Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ที่ 6 การใช้ประโยชน์ส่วนต่างๆของผลและเมล็ด

ใบความรู้ที่ 6 การใช้ประโยชน์ส่วนต่างๆของผลและเมล็ด

Published by kulaphat02, 2020-08-28 19:45:51

Description: ครูกุลภัสสร์ สายทอง
ใบความรู้ที่ 6 การใช้ประโยชน์ส่วนต่างๆของผลและเมล็ด

Keywords: การใช้ประโยชน์ส่วนต่างๆของผลและเมล็ด

Search

Read the Text Version

วิชาชีววิทยา2 รหสั วิชา ว30242 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 หนว่ ยที่ 1 การสบื พนั ธขุ์ องพชื ดอก ใบความรเู้ รอ่ื ง การใชป้ ระโยชนจ์ ากโครงสรา้ งตา่ งๆ ของผลและเมลด็ ครผู สู้ อน นางกลุ ภสั สร์ สายทอง โรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ จงั หวดั จนั ทบรุ ี สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 17 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ครูกลุ ภสั สร์ สายทอง โรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ จงั หวดั จนั ทบรุ ี

วิชาชีววิทยา2 รหสั วชิ า ว30242 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 หนว่ ยที่ 1 การสบื พนั ธขุ์ องพชื ดอก การใชป้ ระโยชน์จากโครงสรา้ งต่าง ๆ ของผลและเมล็ด จากกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสงท่ีพชื ใช้พลังงานแสงเพ่ือสร้างสารอนิ ทรยี จ์ ากคารบ์ อนไดออกไซด์กับน้า ซ่ึงจะถูกน้าไปสร้างเป็นน้าตาลหรือถูกเก็บสะสมไว้ในรูปเม็ดแป้งหรือพอลิแซ็กคาไรด์ เช่น เซลลูโลส นอกจากนี นา้ ตาลอาจถูกนา้ ไปสร้างเป็นสารอ่นื ๆ เชน่ กรดไขมัน และกรดแอมิโน ซงึ่ สารอินทรีย์เหลา่ นจี ะสะสมอยู่ในสว่ นต่าง ๆ ของพืชเพื่อใช้ในการด้ารงชีวิต เช่น ราก ล้าต้น ใบ ผล และเมล็ด มนุษย์ใช้ประโยชน์จากผลและเมล็ดในด้าน ใดบ้าง 1.1 การใช้ประโยชน์โดยใชท้ า้ อาหาร 1.2 การใช้ประโยชน์ดา้ นเส้นใย 1.1 การใชป้ ระโยชน์โดยใชท้ าอาหาร เม่ือสินสุดกระบวนการปฏิสนธขิ องพืช กระบวนการต่อไปคือ การเกิดผล และเมล็ด รังไข่ภายในเกสรตัว เมียจะเจริญกลายเป็นผล(Fruit) ส่วนผนังรังไข่(ovary wall) จะพัฒนาไปเป็น ผนังผลหรือ เพอริคาร์ป(pericarp) ซึ่งประกอบด้วย ผนงั ผลชันนอก(Exocarp) ผนงั ผลชันกลาง(Mesocarp) ผนงั ผลชนั ใน(Endocarp) เนอื ซึ่งมลี ักษณะรปู ร่างต่างกันออกไป สารอินทรีย์ท่ีสะสมในผลหรือเมล็ดถูกน้ามาใช้เปน็ อาหารของมนุษย์ เช่น คาร์โบไฮเดรต ในผลมีเนือที่ผนังผลชันกลาง และ/หรือชันในเป็นเนืออ่อนนุ่มรับประทานได้ แต่ไม่รับประทาน ผนังผลชันนอกที่ท้าหน้าท่ีเป็นผิวผลซ่ึงเรียกโดยทั่วไปว่าเปลือก เช่น กีวี และมะละกอ หรือผลท่ีรับประทานผนังผล ทงั 3 ชนั เช่น มะเฟอื ง แตงกวา และมะเขอื ดังรูป กวี ี มะละกอ มะเฟือง แตงกวา มะเขือ ผลมเี น้อื ที่ผนงั ผลเปน็ เนื้ออ่อนนมุ่ ครูกลุ ภสั สร์ สายทอง โรงเรยี นเบญจมราชทู ิศ จงั หวดั จนั ทบรุ ี

วชิ าชีววทิ ยา2 รหสั วิชา ว30242 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 หนว่ ยท่ี 1 การสบื พนั ธขุ์ องพชื ดอก ผลบางชนิดมีเนือที่ไม่ได้เป็นผนังผล แต่เป็นเนือที่เกิดจากส่วนของเมล็ดหุ้มอยู่รอบนอกของเมล็ด เรียกว่า เยื่อหมุ้ เมล็ด (aril) ซึ่งเปน็ สว่ นทรี่ บั ประทานได้ อย่างไรก็ตามจะมคี วามแตกต่างของเย่ือหมุ้ เมลด็ กลา่ วคือ ในผลบาง ชนิด ส่วนเย่ือหุ้มเมลด็ ท่ีแยกออกจากเมล็ดได้ง่าย เนื่องจากเยื่อหุ้มเมล็ดเจริญมาจากสว่ นก้านเมล็ด หรือก้านออวลุ (funiculus) เช่น ลา้ ไย ลินจี่ และทเุ รยี น ดงั รปู แตใ่ นผลบางชนดิ ส่วนเยื่อหมุ้ เมล็ดทีต่ ิดกับเปลือกเมลด็ แยกออกจาก กันไม่ได้เนื่องจากเย่ือหุ้มเมล็ดเจริญมาจาก เปลือกเมล็ด(Integument) เช่น เงาะ มังคุด กระท้อน และลางสาด ดังรปู ลา้ ไย ทเุ รยี น เงาะ กระท้อน รปู เยื่อหุ้มเมลด็ ก. เยือ่ หมุ้ เมล็ดที่แยกออกจากเมลด็ ได้ง่าย ข. เย่ือหุ้มเมล็ดทแ่ี ยกออกจากเมล็ดไม่ได้ เนือ่ งจากเจรญิ มาจากกา้ นออวลุ (funiculus) เนอ่ื งจากเจรญิ มาจากเปลือกเมลด็ (integument) โดยท่ัวไป “เนือผล” ท่ีเราทานก็คือส่วนของผนังผล ท่ีพัฒนามาจากผนังรังไข่(ovary wall) แต่ผลบาง ชนิดเราอาจทานได้ทุกสว่ น เช่นมะเขือเทศ ส่วนท่ีเราทาน คือ ผนังผลทังหมด หรือเพอริคาร์ป(pericarp) ซึ่งก็คือ เปลอื กเหนยี วดา้ นนอกและเนือฉ่้าๆด้านใน ส้ม เราทานเฉพาะเนือส้ม ซึ่งเป็นส่วน ผนังผลชันใน หรือ เอนโดคาร์ป(endocarp) ส่วนรกส้ม เป็นผนัง ผลชันกลาง หรือ มโี ซคาร์ป(mesocarp) และ เปลอื กส้ม คือผนังผลชันนอก หรือ อโี ซคาร์ป(esocarp) มะม่วง เนือท่ีเราทานคือ ผนังผลชันกลาง หรือ มีโซคาร์ป(mesocarp) ส่วนเปลือก คือผนังผลชันนอก หรือ อโี ซคารป์ (esocarp) และเมลด็ ตรงแข็งๆดา้ นนอก คือผนงั ผลชนั ใน หรอื เอนโดคารป์ (endocarp) เงาะ กระทอ้ น ลาไย ลิน้ จ่ี ส่วนเปลอื กที่เราปอกทิงคือ pericarp ทังหมด เนือที่เราทาน เปน็ เนือท่ีเกิด จากส่วนเมล็ด ทีเ่ รียกเยื่อห้มุ เมลด็ หรือเนือหมุ้ เมล็ด หรือทเ่ี รยี กว่า เอริล(Aril) ซ่ึงอาจเจริญมาจากสว่ น funiculus หรอื integument กไ็ ด้ ดงั นันเนือท่เี ราทานคอื สว่ นของเมล็ด ไมใ่ ช่ผนังผล สว่ นมะพร้าว เนอื ที่เราทาน เปน็ สว่ นของเมล็ด ทเ่ี รียกเอนโดเสปรม์ิ (endosperm) แต่ ขนุน เนอื ทเี่ ราทาน ไมเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ผลและเมล็ดเลย สว่ นขนุนที่เราทาน เรียก ยวงขนุน คือส่วน ของวงกลบี (perianth) ของดอก ครูกลุ ภสั สร์ สายทอง โรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ จงั หวดั จนั ทบรุ ี

วชิ าชีววทิ ยา2 รหสั วิชา ว30242 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 หนว่ ยท่ี 1 การสบื พนั ธขุ์ องพชื ดอก นอกจากนีมนษุ ยย์ ังนา้ ส่วนอ่นื ๆ ของเมลด็ มาเป็นอาหารได้ ซง่ึ เปน็ ส่วนที่เมล็ดพชื สะสมอาหารไว้ส้าหรบั เลยี งต้นกลา้ อาจเป็นคาร์โบไฮเดรต โปรตนี และลพิ ดิ เชน่ แปง้ จากข้าวชนดิ ต่าง ๆ ลกู เดือย และถวั่ เขียว ดังรูป และนา้ มนั จากเมล็ดพชื ดังรูป ข้าวเจา้ ขา้ วสาลี ลูกเดือย ถ่วั เขียว รปู เมล็ดพืชทส่ี ะสมคารโ์ บไฮเดรตและนามาผลิตแปง้ ถั่วเหลือง งา ทานตะวัน มะพร้าว รูป เมลด็ พืชท่สี ะสมลิพิดและนามาผลติ ไขมนั ผลและเมล็ดพืชบางชนิดถูกน้ามาท้าให้แห้งและใช้เป็นเคร่ืองเทศปรุงอาหารเพ่ือเพ่ิมกล่ิน สีและรสชาติได้ เช่น ผลโป๊ยก๊ัก เมล็ดพริกไทย และมล็ดจันทน์เทศ ดังรูป. นอกจากนีผลของพืชบางชนิดที่ผนังผลชันนอกจะมีต่อม ครูกลุ ภสั สร์ สายทอง โรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ จงั หวดั จนั ทบรุ ี

วชิ าชีววิทยา2 รหสั วิชา ว30242 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 หนว่ ยที่ 1 การสบื พนั ธขุ์ องพชื ดอก น้ามันท่ีมีน้ามันหอมระเหย เช่น มะกรูด และมะนาว ซ่ึงน้ามาใช้ปรุงอาหาร ดังรูปรวมทังสามารถน้ามาสกัดน้ามัน หอมระเหยเพือ่ ใช้ประโยชน์ด้านอนื่ ๆ ได้ ผลโป๊ยกก๊ั เมลด็ พริกไทย ผลมะกรูด รปู ผลและเมล็ดพชื ที่มีกลิ่น เส้นใย เมลด็ พืชบางชนดิ มสี ว่ นทีเ่ ปน็ เส้นใยเซลลูโลส เช่น เส้นใยฝ้ายท่ีเป็นส่วนของเมลด็ ท่ีอยู่ภายในผล ซง่ึ เส้นใยนีมีลักษณะแบนค่อนข้างตันและมีผนังเซลล์หนา เส้นใยเกาะพันกันท้าให้มีความเหนียวและแข็งแรง นิยม น้าไปปนั่ เป็นเสน้ ด้ายเพอ่ื ใช้ทอผา้ ดงั รูป ผลฝา้ ยที่แตกเห็นใยสีขาวทห่ี ุ้มเล็ด เส้นดา้ ยจากใยฝา้ ย ผ้าฝา้ ย รูป ฝา้ ยและผลติ ภัณฑจ์ ากฝ้าย เสน้ ใยนุน่ เปน็ สว่ นของเมล็ดที่อยูภ่ ายในฝักซึ่งเปน็ ผลที่มลี ักษณะปลายเรยี ว การใช้ประโยชนจ์ ะน้าส่วนที่อยู่ ภายในฝักมาแยกส่วนของส้นใยออกจากเมล็ด เส้นใยนุ่นมีลักษณะกลวงจึงมีความเหนียวน้อย นอกจากนีเส้นใยนุ่น ยังมีลักษณะของเส้นใยท่ีสันมาก ท้าให้ไม่สามารถน้าไปป่ันเป็นด้ายเพ่ือใช้ทอผ้า เส้นใยนุ่นมีน้าหนักเบาและมีไขมัน เคลือบอยู่จึงไมเ่ ปยี กน้างา่ ย นิยมใชเ้ สน้ ใยนุน่ ใส่ในหมอนและทน่ี อน ดังรูป ฝักนุ่น ใยน่นุ ใยนนุ่ ในหมอน รปู น่นุ และผลติ ภณั ฑ์จากน่นุ ครูกลุ ภสั สร์ สายทอง โรงเรยี นเบญจมราชทู ิศ จงั หวดั จนั ทบรุ ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook