Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ ปฏิบัติงาน กศน.ตำบล

คู่มือ ปฏิบัติงาน กศน.ตำบล

Published by cholpussorn, 2022-01-12 03:11:51

Description: คู่มือ ปฏิบัติงาน กศน.ตำบล

Search

Read the Text Version

คมู่ อื การปฏบิ ัติงาน ครู กศน. ตําบล สาํ นกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



สารบญั คํานาํ หนา้ ก ตอนท่ี ๑ บทนํา ตอนท่ี ๒ ความเปน็ มา ๑ ความหมาย ๑ ตอนที่ ๓ หลักการ ๒ วัตถปุ ระสงค์ ๒ ๒ การดาํ เนนิ งาน กศน.ตาํ บล ๓ การบรหิ ารจัดการ ๓ กจิ กรรมหลกั ของ กศน. ตําบล ๔ ศูนยข์ ้อมลู ขา่ วสารของชุมชน ๔ ศนู ยส์ รา้ งโอกาสการเรียนรู้ ๕ ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชน ๕ ศนู ยช์ ุมชน ๗ การมีส่วนรว่ ม ๗ การนิเทศ ตดิ ตามและรายงานผล ๘ ๙ บทบาทหนา้ ท่ี กศน.ตําบล และหน่วยงานที่เก่ยี วข้อง ๙ บทบาทหนา้ ทีข่ องหวั หนา้ กศน.ตาํ บล ๑๐ บทบาทหนา้ ทีข่ อง กศน.อาํ เภอ/เขต ๑๐ บทบาทหนา้ ท่ขี องสาํ นักงาน กศน.จังหวดั /กทม. ๑๐ บทบาทหนา้ ทข่ี องสถาบนั กศน.ภาค ๑๑ บรรณานกุ รม ๑๒ คณะผจู้ ดั ทาํ

ตอนท่ี ๑ บทนํา ความเปน็ มา การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ.๒๕๕๒ – ๒๕๖๑) รัฐบาลได้ให้ความสําคัญเรื่อง การศึกษาและการเรียนรูอ้ ยา่ งเปน็ ระบบโดยมุง่ เนน้ การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา การเพ่ิมโอกาส ทางการศึกษาและการเรียนรู้ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพ่ือให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิต ท้ังการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีคุณภาพในทุกระดับ และ ทกุ ประเภทการศกึ ษา ใหบ้ รรลวุ สิ ัยทัศน์ที่กําหนดไว้ “ คนไทยได้เรียนร้ตู ลอดชวี ติ อย่างมีคณุ ภาพ” โดยเฉพาะ ได้ดําเนินการจัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตเพ่ือการเรียนรู้ที่เหมาะสมในทุกพื้นที่ เติมเต็มระบบการศึกษา ให้รองรับการเปน็ สังคมแหง่ การเรยี นรู้อย่างแท้จรงิ กระทรวงศึกษาธิการ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นายจุรินทร์ ลักษณะวิศิษฎ์) ในขณะน้ันได้ให้ความสําคัญในเรื่องดังกล่าวจึงได้มีนโยบายให้มีการจัดต้ัง กศน. ตําบลขึ้นเป็นศูนย์การเรียนรู้ ระดับตําบลยุคใหม่ที่มีเครื่องมือท่ีทันสมัยในการดําเนินงานโดยการผลักดันงบประมาณโครงการไทยเข้มแข็ง ให้แก่ศูนย์การเรียนชุมชนหรือ กศน. ตําบล และได้มอบให้สํานักงาน กศน. เร่งรัดพัฒนาและเดินหน้าไปสู่ ความเป็นศูนย์การเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของชุมชน เพ่ือให้ประชาชน ทั่วประเทศได้มีพลังแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตไม่มีที่สิ้นสุดตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการอย่างแท้จริง โดยตั้งเป้าหมายไว้ว่าในเดือนกันยายน ๒๕๕๓ จะมี กศน. ตําบลครบท้ัง ๗,๔๐๙ ตําบลท่ัวประเทศ และได้ทํา พธิ เี ปดิ ตัว กศน. ตาํ บล เมอื่ วนั ที่ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ ณ อมิ แพค เมืองทองธานี จงั หวัดนนทบุรี ต่อมารัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ(นายชินวรณ์ บุญยเกียรติ) คนปัจจุบัน ท่านได้ สืบสานนโยบายเร่ือง กศน. ตําบลต่อโดยกําหนดให้มี ๘ นโยบายสําคัญของกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งนโยบาย ข้อที่ ๕ เร่ืองสร้างแหล่งเรียนรู้ราคาถูก ให้จัดตั้ง กศน. ตําบลให้เป็นแหล่งเรียนรู้ราคาถูกสําหรับประชาชน โดยร่วมมือกับองค์การบริหารส่วนตําบลในการส่งเสริมให้มีโครงการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงให้ กศน. ตําบล เป็นศูนย์การเรียนรู้ เช่น ประชาชนในตําบลสามารถตรวจสอบราคายางพารา การใช้ปุ๋ยเคมี ฯลฯ โดยให้ ครู กศน. ตําบล ดูแล และส่งเสริมการอ่าน สร้างเครือข่ายรักการอ่านแก่บุตรหลานในชุมชน จัดทํามุมหนังสือ เพื่อส่งเสริมการอ่านท้ังท่ีบ้าน ห้องสมุด โรงพยาบาล หรือสถานที่ต่าง ๆ มีศูนย์ Fix it center รวมทั้งมี การประสานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขยายผลโครงการ Teacher TV และโครงการ Student Channel ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ราคาถูกเพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้ของผู้เรียน ครู และประชาชนทั่วไป มีมุมวิทยาศาสตร์ เพ่ือการเรียนรู้โดยประสานกับ สสวท. ร่วมสนับสนุนสื่อทางด้านวิทยาศาสตร์ที่ กศน. ตําบล ร่วมกับ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสารสานเทศสนับสนุนเคร่ืองคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงใน โครงการ ICT ตําบลมาจัดต้ังท่ี กศน. ตําบล เป็นต้น ซ่ึงได้ทําพิธีเปิด กศน. ตําบล : แหล่งเรียนรู้ราคาถูก ประเทศไทยร่วมใจปฏริ ูปการศึกษา เมอ่ื วันที่ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ณ อิมแพค เมืองทองธานี จังหวดั นนทบุรี นอกจากน้ัน คณะรัฐมนตรีโดยการนําของนายอภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี มีมติ เม่ือวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๓ อนุมัติปรับสถานภาพครูประจําศูนย์การเรียนชุมชน ยกระดับเป็นพนักงาน ราชการ จํานวน ๘,๖๗๒ คน และในวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๓ นายอภิสิทธ์ิ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี และ

๒ นายชินวรณ์ บุญยเกียรติ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้เกียรติมามอบนโยบายในงานสัมมนา สมัชชา กศน.ตาํ บล : ศนู ย์การเรียนรู้ชมุ ชนตลอดชีวิต ให้กับครู กศน.ตําบล และผู้เกี่ยวข้อง ประมาณ ๙,๐๐๐ คน ณ. ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทคบางนา กรุงเทพมหานคร ดังนั้น สํานักงาน กศน. จึงได้กําหนดเป็น นโยบายสําคัญเร่งด่วนให้ กศน. ตําบล จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ของประชาชนในชุมชนและพัฒนา กศน. ตําบล เป็นแหล่งเรียนรตู้ ลอดชีวติ ของชมุ ชน ความหมาย กศน.ตําบล หมายความว่า เป็นหน่วยจัดกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัยที่ตั้งอยูใ่ นระดบั ตาํ บล/แขวง หลักการ หลักการทํางาน กศน. ตําบล ยึดชุมชนเป็นฐานในการดําเนินงานและการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ต้นทุนของชุมชน เช่น อาคาร สถานท่ี แหล่งวิทยาการ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน วัฒนธรรม ประเพณี มี การประสานเครือข่ายในชุมชนร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนในชุมชน/สังคม เข้ามามีส่วนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการดําเนินกิจกรรม กศน . ตําบล ท้ังในฐานะผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ มีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ ร่วมคิด ร่วมทํา ร่วมแก้ปัญหา บูรณาการกระบวนการเรียนรู้ และจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน มีคณะกรรมการ กศน. ตําบล ท่ีเป็นคนในชุมชน ให้การส่งเสริม สนับสนนุ ตดิ ตามดูแลและร่วมประเมนิ ผลการดาํ เนินงาน กศน. ตาํ บล วัตถปุ ระสงค์ กศน. ตําบล จดั ต้งั ขึน้ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือ ๑. เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือใหป้ ระชาชนไดร้ บั การศกึ ษาตลอดชีวิตอย่างทว่ั ถงึ และมคี ุณภาพ ๒. สร้างและขยายภาคีเครือข่ายในการมีส่วนร่วมการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั ในชมุ ชน ๓. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ ภาคีเครอื ขา่ ย ๔. ประสานและเชื่อมโยงการดําเนินงานจัดการศึกษาร่วมกับหน่วยงานท้ังภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน

ตอนที่ ๒ การดาํ เนนิ งาน กศน. ตาํ บล กศน. ตาํ บล เปน็ หน่วยจัดกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หรือห้องเรียนของ กศน. อําเภอ/เขต ซึ่งตั้งอยู่ในระดับ ตําบล เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ของประชาชนในชุมชน และพัฒนา กศน. ตําบล เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชนได้อย่างทั่วถึงและครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายใน พ้ืนที่ โดยมแี นวทางการดาํ เนินงาน ดงั นี้ ๑. การบรหิ ารจดั การ งาน/กิจกรรม วธิ ีการดาํ เนนิ งาน ๑. ด้านกายภาพ - ปรบั ปรุงอาคารสถานทีท่ ้งั ภายในและภายนอกให้มีความพร้อมในการ ๑.๑ อาคารสถานที่ ใหบ้ รกิ าร มคี วามสะอาด รม่ รนื่ สวยงาม ปลอดภยั เหมาะสมและมี บรรยากาศเอือ้ ตอ่ การส่งเสริมการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ๑.๒ สือ่ วสั ดุ ครภุ ัณฑ์ ๑. จดั หา วัสดุ และครุภณั ฑ์ พน้ื ฐานเพอ่ื การเรยี นรทู้ ่ีทนั สมัย เพยี งพอกับ ความตอ้ งการ เช่น คอมพวิ เตอร์สําหรับบรกิ ารสบื คน้ ขอ้ มูล โปรเจ็กเตอร์ ๒ ด้านบุคลากร โทรทัศน์ เครอื่ งเล่นดวี ีดี อุปกรณร์ ับสญั ญาณดาวเทียม วิทยุ ฯลฯ ๒.๑ หัวหน้า กศน. ตําบล ๒.ดแู ล บาํ รุงรกั ษาวสั ดุ และครุภัณฑ์ ให้อยใู่ นสภาพทพ่ี รอ้ มใช้งาน ๓. จัดหาส่อื การเรยี นร้ทู ุกประเภท เช่น หนงั สอื แบบเรยี น สือ่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ๒.๒ ครู กศน. ชดุ การเรียน หนงั สือทั่วไป ฯลฯ ๒.๓ คณะกรรมการ กศน. ตําบล ๑.ส่งเสริมสนบั สนนุ และประสานการทาํ งานกบั ครู ศรช. ชมุ ชนและภาคี เครือขา่ ย ๒.ปฏบิ ัติหนา้ ท่ปี ระจาํ ในพนื้ ท่ี กศน. ตําบล ที่รบั ผิดชอบ ๓. ไดร้ ับการอบรมพัฒนาอยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เน่อื งตามแผนท่ี กศน. อําเภอหรือจังหวดั กาํ หนด ๑.จดั กิจกรรม กศน. ในหม่บู ้าน/ชมุ ชน ทร่ี บั ผิดชอบ ๒.ประสานการทาํ งานร่วมกบั หัวหน้า กศน.ตาํ บล ชุมชนและภาคเี ครอื ข่าย ๑. สรรหาคณะกรรมการตามหลักเกณฑท์ ส่ี าํ นักงาน กศน. กาํ หนด ๒. สรา้ งความร้คู วามเขา้ ใจให้แกค่ ณะกรรมการ กศน. ตาํ บล เกี่ยวกับการ ดําเนนิ งาน กศน. ตาํ บล ๓. เสรมิ สร้างแรงจูงใจและความพรอ้ มในการเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการจัด กจิ กรรม กศน. ตําบล ๔.ทาํ หน้าท่ีเปน็ เลขานกุ าร ในการจดั ประชุมคณะกรรมการ กศน. ตําบล

๔ ๑. การบรหิ ารจัดการ (ต่อ) งาน/กจิ กรรม วิธีการดาํ เนนิ งาน ๒.๔ อาสาสมคั ร กศน.ตําบล - สรรหาและ เสรมิ สรา้ งแรงจงู ใจ ในการเขา้ มามสี ่วนรว่ มในการจัดกจิ กรรม กศน. ตาํ บล ๒.๕ ภาคเี ครอื ข่าย ๑. แสวงหา รวบรวมและจดั ทาํ ทาํ เนยี บภาคีเครือขา่ ยในระดับตาํ บล ๒ สรา้ งความเขา้ ใจใหแ้ กภ่ าคเี ครือขา่ ยเกย่ี วกับการดําเนินงาน กศน.ตาํ บล ๓. เสรมิ สร้างแรงจูงใจและความพรอ้ มในการเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการจดั กจิ กรรม กศน.ตาํ บล ๒. กิจกรรมหลกั ของ กศน. ตําบล งาน/กจิ กรรม วิธีการดําเนนิ งาน ๑. ศนู ยข์ ้อมลู ขา่ วสารของ ชมุ ชน (Information center) ๑.๑ พฒั นาระบบฐานข้อมลู ๑. จดั เก็บข้อมลู ให้ครบถ้วน เป็นปจั จบุ นั โดยใช้แบบของ สํานักงาน กศน. และสารสนเทศระดับชมุ ชน ให้ ๒. ประมวลผลเป็นรายตาํ บล และจดั ทาํ ระบบฐานขอ้ มูลสารสนเทศนํามาใช้ ครบถว้ น ถูกตอ้ ง ทนั สมยั ในการบริหารจัดกจิ กรรม ๑.๒ จัดทาํ แผนพฒั นา ๑. จัดทําแผนพัฒนาคณุ ภาพ กศน.ตําบล คุณภาพ กศน. ตําบล และ ๒. จัดทําแผนปฏบิ ตั กิ ารประจําปี แผนปฏบิ ัติการประจาํ ปี ๓. นาํ เสนอแผน ตอ่ คณะกรรมการ กศน. ตาํ บล และภาคีเครอื ขา่ ย ๔. กศน. ตําบล นาํ เสนอแผนให้ กศน. อําเภอ /เขตพจิ ารณา อนุมตั ิ ๑.๓ นําเสนอความรูข้ ้อมลู ๑.นําเสนอข้อมูลสารสนเทศท่มี ีความจาํ เป็นตอ่ การดาํ รงชวี ิตประจําวนั เช่น ขา่ วสารสารสนเทศของชุมชน ดา้ นการตลาดชุมชน สนิ ค้าชมุ ชน การแนะแนวอาชพี แหลง่ เรียนรใู้ นชมุ ชน ใหถ้ กู ตอ้ งและทันสมัย ฯลฯ ๒.จัดแสดงข้อมลู สารสนเทศในรูปแบบตา่ งๆ เช่น เอกสาร แผนภูมิ แผน่ ปา้ ย ประชาสมั พนั ธ์ สื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์ เว็บไซต์ เปน็ ต้น ๓.สบื ค้นและการเผยแพร่ข้อมลู ทางอนิ เตอร์เนต็ และข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ตอ่ การดาํ รงชีวติ ๔..ส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนมีทักษะความรูใ้ นการใช้คอมพิวเตอร์ และระบบ เครือขา่ ยอินเตอร์เน็ตในการสืบค้นข้อมูล

๕ ๒. กจิ กรรมหลกั ของ กศน. ตําบล (ตอ่ ) งาน/กจิ กรรม วิธกี ารดําเนนิ งาน ๒. ศูนยส์ รา้ งโอกาสการเรียนรู้ (Opportunity Center) ๒.๑ ประสานความร่วมมอื ๑.ประสานงาน/วางแผนรว่ มกบั ภาคเี ครือข่ายในชมุ ชน เชน่ คณะกรรมการ ในแนวราบกับภาคเี ครือข่าย ชมุ ชน อบต. พฒั นาทด่ี นิ สถานีอนามยั พฒั นากรตําบล สหกรณ์ ปศุสตั ว์ ประมง ตาํ รวจ กํานัน ผู้ใหญบ่ ้าน อสม. อาสาสมคั รส่งเสริมการอา่ น วัด มัสยดิ โรงเรียนดปี ระจําตาํ บล ฯลฯ เพื่อจัดกจิ กรรมบรกิ ารชุมชน ๒. รวบรวมและเผยแพร่องค์ความร้ขู องภาคเี ครอื ข่าย ในการจดั การเรยี นรู้ ๒.๒ เชอื่ มโยงรปู แบบการ ๑. ส่งเสรมิ และหรอื จัดกจิ กรรมรว่ มกบั ภาคเี ครอื ข่าย เช่น ศูนยซ์ ่อมสร้าง ให้บรกิ ารของหน่วยงานภาคี เพ่ือชุมชน (Fix it center)(สอศ.) ชมรมคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค (สคบ.) ศนู ย์การ เครอื ข่าย กบั กศน. ตําบล เรยี นรู้ ICT ชุมชน (กระทรวงไอซที )ี มมุ วทิ ยาศาสตร์เพอื่ ชีวิต(สสวท.) บริการหนว่ ยแพทย์เคลื่อนที่ ธนาคารเคล่ือนท่ี การปอ้ งกันบรรเทาสาธารณภัย อาํ เภอเคล่อื นที่ ฯลฯ กิจกรรมน้ีจึงเปน็ เสมอื นที่นดั พบระหวา่ งประชาชนกับ หนว่ ยงานบรกิ ารต่างๆ ของรัฐหรอื องคก์ รอืน่ ๆ เพอื่ สรา้ งโอกาส การเรียนรู้ ของประชาชน ๒. พฒั นารปู แบบกิจกรรมใหห้ ลากหลายและสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของ กลมุ่ เป้าหมายในชุมชน ๒.๓ พัฒนาระบบเทคโนโลยี ๑. จดั ทาํ เว็บไซด์ กศน.ตาํ บล สารสนเทศ และการสอ่ื สาร ๒. ใชไ้ ปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ เพ่ือการตดิ ต่อกับผ้เู รยี น/ผรู้ บั บรกิ าร ทีอ่ ยู่ตา่ ง หมบู่ า้ น/ชุมชน ๓. สืบคน้ รวบรวมและการเผยแพร่ข้อมูลทางอนิ เตอรเ์ นต็ และแหลง่ ข้อมลู อ่นื ๆ เช่น ราคากลางของวตั ถุดิบ ราคาผลผลิตทางการเกษตร ราคาสินค้า เป็นตน้ ๓.ศนู ย์การเรยี นชมุ ชน (Learning Center) ๓.๑ ออกแบบกจิ กรรม/ ๑. กศน. ตําบล และกศน. อาํ เภอ รว่ มกบั กลุ่มเป้าหมาย ,ผเู้ รยี น,ผรู้ บั บรกิ าร โปรแกรมการศึกษาท่ีเหมาะสม ออกแบบกจิ กรรม/โปรแกรมหรอื โครงการในลักษณะบรู ณาการระหวา่ งวิถี กบั กล่มุ เปา้ หมาย ชีวติ การทาํ งานและการเรียนรู้ ๒. เลือกกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับบริบทของชมุ ชน

๖ ๒. กจิ กรรมหลกั ของ กศน. ตาํ บล (ต่อ) งาน/กิจกรรม วธิ ีการดําเนนิ งาน ๓.๒ จัดกิจกรรมการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตาม ๑. จัดทําแผนการแกป้ ัญหาผไู้ ม่รหู้ นงั สอื สาํ หรบั กลุม่ เป้าหมาย ในตําบล ที่ อัธยาศยั ให้แกป่ ระชาชน ชดั เจน กลมุ่ เปา้ หมายในชุมชน ๒. จัดกจิ กรรมส่งเสรมิ การรูห้ นังสือ ในกลมุ่ อายุ ๑๕ - ๕๙ ปี เปน็ ลาํ ดบั แรก ๑. จัดทาํ แผนยกระดบั การจดั การศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขนั้ ๓.๒.๑ สง่ เสรมิ การรู้ พน้ื ฐาน โดยแยกกลมุ่ เปา้ หมายให้ชัดเจน เช่น เด็กออกกลางคนั เด็กเร่รอ่ น หนงั สอื ผ้สู งู อายุ ผดู้ ้อยโอกาส ผพู้ ิการ กลุ่มผู้ยา้ ยถ่ิน ผ้นู ําทอ้ งถน่ิ กลุ่มอาชพี ประชากรวยั แรงงาน เป็นต้น ๓.๒.๒ การศึกษานอก ๒. วางแผนการจดั การศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐานรว่ มกับ ระบบ ระดบั การศึกษาขน้ั ภาคเี ครอื ขา่ ย พ้ืนฐาน ๓. จัดกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ๔. รายงานผลการดาํ เนินงาน ๓.๒.๓ การศึกษา ต่อเนื่อง - จัดทาํ แผนจดั การศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพ/หลกั สตู รอาชพี ระยะสัน้ ที่ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของชุมชนโดยเน้นการเพ่ิมทกั ษะทางดา้ น ๑) การศึกษาเพื่อ เทคโนโลยสี มัยใหม่และอาชพี ใหมท่ สี่ อดคล้องกับสภาวการณ์ปจั จุบัน พฒั นาอาชพี (ดําเนนิ การเป็น - จดั ทําแผนการเรยี นร้ใู ห้สอดคล้องกับปญั หา ความตอ้ งการ ความจําเปน็ ลําดับแรก) ของชมุ ชน เช่น การปอ้ งกันสาธารณภัย สขุ ภาพอนามัย ความปลอดภัยใน ชวี ติ และทรัพย์สิน คุณธรรมจรยิ ธรรม การอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ๒) การศึกษาเพื่อ ส่งิ แวดลอ้ ม เปน็ ตน้ พัฒนาทักษะชวี ติ ๑. จดั ทาํ แผนการเรียนร้เู พือ่ พัฒนาสังคมและชมุ ชนโดยใชร้ ปู แบบ ท่ี เหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย โดยการฝึกอบรม การประชุมสมั มนา การจดั เวที ๓) การศกึ ษาเพ่อื แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และรปู แบบอืน่ ๆ เช่น จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ ประชาธิปไตย พัฒนาสังคมและชุมชน การจัดกระบวนการเรยี นรู้ในการเป็นพลเมอื งดีของชมุ ชน สงั คม ของ ประเทศ เพ่ือนาํ ไปสู่ความปรองดองสมานฉันท์ เศรษฐกิจชุมชน และการ อนรุ ักษธ์ รรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม ๒. จดั การศึกษาต่อเนือ่ งหลักสตู รเชงิ บูรณาการ เพอ่ื การพฒั นาทย่ี งั่ ยืนตาม แนวทางหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๗ ๒. กจิ กรรมหลกั ของ กศน. ตําบล (ต่อ) งาน/กจิ กรรม วิธีการดําเนนิ งาน ๓.๒.๔ การศกึ ษาตาม อัธยาศัย - จัดทําแผนการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่าน ในรปู แบบตา่ งๆ เช่น ครอบครวั ๑) การส่งเสรมิ การ รกั การอ่าน มมุ ส่งเสริมการอา่ นในชุมชน กศน.ตําบลเคลือ่ นที่ อาสาสมัคร อ่าน ส่งเสริมการอา่ น เปค้ วามรสู้ ชู่ ุมชน หบี หนงั สือสหู่ มู่บา้ น จดุ บริการการอ่าน ชุมชน มุมอา่ นหนังสือทที่ ่ารถ รา้ นเสรมิ สวย รา้ นตดั ผม สถานอี นามัย เป็นต้น ๒) จดั บรกิ ารสือ่ ๑.จดั บรกิ ารส่อื ทุกประเภท เช่น สอื่ ส่งิ พมิ พ์(นสพ.) สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สอ่ื สาธิต สอ่ื ทดลอง วิทยชุ ุมชน หอกระจายขา่ ว เป็นต้น ๒.บริการ Student Channel เพอ่ื เสรมิ ศกั ยภาพใหก้ บั โรงเรียนดปี ระจําตําบล ๓.บริการการศกึ ษาทางไกล (ETV)ใหแ้ กน่ ักศกึ ษา กศน. และประชาชนทั่วไป ๔. ศนู ยช์ ุมชน (Community - จัดและส่งเสรมิ ให้ กศน. ตาํ บล เปน็ ศูนย์กลางการจดั กจิ กรรมของชมุ ชน Center) เชน่ เวทีชาวบา้ น สภากาแฟ สถานทพี่ บปะเสวนา แลกเปล่ียนความคดิ เห็น ตลาดนัดอาชีพ กจิ กรรมศาสนา วฒั นธรรม เวทีประชาธปิ ไตย กฬี า ฯลฯ โดยครู กศน.ตําบล เป็นผดู้ าํ เนนิ การจดั ให้มกี จิ กรรมเหล่าน้ีข้ึน เป็นการ ทาํ งานร่วมกนั กับภาคเี ครอื ข่ายต่างๆ ทั้ง อบต. อบจ. เทศบาล ตลอดจน ภาครฐั ภาคเอกชน รวมท้งั อาสาสมคั รต่างๆ ในชมุ ชน เช่น อาสาสมัคร สาธารณสุข(อสม.) อาสาสมคั ร กศน. อาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอา่ น ภูมปิ ญั ญา ท้องถิ่น ขา้ ราชการบํานาญ เยาวชน ผู้นําทอ้ งถิน่ เข้ามาร่วมกันทํางานเพอ่ื ให้ เกดิ กระบวนการเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง ๓. การมีสว่ นรว่ มของชุมชน วธิ กี ารดําเนนิ งาน งาน/กิจกรรม ๑. ประชาสมั พันธ์เพ่อื สร้างกระแสใหป้ ระชาชนและทกุ ภาคส่วนของชุมชน เหน็ ความสําคัญและเขา้ รว่ มในการดาํ เนินกิจกรรม กศน. ตําบล และจัดให้มี การมีส่วนรว่ มของชุมชน การยกย่องเชิดชูเกยี รติ เปน็ ต้น ๒.ส่งเสรมิ ใหท้ กุ ภาคสว่ นของสังคมเข้ามามสี ่วนร่วมในการจดั การศกึ ษาและ พัฒนางาน กศน.ตําบล อย่างตอ่ เน่อื งและมีส่วนร่วมในการนเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลและรายงานผลการดาํ เนินงาน กศน. ตาํ บล ๓. เสรมิ สร้างและพัฒนาระบบเครือขา่ ยการเรยี นรู้ ภายในตาํ บล และ ระหวา่ งตําบล เชน่ แหลง่ เรยี นรู้ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น โรงเรียนดปี ระจาํ ตําบล ศูนย์ ICT ตําบล เปน็ ตน้

๘ ๔. การนเิ ทศ ติดตามและรายงานผล งาน/กจิ กรรม วิธีการดาํ เนนิ งาน ๑. การนิเทศ ตดิ ตามผลการจัด ๑. จัดทาํ แผนการนิเทศ ติดตามผลการจัดกิจกรรมในพน้ื ที่ กิจกรรมตามแผนปฏิบตั ิการ ๒.ประสานภาคเี ครือขา่ ยร่วมนิเทศ ติดตามผล ประจาํ ปี ๓. จัดใหม้ ปี ระชานิเทศกจิ กรรมในพื้นท่ี ๒. การรายงานผลการจดั ๑. จัดทําปฏทิ ินการรายงานผลการจัดกจิ กรรม กิจกรรมตามแผนปฏบิ ตั ิการ ๒. จดั เกบ็ ข้อมลู และรวบรวมผลการจัดกจิ กรรม ประจาํ ปี ๓. จัดทํารายงานผลการปฏิบัติงาน - รายงานข้อมลู ท่ีเกย่ี วขอ้ งตามแบบและระยะเวลาทกี่ ําหนด - รายงานผลการปฏิบัตงิ านประจําปขี อง กศน. ตําบล

ตอนท่ี ๓ บทบาทหนา้ ที่ กศน. ตาํ บล และหนว่ ยงานที่เกีย่ วข้อง กศน.ตาํ บล มบี ทบาทสําคัญในการจัดและส่งเสรมิ การเรยี นรู้ตลอดชวี ิตของประชาชน และ สร้างสังคมแหง่ การเรยี นรใู้ นชุมชน โดยมีหัวหน้า กศน.ตําบล เปน็ กลไกหลกั ในการขับเคล่อื นและมีหน่วยงานที่ เก่ยี วข้องทําหน้าที่สง่ เสริมและสนบั สนนุ การดาํ เนนิ งาน กศน.ตาํ บล ดงั นี้ ๑. บทบาทหนา้ ที่ของหวั หนา้ กศน. ตาํ บล ๑. การวางแผน ๑.๑ จดั ทําฐานขอ้ มลู ชมุ ชน ๑.๒ จดั ทาํ แผนพฒั นา กศน. ตาํ บล ๑.๓ จัดทาํ แผนปฏิบัติการประจําปี ๒. การจดั และส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ๒.๑ จดั และส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบ ดงั นี้ - การส่งเสรมิ การรู้หนังสือ - การศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน - การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง ๒.๒ จัดและส่งเสรมิ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั - ส่งเสริมการอ่าน - จดั และพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ - บริการข่าวสารขอ้ มลู และสือ่ ทุกประเภท - จดั และส่งเสรมิ กิจกรรมห้องสมุดประชาชนตาํ บล ห้องสมดุ ชุมชน มุมหนงั สอื บา้ น ๓. บรกิ ารการเรียนรู้ในชุมชนร่วมกับภาคเี ครอื ข่าย ๓.๑ ศูนยซ์ อ่ มสรา้ งเพอื่ ชุมชน (Fix it Center) รว่ มกับ (สอศ.) ๓.๒ ชมรมคุ้มครองผ้บู ริโภค ร่วมกบั (สคบ.) ๓.๓ ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ ICT ชมุ ชน รว่ มกบั (กระทรวงไอซีที) ๓.๔ มมุ วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื ชีวิต รว่ มกับ (สสวท.) ๓.๕ หน่วยแพทย์เคลอื่ นท่ี ร่วมกบั โรงพยาบาล สถานีอนามัย ๓.๖ ธนาคารเคลอ่ื นที่ ๓.๗ การป้องกันบรรเทาสาธารณภัย ร่วมกับกรมป้องกันบรรเทาสาธารณภัย ๓.๘ อาํ เภอเคลอื่ นที่ ร่วมกบั อาํ เภอ

๑๐ ๔. สร้างและพัฒนาภาคีเครอื ขา่ ยการเรียนรใู้ นชมุ ชน โดยการประสานขอความร่วมมือจากภาคเี ครอื ข่าย องค์กรชมุ ชนผรู้ ู้ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ ตลอดจนภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน เพ่ือร่วมเปน็ อาสาสมัคร กศน. อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอ่าน เป็นตน้ ๕. ประชาสมั พันธแ์ ละเผยแพรแ่ ผนงาน โครงการ กจิ กรรมและผลการดาํ เนินงานของ กศน. ตําบล ในรปู แบบ ตา่ งๆ ๖. รายงานผลการปฏิบตั งิ าน ๖.๑ รายงานขอ้ มูลทเี่ กีย่ วข้องตามแบบและระยะเวลาท่กี ําหนด ๖.๒ รายงานผลการปฏิบตั ิงานประจําปีของ กศน. ตําบล ๒. บทบาทหนา้ ทข่ี อง กศน. อําเภอ/เขต ท่ีมตี อ่ กศน. ตําบล ๑. สร้างความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั นโยบายจดุ เน้นของ สํานักงาน กศน. ๒. สนบั สนุนงบประมาณตามแผนปฏิบตั ิงานประจําปี ของ กศน. ตาํ บล ๓. จัดซือ้ จัดหาสอื่ วสั ดุ อุปกรณ์ ท่จี าํ เป็นต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และการให้บริการ ๔. พฒั นาหัวหนา้ กศน. ตาํ บล อาสาสมัคร กศน. ตาํ บล และคณะกรรมการ กศน. ตาํ บล ๕. ประสานภาคีเครือข่ายเข้าร่วมจดั กิจกรรมระดับตาํ บล ๖. รว่ มกบั กศน. ตําบล จดั กิจกรรมการเรียนรู้ ๗. จดั และพัฒนาระบบงานธุรการของ กศน. ตําบล ๘. นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาํ เนินงาน กศน. ตาํ บล ๙. สรุป วเิ คราะห์ ผลการดําเนนิ งาน กศน. ตาํ บล ในระดบั อาํ เภอ รายงานสํานกั งาน กศน. ๑๐.เสรมิ สรา้ งแรงจูงใจในการปฏบิ ตั งิ าน ในรูปแบบต่างๆ ๓. บทบาทหนา้ ที่ของ สาํ นักงาน กศน. จงั หวัด/กทม. ทมี่ ตี อ่ กศน. ตําบล ๑. ชีแ้ จงนโยบายจดุ เนน้ การดาํ เนินงาน ๒. สนบั สนนุ งบประมาณตามแผนปฏิบตั ิงานประจาํ ปี ของ กศน. ตาํ บล ๓. พัฒนาหวั หนา้ กศน. ตําบล อาสาสมัคร กศน. ตําบล และคณะกรรมการ กศน. ตําบล ๔. ประสานภาคีเครอื ข่ายระดับจงั หวดั เขา้ รว่ มจัดกิจกรรมระดับตําบล ๕. จดั และพฒั นาระบบงานธุรการของ กศน. ตาํ บล ๖. กํากับ ตดิ ตามและประเมินผลการดาํ เนินงาน กศน. ตําบล ๗. เสริมสร้างแรงจงู ใจในการปฏบิ ตั งิ าน ในรปู แบบตา่ งๆ ๔. บทบาทหนา้ ท่ีของ สถาบนั กศน. ภาค ท่มี ตี ่อ กศน. ตําบล ๑. สนบั สนนุ ส่อื การเรยี นรู้ ๒. รว่ มพัฒนาหลักสูตรการจัดการศกึ ษานอกระบบ ๓. จัดเวทีแสดงผลงานทางวิชาการระดบั ภาค ๔. รว่ มพัฒนาครู กศน. ตําบล ๕. วจิ ยั เพอ่ื การพัฒนาการดาํ เนินงาน กศน. ตําบล

บรรณานุกรม การศกึ ษานอกโรงเรียน, สํานักบริหารงาน. แนวทางการพัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนให้เป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้ตลอดชีวติ . กลุม่ สง่ เสริมปฏิบตั ิการ, ๒๕๔๗. ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย, สํานักงาน. ครู กศน.ตําบล ครูของชุมชน : ผู้ขบั เคลื่อนกระบวนการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ . กล่มุ สง่ เสริมปฏบิ ตั ิการ, ๒๕๕๓ ________. คู่มอื การดําเนนิ งาน กศน.ตําบล . พิมพ์ครง้ั ที่ ๒ กลุ่มแผนงาน, ๒๕๕๒ ________. นโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ ๒๕๕๔. กลมุ่ แผนงาน, ๒๕๕๓.

คณะผูจ้ ัดทาํ ๑. นายอภิชาติ จรี ะวุฒิ เลขาธิการ กศน. ทีป่ รึกษา ๒. นายวชั รนิ ทร์ จาํ ปี รองเลขาธกิ าร กศน. ท่ีปรึกษา ๓. นายชัยยศ อิ่มสุวรรณ์ รองเลขาธกิ าร กศน. ท่ปี รึกษา ๔. นางชุลีพร ผาตนิ นิ นาท ผอู้ าํ นวยการกลมุ่ ส่งเสรมิ ปฏิบัติการ ประธานคณะทาํ งาน ๕. นายศภุ กร ศรีศกั ดา ผอ. สํานักงาน กศน. จงั หวัดลําปาง คณะทาํ งาน ๖. นายสุรพงษ์ จาํ จด ผอ. สาํ นักงาน กศน. จงั หวัดชลบุรี คณะทาํ งาน ๗. นายวีระกลุ อรณั ยะนาค ผอ. สาํ นกั งาน กศน. นนทบุรี คณะทํางาน ๘. นายทรงชัย ขยนั งาน ผอ. สํานักงาน กศน. จังหวดั นครราชสีมา คณะทํางาน ๙. นางกานดา ทองคลองไทร ผอ. สาํ นักงาน กศน. จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี คณะทาํ งาน ๑๐. นายนทิ ศั น์ ลกั ษณะ ผอ. กศน. อําเภอราชสาสน์ จ. ฉะเชงิ เทรา คณะทํางาน ๑๑. นายอุชุ เชอ้ื บ่อคา ผอ. กศน. อาํ เภอหลังสวน จ. ชุมพร คณะทาํ งาน ๑๒. นางกาญจนา บัววฒั น์ ผอ. กศน. อาํ เภอตาคลี จ. นครสวรรค์ คณะทาํ งาน ๑๓. นายบญุ สง่ ทองเชอ่ื ม ผอ. กศน. อาํ เภอเมืองขอนแก่น จ. ขอนแกน่ คณะทาํ งาน ๑๔. นายศุภัชณัฏฐ์ หลักเมอื ง ผอ. กศน. อาํ เภอเมืองฯ จ. ประจวบคีรขี ันธ์ คณะทาํ งาน ๑๕. นายพล ศรกี ลั ยา ผอ. กศน. เขตสวนหลวง กรงุ เทพมหานคร คณะทํางาน ๑๖. นางอรสา โพธิท์ อง ผอ. กศน. เขตธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร คณะทาํ งาน ๑๗. นายกฤตพิ ัฒน์ แสงทอง นักวชิ าการศึกษา ชาํ นาญการพเิ ศษ คณะทาํ งาน และเลขานกุ าร ๑๘. นางหทัยทพิ ย์ มณีรตั น์ นกั วชิ าการศกึ ษา ปฏิบตั ิการ คณะทํางานและ ผ้ชู ่วยเลขานุการ ๑๙. นายวรตั ม์ ศรีเทพ นักวิชาการศกึ ษา ปฏบิ ัตกิ าร คณะทํางานและ ผ้ชู ่วยเลขานกุ าร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook