Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พรบ.วิชาชีพแพทย์แผนไทย-พ.ศ.๒๕๕๖

พรบ.วิชาชีพแพทย์แผนไทย-พ.ศ.๒๕๕๖

Published by khamolluck.ph, 2021-10-27 18:43:06

Description: พรบ.วิชาชีพแพทย์แผนไทย-พ.ศ.๒๕๕๖

Keywords: แพทย์แผนไทย พรบ.วิชาชีพแพทย์แผนไทย-พ.ศ.๒๕๕๖

Search

Read the Text Version

เลม่ ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๐ ก หนา้ ๑ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ราชกจิ จานเุ บกษา พระราชบญั ญัติ วชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทย พ.ศ. ๒๕๕๖ ภมู พิ ลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันท่ี ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน็ ปที ่ี ๖๘ ในรชั กาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ ใหป้ ระกาศว่า โดยท่ีเป็นการสมควรให้มกี ฎหมายว่าดว้ ยวชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทย พระราชบัญญัติน้ีมีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๒ มาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๓ และมาตรา ๔๕ ของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย บัญญตั ิให้กระทําไดโ้ ดยอาศยั อํานาจตามบทบัญญตั ิแห่งกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบญั ญัติขึ้นไว้โดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดงั ต่อไปน้ี มาตรา ๑ พระราชบัญญตั นิ ้เี รียกว่า “พระราชบัญญตั วิ ิชาชพี การแพทย์แผนไทย พ.ศ. ๒๕๕๖” มาตรา ๒ พระราชบัญญตั ิน้ีให้ใชบ้ งั คับต้ังแต่วันถดั จากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน้ ไป มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัติน้ี “การแพทย์แผนไทย” หมายความว่า กระบวนการทางการแพทย์เกี่ยวกับการตรวจ วินิจฉัย บาํ บดั รักษา หรือปอ้ งกนั โรค หรือการส่งเสริมและฟื้นฟสู ขุ ภาพของมนษุ ย์ การผดุงครรภ์ การนวดไทย และใหห้ มายความรวมถึง การเตรียมการผลติ ยาแผนไทย และการประดิษฐ์อุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ ทัง้ นี้ โดยอาศัยความรูห้ รือตาํ ราทีไ่ ด้ถา่ ยทอดและพฒั นาสบื ต่อกนั มา “วชิ าชีพการแพทยแ์ ผนไทย” หมายความวา่ วชิ าชพี ท่เี กย่ี วกับการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย และการประกอบวิชาชพี การแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์

เล่ม ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๒ ๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๖ ราชกจิ จานเุ บกษา “การประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย” หมายความว่า การประกอบวิชาชีพที่กระทําหรือ มงุ่ หมายจะกระทาํ ตอ่ มนุษย์ เกีย่ วกบั การแนะนํา การตรวจโรค การวินิจฉัยโรค การบําบัดโรค การรักษาโรค การปอ้ งกนั โรค การส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ โดยอาศัยองค์ความรู้ด้านเวชกรรมไทย เภสัชกรรมไทย การผดุงครรภ์ไทย การนวดไทย การแพทยพ์ ื้นบ้านไทย และองค์ความรู้ด้านอ่ืนตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด โดยคาํ แนะนําของคณะกรรมการ ท้ังนี้ ดว้ ยกรรมวิธีการแพทย์แผนไทยซึ่งถ่ายทอดหรือพัฒนาสืบต่อกันมา ตามตาํ ราการแพทยแ์ ผนไทยหรือจากสถานศึกษาทสี่ ภาการแพทยแ์ ผนไทยรบั รอง “การประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์” หมายความว่า การประกอบวิชาชีพ การแพทยแ์ ผนไทย โดยอาศัยองคค์ วามรดู้ ้านวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์การแพทย์ซ่ึงศึกษาจากสถานศึกษา ที่สภาการแพทยแ์ ผนไทยรบั รอง รวมทงั้ การประยุกตใ์ ช้เครือ่ งมือหรอื อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ ทงั้ น้ี ตามระเบียบและข้อบังคบั ของสภาการแพทยแ์ ผนไทย “กรรมวิธีการแพทย์แผนไทย” หมายความว่า กรรมวิธีท่ีเกี่ยวข้องกับการแพทย์แผนไทย ท่สี ภาการแพทย์แผนไทยกาํ หนดหรอื รบั รอง แล้วแต่กรณี “เวชกรรมไทย” หมายความวา่ การตรวจ การวินจิ ฉยั การบําบัด การรักษา การป้องกันโรค การส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ รวมถึงการผดุงครรภ์ไทย เภสัชกรรมไทย และการนวดไทย ท้ังนี้ ด้วยกรรมวิธีการแพทยแ์ ผนไทย “เภสัชกรรมไทย” หมายความว่า การกระทําในการเตรียมยา การผลิตยา การประดิษฐ์ยา การเลือกสรรยา การควบคุมและการประกันคุณภาพยา การปรุงยาและการจ่ายยาตามใบส่ังยาของ ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทยหรอื ผู้ประกอบวิชาชพี การแพทยแ์ ผนไทยประยุกตแ์ ละการจดั จําหนา่ ยยา ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยยา ทง้ั น้ี ด้วยกรรมวธิ กี ารแพทย์แผนไทย “การผดงุ ครรภ์ไทย” หมายความว่า การตรวจ การวินิจฉัย การบําบัด การรักษา การส่งเสริม สุขภาพหญงิ มคี รรภ์ การป้องกันความผิดปกติในระยะต้ังครรภ์และระยะคลอด การทําคลอด การดูแล การสง่ เสรมิ และการฟื้นฟูสขุ ภาพมารดาและทารกในระยะหลังคลอด ท้ังน้ี ดว้ ยกรรมวิธกี ารแพทย์แผนไทย “การนวดไทย” หมายความวา่ การตรวจ การวินิจฉยั การบําบัด การรักษา การป้องกันโรค การส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ โดยใช้องค์ความรู้เกี่ยวกับศิลปะการนวดไทย ท้ังนี้ ด้วยกรรมวิธี การแพทย์แผนไทย “การแพทย์พื้นบ้านไทย” หมายความว่า การตรวจ การวินิจฉัย การบําบัด การรักษา การป้องกันโรค การส่งเสริมและการฟื้นฟูสุขภาพ โดยใช้องค์ความรู้ซึ่งสืบทอดกันมาในชุมชนท้องถิ่น ทัง้ นี้ ดว้ ยกรรมวธิ ีการแพทย์แผนไทย “ผ้ปู ระกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย” หมายความวา่ บุคคลซ่ึงได้ข้ึนทะเบียนและรับใบอนุญาต เปน็ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี การแพทย์แผนไทยจากสภาการแพทยแ์ ผนไทย “ผูป้ ระกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้ขึ้นทะเบียนและ รับใบอนญุ าตเป็นผ้ปู ระกอบวชิ าชีพการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ตจ์ ากสภาการแพทย์แผนไทย

เลม่ ๑๓๐ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๓ ๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา “ใบอนุญาต” หมายความว่า ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือ ผ้ปู ระกอบวิชาชพี การแพทย์แผนไทยประยุกต์ของสภาการแพทยแ์ ผนไทย “สมาชิก” หมายความวา่ สมาชิกสภาการแพทยแ์ ผนไทย “กรรมการ” หมายความวา่ กรรมการสภาการแพทย์แผนไทย “คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการสภาการแพทย์แผนไทย “เลขาธิการ” หมายความวา่ เลขาธิการสภาการแพทยแ์ ผนไทย “พนกั งานเจา้ หนา้ ท”ี่ หมายความว่า ผูซ้ ่งึ รฐั มนตรแี ตง่ ตั้งใหป้ ฏิบตั ิการตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ “รฐั มนตรี” หมายความวา่ รฐั มนตรีผ้รู กั ษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๔ วิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทยตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ ประกอบดว้ ย (๑) การประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ได้แก่ การประกอบวิชาชีพด้านเวชกรรมไทย เภสัชกรรมไทย การผดงุ ครรภ์ไทย การนวดไทย การแพทยพ์ น้ื บ้านไทย หรอื การแพทย์แผนไทยประเภทอื่น ตามทีร่ ัฐมนตรปี ระกาศกําหนดโดยคาํ แนะนําของคณะกรรมการ (๒) การประกอบวิชาชพี การแพทย์แผนไทยประยุกต์ มาตรา ๕ ในกรณีที่บทบัญญัติแห่งกฎหมายใดอ้างถึงการประกอบโรคศิลปะสาขา การแพทย์แผนไทย การประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ผู้ประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทย์แผนไทย ผูป้ ระกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ ผแู้ ทนคณะกรรมการวิชาชีพ สาขาการแพทย์แผนไทย หรือผู้แทนคณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ให้หมายความถึงการประกอบวิชาชพี การแพทยแ์ ผนไทย การประกอบวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือผู้แทน สภาการแพทย์แผนไทยตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี มาตรา ๖ ใหร้ ฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มี อาํ นาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ กับออกกฎกระทรวงกําหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัติน้ี รวมทงั้ ออกระเบยี บและประกาศใด ๆ เพ่อื ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี กฎกระทรวง ระเบียบและประกาศน้นั เมอ่ื ได้ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแล้วให้ใชบ้ งั คบั ได้ หมวด ๑ สภาการแพทยแ์ ผนไทย มาตรา ๗ ให้มีสภาการแพทย์แผนไทยเป็นนิติบุคคล ซ่ึงมีวัตถุประสงค์และอํานาจหน้าที่ ตามทบ่ี ญั ญัติไว้ในพระราชบญั ญัตนิ ี้ มาตรา ๘ สภาการแพทย์แผนไทย มวี ตั ถปุ ระสงค์ดังต่อไปนี้ (๑) ส่งเสริมการศึกษา การพัฒนา การวิจัย การประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย และ การประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์

เลม่ ๑๓๐ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๔ ๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๖ ราชกจิ จานเุ บกษา (๒) ควบคมุ กํากบั ดูแล และกาํ หนดมาตรฐานการให้บริการของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย และผูป้ ระกอบวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ (๓) ควบคุมความประพฤติ จริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชพี การแพทย์แผนไทยและผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ ใหเ้ ป็นไปตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทย (๔) ช่วยเหลือ แนะนํา เผยแพร่ และให้การศึกษาแก่ประชาชนและองค์กรอ่ืนในเร่ืองที่เกี่ยวกับ การแพทยแ์ ผนไทย (๕) ให้คาํ ปรึกษาหรือข้อเสนอแนะตอ่ รฐั บาลเกย่ี วกับวชิ าชพี การแพทย์แผนไทย (๖) ส่งเสรมิ ความสามัคคีและผดงุ เกียรตขิ องสมาชกิ (๗) ผดุงไวซ้ งึ่ สทิ ธิ ความเป็นธรรม และสง่ เสรมิ สวสั ดกิ ารใหแ้ ก่สมาชกิ (๘) เป็นตวั แทนผ้ปู ระกอบวชิ าชีพการแพทยแ์ ผนไทยและผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ประยกุ ตข์ องประเทศไทย มาตรา ๙ สภาการแพทย์แผนไทย มอี าํ นาจหน้าทด่ี ังต่อไปน้ี (๑) รบั ข้นึ ทะเบียนและออกใบอนุญาตใหแ้ ก่ผขู้ อเป็นผู้ประกอบวิชาชพี การแพทย์แผนไทย และ ผู้ประกอบวชิ าชีพการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ (๒) ออกคําสง่ั ตามมาตรา ๔๕ (๓) รบั รองปริญญา ประกาศนยี บตั ร หรือวุฒิบัตรในวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทยของสถาบันต่าง ๆ เพอื่ ประโยชนใ์ นการสมคั รเปน็ สมาชกิ (๔) รบั รองหลกั สูตรสําหรบั การฝึกอบรมเปน็ ผู้ชํานาญการในด้านต่าง ๆ ของวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ของสถาบนั ทีท่ าํ การฝึกอบรมดังกล่าว (๕) รับรองวทิ ยฐานะของสถาบนั ทีท่ ําการฝกึ อบรมใน (๔) (๖) ออกหนังสอื อนมุ ัตหิ รอื วุฒบิ ัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย และการประกอบวิชาชพี การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ และออกหนงั สือแสดงวุฒอิ นื่ ในวิชาชพี การแพทยแ์ ผนไทย (๗) จดั ทาํ แผนการดําเนนิ งานและรายงานผลการดําเนินงานเสนอต่อสภานายกพิเศษอย่างน้อยปีละครั้ง (๘) ดําเนนิ การให้เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ของสภาการแพทย์แผนไทย (๙) บรหิ ารกจิ การใด ๆ ตามวตั ถุประสงค์ และอํานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติน้ี ตลอดจน กิจการใด ๆ ของสภาการแพทยแ์ ผนไทย มาตรา ๑๐ สภาการแพทย์แผนไทยอาจมรี ายได้ดังตอ่ ไปน้ี (๑) เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผน่ ดนิ (๒) คา่ จดทะเบียนสมาชกิ คา่ บาํ รงุ และค่าธรรมเนียมตา่ ง ๆ (๓) ผลประโยชนท์ ่ไี ด้จากการจัดการทรัพย์สนิ และกิจกรรมตามวตั ถปุ ระสงคท์ ี่กําหนดในมาตรา ๘ (๔) เงนิ และทรพั ย์สินซ่งึ มีผู้ใหแ้ กส่ ภาการแพทย์แผนไทย (๕) ดอกผลของเงนิ และทรพั ย์สนิ ตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔)

เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๕ ๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๑๑ ให้รัฐมนตรีดํารงตําแหน่งสภานายกพิเศษแห่งสภาการแพทย์แผนไทยและมี อาํ นาจหนา้ ท่ตี ามทีบ่ ญั ญตั ไิ วใ้ นพระราชบัญญตั นิ ้ี หมวด ๒ สมาชกิ มาตรา ๑๒ สมาชิกสภาการแพทย์แผนไทย ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดงั ต่อไปนี้ (๑) มีอายไุ ม่ต่ํากว่าย่ีสบิ ปีบริบรู ณ์ (๒) มีความรใู้ นวิชาชพี การแพทยแ์ ผนไทยดงั ต่อไปนี้ (ก) ได้รับการฝึกอบรมจากสถาบันหรือสถานพยาบาลที่สภาการแพทย์แผนไทยรับรอง โดยมีผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยซ่ึงได้รับอนุญาตให้ถ่ายทอดความรู้เป็นผู้ให้การอบรมและ ตอ้ งสอบผ่านความร้ตู ามทีก่ าํ หนดไว้ในข้อบังคบั สภาการแพทย์แผนไทย หรอื (ข) ได้รับปริญญาหรือประกาศนียบัตรเทียบเท่าปริญญาสาขาการแพทย์แผนไทยหรือ สาขาการแพทย์แผนไทยประยกุ ตจ์ ากสถาบนั การศึกษาทส่ี ภาการแพทย์แผนไทยรับรองและต้องสอบผ่านความรู้ ตามที่กําหนดไวใ้ นข้อบงั คับสภาการแพทย์แผนไทย หรอื (ค) เป็นผทู้ ส่ี ว่ นราชการรับรองความรูก้ ารแพทย์พื้นบ้านไทย โดยผ่านการประเมินหรือการสอบ ตามทกี่ ําหนดไว้ในขอ้ บังคบั สภาการแพทยแ์ ผนไทย (๓) ไม่เป็นผู้ประพฤติเสียหายซ่ึงคณะกรรมการเห็นว่าจะนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักด์ิ แห่งวิชาชีพ (๔) ไม่เคยต้องโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงท่ีสุดในคดีที่คณะกรรมการเห็นว่าจะนํามาซ่ึง ความเสื่อมเสยี เกียรตศิ ักดแิ์ ห่งวชิ าชพี (๕) ไม่เป็นผู้วิกลจริต จิตฟ่ันเฟือนไม่สมประกอบ หรือไม่เป็นโรคที่กําหนดไว้ในข้อบังคับ สภาการแพทยแ์ ผนไทย มาตรา ๑๓ สทิ ธแิ ละหน้าท่ีของสมาชกิ มดี ังตอ่ ไปนี้ (๑) ขอขึน้ ทะเบียนและรับใบอนุญาตเปน็ ผู้ประกอบวชิ าชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ ขอหนังสืออนมุ ัตหิ รือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทย หรือการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์หรือขอหนังสือแสดงวุฒิอื่น ในวิชาชีพการแพทย์แผนไทย โดยปฏิบตั ิตามข้อบังคบั สภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วยการนน้ั (๒) แสดงความเห็นเป็นหนังสือเก่ียวกับกิจการของสภาการแพทย์แผนไทยส่งไปยังคณะกรรมการ เพ่ือพิจารณา และในกรณีที่สมาชิกร่วมกันตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไปเสนอให้คณะกรรมการพิจารณาเรื่องใด ที่เกี่ยวกับกิจการของสภาการแพทย์แผนไทย คณะกรรมการต้องพิจารณาและแจ้งผลการพิจารณา ใหผ้ ูเ้ สนอทราบภายในเก้าสิบวนั นบั แต่วนั ไดร้ ับเรอ่ื ง

เล่ม ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๖ ๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ ราชกจิ จานเุ บกษา (๓) เลือก รับเลือก หรอื รบั เลือกต้ังเป็นกรรมการ เฉพาะสมาชกิ ท่ีมใี บอนุญาต (๔) ผดุงไว้ซ่งึ เกียรตศิ ักดแิ์ ห่งวชิ าชพี และปฏิบตั ิตนตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา ๑๔ สมาชกิ ภาพของสมาชิกสนิ้ สดุ ลงเมอ่ื (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคณุ สมบตั ติ ามมาตรา ๑๒ (๒) (๔) คณะกรรมการมีมตใิ หพ้ ้นจากสมาชิกภาพ เพราะเห็นว่าเป็นผู้นํามาซึ่งความเส่ือมเสียเกียรติศักด์ิ แหง่ วชิ าชีพตามมาตรา ๑๒ (๓) หรอื (๔) (๕) มีลกั ษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๒ (๕) และผู้ประกอบวิชาชพี เวชกรรมจํานวนไม่น้อยกว่า สามคน ซึง่ คณะกรรมการกําหนด ลงความเห็นว่าไม่สามารถบําบัดรักษาให้หายเป็นปกติได้ หรือต้องใช้ ระยะเวลาในการบาํ บัดรักษาเกินกวา่ สองปี ในกรณีท่ีสมาชิกผู้ใดมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๒ (๕) แต่ยังไม่ถึงขนาดท่ีสมาชิกภาพ สิ้นสุดลงตามวรรคหนึ่ง (๕) คณะกรรมการอาจมีมติให้พักใช้ใบอนุญาตของสมาชิกผู้น้ันได้ โดยมี กําหนดเวลาตามท่เี หน็ สมควรแต่ไม่เกนิ สองปี และให้นาํ ความในมาตรา ๓๑ มาใช้บังคับโดยอนโุ ลม หมวด ๓ คณะกรรมการ มาตรา ๑๕ ใหม้ คี ณะกรรมการสภาการแพทยแ์ ผนไทย ประกอบดว้ ย (๑) กรรมการโดยตาํ แหนง่ ไดแ้ ก่ ปลดั กระทรวงสาธารณสุข อธิบดีกรมพฒั นาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา และเลขาธกิ ารคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา (๒) กรรมการซึ่งเป็นคณบดี หรือหัวหน้าหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอ่ืนที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ หรือหัวหน้าภาควิชาที่ผลิตบัณฑิตสาขาการแพทย์แผนไทยหรือสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและสถาบันอุดมศึกษาของเอกชนท่ีจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยสถาบัน อุดมศึกษาเอกชนแห่งละหนง่ึ คน เลอื กกนั เองให้เหลอื สาขาละสามคน (๓) กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนสมาคมหรือมูลนิธิที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการแพทย์แผนไทย แห่งละหนงึ่ คน เลือกกันเองให้เหลอื สามคน (๔) หัวหนา้ สถาบันหรือสถานพยาบาลที่สภาการแพทย์แผนไทยรับรองโดยมีผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทยแ์ ผนไทยซ่งึ ได้รับอนญุ าตใหถ้ า่ ยทอดความรู้เป็นผู้ใหก้ ารอบรม เลอื กกนั เองใหเ้ หลือจํานวนสามคน (๕) กรรมการซึ่งได้รับเลือกต้ังโดยสมาชิกมีจํานวนเท่ากับจํานวนกรรมการใน (๑) (๒) (๓) และ (๔) รวมกันในขณะเลือกต้ังแต่ละคราว ทั้งนี้ ให้คํานึงถึงสัดส่วนของวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ตามมาตรา ๔

เลม่ ๑๓๐ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๗ ๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๑๖ คณะกรรมการอาจแตง่ ตง้ั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิเปน็ ทีป่ รกึ ษาได้ และให้มีอํานาจถอดถอน ทปี่ รึกษาด้วย ใหท้ ่ีปรกึ ษาดาํ รงตําแหนง่ ตามวาระของกรรมการตามมาตรา ๑๕ (๕) มาตรา ๑๗ ให้คณะกรรมการเลอื กกรรมการจากมาตรา ๑๕ (๕) ภายในสามสิบวันนับจาก วันเลือกตั้งกรรมการตามมาตรา ๑๕ (๕) เพ่ือดํารงตําแหน่งนายกสภาการแพทย์แผนไทย อุปนายก สภาการแพทยแ์ ผนไทยคนท่ีหนงึ่ และอปุ นายกสภาการแพทย์แผนไทยคนท่ีสอง ตําแหน่งละหน่งึ คน ให้นายกสภาการแพทย์แผนไทยเลือกกรรมการเพื่อดํารงตําแหน่งเลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ และเหรัญญิก ตําแหน่งละหน่ึงคน และอาจเลือกกรรมการเพ่ือดํารงตําแหน่งอื่นได้ ตามความจาํ เปน็ ทง้ั นี้ โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ ให้นายกสภาการแพทย์แผนไทยมีอํานาจถอดถอนเลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ เหรญั ญกิ และผ้ดู าํ รงตาํ แหนง่ อน่ื ตามวรรคสองออกจากตาํ แหนง่ ได้ ทง้ั น้ี โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ ให้นายกสภาการแพทย์แผนไทย อุปนายกสภาการแพทย์แผนไทยคนท่ีหนึ่งและอุปนายก สภาการแพทย์แผนไทยคนทสี่ อง ดาํ รงตาํ แหน่งตามวาระของกรรมการตามมาตรา ๑๕ (๕) เมื่อผู้ดํารงตําแหน่งนายกสภาการแพทย์แผนไทยพ้นจากหน้าที่ ให้เลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสมั พนั ธ์ เหรัญญิก และผดู้ ํารงตําแหนง่ อ่ืนตามวรรคสองพ้นจากตําแหน่งด้วย มาตรา ๑๘ การเลือกกรรมการตามมาตรา ๑๕ (๒) (๓) และ (๔) การเลือกตั้งกรรมการ ตามมาตรา ๑๕ (๕) การแต่งต้ังที่ปรึกษาตามมาตรา ๑๖ การเลือกกรรมการเพื่อดํารงตําแหน่งต่าง ๆ ตามมาตรา ๑๗ และการเลื่อนหรือการเลือกหรือการเลือกตั้งกรรมการตามมาตรา ๒๓ ให้เป็นไปตาม ข้อบังคบั สภาการแพทย์แผนไทย มาตรา ๑๙ กรรมการตามมาตรา ๑๕ (๓) (๔) และ (๕) ต้องมีคณุ สมบัติดงั ต่อไปน้ี (๑) เปน็ ผปู้ ระกอบวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทยหรือเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ (๒) เป็นผู้ไมเ่ คยถกู ส่งั พักใชใ้ บอนญุ าตหรอื เพกิ ถอนใบอนญุ าต (๓) ไม่เป็นบุคคลลม้ ละลาย มาตรา ๒๐ กรรมการตามมาตรา ๑๕ (๒) (๓) (๔) และ (๕) มีวาระการดํารงตําแหน่ง คราวละสามปี และอาจได้รับเลือก หรือได้รับเลือกต้ังใหม่ได้ แล้วแต่กรณี แต่จะดํารงตําแหน่งเกินสองวาระ ติดต่อกนั ไมไ่ ด้ ให้กรรมการที่พ้นจากตําแหน่งตามวาระปฏิบัติหน้าที่ไปพลางก่อนจนกว่าจะมีการเลือกหรือ เลอื กตัง้ กรรมการขนึ้ ใหม่ มาตรา ๒๑ นอกจากการพ้นจากตําแหน่งตามวาระ กรรมการตามมาตรา ๑๕ (๓) (๔) และ (๕) พ้นจากตาํ แหน่งเมอื่ (๑) สมาชิกภาพสนิ้ สุดลงตามมาตรา ๑๔ (๒) ขาดคณุ สมบตั ิหรอื มลี กั ษณะต้องหา้ มตามมาตรา ๑๙ (๓) ลาออก

เลม่ ๑๓๐ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๘ ๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ ราชกิจจานเุ บกษา กรรมการตามมาตรา ๑๕ (๒) พน้ จากตําแหน่งเม่ือ (๑) พ้นจากตําแหน่งคณบดีหรือหัวหน้าหน่วยงานที่เรียกช่ืออย่างอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบเท่าคณะ หรือหัวหน้าภาควิชาท่ีผลิตบัณฑิตสาขาการแพทย์แผนไทยหรือสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ใ น ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า ข อ ง รั ฐ แ ล ะ ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า ข อ ง เ อ ก ช น ท่ี จั ด ต้ั ง ข้ึ น ต า ม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย สถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชน (๒) ลาออก มาตรา ๒๒ เมอื่ ตําแหน่งกรรมการตามมาตรา ๑๕ (๒) (๓) และ (๔) ว่างลงก่อนครบวาระ ให้คณะกรรมการดําเนนิ การใหไ้ ด้มาภายในสามสบิ วันนับแตว่ นั ท่ีตําแหนง่ กรรมการนนั้ วา่ งลง ในกรณีท่ีวาระของกรรมการตามวรรคหน่ึงเหลืออยู่ไม่ถึงเก้าสิบวัน คณะกรรมการจะให้มี การเลือกกรรมการแทนหรอื ไมก่ ไ็ ด้ ให้ผู้ซง่ึ เป็นกรรมการแทนนน้ั อยใู่ นตําแหน่งได้เพยี งเทา่ วาระที่เหลอื อย่ขู องกรรมการซ่ึงตนแทน มาตรา ๒๓ เมือ่ ตําแหนง่ กรรมการตามมาตรา ๑๕ (๕) ว่างลงไม่เกินหน่ึงในสามของจํานวน กรรมการดังกล่าวท้ังหมดก่อนครบวาระ ให้คณะกรรมการเล่ือนสมาชิกผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๙ และได้รับคะแนนจากการเลือกต้ังกรรมการตามมาตรา ๑๕ (๕) ในลําดับถัดไปข้ึนเป็นกรรมการแทน ภายในสามสบิ วนั นับแต่วนั ที่ตาํ แหนง่ กรรมการนน้ั ว่างลง ในกรณีที่ตําแหน่งกรรมการตามวรรคหนึ่งว่างลงรวมกันเกินหน่ึงในสามของจํานวนกรรมการ ซ่ึงไดร้ บั เลือกตั้ง ใหค้ ณะกรรมการจัดให้มกี ารเลือกต้ังสมาชิกขึ้นเป็นกรรมการแทนภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ จํานวนกรรมการดงั กล่าวได้วา่ งลงเกินหนึง่ ในสาม ในกรณีไมม่ ีผไู้ ดร้ บั การเลอื่ นขน้ึ เป็นกรรมการแทนตามวรรคหน่ึง หรือมีแต่ยังไม่ครบตามจํานวน ตําแหนง่ กรรมการท่วี า่ งลง ให้นาํ ความในวรรคสองมาใชบ้ ังคับโดยอนโุ ลม ถา้ วาระของกรรมการตามวรรคหนึง่ เหลืออยไู่ มถ่ งึ เกา้ สิบวนั ไม่ตอ้ งเล่ือนหรือเลือกต้ังกรรมการแทน ให้ผู้ซึง่ เปน็ กรรมการแทนนน้ั อยใู่ นตาํ แหน่งได้เพยี งเทา่ วาระท่เี หลอื อยู่ของกรรมการซึง่ ตนแทน มาตรา ๒๔ ใหค้ ณะกรรมการมีอาํ นาจหน้าท่ดี งั ตอ่ ไปน้ี (๑) บริหารและดาํ เนนิ กจิ การสภาการแพทย์แผนไทยตามวัตถุประสงค์และอํานาจหน้าท่ีที่กําหนด ในมาตรา ๘ และมาตรา ๙ รวมทง้ั การบริหารเงนิ รายได้ตามมาตรา ๑๐ (๒) แต่งต้ังคณะอนุกรรมการการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย คณะอนุกรรมการ การประกอบวชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ คณะอนุกรรมการจรรยาบรรณ คณะอนุกรรมการสอบสวน และคณะอนุกรรมการอื่น เพื่อทํากิจการหรือพิจารณาเรื่องต่าง ๆ อันอยู่ในขอบเขตแห่งวัตถุประสงค์ และอํานาจหนา้ ทข่ี องสภาการแพทย์แผนไทย (๓) กําหนดแผนการดําเนนิ งานและงบประมาณของสภาการแพทยแ์ ผนไทย (๔) ออกขอ้ บงั คับสภาการแพทย์แผนไทยว่าด้วย (ก) การเป็นสมาชกิ (ข) การกาํ หนดโรคตามมาตรา ๑๒ (๕)

เลม่ ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๙ ๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ ราชกิจจานเุ บกษา (ค) การกาํ หนดคา่ จดทะเบยี นสมาชิก ค่าบํารุง และค่าธรรมเนียมอ่ืน นอกจากที่กําหนดไว้ ในอตั ราคา่ ธรรมเนียมทา้ ยพระราชบัญญัตินี้ (ง) การเลือก การเลือกตั้งกรรมการ การเลื่อนผู้มีคุณสมบัติขึ้นเป็นกรรมการแทน การแตง่ ต้ังท่ปี รกึ ษา และการเลือกกรรมการเพ่อื ดาํ รงตาํ แหน่งตา่ ง ๆ ตามมาตรา ๑๘ (จ) การประชมุ คณะกรรมการ คณะอนกุ รรมการ และคณะท่ปี รกึ ษา (ฉ) การกาํ หนดอาํ นาจหน้าทข่ี องผู้ดํารงตําแหน่งทีป่ รึกษาตามมาตรา ๑๖ (ช) การกําหนดอํานาจหน้าทข่ี องผ้ดู าํ รงตาํ แหน่งอื่นตามมาตรา ๑๗ วรรคสอง (ซ) คณุ สมบตั ขิ องผู้ประกอบวิชาชพี การแพทย์แผนไทยและผ้ปู ระกอบวชิ าชพี การแพทย์แผนไทย ประยุกตต์ ามมาตรา ๓๕ (ฌ) แบบและประเภทใบอนุญาต หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการข้ึนทะเบียน การออกใบอนญุ าต อายใุ บอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต และการออกใบแทนใบอนญุ าต (ญ) หลักเกณฑ์การออกหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ ความชํานาญใน การประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและการประกอบวชิ าชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ รวมทั้งหนังสือ แสดงวุฒอิ ืน่ ในวชิ าชีพการแพทยแ์ ผนไทย (ฎ) หลกั เกณฑ์การพักใช้ใบอนุญาตหรอื เพกิ ถอนใบอนญุ าต (ฏ) จรรยาบรรณแห่งวชิ าชีพการแพทยแ์ ผนไทย (ฐ) การจดั ตัง้ การดําเนินการ และการเลกิ สถาบนั ทท่ี ําการฝึกอบรมเป็นผู้ชํานาญการของ วิชาชีพการแพทย์แผนไทย รวมท้ังการกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการว่าด้วยการศึกษาต่อเน่ืองของ การแพทยแ์ ผนไทยเพอ่ื เพ่ิมพูนความรูแ้ ละเสริมทักษะการประกอบวชิ าชีพ (ฑ) หลกั เกณฑ์ วิธกี าร และเงอ่ื นไขในการสอบความรูห้ รือการประเมนิ ตามมาตรา ๑๒ (๒) (ฒ) หลักเกณฑ์การสืบสวนหรือสอบสวนในกรณีท่ีมีการกล่าวหาหรือการกล่าวโทษ ผู้ประกอบวชิ าชีพการแพทย์แผนไทยและผูป้ ระกอบวชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ (ณ) ข้อจาํ กัดและเง่อื นไขในการประกอบวิชาชพี การแพทยแ์ ผนไทยและการประกอบวชิ าชีพ การแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ (ด) เรื่องอ่ืน ๆ อันอยู่ในขอบเขตแห่งวัตถุประสงค์หรืออยู่ในอํานาจหน้าที่ของ สภาการแพทยแ์ ผนไทยตามพระราชบญั ญตั ินห้ี รอื กฎหมายอ่ืนทเี่ กี่ยวข้อง ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงความสําคัญ ในการช่วยเหลือ แนะนํา เผยแพร่ และให้ความรู้แก่ประชาชนในเร่ืองท่ีเก่ียวกับการแพทย์แผนไทย เพื่อใหส้ ามารถดูแลตนเองได้ ภายใต้บังคับมาตรา ๓๐ ขอ้ บงั คบั สภาการแพทย์แผนไทยเม่ือได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ใหใ้ ช้บงั คบั ได้ มาตรา ๒๕ นายกสภาการแพทย์แผนไทย อุปนายกสภาการแพทย์แผนไทยคนที่หนึ่ง อุปนายกสภาการแพทย์แผนไทยคนท่ีสอง เลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์ เหรัญญิก ท่ีปรึกษา และผดู้ าํ รงตําแหนง่ อ่ืน มีอํานาจหนา้ ทดี่ งั ตอ่ ไปนี้

เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๑๐ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา (๑) นายกสภาการแพทย์แผนไทย มอี ํานาจหน้าที่ (ก) บรหิ ารและดาํ เนินกจิ การของสภาการแพทย์แผนไทย ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติน้ี หรือตามมติของคณะกรรมการ (ข) เปน็ ผู้แทนสภาการแพทย์แผนไทย ในกจิ การตา่ ง ๆ (ค) เปน็ ประธานในท่ีประชมุ คณะกรรมการ นายกสภาการแพทย์แผนไทยอาจมอบหมายเป็นหนังสือให้กรรมการอ่ืนปฏิบัติหน้าที่แทน ตามทเี่ หน็ สมควร (๒) อุปนายกสภาการแพทย์แผนไทยคนท่ีหนึ่ง เป็นผู้ช่วยนายกสภาการแพทย์แผนไทย ในกจิ การอันอยู่ในอํานาจหน้าท่ขี องสภาการแพทย์แผนไทยตามที่นายกสภาการแพทย์แผนไทยมอบหมาย และเป็นผู้ทําการแทนนายกสภาการแพทย์แผนไทย เม่ือนายกสภาการแพทย์แผนไทยไม่อยู่หรือไม่สามารถ ปฏบิ ัติหน้าที่ได้ (๓) อุปนายกสภาการแพทย์แผนไทยคนที่สอง เป็นผู้ช่วยนายกสภาการแพทย์แผนไทย ในกิจการอนั อยู่ในอาํ นาจหน้าทขี่ องนายกสภาการแพทย์แผนไทยตามทน่ี ายกสภาการแพทยแ์ ผนไทยมอบหมาย และเป็นผู้ทําการแทนนายกสภาการแพทย์แผนไทย เมื่อท้ังนายกสภาการแพทย์แผนไทยและอุปนายก สภาการแพทย์แผนไทยคนท่ีหนึง่ ไม่อยหู่ รือไมส่ ามารถปฏบิ ตั ิหน้าที่ได้ (๔) เลขาธกิ าร มอี ํานาจหนา้ ท่ี (ก) ควบคุมบงั คับบญั ชาเจ้าหนา้ ท่สี ภาการแพทย์แผนไทย ทุกระดบั (ข) ควบคุมรับผิดชอบในงานธรุ การทวั่ ไปของสภาการแพทยแ์ ผนไทย (ค) รบั ผดิ ชอบในการดแู ลรกั ษาทะเบียนสมาชกิ ทะเบยี นผปู้ ระกอบวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทย ผปู้ ระกอบวชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ตแ์ ละทะเบยี นอนื่ ๆ ของสภาการแพทยแ์ ผนไทย (ง) ควบคุมดแู ลทรพั ย์สนิ ของสภาการแพทย์แผนไทย (จ) เปน็ เลขานกุ ารคณะกรรมการ (๕) รองเลขาธิการ เป็นผู้ช่วยเลขาธิการในกิจการอันอยู่ในอํานาจหน้าท่ีของเลขาธิการตามที่ เลขาธิการมอบหมาย และเป็นผู้ทําการแทนเลขาธิการเม่อื เลขาธกิ ารไมอ่ ยูห่ รอื ไมส่ ามารถปฏิบัติหน้าทีไ่ ด้ (๖) ประชาสัมพันธ์ มีอํานาจหน้าท่ีในการประชาสัมพันธ์ แนะนํา และเผยแพร่กิจการของ สภาการแพทย์แผนไทยแกป่ ระชาชนและองค์กรอ่ืน (๗) เหรัญญิก มีอํานาจหน้าท่ีควบคุม ดูแล รับผิดชอบการบัญชี การเงิน และการงบประมาณ ของสภาการแพทยแ์ ผนไทย (๘) ผ้ดู ํารงตาํ แหน่งทปี่ รกึ ษาตามมาตรา ๑๖ มอี าํ นาจหนา้ ทต่ี ามทคี่ ณะกรรมการกาํ หนด (๙) ผูด้ ํารงตาํ แหน่งอ่ืนตามมาตรา ๑๗ วรรคสอง มอี าํ นาจหน้าท่ตี ามทค่ี ณะกรรมการกาํ หนด มาตรา ๒๖ ใหม้ คี ณะอนกุ รรมการการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยคณะหนึ่ง มีอํานาจหน้าที่ องคป์ ระกอบ คณุ สมบตั ิ และวิธีการไดม้ าซ่ึงอนุกรรมการตามข้อบังคบั ของสภาการแพทย์แผนไทย

เลม่ ๑๓๐ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๑๑ ๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ ราชกจิ จานเุ บกษา มาตรา ๒๗ ให้มีคณะอนกุ รรมการการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์คณะหนึ่ง มีอํานาจหน้าท่ี องค์ประกอบ คุณสมบัติ และวิธีการได้มาซึ่งอนุกรรมการตามข้อบังคับของ สภาการแพทยแ์ ผนไทย หมวด ๔ การดําเนินการของคณะกรรมการ มาตรา ๒๘ การประชุมคณะกรรมการต้องมกี รรมการมาประชุมไมน่ ้อยกวา่ กง่ึ หน่ึงของจํานวน กรรมการทง้ั หมดท่มี ีอยูใ่ นขณะน้นั จงึ จะเป็นองคป์ ระชุม มติของท่ีประชุมให้ถือเสียงข้างมาก ในการลงคะแนนกรรมการคนหนึ่งมีเสียงหน่ึงเสียง ถา้ คะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในท่ปี ระชมุ ออกเสยี งเพม่ิ ขึน้ อกี เสยี งหนงึ่ เป็นเสยี งช้ขี าด มติของทปี่ ระชมุ ในกรณใี หส้ มาชิกพ้นจากสมาชิกภาพตามมาตรา ๑๔ (๔) ให้ถือคะแนนเสียง ไมน่ อ้ ยกวา่ สองในสามของจํานวนกรรมการท้ังหมดทม่ี ีอยใู่ นขณะนัน้ การประชุมคณะอนกุ รรมการ ใหน้ าํ ความในวรรคหนึง่ และวรรคสองมาใชบ้ ังคบั โดยอนโุ ลม การประชมุ คณะทีป่ รกึ ษา ให้เปน็ ไปตามขอ้ บังคบั สภาการแพทยแ์ ผนไทย มาตรา ๒๙ สภานายกพิเศษจะเข้าฟังการประชุมและช้ีแจงแสดงความเห็นในที่ประชุม คณะกรรมการ หรอื จะส่งความเห็นเปน็ หนงั สือไปยังสภาการแพทย์แผนไทยในเรือ่ งใด ๆ ก็ได้ มาตรา ๓๐ มติของที่ประชุมคณะกรรมการในเร่ืองดังต่อไปน้ี ต้องได้รับความเห็นชอบ จากสภานายกพิเศษกอ่ น จึงจะดําเนนิ การตามมติน้ันได้ (๑) การออกขอ้ บังคับ (๒) การกาํ หนดแผนการดําเนินงานและงบประมาณของสภาการแพทยแ์ ผนไทย (๓) การให้สมาชิกพน้ จากสมาชกิ ภาพตามมาตรา ๑๔ (๔) (๔) การวนิ จิ ฉัยชีข้ าดใหพ้ ักใช้ใบอนญุ าตหรือเพกิ ถอนใบอนุญาตตามมาตรา ๔๕ วรรคสาม (๔) หรือ (๕) ให้นายกสภาการแพทย์แผนไทยเสนอมติตามวรรคหนึ่งต่อสภานายกพิเศษโดยไม่ชักช้า สภานายกพิเศษอาจมีคําสงั่ ยับย้งั มติน้ันได้ ในกรณีท่ีมิได้ยับย้ังมติตามวรรคหนึ่ง (๑) ภายในสามสิบวัน หรือมิได้ยับย้ังมติตามวรรคหนึ่ง (๒) (๓) หรือ (๔) ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ได้รับมติที่นายก สภาการแพทย์แผนไทยเสนอ ใหถ้ อื ว่าสภานายกพเิ ศษใหค้ วามเหน็ ชอบมตินนั้ ถา้ สภานายกพิเศษยับยั้งมตใิ ด ให้คณะกรรมการประชุมพิจารณาอีกคร้ังหน่ึงภายในสามสิบวัน นับแต่วันท่ีได้รับการยับยั้ง ในการประชุมนั้นถ้ามีเสียงยืนยันมติไม่น้อยกว่าสองในสามของจํานวน กรรมการทง้ั หมดทมี่ ีอยูใ่ นขณะนนั้ ก็ให้ดาํ เนินการตามมตินัน้ ได้

เลม่ ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๐ ก หนา้ ๑๒ ๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา หมวด ๕ การควบคุมการประกอบวิชาชพี การแพทย์แผนไทย และการประกอบวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ มาตรา ๓๑ หา้ มมใิ หผ้ ้ใู ดซงึ่ มไิ ด้เป็นผูป้ ระกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยประยุกต์ กระทําการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือการประกอบวิชาชีพ การแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ เวน้ แต่ในกรณอี ย่างใดอย่างหน่งึ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) การกระทําตอ่ ตนเอง (๒) การชว่ ยเหลอื แกผ่ ้ปู ่วยตามหน้าที่ ตามกฎหมาย ตามหลกั มนษุ ยธรรมหรือตามธรรมจรรยา โดยมิไดร้ บั ประโยชน์ตอบแทน (๓) นกั เรียน นกั ศกึ ษา หรือผู้รับการฝึกอบรม ซ่ึงทําการฝึกหัดหรือฝึกอบรมในความควบคุม ของสถาบนั การศกึ ษาวชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทยของรัฐหรือท่ีได้รบั อนุญาตจากทางราชการให้จดั ตง้ั สถาบัน ทางการแพทยข์ องรฐั หรอื สถาบนั การศกึ ษา หรือสถาบนั ทางการแพทย์อื่นที่สภาการแพทย์แผนไทยรับรอง ท้ังน้ี ภายใตค้ วามควบคมุ ของเจ้าหนา้ ท่ีผฝู้ ึกหัดหรือผใู้ ห้การฝึกอบรมซึง่ เปน็ ผูป้ ระกอบวชิ าชีพการแพทย์แผนไทย หรือผปู้ ระกอบวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ (๔) บุคคลซึ่งกระทรวง ทบวง กรม เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวดั องคก์ ารบริหารส่วนตําบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบพิเศษอ่ืนตามท่ีมีกฎหมายกําหนด หรือสภากาชาดไทย มอบหมายให้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยในความควบคุมของเจ้าหน้าท่ี ซึ่งเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ หรือ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพเวชกรรม ท้งั น้ี ตามระเบยี บท่ีรัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา (๕) บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในสถานพยาบาล ตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลกระทําการ ประกอบวชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทยหรอื การประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ในความควบคุม ของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ทั้งน้ี ตามระเบยี บทีร่ ัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา (๖) การประกอบวิชาชพี การแพทย์แผนไทยหรือการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ของที่ปรึกษาหรือผู้เชย่ี วชาญของทางราชการ ทัง้ น้ี โดยหลักเกณฑ์ วธิ กี าร และเงอื่ นไขท่ีคณะกรรมการกําหนด (๗) หมอพื้นบา้ น ซ่งึ มีความรู้ความสามารถในการสง่ เสรมิ และดูแลสขุ ภาพของประชาชนในท้องถิ่น ดว้ ยภูมปิ ัญญาการแพทย์แผนไทย ตามวฒั นธรรมของชุมชนที่สืบทอดกันมานานไม่น้อยกว่าสิบปีเป็นที่นิยม ยกย่องจากชุมชน โดยมีคณะกรรมการหมู่บ้านหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เสนอให้หน่วยงานที่ กระทรวงสาธารณสุขกําหนดเป็นผรู้ บั รอง ทง้ั น้ี ตามระเบียบทร่ี ฐั มนตรีกําหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๓๒ ห้ามมิให้ผู้ใดซึ่งมิได้รับปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรในวิชาชีพ การแพทย์แผนไทย ใช้คําหรือข้อความด้วยอักษรไทยหรืออักษรต่างประเทศว่าแพทย์แผนไทย หรือ

เลม่ ๑๓๐ ตอนที่ ๑๐ ก หนา้ ๑๓ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๖ ราชกิจจานเุ บกษา ใช้อักษรย่อของคาํ ดงั กลา่ ว หรือใช้คําแสดงวุฒิการศึกษาทางแพทย์แผนไทย หรือใช้อักษรย่อของวุฒิดังกล่าว ประกอบกับช่ือหรอื ชอ่ื สกลุ ของตน หรือใช้คาํ หรือขอ้ ความอืน่ ใดทม่ี คี วามหมายเช่นเดยี วกัน ซึ่งทําให้ผู้อ่ืน เขา้ ใจวา่ ตนเปน็ ผ้ปู ระกอบวิชาชพี การแพทย์แผนไทยหรือเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ทง้ั น้ี รวมถึงการใช้ จา้ ง วาน หรือยนิ ยอมใหผ้ อู้ ่นื กระทําดงั กล่าวให้แก่ตน มาตรา ๓๓ ห้ามมใิ ห้ผู้ใดใช้คาํ หรอื ขอ้ ความท่ีแสดงใหผ้ ูอ้ ่ืนเขา้ ใจวา่ ตนเป็นผมู้ ีความรูค้ วามชาํ นาญ ในการประกอบวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทยหรือการประกอบวชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ หรอื แสดง ด้วยวิธใี ด ๆ ให้ผ้อู ื่นเข้าใจว่าตนมีสทิ ธเิ ปน็ ผู้ประกอบวิชาชีพดงั กล่าว ทั้งนี้ รวมถึงการใช้ จ้าง วาน หรือยินยอม ให้ผอู้ ่นื กระทําดังกล่าวใหแ้ ก่ตน เว้นแต่ผู้น้ันเป็นผู้ได้รับหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรว่าเป็นผู้มีความรู้ความชํานาญ ในการประกอบวิ ชาชี พการแพทย์ แผนไทยหรื อการประกอบวิ ชาชี พการแพทย์ แผนไทยประยุ กต์ จ า ก สภาการแพทย์แผนไทย หรอื ที่สภาการแพทย์แผนไทยรับรอง หรอื เปน็ ผ้ปู ระกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย หรือผู้ประกอบวิชาชพี การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ ซ่งึ มีคุณสมบัติตามทกี่ ําหนดในข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย มาตรา ๓๔ การข้ึนทะเบียน การออกใบอนุญาต อายุใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาต การออกหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรแสดงความรู้ความชํานาญในวิชาชีพการแพทย์แผนไทย และหนังสือ แสดงวฒุ ิอน่ื รวมทั้งการออกใบแทนในการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและการประกอบวิชาชีพ การแพทยแ์ ผนไทยประยุกตใ์ ห้เป็นไปตามขอ้ บงั คบั สภาการแพทย์แผนไทย มาตรา ๓๕ ผู้ขอข้นึ ทะเบยี นและรบั ใบอนุญาตตอ้ งสมัครเปน็ สมาชกิ แห่งสภาการแพทย์แผนไทย และมคี ุณสมบัติตามท่ีกําหนดไว้ในขอ้ บังคับสภาการแพทยแ์ ผนไทย เม่ือสมาชิกภาพของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์ แผนไทยประยกุ ต์ผ้ใู ดสนิ้ สดุ ลงตามมาตรา ๑๔ ให้ใบอนุญาตของผู้น้ันสน้ิ สดุ ลง ให้ผู้ซ่ึงสมาชิกภาพสิ้นสุดลงตามมาตรา ๑๔ (๓) และ (๔) ส่งคืนใบอนุญาตต่อเลขาธิการ ภายในสบิ ห้าวันนบั แต่วันท่ที ราบการสนิ้ สดุ สมาชกิ ภาพ มาตรา ๓๖ ผู้ประกอบวชิ าชีพการแพทยแ์ ผนไทยและผปู้ ระกอบวิชาชพี การแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ ต้องประกอบวิชาชีพภายใต้บังคับแห่งข้อจํากัดและเงื่อนไขและต้องรักษาจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยตามทกี่ ําหนดไวใ้ นข้อบังคับสภาการแพทย์แผนไทย มาตรา ๓๗ บคุ คลซง่ึ ไดร้ ับความเสียหายเพราะการประพฤติผิดตามมาตรา ๓๖ ของผู้ประกอบ วิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์มีสิทธิกล่าวหาผู้ก่อให้เกิด ความเสยี หายน้ัน โดยทําคํากลา่ วหาเปน็ หนงั สือย่ืนต่อสภาการแพทย์แผนไทย บคุ คลอืน่ มสี ทิ ธิกลา่ วโทษผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์ แผนไทยประยกุ ตว์ า่ ประพฤตผิ ิดตามมาตรา ๓๖ โดยทําคาํ กลา่ วโทษเปน็ หนังสอื ยนื่ ตอ่ สภาการแพทยแ์ ผนไทย กรรมการมสี ทิ ธิกลา่ วโทษผปู้ ระกอบวิชาชพี การแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์ แผนไทยประยกุ ตว์ า่ ประพฤตผิ ดิ ตามมาตรา ๓๖ โดยแจง้ เร่ืองต่อสภาการแพทยแ์ ผนไทย

เลม่ ๑๓๐ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๑๔ ๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ ราชกิจจานเุ บกษา สิทธิการกล่าวหาตามวรรคหน่ึงหรือสิทธิการกล่าวโทษตามวรรคสองหรือวรรคสามส้ินสุดลง เมื่อพ้นหน่ึงปีนับแต่วันที่ผู้ได้รับความเสียหายหรือผู้กล่าวโทษรู้เร่ืองการประพฤติผิดตามมาตรา ๓๖ และรู้ตัวผู้ประพฤตผิ ิด ท้งั นี้ ไม่เกินสามปีนบั แตว่ นั ทมี่ กี ารประพฤติผิดตามมาตรา ๓๖ การถอนเร่ืองการกล่าวหาหรือการกล่าวโทษที่ได้ย่ืนหรือแจ้งไว้แล้วน้ันไม่เป็นเหตุให้ระงับ การดําเนนิ การตามพระราชบัญญัตนิ ี้ มาตรา ๓๘ เม่อื สภาการแพทย์แผนไทยไดร้ บั เรอ่ื งการกล่าวหาหรือการกล่าวโทษตามมาตรา ๓๗ หรือในกรณีท่ีคณะกรรมการมีมติว่ามีพฤติการณ์อันสมควรให้มีการพิจารณาเกี่ยวกับการประพฤติผิด ตามมาตรา ๓๖ ของผูป้ ระกอบวิชาชพี การแพทยแ์ ผนไทยหรือผปู้ ระกอบวชิ าชพี การแพทย์แผนไทยประยุกต์ ให้เลขาธิการเสนอเร่ืองดงั กล่าวต่อประธานอนุกรรมการจรรยาบรรณโดยไมช่ กั ช้า มาตรา ๓๙ ให้คณะกรรมการแต่งตงั้ คณะอนุกรรมการจรรยาบรรณจากสมาชิกประกอบด้วย ประธานคนหนึ่ง และอนุกรรมการมีจํานวนรวมกันไม่น้อยกว่าสามคน มีอํานาจหน้าท่ีสืบสวนหาข้อเท็จจริง ในเรอ่ื งท่ีไดร้ ับตามมาตรา ๓๘ แลว้ ทาํ รายงานพร้อมทง้ั ความเหน็ เสนอคณะกรรมการเพอ่ื พจิ ารณา คณะกรรมการอาจแตง่ ตง้ั คณะอนกุ รรมการจรรยาบรรณเกนิ กวา่ หนง่ึ คณะกไ็ ด้ ใหค้ ณะอนกุ รรมการจรรยาบรรณดาํ เนนิ การตามอาํ นาจหนา้ ทที่ ่กี ําหนดในวรรคหนึ่งให้แล้วเสร็จ ภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการกําหนด ถ้ามเี หตุจาํ เป็นไมอ่ าจดําเนินการใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในระยะเวลาทก่ี ําหนด ใหป้ ระธานอนกุ รรมการจรรยาบรรณแจ้งให้คณะกรรมการทราบก่อนครบกําหนดเวลาดังกล่าว ในการนี้ ใหค้ ณะกรรมการพิจารณาขยายระยะเวลาดาํ เนนิ การออกไปได้ไมเ่ กนิ สามสบิ วนั นับแต่วันทค่ี รบกําหนดเวลา มาตรา ๔๐ เมอื่ คณะกรรมการได้รับรายงานและความเหน็ ของคณะอนุกรรมการจรรยาบรรณแล้ว ใหค้ ณะกรรมการพจิ ารณารายงานและความเหน็ ดังกลา่ วแลว้ มมี ตอิ ย่างใดอยา่ งหนง่ึ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) ให้คณะอนุกรรมการจรรยาบรรณสืบสวนหาขอ้ เทจ็ จรงิ เพมิ่ เติมเพ่ือเสนอให้คณะกรรมการพิจารณา (๒) ใหค้ ณะอนุกรรมการสอบสวนทาํ การสอบสวนในกรณีท่ีเหน็ ว่าขอ้ กล่าวหาหรอื ข้อกล่าวโทษนน้ั มีมูล (๓) ให้ยกข้อกลา่ วหาหรอื ขอ้ กล่าวโทษในกรณที ี่เห็นวา่ ข้อกลา่ วหาหรือข้อกล่าวโทษน้นั ไม่มีมลู มาตรา ๔๑ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสอบสวนจากสมาชิกประกอบด้วย ประธานคนหน่ึง และอนุกรรมการมจี ํานวนรวมกันไม่น้อยกว่าสามคน มีอํานาจหน้าท่ีสอบสวน สรุปผล การสอบสวนและเสนอสาํ นวนการสอบสวนพรอ้ มท้ังความเหน็ ตอ่ คณะกรรมการเพอื่ วินจิ ฉัยชี้ขาด คณะกรรมการอาจแต่งต้ังคณะอนุกรรมการสอบสวนเกินกว่าหนงึ่ คณะก็ได้ ให้คณะอนุกรรมการสอบสวนดําเนินการตามอํานาจหน้าท่ีท่ีกําหนดในวรรคหน่ึงให้แล้วเสร็จ ภายในระยะเวลาทคี่ ณะกรรมการกาํ หนด ถ้ามีเหตจุ าํ เป็นไม่อาจดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา ท่ีกําหนด ให้ประธานอนุกรรมการสอบสวนแจ้งให้คณะกรรมการทราบก่อนครบกําหนดเวลาดังกล่าว ในการน้ี ให้คณะกรรมการพิจารณาขยายระยะเวลาดําเนินการออกไปได้ไม่เกินสามสิบวันนับแต่วันท่ี ครบกาํ หนดเวลา

เลม่ ๑๓๐ ตอนที่ ๑๐ ก หน้า ๑๕ ๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๔๒ ในการปฏบิ ัติหนา้ ท่ขี องคณะอนกุ รรมการจรรยาบรรณและของคณะอนุกรรมการ สอบสวนตามพระราชบญั ญัติน้ี ให้อนุกรรมการจรรยาบรรณและอนุกรรมการสอบสวนเป็นเจ้าพนักงาน ตามประมวลกฎหมายอาญา มอี าํ นาจเรียกบคุ คลใด ๆ มาให้ถ้อยคําและมีหนังสือแจ้งให้บุคคลใด ๆ ส่งเอกสาร หรอื วตั ถเุ พ่ือประโยชนแ์ กก่ ารดาํ เนินงานของคณะอนกุ รรมการดังกล่าว มาตรา ๔๓ ให้ประธานอนุกรรมการสอบสวนมีหนังสือแจ้งข้อกล่าวหาหรือข้อกล่าวโทษ พร้อมทั้งส่งสําเนาเร่ืองท่ีกล่าวหาหรือกล่าวโทษให้ผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษไม่น้อยกว่าสิบห้าวัน กอ่ นวันเรมิ่ ทําการสอบสวน ผู้ถูกกล่าวหาหรือผู้ถูกกล่าวโทษมีสิทธิทําคําชี้แจงหรือนําพยานหลักฐานใด ๆ มาให้ คณะอนกุ รรมการสอบสวน คําช้ีแจงหรอื พยานหลักฐานให้ย่ืนต่อประธานอนุกรรมการสอบสวนภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ ได้รบั แจ้งจากประธานอนุกรรมการสอบสวน หรอื ภายในกําหนดเวลาท่คี ณะอนกุ รรมการสอบสวนจะขยายให้ มาตรา ๔๔ เมื่อคณะอนกุ รรมการสอบสวนทําการสอบสวนเสรจ็ สิ้นแล้วใหเ้ สนอสาํ นวนการสอบสวน พร้อมท้ังความเห็นต่อคณะกรรมการภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่ทําการสอบสวนเสร็จสิ้นและต้องไม่เกิน กําหนดเวลาตามมาตรา ๔๑ วรรคสาม เพือ่ ให้คณะกรรมการวนิ จิ ฉัยชขี้ าด มาตรา ๔๕ เมื่อคณะกรรมการไดร้ ับสาํ นวนการสอบสวนและความเห็นของคณะอนุกรรมการ สอบสวนแลว้ ให้คณะกรรมการพิจารณาสํานวนการสอบสวนและความเห็นดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน สามสิบวนั นบั แตว่ ันทีไ่ ด้รบั สาํ นวนการสอบสวนและความเหน็ ของคณะอนุกรรมการสอบสวน คณะกรรมการอาจให้คณะอนุกรรมการสอบสวนทําการสอบสวนเพ่ิมเติมก่อนวินิจฉัยช้ีขาดก็ได้ และใหน้ าํ ความในมาตรา ๔๑ วรรคสาม มาใช้บงั คับโดยอนุโลม คณะกรรมการมีอํานาจวินิจฉัยชี้ขาดอย่างใดอยา่ งหนึ่งดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) ยกขอ้ กล่าวหาหรือข้อกล่าวโทษ (๒) ว่ากลา่ วตักเตอื น (๓) ภาคทณั ฑ์ (๔) พักใช้ใบอนญุ าตมกี ําหนดเวลาตามทเี่ ห็นสมควรแต่ไม่เกินสองปี (๕) เพิกถอนใบอนุญาต ภายใต้บังคับมาตรา ๓๐ คําวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการตามมาตรานี้ ให้ทําเป็นคําส่ัง สภาการแพทย์แผนไทยพร้อมด้วยเหตผุ ลของการวนิ ิจฉัยชี้ขาด และใหถ้ ือเปน็ ทีส่ ดุ มาตรา ๔๖ ใหเ้ ลขาธกิ ารแจง้ คําสง่ั สภาการแพทยแ์ ผนไทยตามมาตรา ๔๕ ไปยงั ผถู้ กู กล่าวหา หรอื ผูถ้ ูกกล่าวโทษเพอ่ื ทราบภายในเจด็ วันนับแต่วนั ทม่ี ีคําส่ังดงั กล่าว และให้บันทึกข้อความตามคําส่ังน้ันไว้ ในทะเบียนผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ พรอ้ มทงั้ แจง้ ผลการวินจิ ฉยั ชข้ี าดให้ผู้กลา่ วหาหรอื ผูก้ ล่าวโทษทราบด้วย

เล่ม ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๐ ก หนา้ ๑๖ ๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ ราชกิจจานเุ บกษา มาตรา ๔๗ ภายใต้บังคับมาตรา ๓๑ ห้ามมิให้ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือ ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ซึ่งอยู่ในระหว่างถูกส่ังพักใช้ใบอนุญาตหรือซึ่งถูกส่ัง เพกิ ถอนใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือแสดงด้วยวิธีใด ๆ ให้ผู้อ่ืนเข้าใจว่าตนเป็น ผู้มีสิทธิประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยนับแต่วันที่ทราบคําสั่งสภาการแพทย์แผนไทยท่ีสั่งพักใช้ ใบอนญุ าตหรือส่งั เพิกถอนใบอนญุ าตนน้ั มาตรา ๔๘ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทยหรือผปู้ ระกอบวิชาชพี การแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ ซ่ึงอยู่ในระหว่างถูกส่ังพักใช้ใบอนุญาต ผู้ใดกระทําการฝ่าฝืนตามมาตรา ๔๗ และถูกลงโทษจําคุก ตามมาตรา ๕๓ โดยคาํ พพิ ากษาถึงท่ีสุด ให้คณะกรรมการสงั่ เพิกถอนใบอนญุ าตของผู้น้ันนับแตว่ ันที่ศาล มีคําพิพากษาถงึ ทีส่ ุด มาตรา ๔๙ ผูป้ ระกอบวชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทยหรือผปู้ ระกอบวิชาชพี การแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ ซึ่งถูกส่ังเพิกถอนใบอนุญาตอาจขอรับใบอนุญาตอีกได้เมื่อพ้นสองปีนับแต่วันที่ถูกส่ังเพิกถอนใบอนุญาต แต่เม่อื คณะกรรมการไดพ้ ิจารณาคําขอรับใบอนุญาตและปฏิเสธการออกใบอนุญาต ผู้นั้นจะยื่นคําขอรับ ใบอนุญาตในครง้ั ตอ่ ๆ ไปไดอ้ กี ต่อเมอ่ื สิน้ ระยะเวลาหนึง่ ปีนบั แตว่ ันทค่ี ณะกรรมการปฏิเสธการออกใบอนญุ าต หมวด ๖ พนักงานเจา้ หน้าท่ี มาตรา ๕๐ ในการปฏิบตั หิ นา้ ทีใ่ ห้พนักงานเจา้ หนา้ ที่มีอาํ นาจดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) เข้าไปในสถานท่ีทําการของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยประยุกต์ในเวลาทําการของสถานที่นั้น เพ่ือตรวจสอบหรือควบคุมให้เป็นไปตาม พระราชบญั ญตั นิ ้ี (๒) เข้าไปในสถานท่ีหรือยานพาหนะใด ๆ ท่ีมีเหตุอันควรสงสัยว่า จะมีการกระทําความผิด ตามพระราชบัญญตั นิ ้ี ในระหวา่ งเวลาพระอาทิตยข์ ึน้ ถึงพระอาทิตย์ตกหรือในเวลาทําการของสถานท่ีน้ัน เพ่อื ตรวจคน้ เอกสารหรอื วตั ถใุ ด ๆ ทอ่ี าจใช้เปน็ หลักฐานในการดาํ เนนิ การกระทําผดิ ตามพระราชบัญญัตินี้ ประกอบกับกรณีมีเหตุอันควรเช่ือได้ว่าหากเน่ินช้ากว่าจะเอาหมายค้นมาได้ เอกสารหรือวัตถุดังกล่าว จะถกู ยักยา้ ย ซกุ ซ่อน ทําลายหรอื ทําใหเ้ ปลย่ี นสภาพไปจากเดิม (๓) ยึดเอกสาร หรือวัตถุใด ๆ ที่อาจใช้เป็นหลักฐานในการดําเนินคดีการกระทําความผิด ตามพระราชบัญญตั นิ ้ี ในการปฏบิ ัติหนา้ ทีข่ องพนักงานเจา้ หน้าที่ตามวรรคหน่ึง ให้บุคคลท่ีเกี่ยวข้องอํานวยความสะดวก ตามสมควร มาตรา ๕๑ ในการปฏบิ ตั ิหน้าที่ พนักงานเจา้ หน้าทต่ี อ้ งแสดงบัตรประจําตวั บัตรประจําตวั พนกั งานเจา้ หน้าท่ใี ห้เป็นไปตามแบบทร่ี ฐั มนตรกี ําหนดโดยประกาศในราชกิจจานเุ บกษา มาตรา ๕๒ ในการปฏิบตั หิ น้าท่ี ให้พนกั งานเจา้ หน้าทเ่ี ป็นเจา้ พนกั งานตามประมวลกฎหมายอาญา

เล่ม ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๑๗ ๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ ราชกจิ จานเุ บกษา หมวด ๗ บทกําหนดโทษ มาตรา ๕๓ ผ้ใู ดฝา่ ฝนื มาตรา ๓๑ หรือมาตรา ๔๗ ตอ้ งระวางโทษจําคุกไม่เกินสามปี หรือ ปรับไม่เกนิ หกหมนื่ บาท หรอื ท้งั จําทง้ั ปรบั มาตรา ๕๔ ผ้ใู ดฝา่ ฝนื มาตรา ๓๒ หรือมาตรา ๓๓ ตอ้ งระวางโทษจาํ คุกไม่เกินหนึ่งปี หรือ ปรับไมเ่ กนิ สองหมน่ื บาท หรือทั้งจาํ ท้ังปรับ มาตรา ๕๕ ผู้ใดฝ่าฝนื มาตรา ๓๕ วรรคสาม หรือไม่อํานวยความสะดวกแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ตามมาตรา ๕๐ วรรคสอง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพนั บาท มาตรา ๕๖ ผู้ใดไม่มาให้ถ้อยคําหรือไม่ส่งเอกสารหรือวัตถุใด ๆ ตามที่เรียกหรือแจ้งให้ส่ง ตามมาตรา ๔๒ โดยไม่มีเหตุอนั ควร ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทง้ั จาํ ท้งั ปรบั มาตรา ๕๗ พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๕๑ วรรคหนึ่ง โดยไม่มีเหตุอันควร ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกนิ สองพันบาท บทเฉพาะกาล มาตรา ๕๘ ผใู้ ดได้ขึน้ ทะเบียนและรบั ใบอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทย หรือสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะอยู่ในวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ ใชบ้ ังคบั ให้ถอื ว่าผนู้ น้ั เป็นสมาชกิ สภาการแพทยแ์ ผนไทยตามพระราชบัญญตั ิน้ี มาตรา ๕๙ ผใู้ ดไดข้ น้ึ ทะเบยี นและรบั ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทย หรอื สาขาการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ และใบอนุญาตน้ันยังคงใช้ได้ ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ถือว่าผู้นั้นได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยหรอื ผูป้ ระกอบวชิ าชพี การแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ตต์ ามพระราชบญั ญัตนิ ี้ มาตรา ๖๐ ใหน้ าํ ความในมาตรา ๔๙ มาใช้บังคบั กับผูป้ ระกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทย และผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ ซ่ึงถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะในวันก่อนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ท่ีจะย่ืน คําขอรับใบอนุญาตเปน็ ผูป้ ระกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ตามพระราชบัญญตั ินีด้ ว้ ย มาตรา ๖๑ ในระยะเร่ิมแรกท่ียังมิได้เลือกกรรมการตามมาตรา ๑๕ (๒) (๓) (๔) และ เลือกต้ังกรรมการตามมาตรา ๑๕ (๕) ให้คณะกรรมการประกอบด้วย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นนายกสภาการแพทย์แผนไทย อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก เลขาธกิ ารคณะกรรมการอาหารและยา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอุดมศึกษา

เล่ม ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๐ ก หนา้ ๑๘ ๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๖ ราชกจิ จานุเบกษา ประธานและรองประธานคณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทย และประธานและรองประธาน คณะกรรมการวิชาชพี สาขาการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศลิ ปะทด่ี ํารงตาํ แหน่ง อยูใ่ นวันทพี่ ระราชบัญญัตนิ ้ีใช้บงั คบั และนายกสมาคมแพทยแ์ ผนไทยแหง่ ประเทศไทยเป็นกรรมการ ใหป้ ลัดกระทรวงสาธารณสุขแต่งตั้งกรรมการตามวรรคหนงึ่ ทาํ หน้าที่เลขาธิการ รองเลขาธิการ เหรญั ญิกและผดู้ าํ รงตาํ แหนง่ อ่ืน ตามความจําเปน็ การเลอื กกรรมการตามมาตรา ๑๕ (๒) (๓) และ (๔) และการเลือกต้ังกรรมการตามมาตรา ๑๕ (๕) ใหก้ ระทําใหแ้ ลว้ เสร็จภายในหนึง่ ร้อยแปดสิบวันนับแต่วนั ท่ีพระราชบญั ญัตินใี้ ช้บังคบั เพ่อื ประโยชน์แห่งการขจัดสว่ นได้เสีย ในวาระแรกหา้ มมิใหผ้ ้ทู ่เี ปน็ กรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทยในชั้นสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาดํารงตําแหน่งนายก สภาการแพทย์แผนไทย และเลขาธิการสภาการแพทย์แผนไทย ภายในสองปีนับแต่วันที่พ้นจากตําแหน่ง กรรมาธกิ ารวสิ ามญั พิจารณารา่ งพระราชบัญญตั ดิ งั กลา่ ว มาตรา ๖๒ ในระหว่างที่ยังมิไดอ้ อกกฎกระทรวง ระเบียบ ขอ้ บังคบั หรือประกาศเพื่อปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้นํากฎกระทรวง ระเบียบ หรือประกาศที่ออกตามกฎหมายว่าด้วย การประกอบโรคศลิ ปะในส่วนทเี่ กย่ี วกบั วิชาชพี การแพทย์แผนไทย มาใช้บังคับโดยอนุโลม แต่ต้องไม่เกินสองปี นับแตว่ ันทพ่ี ระราชบญั ญัตินใี้ ช้บังคบั มาตรา ๖๓ ให้ถือว่าการประพฤติผิดจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพหรือข้อจํากัดและเงื่อนไขใน การประกอบโรคศลิ ปะตามกฎหมายวา่ ด้วยการประกอบโรคศลิ ปะในสว่ นที่เกี่ยวกับวชิ าชพี การแพทย์แผนไทย ซึ่งได้กระทําก่อนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับและยังไม่มีการดําเนินการตามกฎหมายว่าด้วย การประกอบโรคศลิ ปะ เปน็ การประพฤติผดิ จรรยาบรรณแหง่ วิชาชพี หรือข้อจาํ กดั และเงือ่ นไขในการประกอบ วิชาชีพการแพทย์แผนไทยและการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ตามพระราชบัญญัติน้ี และการดาํ เนนิ การต่อไปให้เป็นไปตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี ในกรณีที่มีการดําเนินการกับผู้ประพฤติผิดจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพหรือข้อจํากัดและเง่ือนไข ในการประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทยและสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ตามกฎหมาย ว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะก่อนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ถือว่าการดําเนินการดังกล่าว เปน็ การดําเนินการตามพระราชบญั ญตั ิน้ี และการดําเนนิ การต่อไปใหเ้ ป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้ ผรู้ ับสนองพระบรมราชโองการ ยง่ิ ลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี

อตั ราค่าธรรมเนียมวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทย (๑) ค่าขนึ ้ ทะเบียนและรับใบอนญุ าตเป็ นผ้ปู ระกอบวิชาชีพ การแพทยแ์ ผนไทยหรือผ้ปู ระกอบวชิ าชีพการแพทย์ แผนไทยประยกุ ต์ ฉบบั ละ ๓,๐๐๐ บาท (๒) คา่ ตอ่ อายใุ บอนญุ าต ฉบบั ละ ๒,๐๐๐ บาท (๓) ค่าหนงั สือรับรองการขนึ ้ ทะเบียนเป็ นผ้ปู ระกอบ วชิ าชีพการแพทย์แผนไทยหรือผ้ปู ระกอบวชิ าชีพ การแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ ฉบบั ละ ๕๐๐ บาท (๔) ค่าหนงั สอื อนมุ ตั ิ หรือวฒุ ิบตั รแสดงความรู้ความชํานาญ ในการประกอบวชิ าชีพการแพทยแ์ ผนไทยหรือ การประกอบวชิ าชีพการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ ฉบบั ละ ๒,๐๐๐ บาท (๕) คา่ ใบแทนใบอนญุ าต ฉบบั ละ ๕๐๐ บาท

เล่ม ๑๓๐ ตอนท่ี ๑๐ ก หน้า ๑๙ ๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๖ ราชกิจจานุเบกษา หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบบั น้ี คอื โดยทีก่ ารประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทยแ์ ผนไทย และสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ อยู่ในความควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ ซึ่งมี คณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะ ทําหนา้ ท่กี ํากับดูแลการประกอบโรคศิลปะต่าง ๆ และมีคณะกรรมการ วิชาชีพสาขาการแพทยแ์ ผนไทยและสาขาการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ ทําหนา้ ท่ีควบคุมการประกอบโรคศิลปะ สาขาการแพทย์แผนไทยและสาขาการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ รวมทั้งจรรยาบรรณแหง่ วิชาชีพ ซ่ึงในปจั จบุ นั จาํ นวน ผู้ประกอบโรคศิลปะในสาขาการแพทย์แผนไทยและสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์มีจํานวนเพิ่มมากข้ึน ประกอบกบั มีบคุ ลากรเหล่านี้มีคุณสมบัติ วัยวุฒิ ความรู้ความชํานาญด้านวิชาชีพแพทย์แผนไทยและวิชาชีพ แพทย์แผนไทยประยุกต์ อีกท้ังในปัจจุบันวิทยาการและเทคโนโลยีทางด้านการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์แผนไทยประยุกต์ ได้เจริญก้าวหน้าขึ้นเป็นอันมาก และมีศักยภาพเพียงพอท่ีจะปกครองตนเองได้ ในวงการแพทย์แผนไทยดว้ ยกนั อีกทงั้ เพื่อให้เป็นการสอดคลอ้ งกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ท่ีให้บุคคล มีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม รวมตลอดจน ให้ประชาชนมสี ่วนร่วมทางการเมอื งโดยตรง จึงสมควรแยกการกาํ กบั ดูแลและการควบคุมการประกอบวิชาชีพ การแพทยแ์ ผนไทยและการประกอบวิชาชพี การแพทย์แผนไทยประยุกตอ์ อกจากอํานาจหน้าทข่ี องคณะกรรมการ การประกอบโรคศิลปะและคณะกรรมการวชิ าชพี สาขาการแพทย์แผนไทยและสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ โดยจัดต้ัง “สภาการแพทยแ์ ผนไทย” ขึ้น เพื่อส่งเสริมการประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและการประกอบ วิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ กําหนดและควบคุมมาตรฐานและจริยธรรมของผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยและผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ให้เป็นไปตามจรรยาบรรณ แห่งวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและควบคุมมิให้มีการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบจากบุคคลซ่ึงไม่มีความรู้ อันก่อให้เกิดภัยและความเสียหายแก่ประชาชน พร้อมกับเป็นการสนับสนุน ส่งเสริม พัฒนาให้วิชาชีพ การแพทย์แผนไทยมีความเจรญิ ก้าวหนา้ ในภายภาคหนา้ ต่อไป จงึ จําเปน็ ตอ้ งตราพระราชบญั ญตั ินี้