สรรพศาสตรใ์ นพระไตรปฎิ ก วา่ ด้วยเร่ือง แพทยศาสตรแ์ ละการรกั ษาโรคท่ีปรากฏในพระไตรปิฎก พระปลัดณัฐยุทธ์ โฆสิตวํโส ( ชยั วงศ์ ) นกั วิจยั สถาบันเอเชยี ตะวนั ออก มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ การรักษาสุขภาพนั้น เปน็ การเยียวยารกั ษาสุขภาพอนั เกิดจากการอาพาธหรือเจ็บปว่ ยดว้ ยเหตตุ า่ งๆ ให้ กลบั คนื สู่ภาวะปกติ ซึง่ สาเหตุแหง่ การอาพาธนัน้ พระสัมมาสมั พทุ ธเจ้าตรัสไวว้ า่ มี 8 ประการด้วยกนั ดงั จะ กลา่ วในหัวขอ้ ต่อไปน้ี 1. สาเหตุแหง่ การอาพาธในพระไตรปิฎก อาพาธ แปลวา่ ความเจ็บป่วยด้วยโรคตา่ งๆ พระสัมมาสมั พุทธเจ้าผู้ทรงมสี ัพพัญญุตญานรอบรใู้ นส่งิ ท้งั ปวงรวมทั้งเร่ืองทางการแพทย์ด้วย พระองค์ตรสั ถงึ สาเหตุสำคญั แห่งการอาพาธไว้ 8 ประการ ดงั ทปี่ รากฎอยู่ ในอาพาธสูตร ดงั นี้ 1) อาพาธอนั เกดิ จาก \"ด\"ี เป็นสาเหตุ 2) อาพาธอนั เกิดจาก \"เสมหะ\" เปน็ สาเหตุ 3) อาพาธอันเกดิ จาก \"ลม\" เป็นสาเหตุ 4) อาพาธอนั เกิดจาก \"ดี,เสมหะ,ลม ประชุมกัน\" 5) อาพาธอนั เกิดจาก \"ฤดูแปรปรวน\" 6) อาพาธอันเกิดจาก \"การบริหารรา่ งกายไมส่ ม่ำเสมอ\" 7) อาพาธอันเกิดจาก \"การถูกทำร้าย\" 8) อาพาธอนั เกิดจาก \"วิบากกรรม\" คำว่า \"ด\"ี แปลมาจากภาษาบาลวี ่า \"ปิตฺต\" ดเี ปน็ ธาตุน้ำซง่ึ มีอยู่ 2 ชนิด คือ ดนี อกถุงนำ้ ดีและดใี นถุงนำ้ ดี ดีนัน้ มี สีเหมอื นนำ้ มันมะซางข้น2 ดนี อกถงุ เอิบอาบอยทู่ วั่ รา่ งกาย เมื่อดีนอกถุงกำเริบ ดวงตาจะเหลือง เวียน ศรี ษะ ตวั สน่ั และคันสว่ นดีในถงุ จะอยู่ในถงุ นำ้ ดี ถุงน้ำดีนนั้ มีลกั ษณะเหมือนรังบวบขมใหญ่ เม่ือดใี นถุงกำเริบ สัตว์ทัง้ หลายจะเปน็ บา้ ทำสง่ิ ทไี่ มค่ วรทำพูดคำท่ไี ม่ควรพดู คดิ สิง่ ทไ่ี ม่ควรคิด คำวา่ \"เสมหะ\" มาจากภาษาบาลวี า่ \"เสมหฺ \" แปลว่า \"เสลด\" ซง่ึ เป็นธาตุน้ำเช่นกนั ในร่างกายของเรามี เสมหะอย่ปู ระมาณหน่ึงบาตร มสี ีขาว มีสีเหมอื นนำ้ ในผลมะเดอื่ ตงั้ อยใู่ นทอ้ ง ปกติพนื้ ท้องของเราจะมกี ล่ิน เหมน็ เหมือนซากศพ เสมหะจะช่วยระงับกลนิ่ เหม็นใหอ้ ยภู่ ายในท้องเปรยี บเหมือนแผน่ กระดานปิดส้วม คำว่า \"ลม\" ในที่นหี้ มายถึง ธาตลุ มภายในร่างกาย ได้แก่ ลมพัดขน้ึ เบอ้ื งบน ลมพัดลงเบื้องตำ่ ลมในท้อง ลมในไส้ ลมพัดไปตามตวั ลมหายใจเขา้ ลมหายใจออก เป็นต้น เมือ่ โรคลมเกิดขึน้ ในร่างกาย ยอ่ มทำใหม้ ือและ
เทา้ ออ่ นแรง ย่อมทำให้เปน็ คนตาบอด ทำให้เป็นคนงอ่ ยเปล้ีย โรคลมน้ีหากเป็นหนกั กจ็ ะทำให้ถงึ ตายได้ เช่น พระเถระรปู หนงึ่ ลมเสียดแทงถงึ หวั ใจและเสยี ดแทงท้องทะลอุ อกมา ไส้ของทา่ นกอ็ อกมากองบนเตยี ง ในขณะ อาพาธอยนู่ ั้นพระเถระไดป้ ระกอบความเพียร จึงบรรลพุ ระอรหัตพรอ้ มด้วยปฏิสมั ภทิ า อาพาธที่เกิดจาก \"ดี, เสมหะ, ลม ประชุมกัน\" ถ้าแปลตรงตวั ตามภาษาบาลีจะแปลว่า \"อาพาธสันนบิ าต\" หมายถึง อาพาธทเ่ี กดิ ขนึ้ เพราะลม ดี และเสมหะรวมกัน อาพาธทีเ่ กิดขน้ึ เพราะฤดแู ปรปรวน \"ฤด\"ู ในทน่ี ห้ี มายถงึ \" ภาพอากาศ\" เมื่อสภาพอากาศแปรปรวน เช่น ร้อนเกินไป หนาวเกนิ ไป เป็นต้น กเ็ ปน็ เหตใุ หเ้ จ็บป่วยได้ อาพาธทีเ่ กิดจากการบริหารร่างกายไม่สมำ่ เสมอ หมายถึง การอย่ใู นอริ ยิ าบถใดอริ ยิ าบถหนง่ึ นานเกนิ ไป เชน่ ยนื นานเกนิ ไป หรอื นงั่ นานเกนิ ไป เป็นต้น ก็เปน็ เหตใุ ห้เจ็บป่วยได้ อาพาธทเ่ี กิดจากการถกู ทำรา้ ย หมายถึง อาพาธทีเ่ กดิ เพราะความพยายามเบียดเบยี นของผู้อ่ืน เชน่ การ ฆ่าฟัน การทุบตี การชกต่อย ถกู สัตวท์ ำร้าย เป็นพยาธิ เปน็ โรคติดเชอ้ื เป็นต้น อาพาธอนั เกิดจากวิบากกรรม หมายถงึ ความเจ็บปว่ ยท่ีเกดิ จากบาปกรรมทีท่ ำไวใ้ นปจั จบุ ันชาติหรอื ใน อดีตชาติมาสง่ ผล เช่น ในอดตี ชาติทำปาณาตบิ าตไวม้ าก บาปกรรมน้ันจงึ สง่ ผลใหป้ ่วยเปน็ โรคมะเรง็ ในชาตนิ ี้ เปน็ ต้น กรรมคือการกระทำโดยเจตนา ประกอบด้วยกรรมทางกาย วาจา และใจ เมอื่ เราทำกรรมแลว้ หากเปน็ กรรมดีกจ็ ะเกิดบญุ ขึน้ และจะถูกเก็บไว้ในใจหากเป็นกรรมช่ัวก็จะเกดิ บาปขึน้ และถูกเก็บไวใ้ นใจเช่นกัน บาปใน ทถ่ี กู เกบ็ ไวใ้ จน้ีเอง เม่ือถึงเวลาสง่ ผลก็จะทำใหเ้ กิดการอาพาธ สาเหตุแหง่ การอาพาธทัง้ 8 ประการทก่ี ลา่ วมาน้ีสามารถสรปุ ใหเ้ หลอื 2 ประการได้ดังนี้ คือสาเหตทุ าง กาย และสาเหตุทางใจ โดย 7 ประการแรกถือเป็นสาเหตทุ างกายสว่ นข้อที่ 8 คอื วบิ ากกรรมนน้ั ถือวา่ เปน็ สาเหตุทางใจ เพราะเป็นสาเหตทุ เี่ กิดจากบาปท่ีอยู่ในใจสง่ ผล ให้เกดิ การอาพาธดว้ ยโรคต่างๆ การเจบ็ ปว่ ยอันเกดิ จากวิบากกรรมน้นั เปน็ ความแตกตา่ งที่สำคญั ระหวา่ งหลักการแพทย์ในพระไตรปฎิ ก และการแพทย์แผนปัจจบุ นั เรื่องนีเ้ ป็นส่งิ ท่เี ขา้ ใจไดย้ ากสำหรับแพทย์และชาวโลกทีไ่ มไ่ ด้ศึกษา พระพุทธศาสนาอยา่ งลกึ ซ้ึง โดยเฉพาะวิบากกรรมจากอดีตชาติ อย่างไรก็ดวี งการแพทย์อาจไม่ได้ให้ความสนใจ ที่จะศกึ ษาเกี่ยวกับความละเอียดลึกซงึ้ ในดา้ นนี้ แต่จะเช่ือหรอื ไมส่ ง่ิ นี้ก็ยงั คงเปน็ ความจริงของโลกและชวี ติ ที่ มนุษย์ทกุ คนสามารถพิสูจน์ไดต้ ามหลกั การทมี่ ีอยู่ในพระพทุ ธศาสนา 2. โรคชนิดตา่ งๆ ในพระไตรปฎิ ก คำวา่ \"โรค\" พระอรรถกถาจารยใ์ หค้ วามหมายไว้ว่า เสียดแทง หรอื เบียดเบยี น กลา่ วคือ เสยี ดแทง เบียดเบียนร่างกายและจติ ใจใหล้ ำบาก พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ตรสั ไวว้ ่า แต่ก่อนมีโรครา้ ยอยเู่ พียง 3 ชนดิ คือ โรคอยาก โรคหวิ และโรคชรา แต่เพราะการทำรา้ ยเบยี ดเบียนสัตว์จงึ ทำให้มโี รคเพิ่มข้นึ ถึง 98 ชนิด2 โรคท้งั
98 ชนิดน้ี คอื โรคทีม่ ีอยู่ในสมยั พทุ ธกาล แต่ในปัจจุบนั มโี รคเพมิ่ มากข้ึนอีกเป็นจำนวนมาก ดงั จะเห็นไดว้ ่าทุก วนั นมี้ โี รคแปลกๆ ใหม่ๆ และร้ายแรงเกดิ ข้ึนเร่ือยๆ เชน่ โรคเอดส์ โรคไขห้ วัดนก โรคซาร์ และล่าสุด คือ โรค ไขก้ ระตา่ ย ซึ่งข่าวบอกวา่ โรคนี้มีเชื้อรุนแรงถงึ ขั้นผลิตเปน็ อาวุธชวี ภาพได้ทเี ดยี ว โรคทง้ั 98 ชนิดน้นั เป็นโรคอันเกิดจากวบิ ากกรรม เพราะเป็นผลมาจากการทำรา้ ยเบียดเบยี นสตั ว์ ความ จริงยงั มโี รคทีเ่ กดิ จากสาเหตอุ น่ื อกี 7 ประการดังได้กล่าวมาแล้วซ่ึงไม่รวมอยู่ในโรค 98 ชนดิ นี้ อยา่ งไรกต็ าม โรคท่ีมอี ยู่ใน มยั พุทธกาลเทา่ ท่ีปรากฎอยูใ่ นพระไตรปิฎกสามารถแบง่ เป็นกลมุ่ ไดป้ ระมาณ 6 กลุม่ คือ โรค ผวิ หนงั โรคลม โรคในทอ้ ง โรคเกย่ี วกบั อวยั วะโรคเก่ยี วกบั ทางเดนิ หายใจ และโรคเบด็ เตลด็ อน่ื ๆ 1) โรคผวิ หนงั หมายถงึ โรคท่ีเกดิ บนผิวหนงั ในบรเิ วณตา่ งๆ ของรา่ งกาย เชน่ โรคเร้ือน โรคฝี โรคฝดี าษ โรค สวิ โรคกลาก โรคเรมิ โรคพุพอง โรคหดิ เปื่อย โรคหิดดา้ น โรคละลอก โรคหดู โรคคุดทะราด และโรค คดุ ทะราดบวม เป็นต้น โรคเรื้อน หมายถงึ โรคผิวหนงั ชนิดหนงึ่ ซงึ่ ติดตอ่ ได้ ทำใหผ้ ิวหนงั เป็นผน่ื มหี ลายชนดิ บางชนิดทำใหน้ ้วิ มือ นิ้วเท้ากุด เรียกวา่ เรื้อนกฏุ ฐงั บางชนิดมลี กั ษณะเป็นผนื่ คันทำให้ผวิ หนงั หนาหยาบและอาจแตกมนี ำ้ เหลือง ไหลหรือตกสะเกด็ ในระยะหลงั มักเป็นตามบริเวณข้อเท้าหัวเข่าหรือทีม่ อื เอือ้ มไปเกาถงึ เรียกวา่ เร้ือนกวาง บางชนิดแผลมี สีขาว เรียกว่า เร้ือนน้ำเต้า โรคฝี หมายถึง โรคชนดิ หนึ่งเป็นต่อมบวมขน้ึ กลัดหนองขา้ งใน เรยี กชอ่ื ต่างๆ กันหลายชนิด เช่น ฝี คัณฑมาลา ฝดี าษ ฝปี ระคำรอ้ ย โรคฝดี าษ หมายถงึ โรคฝชี นิดหนึง่ มักเกดิ ข้นึ ตามลำตวั เป็นเม็ดเลก็ ๆ ดาษทวั่ ไปบางครงั้ เรียก ไขท้ รพิษ คนโบราณเรยี กว่า ไขห้ ัว โรคสวิ หมายถงึ โรคทมี่ ีลกั ษณะเป็นตุ่มเม็ดเล็กๆ ท่ีมหี นองเป็นไต ขี าวๆ อยู่ข้างในขนึ้ บริเวณใบหนา้ และ สว่ นต่างๆของลำตัว โรคกลาก หมายถึง โรคผวิ หนังชนิดหน่งึ เกิดจากเชื้อรา ข้นึ เปน็ วง มีอาการคัน โรคเริม หมายถงึ โรคติดเชื้อไวรัสชนดิ หนึ่ง ข้ึนเป็นเมด็ เลก็ ๆ พองใสติดกันเป็นกลมุ่ มีอาการคนั ปวดแสบ ปวดร้อน โรคพพุ อง หมายถงึ โรคผวิ หนงั ชนดิ หน่งึ เป็นเม็ดผดุ ข้ึนพองใสตามลำตวั แล้วแตกออกมนี ำ้ เหลืองหรอื น้ำ เลอื ดนำ้ หนอง โรคหิด หมายถึง โรคติดต่อชนิดหน่งึ มีลักษณะเป็นเม็ดสขี าว ใสเป็นเงาในเน้ือ ข้ึนตามผวิ หนังมอี าการปวด และคนั เรยี กว่าหดิ ด้าน เมื่อเม็ดแตกมีน้ำหนองไหลเยิ้ม เรยี กวา่ หิดเปื่อย โรคละลอก หมายถึง โรคผวิ หนงั ชนดิ หนง่ึ เป็นเมด็ มีหนอง โรคหูด หมายถงึ โรคผวิ หนงั ชนิดหนง่ึ ขึ้นเปน็ ไตแข็ง
โรคคุดทะราด หมายถงึ การเป็นแผลเร้อื รัง บางรายแผลบานเหวอะหวะออก มีกลิน่ เหม็น เปน็ แม่แผลให้ เกดิ แผลอื่นจำพวกเดียวกนั พุพองออกไปอีก 2) โรคลม หมายถงึ โรคท่เี กิดจากธาตุลมภายในร่างกายกำเรบิ ทำใหม้ ีอาการหลายอยา่ ง เชน่ วงิ เวยี น หนา้ มืด คลืน่ เหยี น ถ้าอาการรนุ แรงอาจถึงแก่ส้นิ สตหิ รือตายได้ เช่น โรคลมบา้ หมู โรคเรอ เป็นต้น โรคลมบ้าหมู หมายถงึ อาการหมด ติเป็นครั้งคราว และมกั มีอาการชักเกร็ง น้ำลายเปน็ ฟอง มอื เทา้ กำ เป็นผลเน่อื งจาก มองทำงานผดิ ปรกติ โรคเรอ หมายถึง โรคที่ลมในกระเพาะเฟ้อพ่งุ ออกทางปาก 3) โรคในท้อง หมายถึง โรคทเ่ี กดิ ขึ้นภายในทอ้ ง เช่น โรคเนอื้ งอกทีล่ ำไส้ โรคบิด โรคท้องรว่ ง โรคลงราก อหวิ าตกโรค โรคอาเจยี นโลหิต และ โรคอลสกะ เป็นตน้ โรคลงราก หมายถึง โรคทอ้ งเดินและอาเจียน อหวิ าตกโรค หมายถงึ โรคระบาดชนดิ หนึ่งมีอาการลงราก คือทอ้ งเดนิ และอาเจียน โรคอลสกะ หมายถงึ โรคทีเ่ กิดจากการกินอาหารมากเกนิ ไป ซ่งึ เกดิ กับนักบวชเปลอื ยช่อื โกรักขัตติยะผู้ ประพฤตวิ ัตรอยา่ งสุนขั เดินด้วยขอ้ ศอกและเข่า กินอาหารทกี่ องบนพื้นดว้ ยปากก่อนตายเขากินอาหารมาก เกินไปจนอาหารไม่ยอ่ ยจึงสิ้นชวี ิต 4) โรคเกยี่ วกับอวัยวะ หมายถึง โรคท่ีเกดิ กับอวัยวะสว่ นต่างๆของรา่ งกาย เชน่ โรคทางตา โรคทางหู โรคทาง จมูก โรคทางลิ้น โรคทางศีรษะ เช่น ปวดศรี ษะ โรคทางปาก โรคทางฟนั โรคอัมพาต โรคริดสดี วง โรครดิ สดี วง หมายถึง โรคทเ่ี กดิ จากเส้นเลือดขอดเพราะเหตุใดเหตหุ นึง่ ทำให้เลือดไหลเวยี นไม่สะดวกและ มีเลือดคั่งอยู่ในบริเวณนน้ั จึงเกิดการโป่งพองของเสน้ เลือด โรคริดสดี วงมกั จะเกดิ ในช่องตา จมกู และทวาร หนัก โรคอัมพาต หมายถงึ โรคทอ่ี วัยวะบางส่วน เชน่ แขน ขา เปน็ ต้น ตายกระดกิ ไม่ได้ 5) โรคทางเดนิ หายใจ หมายถึง โรคท่ีเกดิ กับระบบทางเดนิ หายใจ เชน่ โรคไอ โรคหดื โรค ไขห้ วดั โรค มองคร่อ เปน็ ต้น โรคหดื หมายถงึ โรคหลอดลมอักเสบเรอื้ รังชนดิ หนึง่ เกิดจากหลอดลมตอบสนองต่อสง่ิ เร้าอยา่ งเฉียบพลนั และรนุ แรงกวา่ ที่เกิดขึ้นในคนทั่วไป ทำให้หลอดลมตบี แคบลง จนเกดิ อาการหายใจไม่สะดวก โรคไข้หวดั หมายถงึ โรคทเี่ ยอ่ื ของอวยั วะท่ีเปน็ เคร่อื งหายใจอักเสบมกั ทำให้เสยี งแห้งและนำ้ มูกไหล โรคมองครอ่ หมายถงึ โรคหลอดลมโป่งพอง มีเสมหะแหง้ อย่ใู นชอ่ งหลอดลม ทำใหม้ อี าการไอเร้อื รัง 6) โรคเบด็ เตลด็ หมายถึง โรคอน่ื ๆ ทีไ่ มจ่ ัดอยใู่ นกลุ่มทั้ง 5 ขา้ งต้น เชน่ โรคไข้พิษ โรคเบาหวาน โรคดีกำเรบิ โรครอ้ นใน และ โรคในฤดสู ารท เป็นต้น
โรคไขพ้ ษิ หมายถงึ ไข้ที่มพี ิษกลา้ ทำใหเ้ ช่อื มซึมไป ไม่มเี วลา ร่าง ทำให้ร้สู ึกเหมอื นเรอื นหมุน ไมร่ ู้วา่ กลางวนั หรือกลางคืน โรคเบาหวาน หมายถึง โรคทม่ี ีน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ โรคดกี ำเรบิ หมายถงึ ดีท่อี ยู่ในรา่ งกายของมนุษย์แตล่ ะคน เมอื่ ดีกำเริบ ดวงตาจะเหลืองเวียนศีรษะ ตวั สนั่ และคนั เปน็ ต้น โรคในฤดูสารท หมายถงึ ไข้เหลอื ง (โรคดีซา่ น)ซึง่ เกดิ ขน้ึ ในฤดูสารท (ฤดูใบไม้ร่วง) เพราะในฤดูสารทนี้ ภิกษุทง้ั หลายเปียกชมุ่ ด้วยน้ำฝนบา้ ง เดนิ ย่ำโคลนบ้าง แสงแดดแผดกล้า บ้างทำให้นำ้ ดีของภกิ ษุทง้ั หลายขังอยู่ แตใ่ นถุงน้ำดี 3. ยารกั ษาโรคในพระไตรปฎิ ก ยารักษาโรคในพระไตรปิฎกเป็นยาทีไ่ ด้จากธรรมชาตโิ ดยตรง ซึ่งทกุ สง่ิ ทกุ อย่างในธรรมชาตสิ ามารถ นำมาใชเ้ ปน็ ตวั ยาได้ทัง้ หมด หากเรารู้คณุ สมบัตใิ นส่วนท่ีเป็นยาของมนั ครง้ั หนงึ่ หมอชีวกโกมารภัจจถ์ อื เสียม เดนิ ไปรอบเมืองตักกสิลาเปน็ ระยะทาง 1 โยชน์ เพอ่ื ตอ้ งการหาวา่ มีสิ่งใดบ้างท่ีไมอ่ าจจะนำมาทำเป็นยาได้ แต่ ท่านไม่พบสง่ิ นนั้ เลย จากเรอื่ งน้จี งึ อาจจะกล่าวได้ว่า \"สรรพสง่ิ ในธรรมชาตสิ ามารถนำมาทำยาได้หมด\" สำหรบั ยาต่างๆ ทป่ี รากฏอย่ใู นพระไตรปิฎกและอรรถกถานั้นสามารถแบ่งออกเป็น 6 กลุม่ ดังน้ี คอื น้ำมูตรเนา่ , เภสชั 5, สมนุ ไพร, เกลอื , ยามหาวิกัฏ และ กลุ่มเบด็ เตล็ด 1) นำ้ มตู รเน่า มูตร แปลวา่ น้ำปัสสาวะ คำวา่ \"นำ้ มูตรเน่า\" กค็ ือน้ำมูตรนน่ั เอง เพราะร่างกายของคนเราได้ช่ือวา่ เป็นสงิ่ เปอยเนา่ นำ้ มตู รทอี่ อกมาใหมๆ่ และรองเอาไว้ในทันทที ันใด กไ็ ด้ช่อื วา่ เป็นนำ้ มตู รเนา่ เพราะออกมาจาก ร่างกายทเ่ี ป่อื ยเน่า การนำนำ้ มูตรเน่ามาทำเปน็ ยาจะทำโดยวธิ กี ารดองดว้ ยตวั ยาอน่ื ๆ เช่น สมอ เป็นต้นจึงมักจะเรียกว่า \"ยา ดองนำ้ มตู รเน่า\" ซง่ึ มสี รรพคุณในการรักษาโรคตา่ งๆได้หลายชนิด นำ้ มูตรเน่าเปน็ ยารักษาโรคหลกั ของพระภิกษุในสมัยพุทธกาล เป็นหนงึ่ ใน \"นสิ ยั 4\" ทีพ่ ระภิกษุจะตอ้ งใช้ เป็นประจำ ซ่งึ พระอปุ ชั ฌาย์จะบอกในวันบวชว่า \"ให้อยู่โคนไมเ้ ป็นวัตรบณิ ฑบาตเปน็ วตั ร ถือผา้ บังสุกลุ เปน็ วตั ร และฉนั น้ำมูตรเน่าเปน็ ยา\" พระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ตรสั แก่ภกิ ษทุ ัง้ หลายว่า \"บรรพชาอาศัยมูตรเน่าเปน็ ยา เธอพงึ ทำอตุ สาหะในส่ิงน้ันตลอดชีวิต...\" และพระองค์ยงั ตรัสวา่ นำ้ มูตรเน่านั้นเปน็ ของหาง่าย และไมม่ ีโทษ 2) เภสัช 5 เภสัช 5 หมายถงึ ยารักษาโรค 5 ชนิด คอื เนยใสเนยข้น นำ้ มนั น้ำผ้ึง และ น้ำอ้อยโดยในเบือ้ งตน้ พระ สมั มาสมั พทุ ธเจ้าทรงอนญุ าตใหภ้ ิกษฉุ นั เพอื่ รักษาโรคไข้เหลอื งหรือดีซ่าน เนยใสหมายถึง เนยทมี่ ีลักษณะใสซ่ึงทำจากน้ำนมโค น้ำนมแพะ น้ำนมกระบอื เปน็ ต้น
เนยข้น หมายถงึ เนยทมี่ ลี ักษณะขน้ ซึ่งทำจากน้ำนมของโค แพะ และกระบอื เปน็ ตน้ นำ้ มัน หมายถงึ น้ำมนั อนั กัดออกจากเมล็ดงา เมล็ดพนั ธุผ์ กั กาด เมล็ดมะซาง เมลด็ ละหงุ่ หรอื นำ้ มนั ท่ี กดั จากเปลวหรือมนั ของสัตว์ ไดแ้ ก่ น้ำมันเปลวหมี น้ำมันเปลวปลา นำ้ มันเปลวปลาฉลาม นำ้ มนั เปลวหมู และ นำ้ มนั เปลวลา น้ำผ้ึง หมายถงึ นำ้ หวานทมี่ ีลักษณะข้นท่ีผ้งึ เกบ็ สะสมเอามาจากดอกไม้ต่างๆ นำ้ ออ้ ย หมายถึง น้ำหวานท่ีคัน้ ออกมาจากอ้อย 3) สมนุ ไพร กลุ่มยา สมนุ ไพรที่มกี ล่าวไวใ้ นพระไตรปิฎกมหี ลายชนิด เชน่ ยาสมุนไพรที่ทำจากรากไม้, น้ำฝาดของ ต้นไม้, ใบไม้และต้นไม้, ผลไม้ และ ยางไม้ เปน็ ต้น รากไม้ ไดแ้ ก่ ขมน้ิ ขิง ว่านน้ำ วา่ นเปราะ อตุ พดิ ข่า แฝก แห้วหมู หน่อหวาย หน่อไม้เหงา้ บวั รากบวั หรือรากไม้ชนิดอืน่ ท่เี ป็นยาสมนุ ไพรและไม่จัดว่าเป็นอาหารน้ำฝาด หมายถึง น้ำทไี่ ดจ้ ากการนำเอาสว่ นต่างๆ ของตน้ ไมไ้ ป กดั บบี หรือค้ันเอา นำ้ ออกมา ไดแ้ ก่ นำ้ ฝาดสะเดา น้ำฝาดมกู มนั นำ้ ฝาดกระดอมหรือขก้ี า นำ้ ฝาดบอระเพ็ดหรือพญามือ เหลก็ นำ้ ฝาดกระถินพิมาน หรอื นำ้ ฝาดชนดิ อ่นื ท่ีเปน็ ยาสมนุ ไพรและไมจ่ ดั วา่ เปน็ อาหาร ใบไม้ ได้แก่ ใบสะเดา ใบมกู มัน ใบกระดอมหรอื ข้กี า ใบกะเพราหรือแมงลัก ใบฝา้ ยหรือใบไมช้ นดิ อน่ื ท่เี ปน็ ยาสมนุ ไพรและไม่จัดว่าเปน็ อาหาร และ ตน้ ไมท้ ี่นำมาทำเปน็ ยา ไดแ้ กไ่ มจ้ ันทน์ กฤษณา กะลัมพกั ใบเฉยี ง แห้วหมู เปน็ ต้น ผลไม้ ได้แก่ ลกู พลิ งั กาสา ดีปลี พรกิ สมอไทย มอพิเภก มะขามปอ้ ม ผลโกฐ ผลกลว้ ย อนิ ทผลัม หรอื ผลไมช้ นิดอืน่ ทเ่ี ปน็ ยาสมนุ ไพรและไม่จดั ว่าเป็นอาหาร ยางไม้ ได้แก่ ยางจากตน้ หงิ คุ ยางที่เคีย่ วจากกา้ นใบและเปลือกของตน้ หิงคุ ยางจากยอดตันตกะ ยางที่เคีย่ ว จากใบหรอื ก้านตนั ตกะ ยางจากกำยาน หรือยางชนดิ อ่นื ที่เปน็ ยาสมุนไพรและไมจ่ ัดว่าเป็นอาหาร 4) เกลือ พระผู้มพี ระภาคเจ้าตรสั อนญุ าตเกลอื ทเี่ ปน็ เภสชั ไว้ดงั น้ี คอื เกลือสมทุ ร เกลือดำ เกลอื สนิ เธาว์ เกลือดิน โป่ง หรอื เกลือชนิดอนื่ ทีเ่ ป็นยาและไมจ่ ดั วา่ เป็นอาหาร เกลือสมุทร หมายถึง เกลือท่ไี ดจ้ ากน้ำทะเล เกลือดำ หมายถึง เกลือทเ่ี ปน็ เศษเกลือ หรือเกลือกน้ กอง เม็ดเกลอื จะเล็กและมตี ะกอนปนอยมู่ าก เกลอื ชนดิ นี้ปกตจิ ะใช้เติมบ่อกุ้ง เล้ียงปลา และปรบั สภาพดนิ ในสวนผลไม้ เกลอื สนิ เธาว์ หมายถงึ เกลือทไี่ ด้จากดินเค็ม
เกลือดนิ โป่ง หมายถงึ เกลอื ท่ที ำจากดนิ โป่ง ดนิ โปง่ คอื แอ่งดินเค็มตามธรรมชาติ เป็นดนิ ทีม่ ีเกลอื แรต่ ่างๆ ปนอยู่ เช่น เกลอื โซเดียมคลอไรด์ เกลือแคลเซียม โปตัสเซียม เป็นต้น 5) ยามหาวิกัฏ ครั้งหนง่ึ ภิกษรุ ูปหนงึ่ ถกู งกู ดั พระผู้มีพระภาคเจ้าจงึ ตรัสอนญุ าตให้ภิกษุใช้ยามหาวกิ ัฏ 4 อย่างรกั ษา คือ คถู มตู ร เถ้า ดนิ ตอ่ มาภิกษุรูปหน่ึงดืม่ ยาพิษเขา้ ไป พระผ้มู พี ระภาคเจา้ จงึ ตรสั อนุญาตให้ภกิ ษุดื่มน้ำเจือคูถ เพอ่ื ให้อาเจียนเอาพิษออกมา 6) กลุ่มเบ็ดเตล็ด กลุ่มยาเบด็ เตล็ดอ่นื ๆ ทนี่ ำมาใช้รักษาโรคเท่าท่ีปรากฎอย่ใู นพระไตรปิฎก ไดแ้ ก่ ยาดองโลณโสวรี กะ ยา ผง มลู โค งา ขา้ วสาร ข้าวสกุ นำ้ ข้าวใสถ่ัวเขียว ธัญชาตทิ กุ ชนิด น้ำด่าง ทับทมิ ปลา เน้ือ นำ้ ตม้ เน้อื และการ เกด เปน็ ตน้ ยาดองโลณโสวรี กะ หมายถงึ ยาทป่ี รุงดว้ ยส่วนประกอบนานาชนิด เช่น มะขามปอ้ ม ดมอพิเภก ธัญชาติ ทุกชนิด ถวั่ เขียว ข้าวสุก ผลกล้วย หนอ่ หวาย การเกด อินทผลัม หน่อไม้ ปลา เนือ้ น้ำผง้ึ น้ำอ้อย เกลือ โดย ใส่เครอื่ งยาเหลา่ น้ีในหม้อ ปิดฝามิดชิด เก็บดองไว้ 1 วัน 2 วัน หรือ 3 วนั เมือ่ ยาน้ีสกุ ได้ทแี่ ลว้ จะมรี สและสี เหมอื นผลหว้า เป็นยาแกโ้ รคลม โรคไอ โรคเร้อื น โรคไขเ้ หลอื ง(ดีซา่ น) โรคริดสดี วง เป็นต้น 4. ประวัติของหมอชีวกโกมารภจั จ์ นักศึกษาหลายทา่ นคงจะร้จู กั หมอชีวกโกมารภจั จ์เป็นอยา่ งดโี ดยเฉพาะคนที่มักใช้บริการรักษาพยาบาล ดว้ ยการแพทย์แผนไทย เพราะศูนยก์ ารแพทยแ์ ผนไทยทุกท่จี ะมีรปู ปนั หมอชวี กโกมารภจั จอ์ ยู่ เพือ่ ไว้เปน็ เครื่องระลึกถงึ พระคณุ ของทา่ นท่ีไดถ้ า่ ยทอดวิชาการแพทยใ์ ห้ชาวพทุ ธและชาวโลกไดใ้ ช้บำบัดรักษากนั มา ตั้งแต่ มยั พุทธกาลจนถงึ ปจั จุบัน หมอชวี กโกมารภัจจ์เป็นแพทยห์ ลวงแหง่ กรุงราชคฤหแ์ ละเปน็ แพทย์ประจำพระองค์ของพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าและภิกษสุ งฆ์ ท่านเปน็ แพทย์ท่ีเก่งกาจสามารถต้ังแต่วัยหนมุ่ สามารถรักษาโรคทแ่ี พทย์ทิศาปาโมกข์ เกง่ ๆ หลายต่อหลายคนรกั ษาไม่ได้ใหห้ ายภายในเวลาอนั รวดเร็ว วธิ กี ารรักษาของทา่ นมหี ลากหลาย และ หลายๆ วธิ ีก็คล้ายๆ กับการรักษาในยคุ ปัจจุบัน เช่น การผ่าตัด การขับพิษด้วยการขบั ถ่ายหรือท่เี รยี กวา่ ดที ๊ อกซ์ เปน็ ต้น หมอชวี กโกมารภัจจ์ถือกำเนิดขึน้ ณ กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ โดยในสมัยพทุ ธกาลนน้ั มีกุมารีคนหนงึ่ ชอ่ื สาลวดีเป็นสตรที รงโฉมงดงาม ชาวพระนครราชคฤห์จงึ ไดค้ ัดเลือกให้นางเปน็ หญิงงามเมือง ต่อมานางสาลวดี ไดต้ ง้ั ครรภแ์ ละคลอดบตุ รเป็นชาย นางไมป่ รารถนาจะเลย้ี งดบู ตุ ร จึงส่ังทาสีใหน้ ำบตุ รนั้นไปทิ้งทก่ี องขยะ ในวนั น้นั นน่ั เองเจา้ ชายอภยั กำลงั เสดจ็ เข้าสพู่ ระราชวงั ได้ทอดพระเนตรเหน็ ทารกนน้ั ซง่ึ ฝูงกาหอ้ มลอ้ มอยู่ ได้ตรสั ถามมหาดเล็กว่าพนาย น่นั อะไร ฝูงการมุ กนั ตอม?
มหาดเลก็ กราบทูลวา่ \"ทารก พ่ะย่ะคะ่ \" เจา้ ชายอภัยตรสั ว่า \"ยงั เปน็ อยู่\" หรือ พนาย มหาดเล็กกราบทลู วา่ \"ยังเปน็ อยู่ พะ่ ย่ะค่ะ\" เจ้าชายอภัยจงึ ตรัสวา่ \"พนาย ถา้ เชน่ นั้น จงนำทารกนน้ั ไปทวี่ ังของเราให้นางนมเล้ยี งไว้\" มหาดเลก็ จงึ นำทารกน้นั ไปวงั ของเจ้าชายอภยั แลว้ มอบใหน้ างนมเล้ยี งไว้ เพราะอาศยั คำว่า \"ยังเป็นอย\"ู่ พวกเขาจึงขนานนามทารกน้ันว่า \"ชวี ก\" และเพราะเหตทุ ่ชี วี กนัน้ เจา้ ชายรับส่งั ใหเ้ ลีย้ งไว้ เขาจึงไดต้ ง้ั นาม กลุ ว่า \"โกมารภัจจ์\" ต่อมาไม่นานชีวกโกมารภัจจก์ ร็ เู้ ดยี งสาและได้ ทูลถามเจา้ ชายอภัยวา่ ใครเปน็ มารดาของเกล้า กระหม่อม ใครเปน็ บิดาของเกล้ากระหมอ่ มพะ่ ย่ะค่ะ เจ้าชายรับส่งั ว่า พ่อชีวก ตวั เรากไ็ ม่รู้จกั มารดาของเจา้ แตว่ ่าเราเป็นบดิ าของเจ้าเพราะเราได้ให้เลย้ี งเจ้าไว้ ชวี กโกมารภจั จจ์ ึงคิดว่า ราชสกลุ เหล่านี้ คนท่ีไมม่ ีศิลปะจะเขา้ พง่ึ พระบารมี ทำไม่ไดง้ า่ ย ถ้ากระไร เราควร เรียนวิชาแพทย์ไว้ ในสมัยนั้น นายแพทย์ทศิ าปาโมกข์ตง้ั สำนกั อยู่ ณ เมืองตกั กสิลา ชวี กโกมารภจั จ์ จงึ ไดท้ ลู ลาเจ้าชายอภัย เดนิ ทางไปเรยี นวชิ าแพทย์ ณ เมืองตกั กสิลา ชวี กโกมารภัจจ์ เรยี นวชิ าไดม้ ากเรียนไดเ้ ร็ว เขา้ ใจดี วิชาทเ่ี รียน ไดแ้ ลว้ ก็ไมล่ ืม เมอื่ เวลาผา่ นไป 7 ปี ชวี กโกมารภจั จ์ จึงเรียนถามอาจารย์ทิศาปาโมกขว์ ่า กระผมเรยี นวชิ า แพทย์สำเร็จตามหลกั สตู รแล้วหรอื ยัง อาจารย์ตอบวา่ พ่อชีวก ถ้าเช่นนนั้ เธอจงถือเสียมเท่ยี วไปรอบเมอื งตกั กสลิ า ระยะทาง 1 โยชน์ ตรวจดสู งิ่ ใดไม่ใชต่ วั ยา จงขดุ สง่ิ นัน้ มา ชีวกโกมารภจั จ์จึงถอื เสยี มเดนิ ไปรอบเมอื งตักกสลิ าระยะทาง 1 โยชน์ ไม่เห็นสิ่ง ใดที่ไมเ่ ป็นตัวยาสักอย่างหนง่ึ จึงเดินทางกลบั มารายงานท่านอาจารย์ อาจารยท์ ิศาปาโมกข์จึงบอกวา่ พ่อชีวก เธอศึกษาสำเรจ็ แล้ว หลงั จากน้นั ชีวกโกมารภจั จจ์ ึงเดนิ ทางไปยงั เมอื งราชคฤห์ ชว่ ยรักษาคนเจบ็ ปว่ ยหนกั ๆ ให้ หายไดอ้ ยา่ งอัศจรรยจ์ นไดร้ ับแตง่ ตัง้ ให้เปน็ แพทย์หลวงแหง่ กรงุ ราชคฤหแ์ ละเปน็ แพทย์ประจำพระองค์ของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าและคณะสงฆส์ ำหรับวธิ ีการรักษาของท่านจะไดก้ ล่าวในลำดับตอ่ ไป 5. การรักษาอาพาธในพระไตรปฎิ ก จากที่กลา่ วแล้วว่ามนษุ ย์และสัตว์ทัง้ หลายประกอบขนึ้ จากสองส่วนท่ีสมั พันธก์ ัน คือ รา่ งกาย และ จติ ใจ การรักษาอาพาธในพระพุทธศา นาที่ปรากฎอยู่ในพระไตรปฎิ กจึงรกั ษาท้ังสองสว่ นนไ้ี ปพรอ้ มๆ กนั ในสว่ นของ รา่ งกายก็มวี ธิ ีการรักษาคลา้ ยๆ กับการแพทยย์ คุ ปัจจุบันส่วนทางด้านจติ ใจนัน้ จะบำบัดรกั ษาด้วยธรรมโอสถ 1) การรักษาทางดา้ นร่างกาย การรักษาอาพาธทางด้านรา่ งกายในสมัยพทุ ธกาลนนั้ มีวธิ ีการคล้ายๆ กบั การแพทยย์ ุคปจั จบุ นั ซ่ึงเท่าท่ี ปรากฏอยู่ในพระไตรปฎิ กมดี งั น้ี คือ ใหก้ ินยา ให้ดื่มยา ทายา นัตถุย์ า การรม การสดู ควนั ที่เป็นยา การกรอก การผา่ ตดั และการขบั พิษ เปน็ ตน้ ซ่ึงนักศึกษาจะไดเ้ รียนร้วู ิธกี ารเหลา่ นีจ้ ากการรกั ษาโรคต่างๆ ดงั นี้
1.1) วิธีการรักษาโรคลม วธิ กี ารรักษาโรคลมใน มัยพุทธกาลน้ันมหี ลายวิธี เช่น ด่ืมน้ำมนั ท่ีหงุ เจอื ด้วยน้ำเมา, เข้ากระโจม, รม ใบไม้, รมใหญ่, รดตวั ด้วยนำ้ ที่ตม้ ให้เดอื ดด้วยใบไม้ น่ึงตัวในอ่างนำ้ ฉันกระเทียมหากเป็นโรคลมเสียดยอกตาม ข้อจะรกั ษาดว้ ยวธิ รี ะบายโลหติ ออก เป็นต้น การด่มื นำ้ มันที่หงุ เจือดว้ ยน้ำเมา เป็นวธิ ีการที่แพทยร์ ักษาโรคลมของทา่ นพระปลิ ินทวัจฉะ โดยนำ้ เมาที่ เจือลงไปเพอื่ หุงกบั นำ้ มันน้ันจะตอ้ งไมม่ ากจนเกินขนาด ไมป่ รากฏ สี กลน่ิ และรสของนำ้ เมา การเขา้ กระโจม คำว่า \"กระโจม\" หมายถึง ผ้าหรอื สิ่งทที่ ำเป็นลอมข้นึ สำหรบั เขา้ ไปอยขู่ า้ งในเพื่อใหเ้ หงอ่ื ออก ในสมัยพุทธกาลเรยี กวา่ \"การนึ่งตวั \" เพอื่ แก้โรคลม การรมใบไม้ หมายถึง การนงึ่ ตัวเช่นกัน ใช้ในกรณที ่กี ารนึง่ ตวั แบบธรรมดาแลว้ ไม่อาจแก้โรคลมให้หายได้ กใ็ หน้ ำใบไมท้ ่ีแกโ้ รคลมชนดิ ตา่ งๆ มาในกระโจมแลว้ จุดไฟเพอ่ื รมควัน การรมใหญ่ หมายถึง การนง่ึ ตวั อกี วธิ หี นึง่ ใช้ในกรณที ี่รมดว้ ยใบไ้ ม้ในกระโจมแล้วไมห่ ายก็จะใช้วิธีนี้ คือ ขุดหลมุ ขน้ึ ประมาณเทา่ ตัวคน แล้วบรรจถุ ่านไฟให้เต็มหลมุ กลบดว้ ยฝุ่นและทราย ฯลฯ ลาดใบไม้ทแี่ กโ้ รคลม ชนิดตา่ งๆ บนหลุมนนั้ จากนัน้ กใ็ หผ้ ู้ที่อาพาธทาตัวด้วยน้ำมนั ท่แี กโ้ รคลม เสร็จแล้วให้นอนพลกิ ไปพลิกมาบน ใบไมท้ ีล่ าดบนหลมุ นั้น การรดตวั ดว้ ยนำ้ ที่ตม้ ใหเ้ ดอื ดดว้ ยใบไม้ หมายถึง วธิ ีการรกั ษาโรคลมอกี แบบหนงึ่ ใชใ้ นกรณรี มใหญแ่ ลว้ ไมห่ าย ก็ใหใ้ ช้วิธนี ้ีคือ หาใบไม้ทีแ่ ก้โรคลมชนิดต่างๆ มา แล้วนำมาต้มให้เดอื ด จากนัน้ นำน้ำตม้ ด้วยใบไม้ เหล่านั้นมารดตัวแล้วก็เขา้ กระโจม การนึ่งตวั ในอา่ งน้ำ หมายถงึ วิธีการรักษาโรคลมอีกแบบหน่งึ ใชใ้ นกรณที ร่ี ดตวั ด้วยน้ำทต่ี ม้ เดือดดว้ ย ใบไม้แล้วไม่หาย ก็ให้ใชว้ ิธนี ้ี คือ เอาน้ำอุ่นใสอ่ า่ งหรือราง แล้วลงไปแช่ในนำ้ อุ่นน้ันเพื่อทำการนงึ่ ใหเ้ หงื่อออก จะได้หายจากการเปน็ โรคลม การระบายโลหิตออก หมายถงึ วิธีการรกั ษาโรคลมอีกแบบหน่งึ ใช้ในกรณีเป็นโรคลมเสยี ดยอกตามข้อ โดยสมยั น้นั ท่านพระปลิ ินทวจั ฉะ อาพาธเป็นโรคลมเสียดยอกตามขอ้ พระผ้มู ีพระภาคเจา้ ตรัสใหร้ ักษาด้วย \"การระบายโลหิตออก\" แตถ่ ้าโรคลมเสยี ดยอกตามขอ้ ยังไม่หาย ก็ให้ดูดโลหติ ออกด้วยเขาสตั ว์อกี ครัง้ หน่ึง พระผูม้ พี ระภาคเจ้าเองก็เคยทรงประชวรด้วยโรคลมในพระอทุ รหรือทอ้ ง และทรงหายประชวรด้วยการ เสวยขา้ วตม้ ปรุงด้วยของ 3 อย่าง คอื งา ขา้ วสาร และถ่วั เขียว ท่านพระสารบี ตุ รกเ็ คยอาพาธเปน็ ลมเสยี ดทอ้ ง และรกั ษาใหห้ ายได้ดว้ ยการ \"ฉันกระเทียม\" ในอรรถกถาบนั ทกึ วธิ ีการรักษาโรคลมไวอ้ กี วา่ ให้ภกิ ษุที่อาพาธดว้ ยโรคลม เตมิ น้ำมนั เปลวหมแี ละสกุ ร เปน็ ตน้ ลงในข้าวยาคูทต่ี ม้ ดว้ ยน้ำฝาดรากไม้ 5 ชนิด (นำ้ ฝาดสะเดา นำ้ ฝาดมูกมนั น้ำฝาดข้ีกา นำ้ ฝาดบอระเพด็ และนำ้ ฝาดกระถินพมิ าน) แล้วดม่ื ข้าวยาคูนั้น ขา้ วยาคจู ะชว่ ยบำบัดโรคได้เพราะมคี วามร้อนสูง
1.2) วธิ ีการรกั ษาโรคฝแี ละโรคฝีดาษ มภี ิกษรุ ปู หนงึ่ อาพาธเป็นโรคฝี พระผู้มพี ระภาคเจ้าจงึ ใหร้ ักษาดว้ ย \"การผ่าตดั \" แลว้ พอกแผลด้วยยา ใช้ ผ้าพนั ปิดแผลไว้ หากแผลคัน กใ็ หช้ ะลา้ งแผลดว้ ยน้ำแปง้ เมล็ดพันธุ์ผกั กาดถ้าแผลชื้นหรอื เปน็ ฝ้า ก็ใหร้ มแผล ดว้ ยควัน หากมเี น้อื งอกย่ืนออกมา ก็ให้ตัดเน้อื งอกน้ันด้วยก้อนเกลือ แล้วใชน้ ้ำมันทา มานแผล และใช้ผา้ เกา่ ท่ี สะอาดๆ ซบั นำ้ มัน ครั้งหน่ึงพระเวลัฏฐสีสะซง่ึ เปน็ พระอปุ ชั ฌายข์ องพระอานนท์ อาพาธเปน็ โรคฝดี าษหรืออีสุกอใี สผา้ นุ่งผา้ ห่มกรงั อย่ทู ีต่ วั เพราะนำ้ เหลืองของโรคน้ัน เพื่อนภกิ ษุจงึ เอานำ้ ชุบผ้าเหล่านนั้ แลว้ คอ่ ยๆดงึ ออกมา ต่อมาเมื่อ พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ทราบจึงตรสั ว่า \"เราอนุญาตเภสัชชนิดผงสำหรบั ภกิ ษุผู้เปน็ ฝกี ด็ ี พุพองกด็ ีสวิ ก็ดี โรค ฝดี าษก็ดี มกี ลน่ิ ตัวแรงกด็ ี\" 1.3) วิธกี ารรกั ษาโรคปวดศรี ษะ วธิ กี ารรกั ษาโรคศีรษะใน มยั พุทธกาลนั้นมีหลายวิธี เช่น การนตั ถุ์ยา การใชน้ ้ำมันทาศรษี ะ และการสดู ควันทเ่ี ปน็ ยา เป็นต้น คร้ังหนงึ่ ภรรยาเศรษฐีท่านหน่ึงในเมอื งสาเกต ป่วยเป็นโรคปวดศีรษะอยู่ 7 ปี นายแพทย์ทิศาปาโมกข์ ใหญๆ่ หลายคนมารกั ษาแลว้ กไ็ ม่สามารถรกั ษาใหห้ ายได้ เมื่อหมอชวี กโกมารภัจจ์ทราบขา่ วจึงรบั อาสาที่จะ รักษาภรรยาเศรษฐที า่ นนั้น เมือ่ ทา่ นตรวจดูอาการแล้ว จงึ นำเนยใสมาหนง่ึ ซองมอื หงุ เนยใสนนั้ กบั ยาตา่ งๆ แลว้ ให้ภรรยาเศรษฐีนอนหงายบนเตียง ใหน้ ตั ถุ์ยานน้ั เพราะการนัตถ์ุยาเพยี งครง้ั เดียวเท่านน้ั ทำให้โรคปวด ศีรษะของภรรยาเศรษฐซี ึง่ เปน็ มา 7 ปี หายเป็นปลดิ ท้ิง วนั หนึง่ พระปลิ นิ ทวจั ฉะปวดศรี ษะ พระผูม้ พี ระภาคจงึ ให้รกั ษาด้วยการเอานำ้ มันทาศีรษะ แตโ่ รคปวด ศรี ษะยังไม่หาย พระพุทธองคจ์ งึ ใหร้ กั ษาดว้ ยการนตั ถ์ุ โรคปวดศรี ษะก็ยังไมห่ าย พระผู้มพี ระภาคจึงให้รักษา ด้วยการ \"สูดควนั ท่ีเป็นยา\" เพือ่ ใหค้ วนั เข้าไประงบั ความปวด 1.4) วธิ กี ารรักษาโรคเบด็ เตล็ด ภิกษุรูปหนง่ึ อาพาธถกู ยาแฝด พระผูม้ พี ระภาคเจา้ จึงให้รักษาดว้ ยการ ด่มื นำ้ ท่ีละลายจากดินทต่ี ิดผาลไถ อาพาธถูกยาแฝด แปลมาจากบาลีวา่ \"ฆรทินนฺ าพาโธ\" หมายถึง โรคทเี่ กดิ ข้นึ เพราะนำ้ หรอื ยาที่หญิงให้ เมื่อดม่ื กนิ เขา้ ไปแลว้ จะตกอยู่ในอำนาจของหญิงน้ัน ภาษาในปจั จบุ นั เรียกว่า \"ยาเสน่ห์\" คำวา่ \"ผาล\" หมายถึง เหลก็ สำหรบั ใชเ้ ป็นอุปกรณไ์ ถดิน เช่น ไถดนิ ในทนี่ าเพอ่ื ปลูกขา้ ว เปน็ ต้น ดินที่ตดิ ผาลไถ จึงเปน็ ดนิ ทต่ี ดิ อยูก่ บั ผาลในขณะทำการไถ แต่ทง้ั น้กี ไ็ ม่มีคำอธิบายวา่ ดินที่ติดผาลไถนนั้ ชว่ ยแกย้ าเสน่ห์ ไดอ้ ย่างไร ภกิ ษุอีกรปู หนึ่งอาพาธเปน็ โรคทอ้ งผูก พระผมู้ ีพระภาคเจา้ จึงให้รกั ษาดว้ ยการดื่มน้ำด่างนำ้ ด่าง คือนำ้ ที่ได้ จากการแช่วัตถุที่ใช้ทำยา เช่น เกลือ ขี้เถ้า ข้ีววั เปน็ ต้น ปกติน้ำดา่ งท่ไี ด้จากเกลอื ขีเ้ ถา้ และขี้วัวเหล่าน้ีคนใน
มัยพทุ ธกาลจะใช้สำหรับซกั ผ้าเพราะจะชว่ ยกัดสิ่งสกปรกให้หลุดออกไดส้ ำหรบั การใชร้ กั ษาโรคทอ้ งผูกนั้น เข้าใจว่า มีจุดประสงค์เพือ่ ให้น้ำด่างชว่ ยกัดก้อนอุจจาระทีจ่ บั ตัวกันแข็งใหอ้ ่อนลงจะไดข้ บั ถ่ายได้สะดวกขึ้น ภกิ ษอุ กี รปู หนงึ่ อาพาธเป็นโรคผอมเหลือง พระผมู้ ีพระภาคจงึ ใหร้ ักษาด้วยการ \"ด่ืมยาผล มอดองน้ำมูตร โค\" และโรคผอมเหลอื งน้ียงั สามารถรักษาดว้ ย \"เนยใส\" ไดเ้ ชน่ กนั เช่น ครง้ั หน่ึงพระเจา้ จัณฑปชั โชติทรงพระ ประชวรดว้ ยโรคผอมเหลอื ง หมอชีวกโกมารภัจจจ์ ึงนำเนยใสมาปรงุ เป็นยารกั ษาพระองคจ์ นหาย ภิกษอุ กี รปู หน่งึ อาพาธเปน็ โรคผิวหนัง พระผ้มู ีพระภาคเจา้ จงึ ใหร้ ักษาด้วยการ \"ลูบไล้ด้วยของหอม\" นา่ จะ คล้ายๆ กับการทาแปง้ ปอ้ งกนั ความชื้นอนั เปน็ เหตแุ หง่ โรคผวิ หนังในปจั จุบัน ภิกษุอกี รปู หนง่ึ อาพาธมีผดผ่นื ขึ้นตามตัว พระผู้มพี ระภาคเจ้าจึงใหร้ กั ษาด้วยการ \"ดมื่ ยาถา่ ย\" เหตทุ ี่มีผด ผนื่ น้นั นา่ จะเป็นเพราะทอ้ งผูก ไมข่ ับถา่ ย ร่างกายจึงพยายามขบั ของเสยี ออกทางผิวหนงั จงึ ทำใหเ้ กิดผดผืน่ ข้ึน ท่านพระปลิ นิ ทวัจฉะเท้าแตก พระผมู้ ีพระภาคเจ้าจึงให้รกั ษาดว้ ยการใช้ \"ยาทาเท้า\"แตโ่ รคยังไม่หาย พระ ผมู้ ีพระภาคเจ้าจึงให้ปรงุ น้ำมันทาเท้า ครัง้ หน่งึ พระสารบี ตุ รอาพาธเป็นโรครอ้ นในกาย พระมหาโมคคัลลานะจึงจดั หายาสมนุ ไพรคือเหง้าบวั และ รากบัวมาถวาย เม่ือท่านพระสารีบตุ รฉันเหง้าบัวและรากบัวแลว้ อาพาธรอ้ นในกายกห็ ายทันที 1.5) การผา่ ตัดในสมัยพทุ ธกาล การผา่ ตัดใน มยั พทุ ธกาลเม่อื 2,500 กว่าปีท่ีผ่านมานน้ั มีตัวอยา่ งบนั ทึกไวใ้ นพระไตรปิฎก 2 เร่อื ง คอื การผา่ ตดั เศรษฐีชาวเมอื งราชคฤห์ และการผ่าตัดบตุ รเศรษฐีชาวเมอื งพาราณสี โดยแพทย์ผทู้ ำการผ่าตัด คือ หมอชีวกโกมารภัจจ์ 1.5.1) การผ่าตัดเศรษฐีชาวเมอื งราชคฤห์ สมยั นั้นเศรษฐีชาวพระนครราชคฤห์คนหน่ึงป่วยเป็นโรคปวดศีรษะอยู่ 7 ปี นายแพทย์ทิศาปาโมกขใ์ หญๆ่ หลายคน มารกั ษาก็ไม่สามารถรักษาให้หายได้ แพทย์บางพวกได้ทำนายไวว้ ่า เศรษฐคี นนีจ้ ักตายในวนั ท่ี 5 บาง พวกทำนายไวว้ ่าเศรษฐจี กั ตายในวันท่ี 7พระเจา้ พิมพสิ ารจึงให้หมอชวี กโกมารภัจจ์ไปชว่ ยรกั ษาเศรษฐีท่านน้ี เมือ่ หมอชีวกตรวจดอู าการแล้ว จึงให้เศรษฐนี อนบนเตียง มัดไวก้ ับเตียง ถลกหนงั ศรี ษะเปดิ รอยประสาน กระโหลกศีรษะ นำตวั สัตวท์ ี่อยใู่ นศรี ษะของเศรษฐีออกมา องตวั แล้วแสดงแก่ประชาชนว่า จงดสู ัตว์ 2 ตัวน้ี เล็กตัวหนึ่ง ใหญ่ตัวหน่งึ โดยสัตวต์ วั ใหญจ่ ะเจาะกินมันสมองของเศรษฐใี นวันที่ 5 เมื่อมนั กินมันสมองจนหมด เศรษฐีกจ็ กั ตายสัตว์ตวั เลก็ จะเจาะกนิ มนั สมองของเศรษฐีในวันที่ 7 เม่อื มันกินมันสมองจนหมดเศรษฐีกจ็ ักตาย เช่นกัน เม่อื หมอชวี กนำสัตว์ 2 ตัวนั้นออกแล้ว จงึ ปดิ แนวประสานกะโหลกศีรษะ เยบ็ หนงั ศีรษะ ทายาสมาน แผล ให้เศรษฐนี อนพกั ฟื้นอยู่ 3สปั ดาหจ์ ึงหายปว่ ย 1.5.2) การผา่ ตัดบุตรเศรษฐชี าวเมอื งพาราณสี การผ่าตัดอีกเรอ่ื งหน่ึง คอื ใน มยั นน้ั บตุ รเศรษฐีชาวเมอื งพาราณสีคนหนึ่ง ไดป้ ว่ ยเป็นโรคเนื้องอกท่ลี ำไส้
ทำใหข้ ้าวยาคูท่ดี มื่ และขา้ วสวยทร่ี ับประทาน ไม่ย่อย อุจจาระและปสั สาวะออกไม่สะดวก ซบู ผอม เศรา้ หมอง ตัวเหลอื งขน้ึ ๆสะพรัง่ ด้วยเสน้ เอ็น หมอชวี กจึงชว่ ยรกั ษาบตุ รเศรษฐีนัน้ เม่ือไดต้ รวจดูอาการแลว้ จงึ เชิญประชาชนใหอ้ อกไปขา้ งนอก ขึงมา่ น มดั บุตรเศรษฐีไว้กับเสา แลว้ ทำการผา่ หนังท้อง ตัดเนือ้ งอกในลำไส้นัน้ ออก สอดใสล่ ำไส้กลับไว้เหมือนเดมิ เยบ็ หนงั ท้อง ทายาสมานแผล ตอ่ มาไม่นานบตุ รเศรษฐกี ็หายป่วยเปน็ อัศจรรย์ 1.6) วิธีการขับพษิ ในสมัยพุทธกาล วิธกี ารขับพษิ ออกจากรา่ งกายใน มัยพุทธกาลตามทีบ่ นั ทกึ ไวใ้ นพระไตรปิฎกนนั้ มี 3 วธิ ีคือ การขับพิษดว้ ย การขับถา่ ย การขับพษิ ดว้ ยการเดินจงกรม และการขบั พิษดว้ ยการอบร่างกายในเรือนไฟ ในแตล่ ะวิธกี ารมี ความเปน็ มาและรายละเอียดดังนี้ 1.6.1) การขับพษิ ด้วยการขับถา่ ย คร้ังหน่ึงพระผ้มู พี ระภาคเจ้ารบั ส่งั กบั พระอานนทว์ า่ กายของตถาคตหมกั หมมไปด้วยโทษ ตถาคตตอ้ งการ จะฉนั ยาถ่าย พระอานนทจ์ งึ แจง้ เรอ่ื งนน้ั แกห่ มอชีวกโกมารภัจจๆ์ คดิ วา่ การที่เราจะพงึ ทูลถวายพระโอ ถถ่ายที่ หยาบแด่พระผู้มพี ระภาคเจ้าน้ัน ไม่สมควรเลย เราควรอบก้านอบุ ล 3 ก้านดว้ ยยาตา่ งๆ แล้วทลู ถวายพระ ตถาคต ท่านจงึ อบกา้ นอุบล 3 กา้ นดว้ ยยาต่างๆ แล้วนำไปถวายพระผู้มีพระภาคเจา้ พรอ้ มท้งั กราบทลู วา่ เมอ่ื พระ ผมู้ ีพระภาคเจ้าทรงสดู ก้านอบุ ล 1 ก้าน จะทำใหพ้ ระองค์ถา่ ยถึง 10 ครั้งเม่อื ทรงสดู ก้านอบุ ลครบทั้ง 3 กา้ น ก็ จะทรงถ่ายถึง 30 ครั้ง เม่อื ท่านถวายพระโอสถถา่ ยแด่พระผมู้ ีพระภาคเสรจ็ แล้ว ขณะเดนิ กลับไปถึงนอกซมุ้ ประตทู า่ นนกึ ขน้ึ ได้ว่า พระกายของพระตถาคตหมกั หมมไปดว้ ยโทษ จะทรงถา่ ยไมค่ รบ 30 ครง้ั แต่เม่อื ทรงถ่ายครง้ั ท่ี 29 แลว้ ได้ รง พระกาย ก็จะทรงถ่ายอกี ครง้ั หนง่ึ จึงจะครบ 30 ครั้ง พระผมู้ พี ระภาคทรงทราบความคดิ น้ันของชีวกโกมารภัจจ์ พระองคจ์ งึ ทรงปฏบิ ตั ิตามนนั้ จงึ ถา่ ยครบ 30 คร้งั เม่ือทรงถ่ายครบแลว้ ชีวกโกมารภจั จ์ไดก้ ราบทลู ว่า ช่วงน้พี ระผมู้ ีพระภาคเจ้าไมค่ วรเสวยพระกระยาหาร ท่ปี รุงดว้ ยนำ้ ต้มผกั ตา่ งๆ จนกว่าจะมีพระกายเปน็ ปกติตอ่ มาไม่นานพระกายของพระผูม้ พี ระภาคเจ้าก็หายเป็น ปกติ 1.6.2) การขับพิษด้วยการเดินจงกรม สมัยนัน้ ทายกทายกิ าในพระนครเวสาลีเรมิ่ จัดปรงุ อาหารประณีตขนึ้ ตามลำดับ ภิกษทุ งั้ หลายฉันอาหาร นน้ั แล้ว มีโทษสั่งสมในร่างกายมาก จึงมอี าพาธมาก หมอชวี กโกมารภัจจ์เห็นภิกษมุ อี าพาธมาก จึงเขา้ ไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า กราบทลู ว่า บดั น้ี ภิกษุ ท้งั หลาย มโี ทษสง่ั สมในร่างกายมาก ทำให้มีอาพาธมาก ขอพระผมู้ พี ระภาคเจา้ ได้โปรดทรงอนญุ าต \"ที่จงกรม\"
และ \"เรือนไฟ\" เถดิ เม่ือเปน็ เช่นน้ี ภิกษุท้ังหลายจักมอี าพาธนอ้ ย พระผ้มู ีพระภาคเจา้ จงึ ตรัสว่า ดูก่อนภกิ ษุ ทง้ั หลาย \"เราอนุญาตที่จงกรมและเรือนไฟ\" ทีจ่ งกรม คำวา่ \"จงกรม\" หมายถึง การเดนิ กลบั ไปกลับมาโดยมีสตกิ ำกบั จงกรมจึงเป็นการทำสมาธใิ นท่า เดินนั่นเองส่วน \"ทีจ่ งกรม\" หมายถึง ถานที่ทีไ่ ด้จัดเตรยี มไว้สำหรบั การเดนิ จงกรมของพระภกิ ษุ การจงกรมขบั พิษไดอ้ ย่างไร การจงกรมนน้ั ถอื เปน็ การออกกำลงั กายวธิ ีหนึ่ง เพราะตอ้ งเดนิ กลบั ไปกลบั มา หลายรอบ ทำใหร้ า่ งกายได้ออกกำลงั เป็นเหตใุ ห้เหง่อื ออก พิษตา่ งๆ ท่สี ะสมอยใู่ นร่างกายกจ็ ะถูกขบั ออกดว้ ย เหงอื่ น้ัน 1.6.2) การขบั พิษดว้ ยการอบรา่ งกายในเรือนไฟ เรอื นไฟ หมายถงึ โรงเรอื นสำหรับอบร่างกายของพระภิกษุในสมัยพทุ ธกาล การอบรา่ งกายกเ็ ป็นการขบั พษิ อกี วิธหี นึ่ง เพราะการอบจะทำให้เหงื่อออกมาก พิษในรา่ งกายกจ็ ะถกู ขับออกมาพรอ้ มกับเหงอื่ นั้น รูปแบบของเรือนไฟและอุปกรณใ์ นเรือนไฟมดี ังน้ี คือ เรอื นไฟสร้างเป็นอาคาร มฝี าผนงั โดยรอบ มีประตู เข้าออก 1 ประตู ภายในเรือนไฟมี \"เตาไฟ\"สำหรับจุดไฟเพือ่ อบรา่ งกาย ถา้ เรือนมีขนาดใหญจ่ ะตัง้ เตาไฟไวต้ รง กลาง ถ้าเรอื นไฟมีขนาดเลก็ จะตงั้ เตาไฟไว้ขา้ งใดข้างหนงึ่ และมปี ล่องควันอยบู่ นหลงั คาเพือ่ ระบายควันออก ภายในเรือนไฟยังมี \"อ่างน้ำ\" หรือ \"รางน้ำ\" เพ่ือใหค้ วามชุม่ เย็น ชว่ ยลดความรอ้ นจากเตาไฟ ในบริเวณ รอบๆ เตาไฟก็จะมี \"ต่ัง\"สำหรับให้พระภิกษนุ ่ังเพอื่ อบรา่ งกายในบรเิ วณใกลเ้ รอื นไฟพระสัมมาสัมพุทธเจ้ายงั อนุญาตใหส้ ร้าง \"ศาลาเรอื นไฟ\" \"บ่อน้ำ\" และ \" ระน้ำ\" ไวส้ ำหรับใหพ้ ระภกิ ษุปฏบิ ตั ิกิจหลังจากออกจากเรือน ไฟแลว้ เชน่ ซักจวี ร ตากจีวรและสรงน้ำ เป็นต้น โดย ระน้ำนั้นจะเปน็ ท่สี ำหรับใหพ้ ระภกิ ษลุ งอาบชำระลา้ ง ร่างกายหลงั จากออกจากเรอื นไฟ 2) การรกั ษาจติ ใจด้วยธรรมโอสถ จากท่กี ล่าวแลว้ ว่า มนุษย์และสัตวท์ ้งั หลายนน้ั ประกอบดว้ ย\"รา่ งกายกบั จิตใจ\"ซึง่ สัมพนั ธ์กนั อาศยั ซง่ึ กัน และกนั ส่งผลกระทบซึง่ กนั และกัน เม่อื รา่ งกายเกดิ อาพาธหรอื เจบ็ ป่วยกจ็ ะสง่ ผลถึงจติ ใจด้วย หรอื เมื่อไมส่ บาย ใจหรอื ปว่ ยทางใจ กจ็ ะสง่ ผลถงึ รา่ งกายด้วยเชน่ กัน ดงั น้ันในการรกั ษาจงึ จำเปน็ ตอ้ งรกั ษาท้งั 2สว่ น คือ ท้งั กาย และใจ อาพาธนน้ั ๆ จึงจะหายไดอ้ ย่างรวดเร็ว และทีส่ ำคัญสาเหตุแหง่ การอาพาธขอ้ สดุ ท้าย คือ วิบากกรรมนน้ั เปน็ การอาพาธเพราะกรรมชวั่ ทีท่ ำไว้ใน อดีตชาติหรอื ในปัจจุบันชาติมาส่งผล เมื่อทำความชั่วก็จะเกดิ บาปขึ้นในใจ บาปนัน้ จะถูกเกบ็ ไว้ในใจและรอ คอยเวลาสง่ ผลให้เรามอี นั เปน็ ไปตา่ งๆ เช่น อาพาธ เปน็ ต้น อาพาธอันเกิดจากบาปนจี้ ะตอ้ งแกด้ ว้ ยธรรมโอสถ คอื การส่งั สมบุญ จึงจะหายไดเ้ พราะบุญจะไปตดั รอด บาปนนั้ ให้เจือจางลงจนหมดกำลงั ส่งผล อปุ มาบุญเหมอื นกับน้ำ บาปเปรยี บเหมือนกบั เกลอื ทใี่ สไ้ ว้ในแกว้ เมือ่ เราเตมิ น้ำลงไปในแกว้ มากๆ ความเคม็ ของเกลือก็จะเจอื จางลงจนหมดฤทธ์ิเคม็ ในทส่ี ุด
สำหรับวธิ กี ารรกั ษาจิตใจดว้ ยธรรมโอสถ คอื การสั่งสมบุญนี้สามารถทำได้หลายวธิ เี ชน่ การให้ทาน รักษา ศลี สวดมนต์ เจรญิ สมาธิภาวนา การทำสัจจกริ ิยา และฟงั ธรรม เปน็ ต้นอาหารและยาเปน็ เครือ่ งหล่อเล้ยี งและ บำบัดรักษาร่างกายฉันใด ธรรมโอสถคอื การส่ังสมบุญก็เปน็ เครื่องหล่อเลีย้ งและบำบัดรักษาจิตใจฉันน้ัน 2.1) การรกั ษาอาพาธดว้ ยการฟังธรรม การฟงั ธรรมเปน็ เหตใุ ห้เกิดบุญวธิ หี นึง่ เรยี กว่า \"ธมั มสั วนมัย\" บุญจากการฟงั ธรรมนี้สามารถรักษาอาพาธได้ ซึ่งมีตัวอยา่ งการรักษาด้วยวิธนี จี้ ำนวนมาก ครง้ั หน่ึง พระมหากัสสปเถระอาพาธหนัก พระผู้มพี ระภาคเสดจ็ เข้าไปหาทา่ นและทรงแสดงธรรมเร่อื ง โพชฌงค์ 7 ใหท้ า่ นฟังวา่ \"กัสสปะ โพชฌงค์ 7 ประการน้ีเรากลา่ วไว้ชอบแลว้ บคุ คลเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมเปน็ ไปเพ่ือความร้ยู ิง่ เพอ่ื ตรสั รู้ เพ่อื นพิ พาน ...\" เมอ่ื พระผูม้ พี ระภาคแสดงธรรมจบแล้ว พระมหากัสสปเถระ มีใจยนิ ดี ชื่นชมพระภาษติ ของพระผมู้ พี ระ ภาคเจ้า และหายขาดจากอาพาธนั้นเป็นอัศจรรย์ พระมหาโมคคัลลานะ และ พระคริ มิ านนท์ กเ็ คยอาพาธเช่นนเ้ี หมือนกัน และหายอาพาธเพราะได้ฟังฟงั ธรรมเรื่องโพชฌงค์ 7 และสญั ญา 10 ตามลำดับ พระผู้มพี ระภาคเจา้ เองก็เคยหายจากพระประชวรเพราะได้ ฟังธรรมเรื่องโพชฌงค์ 7 เช่นกัน นอกจากนย้ี งั มตี วั อย่างอน่ื ๆ อกี ซงึ่ บันทึกไวใ้ นพระสูตรต่างๆ เชน่ ในปฐม เคลัญญสูตร วักกลิสตู ร ปฐมคิลานสตู รคิลานสูตร อนาถปณิ ฑโิ กวาทสูตร เป็นต้น 2.2) การรกั ษาอาพาธดว้ ยการเจรญิ สมาธิภาวนา การเจรญิ สมาธิภาวนาเปน็ ทางมาแห่งบุญอีกวธิ หี นึง่ เรยี กวา่ \"ภาวนามัย\" ซงึ่ ถือวา่ เป็นวธิ ีท่ที ำให้ไดร้ ับบญุ มากท่สี ดุ และบุญท่เี กิดข้นึ น้ชี ่วยรกั ษาอาพาธใหห้ ายไดเ้ ช่นกัน ดงั ตัวอย่างที่บันทึกไว้ในกมั มวิปากชสูตรดงั นี้ ภกิ ษรุ ปู หน่ึงอาพาธหนักเพราะวบิ ากบาปกรรมในอดตี ทา่ นจึงระงบั การอาพาธด้วยการน่งั สมาธิ ต้ังกาย ตรง อดกล้นั ทุกขเวทนาที่เผด็ รอ้ น อยู่ในทีไ่ ม่ไกลจากพระผู้มีพระภาคเจ้า พระผู้มพี ระภาคเจ้าทอดพระเนตรเห็นภกิ ษุรูปน้ัน จงึ ทรงเปลง่ อทุ านว่า \"ภิกษผุ ลู้ ะกรรมทัง้ หมดได้... ดำรง มนั่ คงที่ ก็ไมม่ ีประโยชนอ์ ะไรทจี่ ะบอกให้คนช่วยเยียวยา พระสมั มาสัมพทุ ธเจ้าเองกเ็ คยใช้การเจริญสมาธภิ าวนารักษาอาการประชวรของพระองค์เชน่ กัน โดยครั้ง หนง่ึ พระองคไ์ ด้เกดิ พระประชวรรนุ แรงจวนเจยี นปรินพิ พาน ขณะนัน้ ทรงพระดำริว่า \"...เราควรใช้ความเพยี ร ขบั ไล่อาพาธนี้ ดำรงชีวติ สงั ขารอยู่ตอ่ ไป\" ความเพยี รในที่น้ีคือ การเจริญสมาธิภาวนาเพอ่ื เข้าฌานสมาบตั ิ น่นั เอง เมอื่ พระผู้มีพระภาคทรงใช้ความเพยี รขบั ไล่อาการพระประชวรแลว้ อาการพระประชวรจึงสงบลงและ หายในทสี่ ุด 2.3) การรักษาอาพาธดว้ ยการทำสัจจกิรยิ า การทำสัจจกริ ิยา หมายถงึ การนกึ ถึงบุญ หรือ ความจรงิ ทีเ่ คยทำไว้จริง ของตนเองหรือของบคุ คลที่ ต้องการจะบำบดั รกั ษา แลว้ กลา่ วสัจจวาจาโดยอา้ งถึงบุญ หรือ ความจรงิ นัน้ ว่า \"จงช่วยใหต้ นหรอื บคุ คลท่ี
อาพาธหายจากอาพาธนน้ั \" ซงึ่ บุญทไี่ ด้อ้างถึงนนั้ รวมกับบญุ จากการรักษาศีลคอื กล่าวสัจจวาจาละการพูดเท็จ ในขณะนัน้ จะชว่ ยใหห้ ายจากการอาพาธไดเ้ ป็นอัศจรรย์ ดงั ตวั อย่างตอ่ ไปน้ี ในอดตี กาล พระโพธสิ ัตว์บวชเปน็ ดาบ อยูใ่ นป่าหมิ พานต์ วนั หนง่ึ พระโพธสิ ัตวไ์ ด้ออกจากป่าเพื่อไปเยี่ยม หายคนหนงึ่ ช่อื มณั ฑพั ยะ ในวันนน้ั เองบตุ รของทา่ นมัณฑัพยะถกู อสรพษิ ตวั หนึง่ กัด จนสลบลม้ ลง มารดาและบดิ าจงึ พาบตุ รไปให้ พระโพธสิ ัตวช์ ว่ ยรกั ษา พระโพธิสตั ว์กลา่ วว่า \"ดแี ลว้ เราจักทำสัจจกิรยิ า\"แลว้ วางมอื ลงทีศ่ ีรษะกมุ ารน้นั พรอ้ ม กับกล่าวคาถาว่า \"ตัง้ แตบ่ วชมาจนถงึ ปจั จุบัน เราได้มจี ิตเลอื่ มใสในการประพฤตพิ รหมจรรยอ์ ยู่เพียง 7 วันเท่าน้นั หลงั จาก นน้ั แมเ้ ราจะไมม่ คี วามใคร่บรรพชา แตก่ ็ทนอยู่มาได้ถงึ 50 กวา่ ปี ด้วยความสัตยอ์ นั น้ี ขอความสวัสดีจงมแี ก่ กุมาร พิษจงคลาย กุมารน้จี งรอดชีวติ เถิด\" พร้อมกับสัจจกริ ิยาน้นั พิษในกายตอนบนของกุมารกต็ กเขา้ แผ่นดนิ หมด กุมารนน้ั ลืมนยั นต์ าขนึ้ ดมู ารดา บิดาเรยี กวา่ \"แม่\" แลว้ พลิกนอน พระโพธสิ ัตว์จึงกลา่ วกบั หายว่า กำลังของเราทำได้เท่านน้ั ทา่ นจงทำสัจ จกิรยิ าบ้างเถดิ มัณฑพั ยะรับคำแล้ว วางมอื ลงที่หน้าอกของบุตรแล้วไดก้ ลา่ วคาถาว่า \"ในเวลาท่ีสมณพราหมณม์ าขอพักอยทู่ บี่ ้านของเรา บางคร้งั เราไม่พอใจจะใหพ้ กั เลยแต่เราก็ตดั ใจใหพ้ กั ได้ ด้วยความสัตยน์ ี้ ขอความสวัสดี จงมแี กบ่ ุตรของเรา พษิ จงคลายออกบุตรของเราจงรอดชวี ติ เถิด\" เม่ือบดิ าทำสัจจกิรยิ าแล้ว พษิ ในกายของบุตรเหนือสะเอวกต็ กเข้าแผน่ ดนิ กมุ ารลุกขึ้นนัง่ ไดแ้ ต่ยงั ยนื ไมไ่ ด้ บิดาจึงกลา่ วกะมารดาของกุมารน้ันวา่ ท่รี ัก เจ้าจงทำสัจจกิรยิ าให้บุตรลกุ ขน้ึ เดินได้ มารดากล่าวว่า ความสตั ย์ ของฉันกม็ ีอยู่อย่างหนง่ึ แตไ่ ม่อาจกลา่ วต่อหน้าท่านสามกี ลา่ วว่า ถงึ อย่างไรก็กล่าวไปเถอะที่รัก นางรับคำแล้ว จงึ ไดก้ ล่าวคาถาว่า \"ลูกรัก อสรพษิ ท่อี อกจากโพรงกัดเจา้ ไม่เปน็ ที่รักของแมฉ่ นั ใด บิดาของเจ้ากไ็ มเ่ ปน็ ทร่ี กั ของแมฉ่ นั น้นั ดว้ ย ความสัตยน์ ี้ ขอความ วั ดี จงมแี ก่บุตรของเรา พษิ จงคลายออก บุตรของเรา จงรอดชีวติ เถิด\" พร้อมกบั สัจ จกริ ยิ านนั้ เอง พิษทงั้ หมดกต็ กลงเขา้ แผน่ ดนิ กมุ ารน้นั จึงลุกขึน้ ยืนและเดินไดเ้ ป็นปกติ เร่อื งการรักษาอาพาธด้วยการทำสจั จกริ ิยานั้นยังมอี ีกหลายตัวอย่าง ซง่ึ นกั ศึกษาสามารถอ่านเพ่ิมเตมิ ได้ใน พระไตรปิฎก การรักษาอาพาธด้วยวธิ ีนใ้ี ห้ไดผ้ ลดังตวั อย่างท่ีกลา่ วมานัน้ มีปัจจัยสำคญั อยู่อยา่ งน้อย 2 ประการ คอื สัจ จบารมีของผู้ทำสจั จกิรยิ ามีมากน้อยเพียงใด และบุญบาปในตัวของผู้อาพาธ หากสจั จบารมีของผู้ทำสจั จกิรยิ า มมี าก บญุ ในตวั ของผู้อาพาธมมี าก และบาปที่ส่งผลให้เกิดการอาพาธเบาบางแลว้ การรักษาอาพาธด้วยวธิ นี ้ีก็ จะสำเรจ็ ผลเป็นอศั จรรย์ แต่ถ้าผู้ใหก้ ารรักษามีสจั จบารมีนอ้ ย บุญในตัวของผอู้ าพาธนอ้ ย แตบ่ าปที่สง่ ผลให้ อาพาธยังมีหนาแน่นการรกั ษาดว้ ยวธิ นี ี้ก็ยากจะสำเรจ็ ผล
2.4) การรกั ษาอาพาธดว้ ยบุญสรา้ งและกวาดโรงฉัน คร้ังหนง่ึ พระอนรุ ุทธเถระได้ไปเมอื งกบลิ พั ด์ุพรอ้ มด้วยภกิ ษุ 500 รูป พระญาติท้ังหลายของท่านจึงพากนั มากราบพระเถระ เว้นแต่พระน้องนางช่ือโรหณิ ี พระเถระถามพวกพระญาตวิ ่า พระนางโรหิณีอยทู่ ไ่ี หน พวกพระญาตกิ ล่าวว่า พระนางโรหณิ ี อยูใ่ นตำหนัก พระนางอาพาธเปน็ \"โรคผิวหนัง\"ไมส่ งคจ์ ะมาเพราะ ทรงละอายท่ีเปน็ โรคน้นั พระเถระจงึ แนะนำใหพ้ ระนางทำบญุ สรา้ งโรงฉนั เมือ่ สร้างเสรจ็ แล้ว ก็ใหก้ วาดพืน้ โรง ฉัน ปอู าสนะ และ ต้ังหมอ้ น้ำดื่มไว้สำหรับพระภกิ ษเุ สมอๆ\" พระนางโรหณิ ีก็ได้ปฏบิ ตั ิตามนน้ั โรคผิวหนงั ของ พระนางจงึ ราบลง ตอ่ มาพระนางได้นิมนต์ภิกษุสงฆ์มพี ระสัมมาสัมพุทธเจา้ เป็นประมขุ ใหม้ าฉนั ภตั ตาหารในครั้งนั้นพระผมู้ ี พระภาคไดต้ รัสถึงบุรพกรรมของพระนางโรหณิ ีวา่ ในอดตี พระนางไดน้ ำผงเต่าร้างโปรยใสห่ ญิงคนหนึ่ง รีระ ของหญงิ นนั้ จึงพพุ องขึ้น กรรมนน้ั จงึ สง่ ผลให้พระนางเป็นโรคผวิ หนงั ในชาติน้ี เม่อื พระพุทธองค์แ ดงธรรมจบ แลว้ พระนางโรหณิ ีกด็ ำรงอย่ใู นโสดาปตั ติผลสรรี ะของพระนางไดม้ วี รรณะดจุ ทองคำ โรคผวิ หนังจงึ หายเป็น ปลดิ ทงิ้ ในบดั น้ัน การรกั ษาอาพาธด้วยการสั่งสมบญุ ดว้ ยวิธีอ่นื ๆ ยังมอี กี หลายประการ ซึ่งนกั ศึกษาสามารถค้นคว้าเพมิ่ เตมิ ไดใ้ นพระไตรปฎิ ก 6. การพยาบาลผู้อาพาธ ในการพยาบาลผอู้ าพาธนั้นพระสมั มาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสถึงคณุ สมบตั ิของผู้เหมาะสมท่ีจะพยาบาลไว้ 5 ประการ และพระองคย์ งั ตรสั ถึงผ้อู าพาธท่พี ยาบาลงา่ ยและพยาบาลยากไว้ด้วยเพอ่ื เปน็ หลักในการปฏบิ ัตติ น ของผู้พยาบาลและผอู้ าพาธทงั้ หลาย 1) คุณสมบตั แิ พทยแ์ ละพยาบาลทด่ี ี พระสมั มาสมั พุทธเจา้ ตรัสว่า ภิกษุ ผูพ้ ยาบาลท่ปี ระกอบดว้ ยธรรม 5 ประการ ควรพยาบาลผู้อาพาธ ธรรม 5 ประการ มีดงั น้ี คือ (1)สามารถจดั ยา (2) ทราบสง่ิ ท่สี ปั ปายะ (เป็นท่ีสบาย) และสิ่งที่ไมส่ ัปปายะ (ไมเ่ ป็นที่สบาย)สำหรับผู้อาพาธ เชน่ ทราบ วา่ อาหารใดไมแ่ ลงต่อโรค ก็นำอาหารนนั้ มาใหผ้ ู้ปว่ ยรบั ประทานส่วนอาหารใดแสลงตอ่ โรคกไ็ ม่นำมา ให้ผู้ป่วยรบั ประทาน เป็นต้น (3) มีจติ เมตตาพยาบาล ไม่เห็นแกข่ องรางวัล (4) ไมร่ งั เกยี จท่จี ะนำอุจจาระ ปวั สาวะ อาเจียน นำ้ เลือด นำ้ หนอง หรือน้ำลายออกไปทิ้ง
(5) สามารถชี้แจงใหผ้ ู้ป่วยเห็นชัด ชวนใจใหอ้ ยากรับเอาไปปฏิบัติ เร้าใจ ใหอ้ าจหาญแกลว้ กล้า ปลอบ ชโลมใจ ให้สดชน่ื ร่าเรงิ ดว้ ย \"ธรรมกี ถา (การเลา่ เร่ืองธรรมะ)\" ตามกาลอนั ควร ทัง้ 5 ประการน้ี เป็น ธรรมของผคู้ วรพยาบาลผู้อาพาธสว่ นผู้ใดทปี่ ระกอบด้วยธรรมตรงข้ามกับ 5 ประการน้ี ก็ไม่ มควร พยาบาลผูอ้ าพาธ จะเหน็ ว่าในการพยาบาลผู้ป่วยน้ันพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าก็ใหพ้ ยาบาลทงั้ ร่างกายและจติ ใจเช่นกันคอื ขอ้ 14 เปน็ การพยาบาลทางด้านรา่ งกายสว่ นขอ้ 5 คือ การแสดงธรรมีกถาน้ัน เป็นการพยาบาลจิตใจผู้ปว่ ยดว้ ย ธรรมโอสถ 2) ผู้อาพาธท่ีพยาบาลได้ง่าย พระสมั มาสมั พุทธเจ้าตรสั ว่า ภิกษทุ งั้ หลาย ผูอ้ าพาธทป่ี ระกอบดว้ ยธรรม 5 ประการเป็นผู้พยาบาลไดง้ ่าย ธรรม 5 ประการมดี ังนี้ (1) ทำสิง่ ทส่ี ปั ปายะแก่ตน เชน่ รับประทานอาหารทีไ่ ม่แสลงต่อโรค เป็นต้น (2) ร้จู กั ประมาณในสงิ่ ที่สัปปายะ เชน่ รู้จกั ประมาณในการรบั ประทานอาหาร (3) รบั ประทานยา (4) บอกอาพาธตามความเป็นจรงิ แกผ่ ้พู ยาบาล (5) เปน็ ผอู้ ดกลั้นต่อทุกขเวทนาที่เกดิ ขึ้น ทัง้ 5 ประการนี้เปน็ ธรรมของผอู้ าพาธทีพ่ ยาบาลได้ง่ายสว่ นผู้ใดที่ประกอบด้วยธรรมทตี่ รงขา้ มกบั 5 ประการนี้ถือว่าเปน็ ผู้อาพาธท่ีพยาบาลได้ยาก
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: