญิงท่ีเหมาะจะได้ รับทนุ การศึกษา Room to Read ยงั ไดต้ ดั สนิ ใจมอบความไวว้ างใจใหก้ บั ชมุ ชนเปน็ ผชู้ แ้ี นะเราใน การคดั เลือกเดก็ โดยใชว้ ิธีการเจาะกลมุ่ (Group Base Approach) เปน็ ผลใหเ้ ราเจาะไปยัง พ้ืนที่ท่ีพบว่ามีการเลือกปฏิบัติระหว่างเด็กหญิงและเด็กชายและเราได้ทำาการคัดเลือก เด็กหญิงจากกลุ่มชาติพันธุ์ท่ีไม่ได้รับการช่วยเหลือจากรัฐบาลมาอีกด้วย ในปี พ.ศ. 2551 เราได้คัดเลือกเด็กหญิงจากกลุ่มชาติพันธุ์มาทั้งหมด 52 คนและนำาไปไว้ในโรงเรียนประจำา เนื่องจากเด็กหญงิ เหล่านไ้ี มส่ ามารถเขา้ เรียนในโรงเรยี นอน่ื ๆ ตามโควตาของรัฐได้ โครงการการศกึ ษาสาำ หรบั เดก็ หญงิ ไดใ้ หก้ ารสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกผ่ รู้ บั ทนุ ซงึ่ ครอบคลุมค่าเล่าเรียนอุปกรณ์การศึกษาเช่น ตำารา สมุด เคร่ืองเขียน เคร่ืองแบบนักเรียน รองเท้า กระเป๋า และจกั รยานสาำ หรับเดก็ ทอี่ าศยั อยหู่ า่ งจากโรงเรยี นเกินกว่า 2.5 กม.ข้ึนไป นอกจากนโี้ ครงการยงั จดั ใหม้ กี ารเรยี นพเิ ศษสาำ หรบั วชิ าหลกั ตลอดปกี ารศกึ ษา จัดให้มีการกวดวิชาเป็นเวลาหนึ่งเดือนก่อนสอบสำาหรับนักเรียนบางคนอีกด้วย นอกจากนี้ ยังจัดให้มีการฝึกอบรม “ทักษะการดำารงชีวิต” เพื่อให้เด็กหญิงเหล่าน้ีได้เรียนรู้และเกิด ความมั่นใจ เพ่ิมพูนความนับถือตนเอง ฝึกทักษะการตัดสินใจเพื่อให้พวกเขาสามารถต่อรอง และตดั สนิ ใจดว้ ยตัวเองได้ โครงการนน้ี อกจากจะชว่ ยใหเ้ ดก็ หญงิ มคี วามกา้ วหนา้ ในเรอ่ื งการเรยี นแลว้ ยงั ชว่ ย เสริมสรา้ งให้พวกเขามีสขุ ภาพท่ดี ดี ว้ ยการจดั ใหม้ กี ารตรวจสุขภาพเป็นระยะๆ เจา้ หนา้ ทขี่ องเราจะใชเ้ วลากบั พอ่ แมข่ องเดก็ ทไี่ ดร้ บั ทนุ การศกึ ษาเพอ่ื สรา้ งความ เข้าใจให้พวกเขาตระหนักถึงความสำาคัญและผลักดันส่งเสริมให้ลูกสาวเรียนหนังสือแทนที่จะ ส่งลูกๆ ไปทำางานในเมืองไทย การสง่ เสรมิ การอ่านและห้องสมดุ ในสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว | 71
ความสำาเร็จของโครงการ ปี พ.ศ. 2550 : 200 คน ปี พ.ศ. 2551 : 325 คน ปี พ.ศ. 2552 : 300 คน ปี พ.ศ. 2553 : 250 คน รวมทั้งหมด : 1,075 คน การตดิ ตามและประเมินผล (M&E) Room to Read ภาคภมู ใิ จในความเปน็ องคก์ รทรี่ บั ผดิ ชอบและโปรง่ ใส มที มี ประเมินผลและตรวจสอบที่มีคุณภาพคอยระแวดระวังอยู่ตลอดเวลาและหาวิธีเพื่อสนับสนุน ให้ทีมงานท้ังหมดได้บรรลุแผนงานเป้าหมายและวัตถุประสงค์ท่ีวางไว้ อีกท้ังยังคอยช่วยดูแล ให้ผู้บริจาคและผ้ถู ือหุ้นมคี วามเชือ่ มั่น ในการทำางานขององคก์ รอีกด้วย หนว่ ยงานนยี้ งั คอยแจง้ เตอื นเจา้ หนา้ ทใี่ หใ้ ชม้ าตรการแกไ้ ขทที่ นั ทว่ งทหี ากเกดิ ความผิดพลาดเพื่อให้โครงการต่างๆ ดำาเนินต่อไปได้อย่างย่ังยืน ท้ังหลายท้ังปวงนี้ก็เพ่ือ ประโยชนส์ าำ หรบั เด็กลาวเพอื่ ทีพ่ วกเขาจะไดร้ ับโอกาสทางการศกึ ษาทด่ี ขี ้ึนนัน่ เอง ทมี ตรวจสอบและประเมนิ ผลของเราไดใ้ หค้ วามสนใจอยา่ งมากกบั จาำ นวนหนงั สอื ที่ นกั เรียนยมื กลับบ้าน จำานวนนกั เรียนท่มี าใชห้ ้องสมดุ หนังสอื เลม่ ไหนทเี่ ดก็ ๆ ชอบมากที่สุด นอกจากน้ันยังใส่ใจติดตามดูแลกิจกรรมของห้องอ่านหนังสือและเนื้อหาของการประชุมที่จัด ให้มีขึ้นทุกๆ สองเดือนเพื่อหาวิธีดึงดูดนักเรียนมาเข้าห้องสมุด ทีมยังมีการตรวจเช็คคะแนน การอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1-3 และการประเมินผลเป็นระยะทุกหกเดือน ก็ช่วยทาำ ให้เราเหน็ ภาพท่ชี ัดเจนขึ้นถงึ พฒั นาการของนักเรยี นเหล่าน้ี Room to Read Laos พยายามอยา่ งมากในการออกแบบระบบ/กลไกการ ตรวจสอบและประเมินผลโดยได้รับการสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่สำานักงานภูมิภาคและทั่วโลก เราได้ติดตั้ง Global Solutions Database (GSD) ซ่ึงเป็นฐานข้อมูลท่ีเจ้าหน้าที่ท่ัวโลก สามารถเขา้ ถงึ ได ้ ถือเป็นเคร่ืองมือสำาคญั สำาหรบั เก็บข้อมลู ในพ้ืนท ่ี แค่คลิกปุ่มเพยี งครง้ั เดียว เราก็สามารถเข้าสู่ข้อมูลท่ีถูกต้องมากมาย ไม่ว่าจะเป็นจำานวนโรงเรียนใหม่ท่ีสร้างขึ้นในปีที่ 72 | อ่านเขา อา่ นเรา
ผ่านมาหรือจำานวนห้องสมุดท่ีเราจะต้องถอนตัวออกในปีน้ี อีกท้ังจำานวนของนักเรียนใน แต่ละโครงการ ในชว่ งหา้ ปที ผี่ า่ นมา โครงการทส่ี าำ คญั ๆ 4 โครงการของ Room to Read ได้ ใหก้ ารสนบั สนุนการศกึ ษาในประเทศลาวโดยการจัดใหม้ ีหอ้ งอา่ นหนงั สือ ห้องเรียน มอบทนุ การศึกษาแก่เด็กหญิง และจัดพิมพ์หนังสือที่เป็นภาษาท้องถิ่น โครงการเหล่านี้ได้ให้โอกาส เด็กหลายร้อยคนโดยเฉพาะผู้ท่ีอยู่ในชนบทห่างไกลและด้อยโอกาสได้เข้าถึงโรงเรียนและ หนงั สอื แผนการดาำ เนนิ งานของ Room to Read Laos : พ.ศ. 2554-2559 วิสัยทศั น์ Room to Read เชอื่ วา่ โลกจะเปลย่ี นแปลงไดต้ อ้ งเรมิ่ จากการทเ่ี ดก็ มกี ารศกึ ษา เราอยากเห็นโลกท่ีเด็กทุกคนจะได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ เพ่ือช่วยให้พวกเขามีศักยภาพท่ี เตม็ เปยี่ มและสามารถทำาสง่ิ ดีๆ ใหก้ บั ชุมชนและโลกได ้ พนั ธกิจ Room to Read จะแสวงหาหนทางเพอ่ื เปลย่ี นแปลงชวี ติ ของเดก็ ๆ นบั ลา้ นๆ ใน ประเทศกำาลังพัฒนาโดยเน้นในเรื่องของการรู้หนังสือและความเสมอภาคระหว่างหญิงและ ชายในด้านการศึกษา เราจะอาศัยการทำางานร่วมกับชุมชน องค์กรพันธมิตร และภาครัฐ เพื่อนำาไปสู่การพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้และนิสัยรักการอ่านในหมู่นักเรียนระดับ ประถมศึกษาและสนับสนุนให้เด็กผู้หญิงได้เรียนจบระดับมัธยมศึกษา โดยมีทักษะการดำารง ชวี ติ ทจี่ าำ เปน็ ตดิ ตวั ไปดว้ ย เพือ่ ทพ่ี วกเขาจะได้ประสบความสาำ เร็จในการเรียนและการใช้ชีวติ ต่อไป ขณะที่เราทำางานอย่างหนักตลอดเวลาสิบปีท่ีผ่านมาในหลายพ้ืนท่ีท่ัวโลก Room to Read ก็พร้อมท่ีจะยกระดับการทำางานไปสู่ข้ันต่อไป โดยกำาหนดให้เร่ืองการรู้ หนังสือและการศึกษาของเด็กผู้หญิงเป็นวาระที่สำาคัญสองวาระในการขับเคลื่อน การ เปล่ียนแปลงในครั้งนี้ทำาให้เราต้องเปล่ียนจาก ‘การสร้างนิสัยรักการอ่าน’ มาทำาให้เด็กๆ การสง่ เสริมการอ่านและห้องสมดุ ในสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว | 73
กลายเป็น ‘นักอ่านอิสระ’ และเปลี่ยนกลุ่มเป้าหมายของเราจากก่อนวัยเรียนและนักเรียน ระดบั มัธยมศึกษามาสเู่ ดก็ ในระดบั ประถมศึกษาโดยมุ่งเน้นในชั้นประถม 1 และ 2 เปน็ หลัก ดว้ ยเหตนุ ีโ้ ครงการตา่ งๆ ทั้งหมดของเราจะสิ้นสดุ การเปน็ โครงการเดีย่ วๆ อกี ต่อไปแต่จะถูก นำาเข้ามาเป็นส่วนประกอบหนึ่งของโครงการการรู้หนังสือและโครงการการศึกษาของ เดก็ หญิงแทน แผนในการดาำ เนนิ โครงการตา่ งๆ ของเรามดี งั ต่อไปน้:ี โครงการห้องอา่ นหนังสอื 1. สรา้ งโอกาสสาำ หรบั เดก็ ๆ ใหส้ ามารถเขา้ ถงึ อปุ กรณก์ ารอา่ นทสี่ อดคลอ้ งกบั วฒั นธรรม สมกบั วัยและสะท้อนให้เห็นถงึ ความเทา่ เทียมกนั ทางเพศมากขึ้น 2. เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพใหแ้ กค่ รแู ละบรรณารกั ษเ์ พอ่ื สง่ เสรมิ การรหู้ นงั สอื และ การพฒั นานิสยั รักการอา่ นในเด็กนักเรยี นระดับประถมศึกษา 3. การปรับปรุงสภาพแวดล้อมของโรงเรยี นเพอ่ื ใหเ้ ป็นมติ รกับเดก็ 4. สรา้ งความเขา้ ใจ ตระหนกั รใู้ นหมผู่ ปู้ กครอง เพอื่ นบา้ นและชมุ ชนในการ สนับสนุนและผลกั ดนั เรื่องการอา่ น 5. รว่ มมอื กบั ภาครฐั เพอื่ แสวงหาการสนบั สนนุ ในอนั ทจี่ ะนาำ นโยบายและแผน กลยุทธ์มาสู่การปฏิบตั ิในโรงเรยี นประถมศึกษา โครงการการจัดพิมพ์หนงั สือภาษาทอ้ งถน่ิ 1. รว่ มมอื อยา่ งใกลช้ ดิ กบั โครงการหอ้ งอา่ นหนงั สอื และการรหู้ นงั สอื ในการผลติ สิ่งพิมพ์เพื่อสนับสนุนนิสัยรักการอ่านและเสริมทักษะการอ่าน การจัดพิมพ์หนังสือภาษา ท้องถิ่นจะช่วยให้รู้ถึงระดับการอ่านและทำาให้สามารถผลิตหนังสือให้เหมาะสมกับการอ่าน หนงั สอื ในแตล่ ะระดบั ได้ 2. พฒั นาทกั ษะการเขยี นและการวาดภาพประกอบสาำ หรบั นกั เขยี นและนกั วาดภาพ ท้องถิ่นเพ่ือช่วยในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ที่สนับสนุนการรู้หนังสือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำาหรับ ผู้อา่ นทีย่ งั เป็นเดก็ เช่น นักเรียนช้นั ประถม 2 3. สนบั สนนุ ทง้ั ในสว่ นของโครงการหอ้ งอา่ นหนงั สอื และโปรแกรมการรหู้ นงั สอื 74 | อ่านเขา อ่านเรา
โครงการหอ้ งเรียน 1. เออื้ ใหม้ กี ารเขา้ ถงึ โครงสรา้ งพนื้ ฐานทางการศกึ ษาซง่ึ มคี วามเปน็ มติ รกบั เดก็ โดย เน้นเร่ืองความสะอาด สดใส และมพี ื้นที่การเรียนรูท้ ่ไี ด้รับการกอ่ สร้างอยา่ งดี 2. รวบรวมขอ้ มลู โรงเรยี นลงในแบบฟอรม์ พรอ้ มทง้ั ระบใุ หช้ ดั เจนวา่ เปน็ โรงเรยี นใน โครงการการรหู้ นงั สือ และ/หรือ โครงการการศกึ ษาของเด็กผูห้ ญิง (GEP) 3. เรมิ่ ทาำ โครงการการรหู้ นงั สอื หรอื โปรแกรมการศกึ ษาของเดก็ หญงิ ทโี่ รงเรยี น 4. วเิ คราะหค์ วามตอ้ งการโครงสรา้ งพน้ื ฐานและจดั ทาำ งบประมาณการกอ่ สรา้ ง โรงเรยี น 5. ใหก้ ารสนบั สนนุ การปรบั ปรงุ โครงสรา้ งพนื้ ฐานเพมิ่ เตมิ แกโ่ รงเรยี นตามความ จำาเป็น 6. จดั ใหม้ กี ารตรวจสอบอยา่ งสมา่ำ เสมอและใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นเทคนคิ สาำ หรบั การบำารงุ รกั ษาอย่างต่อเนือ่ ง โครงการการศึกษาของเด็กผ้หู ญิง (GEP) 1. คดั เลอื กเดก็ ผหู้ ญงิ เพอ่ื รบั ทนุ การศกึ ษาใหม้ ากขน้ึ โดยใชว้ ธิ เี จาะกลมุ่ (community based approach) 2. ระบใุ หไ้ ดว้ า่ ชมุ ชนใดมสี ดั สว่ นความตา่ งระหวา่ งชายและหญงิ ในระดบั สงู 3. จดั ใหม้ กี ารเรียนพิเศษและใหค้ ำาปรกึ ษาหากจาำ เป็น 4. ใหก้ ารฝึกอบรมทกั ษะการดาำ รงชวี ิตแกน่ ักเรียนท่ไี ดร้ ับทุนทุกคน 5. สร้างนวัตกรรมใหมๆ่ ลงในโครงการเพ่อื ใหเ้ กิดความยง่ั ยนื บทสรุป ในชว่ ง 5 ปที ผี่ า่ นมา ความกา้ วหนา้ อยา่ งมนี ยั สาำ คญั เกดิ ขนึ้ ไดก้ ด็ ว้ ยความพยายาม ของเราที่จะลดช่องว่างในการเข้าถึงหนังสือและลดความเหล่ือมลำ้าในคุณภาพของการศึกษา ในเขตเมืองและชนบทของลาวเป็นสำาคัญ เด็กในพื้นท่ีชนบทหลายแห่งสามารถเข้าถึงแหล่ง การเรยี นร้มู ากขนึ้ เชน่ การบริการหอ้ งสมดุ และครูเองก็ยังได้ปรับปรุงวิธกี ารสอน สิง่ ท่เี กิด ข้นึ มาจากผลของโครงการภายใตก้ ารดำาเนินงานของ Room to Read ท่ีสง่ ตอ่ ใหก้ บั รฐั บาล ลาวโดยมีเป้าหมายรวมคือการจดั การดา้ นการศกึ ษานน่ั เอง การสง่ เสรมิ การอ่านและหอ้ งสมุด ในสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว | 75
วฒั นธรรมก�รอ่�นหนงั สือ เป็นเครือ่ งมือสำ�หรับคนย�กจนทจี่ ะท�ำ ใหต้ นเอง มคี ว�มสมบูรณใ์ นชีวติ ม�กขึน้ ต�มปรชั ญ�พทุ ธศ�สน�ว�่ “ก�รทำ�สง่ิ ทถ่ี ูกตอ้ งอย่�งเต็มใจจะนำ�ม� ซง่ึ ผลลพั ธ์อนั งดง�มในชีวติ ”
การหมนุ เวยี นหนงั สอื ระหวา่ งหอ้ งสมดุ : แนวทางส่งเสริมการใชป้ ระโยชน์ จากหนงั สอื และสารสนเทศอยา่ งมีประสิทธิภาพ วู ด็อง ถวั หงา (Vu Duong Thuy Nga) บทคดั ยอ่ บทความน้ีว่าด้วยความพยายามของห้องสมุดท่ีจะลดช่องว่างระหว่างชมุ ชนเมอื งกบั ชมุ ชนชนบทและระหวา่ งบรเิ วณภเู ขาและทร่ี าบ ดว้ ยการสง่ เสรมิ การอา่ นและการใช้สารสนเทศ ของชาวเวยี ดนาม ประเทศเวียดนามเป็นประเทศท่ีมีประชาชนเชื้อสายต่างๆ ถึง 54 กลุ่มชาติพันธุ์ และมีประชากรท่ีอาศัยอยู่ในเขตชนบทมากถึง 70% นอกจากน้ี ยงั มปี ระชากรผพู้ กิ ารทาง สายตามากถึง 1 ล้านคน ในเวลาหลายปีท่ผี ่านมา ห้องสมดุ สาธารณะได้พยายามที่จะสร้าง ความเท่าเทียมและสภาพท่ีเอื้อให้คนในชนบทและผู้พิการทางสายตามีโอกาสเข้าถึงหนังสือ และสารสนเทศต่างๆ ได้ง่ายและสะดวก หนังสือและส่ือหอ้ งสมุดอนื่ ๆ ไดร้ บั การเผยแพรจ่ าก ห้องสมุดระดับจังหวัดไปยังชุมชนระดับรากหญ้า มีการจัดจุดอ่านหนังสือสำาหรับผู้พิการทาง สายตาโดยเฉพาะ และห้องสมุดระดับจังหวัดมีบทบาทสำาคัญในการยกระดับภูมิปัญญาและ เผยแพร่ข้อมูลและความร้ไู ปยงั ชุมชน รูปแบบของการกระจายส่ือห้องสมุดไปยังชุมชนรวมถึงบริการหมุนเวียนหนังสือ ของห้องสมุดสาธารณะ (เช่น ห้องสมุดเคล่อื นท่ ี หนังสือเคล่อื นท่ ี การส่งเจ้าหน้าท่หี ้องสมุด แปลจาก “Transferring of books among libraries: The solution of effective promotion of the use of the books and other information in order to reduce people cultural standard between rural and city communities” นาำ เสนอในงานประชมุ วชิ าการ Thailand Conference on Reading 2013 วนั ท่ี 21- 22 มีนาคม 2556 การหมนุ เวยี นหนังสอื ระหวา่ งหอ้ งสมดุ | 77
ไปยังเขตท่ีพักอาศัยและโรงเรียน และอ่ืนๆ) และการให้บริการสำาหรับผู้พิการทางสายตา (เช่น การให้บริการถึงที่ การหมุนเวียนหนังสือไปยังสาขาของสมาคมคนตาบอดในจังหวัด และในเขตเมือง) การสนับสนุนของรัฐบาลและองค์กรท้องถิ่นและองค์กรต่างชาติรวมถึง โครงการของรฐั ท่ีใหท้ ุนสนบั สนนุ หอ้ งสมดุ โครงการพฒั นาวัฒนธรรม โครงการจัดหาหนังสือ สำาหรับชุมชนระดับรากหญ้า และยังมีการสนับสนุนขององค์กรเอกชนที่ไม่แสวงหาผลกำาไร และบคุ คลท่วั ไป การวิเคราะห์ปัญหาความยากลำาบากของห้องสมุดที่จะให้บริการในท้องถ่ินห่างไกล และคนตาบอด แสดงถงึ ปญั หาการขาดแคลนสอ่ื ตา่ งๆ โดยเฉพาะสอ่ื ในภาษาถน่ิ การขาดแคลน การจัดสง่ หนังสือ การจัดหอ้ งสมดุ เคลอ่ื นท ่ี เบ้ยี เล้ยี งคา่ จ้างท่ไี มเ่ หมาะสมสำาหรบั บรรณารกั ษ์ ในระดับรากหญ้า และปัญหาจากการท่ีคนจำานวนมากต้องทำางานหนักเพ่ือเลี้ยงชีพและ ไมม่ เี วลาอ่านหนังสือมากนกั นอกจากน ้ี บทความนย้ี งั มโี ครงรา่ งขอ้ เสนอเกย่ี วกบั ความเทา่ เทยี มกนั สาำ หรบั ทกุ คน ทีจ่ ะเข้าถงึ หนังสอื ข้อมูลและความรู้ในประเทศเวียดนามด้วย บทนำา เวยี ดนามเปน็ ประเทศทม่ี ปี ระชาชนเชอ้ื สายตา่ งๆ มากถงึ 54 กลมุ่ ชาตพิ นั ธอ์ุ าศยั อยู่ ร่วมกันอย่างสงบสุข ประชากรเกือบ 70% ของประเทศอาศัยอยู่ในเขตชนบท พวกเขาต้อง ทำางานหนักเพ่ือยังชีพโดยขาดโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีจำาเป็นและขาดการส่งเสริมด้านชีวิตทาง วัฒนธรรมจากรัฐบาล นอกจากน้ี ยังมีประชากรเวียดนามมากถึงประมาณ 1 ล้านคนท่ีเป็น ผู้พิการทางสายตาซ่ึงส่วนมากอาศัยอยู่ในเขตชนบทของประเทศ ด้วยสภาพดังกล่าว อัตรา ความยากจนจงึ ยงั อยใู่ นระดบั สงู และชอ่ งวา่ งระหวา่ งมาตรฐานการครองชพี ของคนในชนบท และคนในเมอื งยง่ิ กวา้ งขน้ึ อยา่ งไรกต็ าม ความหลากหลายทางดา้ นชาตพิ นั ธท์ุ าำ ใหม้ วี ฒั นธรรม ด้ังเดิมท่ีเอื้อต่อการเป็นประเทศท่ีมีพหุวัฒนธรรม ซึ่งหมายถึงความหลากหลายในเรื่อง ประเพณี กิจกรรมการรับประทานอาหาร และกิจกรรมที่แสดงออกถึงความเชื่อทางด้าน จติ วญิ ญาณ ความหลากหลายทางวฒั นธรรมเชน่ นเ้ี ปน็ คณุ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาอตุ สาหกรรม 78 | อา่ นเขา อา่ นเรา
การท่องเท่ียวของประเทศ อย่างไรก็ตาม มีคำาถามจากบรรณารักษ์และผู้ที่รักหนังสือว่า เราจะช่วยผู้คนท่ีด้อยโอกาสในประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้พิการทางสายตา ให้เข้าถึง หนังสือและนิตยสารต่างๆ ได้ง่ายได้อย่างไรเพื่อช่วยเพ่ิมรายได้และยกระดับมาตรฐานความ เปน็ อยูข่ องพวกเขา กล่าวอีกนยั หน่งึ คอื จะพัฒนาศกั ยภาพในการใช้ทรัพยากรทอ้ งถิ่นท่ีมีอยู่ เพ่ือยกระดับมาตรฐานความเป็นอยู่ผ่านกิจกรรมการอ่านหนังสือได้อย่างไร ซึ่งเป็นแนวคิด เร่ืองอุทยานการเรยี นร้ทู เี่ ราต้องการจะเสนอกับประเทศท้งั หลายในทวีปเอเชยี 1. นโยบายพลวตั ของรฐั บาลเวยี ดนามสำาหรบั ชุมชนยากจน ผา่ นการรณรงค์เรื่องวฒั นธรรมการอา่ นหนังสือ เห็นได้ชัดเจนว่า ความคาดหวังของการสร้างวัฒนธรรมการอ่านหนังสือสำาหรับ ผ้ดู ้อยโอกาสเป็นไปตามนโยบายของรัฐบาลเวียดนามท่ีต้องการพัฒนาวัฒนธรรมการอ่าน หนังสือเพ่ือสร้างโอกาสในชีวิตให้ประชากรผู้ด้อยโอกาส เพ่ือให้พวกเขาอ่านหนังสือให้ มากท่ีสุดเท่าท่ีจะทำาได้ เพ่ือท่ีพวกเขาจะได้มีช่องทางสำาหรับการเรียนรู้ด้วยตนเองเพ่ือเพ่ิม ความร้แู ละทักษะในการดำารงชีวิตในยุคโลกาภิวัตน์ นอกจากน้ี วัฒนธรรมการอ่านหนังสือ ยังเป็นเครื่องมือสำาหรับคนยากจนที่จะทำาให้ตนเองมีความสมบูรณ์ในชีวิตมากขึ้นตาม ปรัชญาพุทธศาสนาว่า “การทำาส่งิ ท่ถี ูกต้องอย่างเต็มใจจะนำามาซ่งึ ผลลัพธ์อันงดงามในชีวิต” กล่าวส้นั ๆ คือ การสร้างวัฒนธรรมการอ่านหนังสือเป็นกลยุทธ์ที่จะช่วยยกระดับมาตรฐาน ความเป็นอยู่ ในอีกแง่หน่ึง วัฒนธรรมน้ีจะช่วยลดความยากจนในชุมชนยากจนของประเทศ นโยบายดังกล่าวได้รับการสนับสนุนอย่างมากจากท้ังรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถ่ินในทุก จังหวัดและเขตของประเทศ ในบางกรณีบริษัทและสำานักพิมพ์ หรือแม้แต่บุคคลทั่วไปต่างก็ สนับสนุนหนังสือและอ่ืนๆ เพ่อื สร้างวัฒนธรรมการอ่านให้กับประชาชนท่ดี ้อยการศึกษาใน ชุมชนยากจน ผลของนโยบายดังกล่าวทำาให้มีการสร้างห้องอ่านหนังสือในหมู่บ้านสำาหรับ ประชากรในชุมชนในเขตชนบทในส่วนต่างๆ ของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ห้องหนังสือ สำาหรบั ผ้พู กิ ารทางสายตาที่จัดทำาโดยหอ้ งสมดุ สาธารณะในเมืองโฮจมิ ินห์ การหมุนเวยี นหนงั สอื ระหวา่ งหอ้ งสมุด | 79
2. บทบาทของหอ้ งสมดุ สาธารณะในการสง่ เสรมิ การอา่ นในชมุ ชน ในประเทศเวียดนามนั้น เราไม่สามารถจัดต้ังระบบห้องสมุดต้นแบบท่ีมีห้องสมุด กลางและหอ้ งสมดุ สาขาได ้ จงึ เปน็ เรอ่ื งยากทจ่ี ะแลกเปลย่ี นและใหย้ มื หนงั สอื ระหวา่ งหอ้ งสมดุ เครือข่ายในระบบ อย่างไรก็ตาม เราได้พยายามอย่างดีท่ีสุดท่ีจะเพิ่มแหล่งหนังสือสำาหรับ หอ้ งสมุดแต่ละแหง่ ดว้ ยวธิ กี ารทเี่ หมาะสม โดยมเี ป้าหมายเพ่ือคนยากจน อันที่จริง ในระยะหลายปีท่ีผ่านมา ห้องสมุดสาธารณะในเขตและจังหวัดต่างๆ ได้ จดั หาหนงั สอื มากเพยี งพอสาำ หรบั คนยากจนในหมบู่ า้ นโดยใชว้ ธิ ยี ดื หยนุ่ เชน่ การเวยี นหนงั สอื ระหวา่ งห้องสมุด โดยมีเปา้ หมายเพือ่ สร้างแหลง่ ทรัพยากรทที่ าำ ใหแ้ ตล่ ะห้องสมดุ มีความใหม่ อยเู่ สมอ และการสร้างหอ้ งอา่ นหนงั สอื สาำ หรบั คนตาบอดในบางพ้ืนที่ วัฒนธรรมการอ่านหนังสือสร้างโอกาสให้เกษตรกรในหลายๆ ส่วนในประเทศ เพื่อให้พวกเขาเรียนรู้ว่าเขาสามารถลดความยากจนได้ด้วยทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น รายงานจากวารสารและหนงั สอื พมิ พต์ า่ งๆ แสดงใหเ้ หน็ วา่ ผลของการรณรงคเ์ รอ่ื งวฒั นธรรม การอ่านหนังสือประสบผลสำาเร็จเป็นอย่างดี เกษตรกรในเขตห่างไกล รวมถึงเกษตรกรท่เี ป็น ชนกลมุ่ นอ้ ย ได้นำาเทคนิคและเทคโนโลยีในการทำาไร่ทำานาไปประยุกต์ใช้อย่างมีประสิทธิผล สามารถกล่าวได้ว่าสำาหรับคนท่ีได้รับโอกาสทางการศึกษาน้อยน้ัน การเรียนรู้จากหนังสือที่มี รูปภาพประกอบมีความสำาคัญท่ีช่วยให้พวกเขาสามารถเล้ียงตัวเองและพึ่งพาตัวเองได้ ในบางกรณี ห้องสมุดสาธารณะได้รณรงค์เรื่องการอ่านหนังสือเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนไป อ่านหนังสือที่ห้องสมุด ถ้านักเรียนเรียนดีแต่ยากจน นักเรียนก็จะได้รับบัตรห้องสมุด นอกจากนี้ห้องสมุดบางแห่งยังอนุญาตให้กลุ่มทหาร กลุ่มคนในชุมชนเดียวกัน หรือกลุ่ม อา่ นหนงั สอื อืน่ ๆ ยมื หนงั สอื ได้เพ่มิ ข้นึ เพอ่ื นาำ ไปอา่ นที่บ้าน 2.1 การให้ยืมหนังสือหมุนเวียนจากห้องสมุดสาธารณะในเขตหรือในจังหวัด ไปยังห้องสมดุ ขนาดเลก็ ในหมูบ่ ้านห่างไกล โครงการให้ยืมหนังสือข้ามห้องสมุดดำาเนินการมาเป็นเวลาสิบปีแล้วในห้องสมุด ระดับจังหวัด 63 แห่งในประเทศเวียดนาม โครงการน้ปี ระสบความสำาเร็จในการสนับสนุน 80 | อ่านเขา อ่านเรา
การให้ยืมหนังสือในเขตชนบท โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหมู่ชนกลุ่มน้อยท่ีอาศัยอยู่บนที่สูงและ ผูท้ ่ีอาศัยอยู่ตามแนวเกาะ ท่ีมโี อกาสในการเข้าถึงหนงั สือน้อยในเขตท่ตี นอยอู่ าศยั ในการเวียนหนังสอื ทกุ 3 หรือ 6 เดอื น หอ้ งสมดุ ขนาดเล็กในท้องท่หี า่ งไกลแต่ละ แห่งสามารถขอยืมหนงั สือไดค้ รง้ั ละ 200-400 เลม่ โดยไมต่ อ้ งเสียคา่ ใช้จ่ายใดๆ สำาหรบั การ ใช้ในช่วงเวลาน้ัน กลยุทธ์เช่นนี้ประสบผลสำาเร็จในสังคมยากจนสองประการ กล่าวคือ เป็น วิธีการท่ชี ่วยกระต้นุ นิสัยรักการอ่านและเป็นการทำาให้ผ้คู นยากจนมีโอกาสรับร้นู โยบายใหม่ๆ ของรัฐบาลตลอดจนข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับความต้องการในปัจจุบันของพวกเขา การเข้า ถึงหนังสือทำาให้เกิดการถ่ายโอนความรู้ทางเทคนิคหรือผลิตภัณฑ์ที่ส่งเสริมชีวิตความเป็นอยู่ และการผลติ ทส่ี นองความตอ้ งการในปจั จบุ นั ของเกษตรกร ครอบครวั ยากจนหลายครอบครวั มีโอกาสเรียนรู้และนำาเทคนิคและเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่อยู่ในหนังสือไปประยุกต์ใช้ในการทำา เกษตรกรรมของตนเอง และกลายเป็นเกษตรกรที่ร่ำารวยทั้งๆ ที่ทำาเกษตรกรรมในพ้ืนที่ ทุรกันดาร กลุ่มสตรีในแต่ละหมู่บ้านนับได้ว่าเป็นผู้บุกเบิกในการเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อ พฒั นาการผลติ และชวี ติ ของตน เหน็ ไดช้ ดั วา่ ยง่ิ พวกเขานาำ วธิ กี ารใหมๆ่ ในการทาำ เกษตรกรรม ไปประยุกต์ใช้ พวกเขาก็ย่ิงได้เงินกู้จากธนาคารเพ่ือการผลิตทางเกษตรกรรมของตนเอง งา่ ยมากข้นึ เท่าน้ัน - การใช้รถจักรยานยนต์นำาหนงั สอื ไปยงั ท้องทห่ี ่างไกล ในการขนยา้ ยหนงั สอื ไปยงั ทอ้ งทห่ี า่ งไกลนน้ั มโี ครงการรณรงคเ์ พอ่ื สรา้ งชวี ติ ทด่ี กี วา่ สำาหรับผู้ด้อยโอกาสที่จะเข้าถึงหนังสือในสังคมของเรา เน่ืองจากสภาพท้องถนนที่ย่ำาแย่ใน ทอ้ งถน่ิ หา่ งไกล โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในเขตทส่ี งู บรรณารกั ษห์ อ้ งสมดุ สาธารณะจงึ จาำ เปน็ ตอ้ งนาำ หนังสือไปให้ชาวบ้านโดยใช้รถจักรยานยนต์ บรรณารักษ์จะใช้รถจักรยานยนต์ส่วนตัว นำาหนงั สอื จาำ นวน 100-300 เลม่ ไปยงั หอ้ งอา่ นหนงั สอื ในชมุ ชนยากจนเปน็ ประจาำ ตามกาำ หนด ทุก 2-3 เดอื นแลว้ แต่แผนการของหอ้ งสมุดสาธารณะแตล่ ะแห่ง ตวั อยา่ งท่ดี ีตัวอยา่ งหนง่ึ คอื Mai Thi Lam บรรณารักษ์ของห้องสมุดโรงเรียนในหมู่บ้าน Tan Khanh Hoa ในเขต Giang Thanh จังหวัด Kien Giang ใกล้พรมแดนเขมร-เวียดนาม จะนำาหนังสือจาก ห้องสมุดของตนเองไปท่ีห้องอ่านหนังสือในโรงเรียนสาขา 6 โรงเรียน ให้นักเรียนชาวเขมร อ่านเป็นประจำาทุกวัน โดยที่ห้องอ่านหนังสือบางแห่งตั้งอยู่ห่างไกลจากห้องสมุดของเธอถึง การหมุนเวียนหนงั สอื ระหวา่ งหอ้ งสมุด | 81
20 กิโลเมตร ตัวอย่างท่ดี ีอีกตัวอย่างหน่งึ คือ Pham Thi Hoa ผ้อู ำานวยการของห้องสมุด สาธารณะของเขต Bat Cat ในจังหวัด Lao Cai ท่ีทุกครั้งที่มีการหมุนเวียนหนังสือ ก็จะใช้ รถจักรยานยนต์นำาหนังสือ 200-300 เล่มไปยังจุดหมายปลายทางท่หี ่างไกล การสนับสนุน เช่นน้ีทำาให้เด็กนักเรียนในหมู่บ้านมีโอกาสได้เรียนรู้จากการอ่าน สำาหรับห้องสมุดโรงเรียน ประจาำ สาำ หรบั ชนกลมุ่ นอ้ ย เธอจะใช้เวลาสัปดาห์ละหนึ่งวันช่วยบรรณารักษ์ในห้องสมุดเล็กๆ ทน่ี ัน่ ทำางานและใหบ้ ริการแก่นกั เรียนทง้ั หลายเตม็ ท่ี - การใชร้ ถพเิ ศษไปบริการหนงั สอื ให้พื้นทห่ี า่ งไกล ในประเทศเวียดนาม มีห้องสมุดจำานวนสามแห่งที่จัดต้ังขึ้นเพ่ือการหมุนเวียน หนังสือไปยังผู้อ่านที่อาศัยอยู่ในพ้ืนที่ห่างไกล ห้องสมุดท้ังสามคือ ห้องสมุดวิทยาศาสตร์ ท่ัวไปในเมืองโฮจิมินห์ ห้องสมุดสาธารณะในเมืองฮานอย และห้องสมุดสาธารณะในเมือง เย็นไบ ซ่ึงห้องสมุดทั้งสามแห่งจัดเป็นรูปแบบใหม่ของการหมุนเวียนหนังสือในประเทศ เวียดนาม เพ่ือใหผ้ ้อู า่ นในเขตชนบทมโี อกาสได้อ่านหนังสือใหมๆ่ และสนองความต้องการใน ปัจจุบันของตนเอง ประกอบด้วยความรู้ ข้อมูลข่าวสาร สาระบันเทิง และอื่นๆ วิธีการ ดังกล่าวเป็นประโยชน์สำาหรับชนกลุ่มน้อยและทหารท่ีอยู่ในบริเวณชายแดนห่างไกลจาก ชุมชนเมอื ง ภาพท่ี 1: หอ้ งสมุดเคลอ่ื นท่ขี องห้องสมุดวทิ ยาศาสตร์ท่วั ไปในเมอื งโฮจมิ ินห์ 82 | อา่ นเขา อ่านเรา
ภาพที่ 2: ห้องสมดุ เคล่อื นที่ - ความรตู้ ิดล้อของห้องสมดุ ฮานอยออกใหบ้ รกิ ารในบริเวณ ชานเมอื งฮานอย ห้องสมุดสาธารณะแห่งฮานอยมียานพาหนะเป็นห้องสมุดเคลื่อนท่ีหนึ่งคัน มีหนังสอื จำานวน 1,500 เลม่ และมีเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ต่ออนิ เทอร์เนต็ จำานวน 6 เคร่อื งเพอื่ ให้ บริการแก่หมบู่ ้านยากจน 10 แหง่ ในเมอื ง ห้องสมดุ มแี ผนการสำาหรับสามปีข้างหน้าที่จะนำา รถยนต์คันนี้ออกว่ิงให้บริการทุกๆ วันหยุดสุดสัปดาห์เพ่ือสนับสนุนนักเรียนในหมู่บ้านให้ เรยี นรู้จากการอ่านและการใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ - รปู แบบใหม่ของการจดั หาหนงั สือให้นักอา่ นในโรงเรยี น นับต้ังแต่ปี ค.ศ. 2007 เป็นต้นมา โรงเรียน Le Van Tam ในเมือง Long Mai จังหวัด Hau Giang ได้นำากลยุทธ์ใหม่มาใช้ในการดึงดูดความสนใจของนักเรียนในการ อ่านหนังสือท่ีมีเน้ือหาเกี่ยวกับชีวิตในหลายๆ ด้านในระหว่างเวลาพักท่ีโรงเรียน ในช่วงพัก ตัวแทนของห้องเรียนจะสุ่มหยิบหนังสือหรือนิตยสารจากกล่องหนังสือท่ีตกแต่งอย่าง สวยงามในช่วงพักมาอ่านให้เพื่อนนักเรียนด้วยกันฟังเรื่องหรือข้อมูลจากหนังสือใต้ร่มเงา ต้นไม้ใหญ่ หนังสือและนิตยสารในกล่องหนังสือจะเปลี่ยนไปเร่ือยๆ เพ่ือให้นักเรียนมีโอกาส รจู้ ักแนวคิดและขอ้ มลู ใหมๆ่ และสอนใหน้ ักอ่านร่นุ เยาว์มีสว่ นร่วมในการเรยี นร้ตู ามความคิด ของตน - หอ้ งอักษรสัมผัสสาำ หรับผู้พิการทางสายตา เปน็ เรอ่ื งนา่ ยนิ ดยี ง่ิ ทน่ี บั ตง้ั แตป่ ี ค.ศ. 1999 เปน็ ตน้ มา รฐั มนตรกี ระทรวงวฒั นธรรม กีฬา และการท่องเท่ียวของเวียดนามได้ให้การสนับสนุนห้องสมุดสาธารณะหลายแห่งใน การหมนุ เวยี นหนังสือระหวา่ งหอ้ งสมุด | 83
เมืองใหญ่ เช่น ห้องสมุดสาธารณะแห่งฮานอยและห้องสมุดวิทยาศาสตร์ท่ัวไปของเมือง โฮจิมินห์ เพ่ือจัดให้มีบริการห้องอักษรสัมผัสสำาหรับผู้พิการทางสายตา จนถึงปัจจุบันน้ี มีห้องอักษรสัมผัสจำานวน 34 แห่งท่ีเปิดให้บริการกับผู้พิการทางสายตาในจังหวัดต่างๆ อย่างไรก็ตาม มีคนจำานวนไม่มากนักท่ีมาที่ห้องสมุดเพื่ออ่านหนังสืออักษรเบรลล์ ท้ังนี้ เน่ืองจากการอ่านอักษรเบรลล์เป็นเร่ืองต้องใช้เวลาในการฝึกฝน ในขณะเดียวกัน ความยาก ลำาบากในการเดินทางก็เป็นอีกสาเหตุหน่ึงที่ทำาให้ผู้พิการทางสายตาไม่อยากไปอ่านหนังสือที่ ห้องสมุด ดังน้ัน เพื่อให้คนกลุ่มนี้มีโอกาสได้อ่านหนังสือ การนำาหนังสืออักษรเบรลล์ไปให้ สมาคมผพู้ กิ ารทางสายตาจะเปน็ ประโยชนม์ ากกวา่ ในความเปน็ จรงิ แลว้ หอ้ งสมดุ สาธารณะ จาำ นวนหลายแหง่ ในประเทศไดร้ ่วมมือกบั กลมุ่ ผพู้ กิ ารทางสายตากลุ่มตา่ งๆ เพ่ือเพิ่มกจิ กรรม การฝึกอ่านหนังสืออักษรเบรลล์ให้กับคนยากจน มีการจัดประกวดหนังสืออักษรเบรลล์ ในเมืองต่างๆ หลายเมืองเพ่ือให้คน ตาบอดมีโอกาสเรียนรู้และพัฒนาความรู้เพื่อเพ่ิม คุณภาพชีวติ ของตน ภาพที่ 3: เดก็ พกิ ารทางสายตาในหอ้ งสมดุ วิทยาศาสตรท์ ัว่ ไปในเมืองโฮจิมนิ ห์ 84 | อ่านเขา อ่านเรา
- การสง่ เสริมกิจกรรมการอ่านของหอ้ งสมุดเอกชน มกี ารจดั ตง้ั หอ้ งสมดุ เอกชนกวา่ 50 แหง่ และชน้ั หนงั สอื สาำ หรบั ครอบครวั อกี 80 แหง่ เพื่อให้บริการชุมชนในท้องที่ต่างๆ โดยได้รับการสนับสนุนจากผู้บริจาคต่างๆ ในประเทศ ซ่ึงมีฐานะดีและมีความตั้งใจดี ตัวอย่างเช่น Sir Nguyen Quang Thach ท่ีอาศัยอยู่ใน เขต Quynh Phu จังหวัด Thai Binh ที่รวบรวมเงินทุนเพื่อสร้างช้ันหนังสือสำาหรับ ครอบครัวเพ่ือจัดหาหนังสือสำาหรับชุมชนในชนบทของเขา Sir Nguyen Quang Thach ตระหนักดีว่า ในชนบทมีหนังสือจำานวนน้อยมากแต่มีคนที่ต้องการอ่านหนังสือเป็น จำานวนมาก ซ่ึงก็เป็นดังน้ัน และมีคนมาอ่านหนังสือที่ชั้นหนังสือท่ีเขาจัดหาให้จำานวนมาก โดยรวมแลว้ เปน็ เดก็ นกั เรยี นถึง 80% ทุกวนั นีม้ ีแนวโนม้ ทจ่ี ะนำารปู แบบนไ้ี ปใชใ้ นทอ้ งทต่ี า่ งๆ ในจังหวัด Thai Binh คาดหวังกันว่าย่ิงมีช้ันหนังสือสำาหรับครอบครัวมากขึ้นเท่าไหร่ ก็จะ ยง่ิ ม ี “พน้ื ทอ่ี า่ นหนงั สอื ” มากขน้ึ พวกเขายงั กลา่ วดว้ ยวา่ ผอู้ า่ นเดนิ ทางไปทช่ี น้ั หนงั สอื สำาหรบั ครอบครัวไม่ใช่เพื่ออ่านหนังสือเท่าน้ัน แต่ยังไปเพื่อแบ่งปันความสนใจ นิสัย และด้านอื่นๆ ของชีวิตกับคนอ่นื นอกจากน้ ี ยังเป็นโอกาสท่ที ำาให้พวกเขาได้พบปะแลกเปล่ยี นปัญหาด้าน การผลิตงานเกษตรตลอดจนปัญหาความยากลำาบากในชีวิตและหาทางช่วยเหลือซ่ึงกัน และกัน 3. กิจกรรมของรฐั บาลและองคก์ รเอกชนไมแ่ สวงหาผลกำาไร ในการดูแลกจิ กรรมการอ่านของประชาชนเพอื่ การพฒั นา ความสามารถส่วนตน เมื่อยังมีชีวิตอยู่ ประธานาธิบดีโฮจิมินห์เป็นผู้ที่มีความสนใจเรื่องการสร้างโอกาส การอ่านของประชาชนเป็นอย่างมาก ท่านกล่าวไว้ในหนังสือช่ือ “Revolutionary Way” (Duong Cach Mehn, 1927) วา่ ในการเตรยี มการก่อตง้ั พรรคน้ัน จำาเปน็ ต้องเปิดหอ้ งอ่าน หนงั สอื ไปพรอ้ มๆ กบั การสรา้ งโรงเรยี นและโรงพยาบาล ทา่ นประธานาธบิ ดยี งั กลา่ วไวด้ ว้ ยวา่ ควรมีวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น การเรียนในโรงเรียน การเรียนจากหนังสือ และ การเรียนจากชีวติ จริง การหมนุ เวยี นหนังสอื ระหวา่ งหอ้ งสมุด | 85
ดังน้ัน ในนโยบายการพัฒนาประเทศของพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม จึงมีการ วางแนวทางให้รัฐบาลดำาเนินงาน หน้าท่ีหลักของรัฐบาลคือการสร้างสภาพท่ีดีท่ีช่วยให้ ประชาชนของประเทศได้อ่านหนังสืออย่างมีประสิทธิผล ในปี ค.ศ. 2004 คำาส่งั สำาคัญของ คณะกรรมการกลางพรรค หมายเลข 42/CT-TW มดี ังนี้ (1) เราจาำ เปน็ ตอ้ งดแู ลเรอ่ื งการพฒั นาวฒั นธรรมในการอา่ นสาำ หรบั ประชาชน ทุกระดับช้ันและทกุ องค์กรในประเทศ (2) เราตอ้ งพยายามอยา่ งดที สี่ ดุ ทจี่ ะพฒั นาเครอื ขา่ ยการจดั หาหนงั สอื นติ ยสาร และสงิ่ พมิ พอ์ นื่ ๆโ ดยมเีนอื้ หาทต่ี รงกบั ความตอ้ งการในปจั จบุ นั ของประชาชน ทอี่ า่ นหนงั สอื อยใู่ นทอ้ งถน่ิ ตา่ งๆ ของประเทศโ ดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ผทู้ อี่ าศยั อยู่ ในบริเวณชนบทห่างไกลและโดดเด่ียว 1 เราตระหนักดีว่าการพัฒนาข้อมูล ความรู้ และวัฒนธรรมในวิถีทางท่ีถูกต้องเป็น องค์ประกอบสำาคัญในการพัฒนาประเทศ เม่ือพิจารณาถึงประเด็นสำาคัญเรื่องวัฒนธรรม สำาหรับการพัฒนาประเทศในอนาคตนั้น ประเทศเวียดนามมีกลยุทธ์ทางด้านวัฒนธรรมของ รฐั บาลทเ่ี รยี กวา่ “กลยทุ ธก์ ารพฒั นาวฒั นธรรม” โดยมเี ปา้ หมายในป ี ค.ศ. 2020 กลยทุ ธน์ ไ้ี ด้ ระบุวัตถุประสงค์และงานในการพัฒนาวัฒนธรรมโดยรวมและการพัฒนาห้องสมุดโดยเฉพาะ ดังนี้ (ก) การพัฒนานวัตกรรมในการบริหารจัดการห้องสมุดเพ่ือบริการประชาชนให้ได้อ่าน หนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการให้บริการข้อมูลสารสนเทศและการใช้เทคโนโลยี ทใ่ี หบ้ รกิ ารอตั โนมตั แิ ละทนั สมยั ในการบรหิ ารจดั การหอ้ งสมดุ (ข) การจดั ตง้ั เครอื ขา่ ยระหวา่ ง ห้องสมุดต่างๆ เพ่ือใช้ประโยชน์จากคณุ ลกั ษณะทเี่ ปน็ ประโยชนข์ องเครอื ขา่ ยเพื่อบรรยากาศ ในการค้นคว้า และเพื่อใหห้ อ้ งสมดุ แตล่ ะแห่งในเครือข่ายมคี วามสมบูรณ์อย่างมากทสี่ ุดเท่าที่ จะเป็นไปได้ และ (ค) การพัฒนาการอ่านสำาหรับประชาชนในรูปโครงการระยะยาวของ ประเทศท่มี ุ่งเนน้ ความย่ังยืนของการพัฒนาเป็นประเทศอตุ สาหกรรมและทันสมยั 2 1 Communist Party of Vietnam (2004). Directive number 42/CT-TW of the Party Central Committee Secretariat 2 Ministry of Culture, Sports and Tourism (2009) Cultural Development Strategy to 2020, Hanoi. 86 | อ่านเขา อา่ นเรา
การใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรสอ่ื นน้ั เปน็ เรอ่ื งจาำ เปน็ โดยมเี ปา้ หมายอยทู่ ก่ี ระบวนการ ทไ่ี ม่ยงุ่ ยากซบั ซอ้ นในการเลือกหนังสอื สาำ หรับคนอา่ น นอกจากน ้ี การจดั หาสอื่ หอ้ งสมุดและ เวลาในการอ่านทเ่ี หมาะสมและพอเพยี งเปน็ เรื่องท่จี ำาเป็นเชน่ กัน ท้ายทีส่ ุด จำาเปน็ ตอ้ งมีการ รณรงค์เรื่องการอ่านทั่วประเทศ เพ่ือให้เอ้ือต่อการพัฒนาการอ่านอย่างมีประสิทธิผลทั้งใน ปจั จุบนั และเพ่อื ประชากรชาวเวยี ดนามรุ่นต่อไป 3.1 โครงการของรัฐบาลกลางในการให้เงินทุนสนับสนุนห้องสมุดและหนังสือ สำาหรบั ประชาชน รัฐบาลใช้เงินจาำ นวนมากจากภาครฐั ในการจัดทาำ โครงการน ี้ โดยมกี จิ กรรมโครงการ หลกั สามกจิ กรรม ไดแ้ ก ่ โครงการของกระทรวงวฒั นธรรม กฬี า และการทอ่ งเทย่ี ว มกี จิ กรรม จัดหาหนังสือให้กับห้องสมุดเขตในท้องถ่ินห่างไกลและสนับสนุนหนังสือสำาหรับหมุนเวียนให้ กบั หอ้ งสมดุ ในจงั หวดั ใชง้ บประมาณ 25 พนั ลา้ นดอ่ งตอ่ ป ี โครงการของกระทรวงสารสนเทศ และการสื่อสาร ได้จัดต้ังและลงทุนในหน่วยติดตามงานสร้างวัฒนธรรมในหมู่บ้าน ขณะที่ โครงการของกระทรวงยุติธรรมได้จัดหาหนังสือกฎหมายสำาหรับชุมชน โครงการท้ังหมด ที่กลา่ วมานเ้ี ปน็ ความพยายามทจ่ี ะชว่ ยใหผ้ คู้ นมโี อกาสเขา้ ถงึ และใชห้ นงั สอื ไดโ้ ดยสะดวกสบาย มากข้นึ 3.2 การสนับสนุนขององค์กรเอกชนไม่แสวงหาผลกำาไรในเรื่องการอ่านหนังสือ ของประชาชน อันท่ีจริง มีองค์กรระดับนานาชาติและประเทศต่างๆ ที่ให้การสนับสนุนกิจกรรม ดังกล่าว ผู้บริจาครายหลัก ได้แก่ องค์การยูเนสโก มูลนิธิเอเชีย บริติชเคาน์ซิล และ ธนาคารโลก โดยมีกิจกรรมต่างๆ เช่น การให้ความสนับสนุนเรื่องหนังสือแก่ห้องสมุด การ จัดสรรงบประมาณ การเชิญนักเขียน และการสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมการอ่านอ่ืนๆ ห้องสมุดมากกว่า 163 แห่งได้รับหนังสือจากการสนับสนุนของมูลนิธิเอเชียตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 จนถึงปัจจบุ นั มมี ูลค่ารวมกวา่ 15 ลา้ นเหรยี ญสหรัฐ การหมุนเวียนหนงั สอื ระหวา่ งหอ้ งสมดุ | 87
แหล่งทุนสนับสนุนท่ีสำาคัญอีกแหล่งหน่ึงคือมูลนิธิบิลและเมลินดา เกตส์ ซึ่ง ให้การสนับสนุนผ่าน “โครงการพัฒนาความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์และการเช่ือมต่อ อนิ เทอร์เนต็ สาธารณะในเวียดนาม” รวมเปน็ เงิน 50 ล้านเหรียญสหรัฐ (33 ล้านเหรยี ญจาก มูลนิธิผู้บริจาคและอีก 17 ล้านเหรียญจากผู้บริจาคของเวียดนาม) จังหวัดและเมืองต่างๆ 40 แหง่ ของเวยี ดนามไดร้ ับการสนับสนุนจากโครงการน้ี แหล่งสนับสนุนท่ีสำาคัญอีกแห่งหนึ่งที่ให้การสนับสนุนด้านหนังสือและส่ือสำาหรับ ผพู้ ิการทางสายตาคือ FORCE (Foundation for Resource Centers and Libraries for Print Handicapped in Developing Countries) กอ่ นป ี ค.ศ. 2000 มหี อ้ งสมดุ จาำ นวนสองแหง่ เทา่ นน้ั ทใ่ี หบ้ รกิ ารแกค่ นตาบอด แตด่ ว้ ย การสนบั สนนุ ของกองทนุ FORCE การใหบ้ รกิ ารไดข้ ยายตวั ไปทว่ั ประเทศ ซง่ึ เปน็ กระบวนการ กระตนุ้ ความกา้ วหนา้ มกี ารใชเ้ งนิ ทนุ สนบั สนนุ สตดู โิ อสแ่ี หง่ เพอ่ื ผลติ หนงั สอื แบบดจิ ทิ ลั สาำ หรับ คนตาบอด โดยมีห้องสมุดวิทยาศาสตร์ทั่วไปแห่งเมืองโฮจิมินห์เป็นห้องสมุดต้นแบบท่ีให้ บริการด้านข้อมูลสำาหรับผู้ที่มองไม่เห็น ห้องสมุดแห่งนี้ได้กลายเป็นทั้งผู้ผลิตหนังสืออักษร เบรลล์และจัดหาส่อื ท่มี ีประโยชน์สำาหรับห้องสมุดมากกว่า 100 แห่งท่วั ประเทศ ในระหว่าง ปี ค.ศ. 2000-2001 กองทุน FORCE ได้สนับสนุนการศึกษา โดยการจัดสร้างห้องสมุด ขนาดเลก็ ทีศ่ นู ย์สำาหรบั คนตาบอดและสถานรับเล้ียงเดก็ 3 โครงการอีกโครงการหนึ่งมีช่ือว่า “ห้องอ่านหนังสือ” (Room to Read) ซ่ึงเร่ิม เปิดโครงการโดยรองประธานบริษัทไมโครซอฟท์ในประเทศเวียดนาม เพื่อจัดหาหนังสือโดย ไม่คิดค่าใช้จ่ายให้กับเด็กด้อยโอกาสและสร้างโอกาสให้คนยากจนได้มีโอกาสอ่านหนังสือ “ห้องอ่านหนังสือ” เปน็ องคก์ รเอกชนระดบั นานาชาตทิ สี่ นบั สนุนการศกึ ษาในเขตทรุ กันดาร โดยมีคำาขวญั ขององคก์ รวา่ “โลกเปล่ยี นเพราะเดก็ ๆ ได้ไปโรงเรียน” 3 Increase access to information for blind people: 10 years of cooperation between Vietnam and FORCE Fund (2010), Hanoi 88 | อ่านเขา อ่านเรา
4. ปญั หาของห้องสมุดในการให้บริการผูค้ นที่อยใู่ นทอ้ งถิน่ ห่างไกล และผู้พกิ ารทางสายตา ถึงแม้ประเทศเวียดนามจะสามารถช่วยเหลือผู้คนในท้องถิ่นห่างไกล โดยเฉพาะ คนตาบอด ได้มากขึ้นกว่าเดิม แต่ก็ยังมีอะไรหลายๆ อย่างที่ควรจะทำาเพ่ือเพิ่มโอกาสท่ี แท้จริงให้พวกเขา ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าเรามีหนังสือและนิตยสารในจำานวนจำากัด โดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ หนงั สอื และสอ่ื ทเ่ี ปน็ ภาษาถน่ิ และสอ่ื สาำ หรบั ผพู้ กิ ารทางสายตา เนอ่ื งจากการจดั พมิ พ์ หนังสือในภาษาถ่ินและหนังสือสำาหรับผู้พิการทางสายตาให้กำาไรน้อย ดังน้ัน สำานักพิมพ์ จึงไม่สนใจที่จะพิมพ์หนังสือเหล่าน้ี เพ่ือแก้ปัญหาเร่ืองการจัดหาหนังสือพวกน้ีให้ห้องสมุด สาธารณะ คำาส่ังรัฐบาลเลขท่ี 72/2002/ND-CP ได้กำาหนดว่า ห้องสมุดสาธารณะประจำา จังหวัดจะต้องจัดต้ังหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีรับผิดชอบผลิตเอกสารให้กับชนกลุ่มน้อยที่อาศัยอยู่ ในจังหวัดของตน นอกจากน้ีห้องสมุดสาธารณะยังต้องรับผิดชอบประสานงานกับสมาคม คนตาบอดเพื่อผลิตหนังสือและหนังสือพิมพ์อักษรเบรลล์ให้ผู้พิการทางสายตา 4 ในความ เป็นจริง งบลงทุนสำาหรับกิจกรรมของห้องสมุดจะมีอยู่จำากัด โดยเฉพาะอย่างย่ิงห้องสมุด ประจาำ เขต และผลงานของหอ้ งสมดุ ประจาำ เขตบางแหง่ กไ็ มด่ นี กั เนอ่ื งจากเจา้ หนา้ ทห่ี อ้ งสมดุ ประจำาเขตมีทักษะทางวิชาชีพในระดับตำ่า เงินทุนที่จัดสรรสำาหรับกิจกรรมของห้องสมุด ที่ศูนย์วัฒนธรรม สารสนเทศและกีฬา ก็ไม่เพียงพอสำาหรับกิจกรรมทุกกิจกรรม โดยเฉพาะ อย่างย่ิงการจัดซื้อหนังสือใหม่ การนำาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในกิจกรรมห้องสมุดประจำา เขตจึงยังมีไม่มากนัก ห้องสมดุ สาธารณะก็ตกอย่ใู นสถานการณ์เช่นเดียวกนั ดังน้นั จึงยังไม่มี หนงั สอื หรอื สอ่ื ตา่ งๆ มากนกั เนอ่ื งจากงบประมาณจาำ กดั ในขณะทร่ี าคาหนงั สอื หนงั สอื พมิ พ์ และเอกสารตา่ งๆ มแี นวโนม้ จะเพม่ิ สงู ขน้ึ ผลกค็ อื จาำ นวนหนงั สอื ในหอ้ งสมดุ สาธารณะเฉลย่ี ต่อประชากรจงึ ตำ่ามาก คอื มีหนังสอื เพียง 0.36 เล่มต่อประชากรหน่ึงคน ชนกล่มุ นอ้ ยทีไ่ ป ใช้บรกิ ารห้องสมดุ สาธารณะก็มีจาำ นวนไม่มากเพราะมหี นังสือในภาษาถน่ิ ของตนนอ้ ย การให้ บริการยืมหนังสือข้ามห้องสมุดก็มีจำากัด ในบางกรณี ประชาชนท่ีอาศัยในท้องถ่ินห่างไกล ตอ้ งการอา่ นหนงั สอื แตห่ อ้ งสมดุ กอ็ ยไู่ กลจากบา้ นของพวกเขาเกนิ ไป 4 Decree 72/2002/ND-CP of the Government detailing the implementation of the Ordinance Library. การหมุนเวียนหนงั สือระหวา่ งหอ้ งสมุด | 89
ในวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยนั้น เฉพาะวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ เท่าน้ันจึงจะมีเงินทุนและโครงการพัฒนาทรัพยากรการเรียนรู้ให้กับนักศึกษา และถึงแม้ ส่วนใหญ่จะสร้างห้องสมุดได้ แต่ห้องสมุดก็ไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอสำาหรับการเรียน การสอนของอาจารยแ์ ละนกั ศึกษา ห้องสมุดของโรงเรียนโดยทั่วไปก็อยู่ในสภาพอ่อนแอเนื่องจากงบประมาณจำากัด ทรัพยากรมนุษย์และโครงสร้างพื้นฐานไม่แข็งแกร่งพอ จำานวนหนังสือในห้องสมุดน้อย และ บรรณารักษ์ส่วนมากขาดทักษะทางวิชาชีพ ในส่วนของคนอ่านน้ัน พวกเขาก็ยุ่งกับการหา เล้ียงชีพและไม่มีเวลาอ่านหนังสือมากนัก ประชากรเวียดนามมากกว่า 70% เป็นเกษตรกร และลกู จ้างทีม่ รี ายได้น้อย ดังนนั้ จึงยังไม่มีนิสัยรกั การอ่าน 5. ขอ้ เสนอแนะสาำ หรบั การสรา้ งความเทา่ เทยี มกนั ในการใชห้ นงั สอื สารสนเทศและความรู้ เราสรุปได้ว่าการปรับปรุงสภาวะการอ่านให้ดีขึ้นเป็นหน้าที่ที่สำาคัญท่ีสุดและจำาเป็น ต้องได้รับการสนับสนุนเพิ่มขึ้นจากรัฐบาล องค์กรเอกชนไม่แสวงหาผลกำาไร และจาก ทกุ ภาคสว่ นในสงั คม 5.1 ขอ้ เรยี กรอ้ งสาำ หรับรัฐบาล รัฐบาลต้องมีนโยบายที่เหมาะสมในการพัฒนาการอ่านเพ่ือทำาให้ประชากรมีสิทธิ ท่ีจะอ่านและได้รับความเพลิดเพลินจากการอ่านหนังสือ นโยบายของรัฐบาลจำาเป็นต้อง เก่ียวข้องกับการพัฒนาการศึกษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และวัฒนธรรม และต้อง ใหก้ ารสนบั สนนุ หอ้ งสมดุ และกิจกรรมการพิมพ์อยา่ งมาก ในสว่ นทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การพฒั นาหอ้ งสมดุ นน้ั จะตอ้ งมโี ครงการพฒั นาทง้ั ในระยะสน้ั และระยะยาวเพื่อสนับสนุนกิจกรรมการอ่านในระดับประเทศ ทั้งน้ีเพ่ือตอบสนองความ ต้องการในการพัฒนาในปัจจุบัน ดังนั้นการเพ่ิมงบประมาณสนับสนุนให้กับห้องสมุดมากข้ึน ผ่านทางกระทรวงวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว จึงเป็นส่ิงจำาเป็น เพ่ือผลสำาเร็จอย่าง 90 | อ่านเขา อ่านเรา
ต่อเนื่องในระยะยาว นอกจากนี้ ยังต้องให้การสนับสนุนทางการเงินแก่สำานักพิมพ์ในการ จัดพิมพ์หนังสอื ภาษาถน่ิ ของชนกลุ่มนอ้ ยและหนังสือสำาหรับคนตาบอดดว้ ย 5.2 ข้อเสนอแนะสาำ หรบั กระทรวงวฒั นธรรม กีฬาและการท่องเทีย่ ว กระทรวงมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ รฐั บาลในการบรหิ ารจดั การกจิ กรรมหอ้ งสมดุ ในระดบั รัฐ ดังนั้นจึงต้องมีข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลในการวางนโยบายสำาหรับห้องสมุดและการสร้าง ความเทา่ เทยี มกนั สาำ หรบั ประชาชนทม่ี สี ภาพตา่ งกนั ในการใชห้ นงั สอื สารสนเทศ และความร้ ู บรรณารักษ์เปน็ ผู้มบี ทบาทสาำ คญั เพราะมีหน้าทจี่ ดั กจิ กรรมใหป้ ระชาชนได้อา่ นหนังสอื และ สนองความต้องการในการอ่านและใช้สารสนเทศอย่างเหมาะสม ดังนั้น จึงจำาเป็นต้องมีการ ฝกึ อบรมและเพิม่ พนู ทกั ษะใหม่ๆ ให้กบั บรรณารักษอ์ ย่างสมำา่ เสมอ 5.3 ข้อเสนอแนะสาำ หรบั กระทรวงสารสนเทศและการสอ่ื สาร ควรจดั กจิ กรรมเพอ่ื กระตนุ้ การอา่ นในทกุ จงั หวดั และทกุ เมอื งของประเทศ เพอ่ื ทาำ ให้ ประชากรตระหนกั ถึงการอ่านและความหมายของการอ่าน เชน่ การจัดเทศกาลการอา่ นของ เวียดนาม การจัดสัปดาห์การอ่านหนังสือแห่งชาติ นิทรรศการหนังสือ การลดราคาหนังสือ และการจัดงานหนังสือเป็นระยะๆ ในส่วนต่างๆ ของประเทศ นอกจากนี้ จำาเป็นต้องมีการ จัดการเสวนา การแนะนำาหนงั สอื ทางรายการโทรทัศน ์ วิทยแุ ละอนิ เทอรเ์ น็ต เพราะรายการ โทรทัศน์และวิทยุสามารถจัดในเวลาที่เหมาะสมเพ่ือดึงดูดความสนใจของผู้ชมและผู้ฟังใน วงกว้าง และควรมีกิจกรรมเพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติผู้ท่ีอุทิศตนในการพัฒนาวัฒนธรรม การอา่ นของประเทศในด้านต่างๆ ดงั นค้ี อื การสร้างงานที่มีคณุ ค่า การจดั หาและเผยแพร่สอื่ ทม่ี ีคุณคา่ สาำ หรบั การอา่ นเพอื่ การศึกษาทางดา้ นวิทยาศาสตร์ ศลิ ปะและมนุษยศาสตร์ 5.4 ข้อเสนอแนะสาำ หรับหน่วยงาน องคก์ รและสมาคมวชิ าชพี การดงึ ดดู ความสนใจของสงั คมสวู่ ฒั นธรรมการอา่ นเปน็ เรอ่ื งจาำ เปน็ การสง่ เสรมิ งานท่ี มีลักษณะสร้างสรรค์ของสมาพันธ์ต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับการศึกษาด้านการสร้างสรรค์ทาง วัฒนธรรม ศลิ ปะ สารสนเทศและสือ่ ตลอดจนการส่งเสริมบทบาทของสมาคมวิชาชีพต่างๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการอา่ น เชน่ สมาคมวชิ าชีพนกั เขยี น สาำ นักพมิ พ์ และสมาคมหอ้ งสมดุ การหมนุ เวียนหนังสือระหว่างห้องสมุด | 91
นอกจากน้ี ยังจำาเป็นต้องปลูกฝังให้เกิดความเพลิดเพลินทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในกลุ่มผู้ใช้แรงงานและเกษตรกร ส่งเสริมการประสานงานระหว่างสถาบันทาง วัฒนธรรม เช่น ศูนย์ติดตามงานสร้างวัฒนธรรม ห้องสมุดชุมชน และห้องอ่านหนังสือ สาธารณะ 5.5 ขอ้ เสนอแนะสาำ หรับหอ้ งสมดุ เราจำาเป็นต้องให้ความสนใจกับห้องสมุดสาธารณะในประเด็นที่เก่ียวข้องกับการให้ บริการที่มีประสิทธิภาพ ดังเช่นการให้บริการของร้านหนังสือขนาดใหญ่ที่มีผลงานหนังสือ ตา่ งๆ ของโลกและของเวียดนามในศาสตรต์ า่ งๆ เชน่ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี วฒั นธรรม และศลิ ปะ เทคโนโลย ี การแพทย ์ เศรษฐศาสตร ์ เปน็ ตน้ การใชก้ ลยุทธด์ งึ ดดู ความสนใจให้ ประชาชนหันมาใช้บรกิ ารห้องสมดุ สาธารณะ การปรับปรุงคณุ ภาพของการใหบ้ ริการ เพอ่ื ให้ ผู้อ่านมโี อกาสไปห้องสมุดเพอื่ อ่านหนังสอื ไดง้ ่ายขึ้น ท้ายทสี่ ุด จาำ เป็นต้องมกี ารระดมทนุ จาก องค์กร บุคคลท่ัวไป และองค์กรเอกชนไม่แสวงหาผลกำาไร เพ่ือสร้างห้องสมุดในชุมชน สำาหรบั ท้องถ่นิ ท่หี า่ งไกล สรุป • การสนบั สนนุ การอา่ นสาำ หรบั พลเมอื งทงั้ ประเทศเปน็ สะพานเชอ่ื มโยงและลด ชอ่ งวา่ งระหวา่ งเขตเมอื งและเขตชนบท เพอ่ื ใหพ้ ลเมอื งทกุ คนมโี อกาสเขา้ ถงึ สารสนเทศและความรู้ผา่ นหนงั สือและหนังสอื พมิ พ์ • การสง่ เสรมิ การอา่ นสาำ หรบั พลเมอื งเปน็ การสรา้ งโอกาสในการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื สาำ หรบั ประเทศ และชว่ ยใหผ้ ยู้ ากไรโ้ ดยเฉพาะผพู้ กิ ารทอ่ี าศยั อยใู่ นทอ้ งถน่ิ ห่างไกลมีเครอ่ื งมอื ท่ีจะเอาชนะความยากลำาบากในชวี ติ ได้ • การเพม่ิ กจิ กรรมการอา่ นเปน็ วธิ กี ารทด่ี สี าำ หรบั การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองของพลเมอื ง เพ่ือพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ยแ์ ละการพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ • กจิ กรรมดงั กลา่ วมคี วามเกยี่ วพนั อยา่ งใกลช้ ดิ กบั วตั ถปุ ระสงคด์ า้ นกลยทุ ธใ์ นการ พฒั นาประเทศในชว่ งป คี .ศ.2011-2020 ทพ่ี รรคและรฐั บาลเวยี ดนามไดก้ าำ หนด ไว้ 92 | อา่ นเขา อ่านเรา
การหมุนเวยี นหนงั สือระหว่างหอ้ งสมดุ | 93
เมื่อรัฐบ�ลมีนโยบ�ยเปิดประเทศและใหเ้ สรภี �พม�กข้นึ คว�มเรว็ ของอินเทอร์เนต็ กเ็ พิ่มขึ้นสองถึงส�มเท�่ ผลกค็ อื ประช�ชนมโี อก�สได้สัมผสั กับโลกภ�ยนอก และเข�้ ถึงข้อมูลเรว็ ขึน้ วธิ กี �รท่ีนิยมทส่ี ุดในก�รรบั ข่�วส�ร คือก�รใชเ้ ฟซบ๊คุ บนมือถือ
ขคอดิ งใหหมอ้ เง่ รสอ่ื มงดุบขทนบาาดทเลก็ และโครงการส่งเสรมิ การอา่ นในเมยี นมาร์ ยี เทต็ อู (Ye Htet Oo) ประเทศเมียนมาร์เป็นประเทศท่ีมีการพัฒนาน้อยท่ีสุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รฐั บาลทหารปกครองประเทศตงั้ แต ่ พ.ศ. 2505 ประเทศประสบปัญหามากมาย เชน่ ความ ยากจน การบริหารประเทศท่ีผิดพลาด การทจุ รติ คอร์รัปช่นั การกดขปี่ ระชาชน สถานการณ์ ของประเทศลดระดับจากประเทศท่เี คยเป็นหน่งึ ในประเทศดีเลิศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มาเปน็ หนึ่งในประเทศท่พี ัฒนาน้อยทีส่ ดุ ประเทศเมียนมาร์มีรฐั ธรรมนญู เม่อื ป ี พ.ศ. 2553 และจัดให้มีการเลือกต้งั ในปี พ.ศ. 2555 นับแต่น้ันมาโลกเริ่มยอมรับรัฐบาลเมียนมาร์มากข้ึน ประเทศเมียนมาร์เองก็ได้เร่ิม ยคุ ใหม่ จากการท่ีประเทศได้เริ่มยุคใหม่น้ีเอง องค์กรพัฒนาเอกชนเริ่มมีความหวังมากข้ึน ในอดีตประเทศเมียนมาร์ไม่ได้ยินดีรับองค์กรนักศึกษาหรือองค์กรเยาวชน หากในปัจจุบัน รัฐบาลเมียนมาร์เต็มใจท่ีจะพูดคุยกับองค์กรเหล่านี้รวมทั้งร่วมมือกับองค์กรพัฒนาเอกชนใน การท่ีจะพัฒนาประเทศ เมียนมาร์ต้องเผชิญกับปัญหาท้าทายมากมายเม่ือเปิดประเทศ ความต้องการของประเทศเป็นปัญหาท้าทายท่ีสำาคัญท่ีสุด รัฐบาล องค์กรพัฒนาเอกชน กลุ่มไม่หวังผลกำาไรในท้องถ่ินต่างกำาลังทำางานตามมุมมองของตนเองในการช่วยพัฒนา ประเทศ ท้งั หมดกำาลังมีบทบาทสำาคัญทจี่ ะทาำ ใหป้ ระเทศเปลย่ี นแปลงไปในทางท่ดี ีข้นึ แปลจาก “Rethinking Role of Small Libraries and Reading promotion programs in Myanmar” นาำ เสนอในงานประชุมวชิ าการ Thailand Conference on Reading 2013 วนั ที่ 21-22 มนี าคม 2556 คิดใหม่เรอื่ งบทบาทของหอ้ งสมดุ ขนาดเลก็ | 95
ในฐานะท่ีเป็นผู้ก่อตั้งห้องสมุดท่ีไม่หวังผลกำาไร และทำาโครงการหลายโครงการ ข้าพเจ้าจะขอกล่าวถึงว่าห้องสมุดจะมีส่วนร่วมอย่างไรในยุคใหม่ของประเทศ และปัญหา ทา้ ทายจะมอี ะไรบ้าง หวั ขอ้ ยอ่ ยมดี งั นี้ 1. ห้องสมุดในประเทศเมียนมาร์ 2. หอ้ งสมดุ ขนาดเลก็ : หอ้ งสมดุ ขนาดเลก็ คอื อะไร และบทบาทของหอ้ งสมดุ ขนาดเลก็ 3. ปญั หาท้าทายในการกอ่ ตั้งห้องสมุดขนาดเลก็ 4. การส่งเสรมิ การอ่านในหอ้ งสมดุ ธาราพาร์ (Tharapar) 5. หอ้ งสมดุ เคลื่อนทีแ่ ละอนาคตของหอ้ งสมดุ เคลอื่ นที่ ห้องสมดุ ในประเทศเมียนมาร์ ประเทศเมยี นมารต์ ัง้ อยูใ่ นเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต ้ ในอดตี รจู้ ักกนั วา่ พมา่ ประเทศ เมยี นมารม์ ปี ระวตั เิ กย่ี วกบั หอ้ งสมดุ และนสิ ยั การอา่ นมายาวนานนบั ตง้ั แตร่ าชวงศพ์ กุ ามโบราณ (ศตวรรษท่ี 11-13) ในสมัยนั้นวัดจะเป็นศูนย์กลางการศึกษาและจัดการศึกษาทุกชนิด ห้องสมุดและโรงเรียนส่วนใหญ่จะเก่ียวข้องกับเจดีย์หรือวัด ห้องสมุดจะเป็นที่เก็บรวบรวม ใบลานหรือสมุดขอ่ ย การอา่ นเป็นกจิ กรรมหน่งึ ทชี่ าวเมยี นมารช์ ืน่ ชอบ แม้กระท่งั ในยคุ อาณานคิ ม ก็ยงั มี การจดั ตง้ั หอ้ งสมดุ เชน่ หอสมดุ แหง่ ชาต ิ หอ้ งสมดุ วชิ าการ หอ้ งสมดุ สาธารณะ และหอ้ งสมดุ พเิ ศษ หอ้ งสมดุ ในยคุ นน้ั จะเปน็ ทท่ี ค่ี นมาสนทนาเกย่ี วกบั ขา่ วปจั จบุ นั เศรษฐกจิ และเรอ่ื งอน่ื ๆ เกอื บจะทุกเรอื่ ง ห้องสมุดเปน็ ทที่ คี่ นมาพบปะสังสรรคแ์ ละแลกเปลยี่ นความคิดเห็น อย่างไรก็ตามในช่วงสองสามทศวรรษที่ผ่านมา รัฐบาลทหารพยายามไม่ให้มี ที่สาธารณะที่คนสามารถมาพูดคุยกัน ทั้งนี้เพ่ือป้องกันการจลาจลทางการเมืองที่ไม่จำาเป็น ห้องสมุดก็ไม่ได้รับการยกเว้น รัฐบาลต่อๆ มาก็ไม่ได้ให้การยอมรับห้องสมุดเท่าท่ีควร ยกตัวอยา่ งเช่น หอสมดุ แห่งชาติไมม่ ตี ึกที่เหมาะสมและถูกยา้ ยไปตามทตี่ า่ งๆ จนกระท่งั เม่ือ 96 | อ่านเขา อา่ นเรา
เดือนเมษายน 2555 นี้เอง รฐั บาลตัดสินใจย้ายหอสมุดแหง่ ชาติไปทกี่ รุงเนปดิ อว ์ เนอ่ื งจากมี การย้ายหอสมดุ แห่งชาติไปเร่ือยๆ ผใู้ ชห้ ้องสมุดจงึ มกั ไมร่ ้วู า่ ห้องสมุดอย่ทู ไี่ หนและหอ้ งสมดุ มี บรกิ ารอะไร พวกเขาไม่คุน้ เคยกบั หนังสือหายากและแหลง่ ขอ้ มูลทีด่ ี ยิ่งไปกวา่ น้นั ผใู้ ชไ้ มไ่ ด้ รับอนุญาตให้ยืมหนังสือออกเพราะเป็นห้องสมุดระบบช้ันปิด ผลก็คือว่าไม่มีผู้ไปใช้บริการ ห้องสมดุ มากนัก ปจั จบุ นั น ้ี กระทรวงขอ้ มลู และขา่ วสารเปดิ หอ้ งสมดุ สาธารณะมากกวา่ 50,000 แหง่ หอ้ งสมดุ สว่ นใหญต่ ง้ั อยใู่ นเมอื ง ตาำ บล และหมบู่ า้ น แตม่ จี าำ นวนหอ้ งสมดุ ไมก่ แ่ี หง่ ทป่ี ฏบิ ตั กิ าร อยู่จริงๆ ห้องสมุดส่วนใหญ่ไม่มีส่ิงอำานวยความสะดวกพื้นฐาน เช่น หนังสือ ไฟแสงสว่าง แม้กระท่ังบรรณารักษ์ก็ไม่มีเพียงพอ ย่ิงไปกว่าน้ัน นอกจากหน้าท่ีบรรณารักษ์แล้ว บรรณารักษ์ในกระทรวงข้อมูลและข่าวสารยังต้องรับผิดชอบบริหารสำานักงานอีกด้วย บรรณารักษ์ยังต้องเขียนรายงานเก่ียวกับสำานักงานและห้องสมุดส่งไปยังสำานักงานใหญ่ท่ี กรุงเนปิดอว์ทุกวัน และเม่อื เร็วๆ น้ีเองกระทรวงข้อมูลและข่าวสารได้นำาระบบช้นั ปิดมาใช้ ผ้ใู ช้บริการจึงไม่สามารถยืมหนังสือออกได้ นอกจากน้นั ห้องสมุดส่วนใหญ่มักเป็นห้องท่ตี ิดกับ สำานักงานของกระทรวงข้อมูลและข่าวสารห้องสมุดจึงไม่มีพ้ืนท่ีแยกเป็นของตนเอง ทำาให้ หอ้ งสมดุ ของกระทรวงขอ้ มลู และข่าวสารจึงไมเ่ ป็นท่นี ยิ มในหมู่ของคนทอ้ งถิ่น นอกจากหอ้ งสมดุ สาธารณะของรฐั บาลแลว้ ยงั มหี อ้ งสมดุ เอกชนมากมายทด่ี าำ เนนิ การ โดยสถานทูต เช่น ห้องสมุดบริติชเคาน์ซิลและห้องสมุดศูนย์อเมริกัน ท้ังสองแห่งมีพ้ืนที่ ท่ีกว้างขวางและมีแหล่งข้อมูลท่ีดีสำาหรับผู้ใช้ห้องสมุด และยังเปิดสอนวิชาต่างๆ ให้กับคน วัยหนุ่มสาวและเด็กๆ อีกด้วย เด็กๆ และคนวัยหนุ่มสาวชื่นชอบโครงการกิจกรรมเหล่าน้ี อย่างมาก แต่ห้องสมุดเหล่านี้ไม่ได้เปิดบริการให้กับสาธารณชนท่ัวๆ ไป ผู้ใช้บริการจะต้อง ลงทะเบียนเป็นสมาชิกเพ่ือจะใช้บริการห้องสมุด ค่าสมาชิกค่อนข้างแพงเม่ือเปรียบเทียบกับ สภาพเศรษฐกิจของเมียนมาร ์ บรติ ิชเคาน์ซิลเรยี กเก็บ 25,000 จ๊าดหรือ 35 เหรียญสหรัฐฯ ต่อปี ส่วนสมาชิกห้องสมุดศูนย์อเมริกันต้องจบมัธยมปลายเป็นอย่างน้อยจึงจะใช้บริการได้ ดว้ ยขอ้ กาำ หนดและขดี จาำ กดั เหลา่ นเ้ี อง ประชากรโดยทว่ั ไปจงึ ไมใ่ ชบ้ รกิ ารหอ้ งสมดุ นอกจากนน้ั เน่อื งจากหนังสือส่วนใหญใ่ นห้องสมุดเป็นภาษาองั กฤษ ผใู้ ช้บริการจึงตอ้ งรู้ภาษาอังกฤษด้วย คิดใหม่เร่ืองบทบาทของห้องสมดุ ขนาดเล็ก | 97
ห้องสมุดขนาดเล็กในประเทศเมียนมาร์ กรมข่าวสารและประชาสัมพันธ์ได้กำาหนดกฎเกณฑ์ที่ห้องสมุดขนาดเล็กต้องปฏิบัติ ตามไว้ โดยรวมแล้วห้องสมุดต้องมที ีด่ ิน ตึก โครงสร้างองค์กร เฟอร์นิเจอร์ และผู้ใชบ้ ริการ หลังจากผ่านข้อกำาหนดต่างๆ แล้ว จะต้องย่ืนแบบฟอร์มไปยังกระทรวงข้อมูลและข่าวสาร ระดบั เมอื ง ตอ่ มาหนว่ ยงานนจ้ี ะตรวจสอบเอกสารทย่ี น่ื มา ถา้ ถกู ตอ้ งหนว่ ยงานจะสง่ ตอ่ ไปยัง สาำ นกั งานใหญ ่ ณ กรงุ เนปดิ อว ์ สาำ นกั งานใหญจ่ ะออกเอกสารยนื ยนั และตอบรบั หลงั จากผา่ น กระบวนการตรวจสอบอยา่ งละเอยี ด หลงั จากนน้ั แลว้ หอ้ งสมดุ ขนาดเลก็ จงึ จะสามารถบรหิ าร ห้องสมดุ ของตนเองได้ ห้องสมุดขนาดเล็กส่วนใหญ่ในประเทศเมียนมาร์เป็นห้องสมุดที่ไม่หวังผลกำาไร และบางครั้งก็จะเป็นห้องสมุดสนับสนุนเงินทุนด้วยตนเอง ห้องสมุดเหล่านี้เติมเต็มความ ต้องการทางการศึกษาและความรู้ของประเทศ เน่ืองจากห้องสมุดขนาดเล็กก่อตั้งโดย หลากหลายองคก์ ร ดงั นั้นภารกิจ วสิ ยั ทศั น์ และสถานทีต่ งั้ จึงแตกต่างกนั ไป ทีต่ ้ังอาจจะอยู่ ในที่ห่างไกลหรือบริเวณผู้มีรายได้น้อยอาศัยอยู่ ผู้ทำางานในห้องสมุดขนาดเล็กส่วนใหญ่ มักเป็นอาสาสมัครเนื่องจากห้องสมุดมีเงินทุนจำากัด ปกติแล้วจะมีพนักงานทำางานเต็มเวลา เพียงคนเดียวและอีก 2-3 คนเป็นอาสาสมัคร บรรณารักษ์ในห้องสมุดขนาดเล็กมักจะไม่ได้ รับการฝึกอบรมมาอย่างดี แต่มาทำางานในห้องสมุดเพราะหลงใหลงานห้องสมุด ห้องสมุด ส่วนใหญ่ไม่ได้ลงทะเบียนเพราะข้อจำากัดของการลงทะเบียนดังท่กี ล่าวแล้วข้างต้น ปัจจุบันน้ี รฐั บาลสนบั สนนุ ใหห้ อ้ งสมดุ ขนาดเลก็ ลงทะเบยี นและยงั ชว่ ยสนบั สนนุ เงนิ ทนุ และหนงั สอื ดว้ ย ห้องสมุดบางแห่งเปดิ เตม็ เวลาต้งั แต่วนั จันทร์ถงึ วนั เสาร ์ แต่บางแห่งก็เปดิ บางเวลาเท่านัน้ ปัญหาทา้ ทายของห้องสมุดขนาดเลก็ ในอดีตประชาชนได้รับข่าวข้อมูลจากการอ่านหนังสือพิมพ์และดูโทรทัศน์เท่าน้ัน นิตยสารมีจำากัด และส่วนใหญ่ต้องผ่านสำานักงานจดทะเบียนก่อนจะได้รับอนุมัติให้ตีพิมพ์ได้ ดังน้นั วิธีการรับร้ขู ้อมูลข่าวสารจึงมีขีดจำากัดมาก อัตราความเร็วของอินเทอร์เน็ตในเมียนมาร์ เมื่อ 2-3 ปีที่ผ่านมาช้ามาก การท่องเว็บแทบจะเป็นไปไม่ได้เพราะความช้าของอินเทอร์เน็ต 98 | อา่ นเขา อา่ นเรา
นอกจากน้ัน รัฐบาลยังห้ามท่องเว็บต่างประเทศอีกด้วย ประชาชนต้องอาศัยสถานีวิทยุท่ี ออกอากาศจากต่างประเทศ เช่น บีบีซี วีโอเอ อาร์เอฟเอ และดีวีจี เพ่ือติดตามข่าวสาร แต่เม่ือเร็วๆ นี้ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก เมื่อรัฐบาลอนุญาตให้ท้ังประเทศใช้ การส่ือสารท่ีเร็วขึ้น ความเร็วของอินเทอร์เน็ตก็เพ่ิมข้ึนสองถึงสามเท่า กรมข่าวสารและ ประชาสัมพันธ์ได้ยกเลิกระบบการลงทะเบียนหนังสือก่อนตีพิมพ์ ผลก็คือว่าประชาชนของ เมยี นมารม์ โี อกาสได้สัมผัสกับโลกภายนอก วธิ กี ารทน่ี ยิ มทส่ี ดุ ในการรบั ขา่ วสารคอื การใชเ้ ฟซบคุ๊ บนมอื ถอื สว่ นนสิ ยั การอา่ นหนงั สอื พมิ พห์ รือการใชห้ ้องสมดุ กเ็ ปน็ ท่นี ยิ มน้อยลงในเมอื ง ห้องสมดุ ประชาชนในท้องถ่ินไม่ได้รับบริการท่ีดีนักจากห้องสมุดในประเทศเมียนมาร์ ห้องสมุดท้องถ่ินและห้องสมุดโรงเรียนไม่ได้มีอุปกรณ์และส่ิงอำานวยความสะดวกพร่ังพร้อม ส่อื การอ่านของห้องสมุดจะถูกเก็บอย่ใู นกล่องหรือลัง และผ้ใู ช้บริการจะไม่สามารถหยิบใช้ได้ เหตุผลหลักก็คือ ผู้ดำาเนินการขาดความเข้าใจหรือความชำานาญในการจัดการแหล่งข้อมูล ของประชาชนในทอ้ งถิ่น การจัดหาแหล่งขอ้ มูลให้กบั นักเรียนและครูก็มปี ญั หาเพราะครูและ บรรณารกั ษไ์ มไ่ ดร้ บั การฝกึ อบรมเรอ่ื งการดแู ลหอ้ งสมดุ นอกจากนน้ั เนอ่ื งจากกงั วลวา่ หนงั สอื อาจจะหายหรือเสียหาย พวกเขาจึงไม่อนุญาตให้นักเรียนใช้ห้องสมุด เด็กๆ ระดับรากหญ้า จึงสญู เสียโอกาสทจี่ ะเรียนรูน้ อกห้องเรียน ประชาชน ประชาชนในทอ้ งถน่ิ โดยเฉพาะเยาวชนเสยี เปรยี บอยา่ งมากจากการไมไ่ ดใ้ ชห้ อ้ งสมดุ สาธารณะ เยาวชนเมียนมาร์ส่วนใหญ่มีโอกาสน้อยท่ีจะเข้าถึงห้องสมุดสาธารณะ เพราะ ห้องสมุดเมียนมาร์มักไม่อนุญาตให้ใช้บริการ ส่วนร้านเช่าหนังสือก็มีราคาแพงและมีแต่ หนงั สอื การต์ นู นยิ าย นิตยสารรายสัปดาห์ไวบ้ ริการ หนงั สือดีๆ เป็นของหายากมากและจะ มีแต่ในห้องสมุดเท่าน้ัน ดังน้ันประชาชนจึงเร่ิมใช้เวลาไปโดยเปล่าประโยชน์ท่ีร้านนำ้าชา รา้ นเบยี รแ์ ละอ่นื ๆ คดิ ใหมเ่ ร่อื งบทบาทของห้องสมดุ ขนาดเลก็ | 99
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278