สรปุ ผลดำเนินกำรชมุ ชนกำรเรยี นรทู้ ำงวชิ ำชพี | สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลมุ่ สำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี ก คำนำ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ของแผนการพัฒนาการศึกษาแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579) วา่ ดว้ ยเรอ่ื ง การศกึ ษาการ พัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ กาหนดเป้าหมายที่ 1: ผู้เรียนมีทักษะและ คุณลกั ษณะพื้นฐานของพลเมอื งไทยและทกั ษะและคณุ ลกั ษณะท่จี า้ เปน็ ในศตวรรษท่ี 21 ซึ่งผู้เรยี นจะต้องเปน็ ผู้ท่ีรู้ วิธีท่ีจะเรียน รู้จักต้ังคาถาม/ปัญหาในส่ิงที่สงสัย และต้องรู้จักวิธีแสวงหาข้อมูลเพื่อนามาตอบข้อคาถามดังกล่าว ดว้ ยตนเอง รูจ้ ัก คัดเลอื กประเมนิ คิดวิเคราะห์ และสรา้ งความรูด้ ว้ ยตนเองและนาไปประยุกต์ หรอื กล่าวโดยสรุป เปน็ ผู้เรยี นท่มี ที ั้งทักษะสารสนเทศ และทักษะชวี ิต เพ่ือเปน็ การสร้างผ้เู รยี นทม่ี ีความสามารถ และมที กั ษะดังกล่าว ครูในศตวรรษท่ี 21 จึงจะต้องเป็นผู้อานวยความสะดวกในเรื่องความรู้ ไม่ใช่เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้เหมือนเช่นใน อดีตให้กบั ผเู้ รียน โดยจดั ใหต้ ามความถนัด ความสนใจและความสามารถของผู้เรยี นแต่ละคนแต่ละกลุม่ ครจู งึ ต้อง ปรบั บทบาทจากผสู้ อน เป็นผ้ทู ค่ี อยชแ้ี นะ อานวยความสะดวก อานวยความร้ใู ห้กบั ผเู้ รยี นไมใ่ ชถ่ า่ ยทอดความรู้อยู่ หน้าชั้น แต่ครูต้องมีการพบปะพูดคุย สนทนา แลกเปล่ียนเรียนรู้กันและกัน ด้วยชุมชนการเรียนรู้ครูเพ่ือศิษย์ (Professional Learning Community : PLC) ซ่ึงเปน็ การการรวมตัวกนั ของครูเพ่อื แลกเปล่ียนประสบการณ์การ ทาหน้าที่ของครูแต่ละคน มาร่วมกันพัฒนาทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่สร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เรียน สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่นทักษะการต้ังคาถาม เพื่อทาให้ผู้เรียนสามารถกาหนดประเด็น ปัญหาและหัดคิดตั้งปัญหาด้วยตนเองได้ อีกท้ังมี ทักษะการสอนเพือ่ ให้ผู้เรียนสามารถแสวงหาคาตอบด้วยตนเอง โดยลงมือปฏิบัติได้ ทักษะในการคัดเลือกความรู้ ตามสภาพแวดล้อมที่ทาได้จริง ทักษะการสร้างความรู้และการ ตรวจสอบคุณภาพความรู้ ทักษะการสอนให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์เพ่ือได้ข้อสรุปหรือ ความคิดรวบยอด ทักษะการ สอนใหผ้ ้เู รียนสามารถประยุกต์ความรู้ท่ีไดแ้ ละทักษะในการประเมนิ ผลการเรียนรูไ้ ดด้ ้วยตนเอง ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC (Professional Learning Community) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี สาชาชีววิทยา กลุ่ม PLC BIO-01 จึงได้ จัดทาแบบรายงานผลการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ขึ้นเพ่ือรายงาน ผลการดาเนินงานต่อโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แนวทางท่ีไดไ้ ปใชใ้ หเ้ ป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการเรียนการสอนและเป็นประโยชนผ์ ู้ท่สี นใจใน การพัฒนาการศึกษา ในการนี้ ขอขอบคุณสานักพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษาข้ันพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่ได้ออกแบบและขับเคลื่อนการนากระบวนการ PLC ลงสู่สถานศึกษาไว้ ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณทา่ นผ้อู านวยการโรงเรยี น นายสวุ รรณ ทวผี ล ท่านดร.ศริ ดา พรมเทพ รองผอู้ านวยการฝา่ ยบรหิ ารงาน วิชาการ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี และผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่าย ที่ได้เร่งรัดจัดประสบการณ์ เปิด โลกทัศน์สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์ ให้แก่คณะครูในโรงเรียนหลายคร้ังท่ีผ่านมา ทาให้ครูกลุ่มPLC BIO-01 สาขาวขิ าวิชาชวี วทิ ยา กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลบี โรงเรยี นเบญจมราชูทิศ จงั หวดั จันทบุรี ได้มีโอกาสร่วมมือกันในการสร้างและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ “ชุดกิจกรรมเรียนรู้แบบกระตือรือร้น (Active Learning)” ลงสู่ห้องเรียนและนาไปใช้จริงอย่างเป็นรูปธรรม นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข ผล การเรียนรู้เกดิ การพัฒนา จงึ หวงั วา่ รายงานเลม่ น้ีคงเป็นประโยชนอ์ ยา่ งยิง่ ต่อการศกึ ษาต่อไป กลุ่ม BIO-01 สาขา ชีววิทยา กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จงั หวดั จันทบรุ ี สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยโี รงเรยี นเบญจมรำชทู ศิ จงั หวดั จนั ทบุรี
สรปุ ผลดำเนนิ กำรชมุ ชนกำรเรยี นรทู้ ำงวชิ ำชพี | สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลมุ่ สำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี ข สำรบัญ เรื่อง หน้ำ คานา ก สารบญั ข รำยงำนสรปุ ผลกำรดำเนินงำน 1 Step 1 ขั้นค้นปัญหา สรา้ งทีม 1 Step 2 ขั้นสืบค้นข้อมลู / เลือกแนวทางแก้ไข 2 Step 3 ขั้นออกแบบนวตั กรรม 6 Step 4 ข้ันทดลองใชน้ วัตกรรม/ นาไปใชจ้ ริง 6 Step 5 ขั้นร่วมสะท้อนผลการนาไปใช้/ เผยแพร่ผลงาน 7 ภำคผนวก ............................................................................................................................................. คาสง่ั Logbook ภาพกิจกรรม นวตั กรรม สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยโี รงเรยี นเบญจมรำชทู ศิ จงั หวดั จนั ทบุรี
สรปุ ผลดำเนนิ กำรชมุ ชนกำรเรยี นรทู้ ำงวชิ ำชพี | สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กล่มุ สำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1 รำยงำนสรปุ ผลกำรดำเนินชมุ ชนกำรเรียนรู้ทำงวิชำชีพ “PLC ชุมชนกำรเรยี นรู้ครเู พอ่ื ศิษย์ เบญจมรำชูทิศจงั หวดั จนั ทบุรี” กลุ่ม BIO-01 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สำขำวิชำชีววทิ ยำ) =========================================================== ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ: PLC (Professional Learning Community) สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี PLC กลุ่ม BIO-01 ได้จัดทาแบบ รายงานผลการขับเคลื่อนกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ข้ึนเพื่อรายงานผลการ ดาเนินงานต่อโรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาจันทบุรี ตราด เพื่อ ใช้เป็นแนวทางที่ได้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการเรียนการสอนและเป็นประโยชน์ผู้ท่ีสนใจในการพัฒนา การศึกษา ดงั นีค้ อื STEP 1 ข้ันคน้ ปัญหำ....สร้ำงทีม กิจกรรมที่ 1 ร่วมสรำ้ งทีม(วงรอบที่ 1) ชือ่ ทมี : BIO-01 ( ชดุ กจิ กรรมเรียนรูแ้ บบกระตือรือรน้ (Active Learning) ) ลกั ษณะรว่ มของสมำชกิ : ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยา ลักษณะที่แตกต่ำงของสมำชิก: วัยวุฒิ คณุ วุฒิ ประสบการณ์ทางาน กลุ่มของนกั เรียนระดบั ชน้ั ที่สอน ทมี่ ำ: มาจากจากแนวคิดท่ีว่า ในการเรียนวิชาชีววิทยาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามเป้าหมาย ท่ีกาหนดน้ัน จะต้องเกิดจากตวั ผู้เรียนที่มีความสนใจในสว่ นของเนื้อหา และมที ักษะในส่วนของกระบวนการเรียนรู้ ผู้ร่วมทีมจึงลงความคิดเห็นร่วมกันว่า แนวทางในการกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจในรายวิชาชีววิทยา และตัว ผู้เรียนมีส่วนร่วมมากข้ึนนั้น ครูผู้สอนจะต้องมีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเน้นการปฏิบัติ มีส่วนร่วมใน กิจกรรมมากท่ีสุดอีกทง้ั ต้องสอดแทรกแนวทางจดั กิจกรรมท่ีกระต้นุ ใหผ้ ู้เรยี นสนใจในเนื้อหาของบทเรียนมากย่ิงขึน้ สมำชิกกลุ่ม 1. นางพนารตั น์ เอกปจั ชา ตาแหนง่ Mentor 2. นางกุลภัสสร์ สายทอง ตาแหน่ง Model teacher 3. นางสาวมรจี ิ คงทรตั น์ ตาแหน่ง Buddy teacher 4. นางสาวอสิ รยิ า คารอด ตาแหน่ง Co-learner 5. นางสาวปารชิ าต สิงห์โตทอง ตาแหน่ง Co-learner วนั ท่กี ่อต้ัง : 22 พฤษภาคม 2563 วันเดือนปที ย่ี ุติบทบำทของกลุ่ม: 26 มีนาคม 2564 รวมจำนวนช่ัวโมงกิจกรรมกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำงวิชำชพี : 58 ช่ัวโมง 33 นาที สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยโี รงเรยี นเบญจมรำชทู ศิ จงั หวดั จนั ทบุรี
สรปุ ผลดำเนินกำรชมุ ชนกำรเรยี นรทู้ ำงวชิ ำชพี | สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลุม่ สำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2 กจิ กรรมท่ี 2 หำสำเหตุของปัญหำและระบปุ ญั หำ(วงรอบท่ี 2-3) สำเหตุของปัญหำ :วเิ คราะหป์ ญั หาจากผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนรายวิชาชวี วิทยาของสมาชิกใน กลมุ่ พบว่ามากกวา่ ร้อยละ 50 อยู่ในระดับ 3 และ 4 จึงมแี นวคิดที่พัฒนาให้เพ่ิมเปน็ ร้อยละ 60 เพือ่ ให้มคี วามสอดคล้องกับเป้าหมายของโรงเรยี นที่กาหนดนักเรยี นมผี ลการเรียนร้อยละ 70 อยู่ใน ระดับ 3 และ 4 ปญั หำทคี่ ดั เลอื ก :เน้ือหาในรายวชิ าชีววิทยาใช้รปู แบบการจดั การเรยี นการสอนท่ีไม่นา่ สนใจ รวมทงั้ ธรรมชาติของวชิ าชวี วทิ ยามเี น้ือหาที่ไม่นา่ ต่ืนเต้นจงึ สง่ ผลให้นกั เรยี นขาดความกระตอื รือรน้ ใน การเรยี นส่งผลตอ่ ระดับของผลสัมฤทธิ์รายวชิ าชีววิทยา ศกึ ษำหลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐานที่ 1-2 สาระชวี วทิ ยา สรุปเวลำ STEP 1 ค้นปญั หำ......สรำ้ งทีม จำนวน 5 ช่ัวโมง STEP 2 ข้ันสบื คน้ ข้อมลู และเลือกแนวทำงแก้ไข กจิ กรรมสบื คน้ ข้อมูล 1. สบื คน้ ข้อมลู เก่ียวกับท่มี าของปญั หา (ชุดกิจกรรมการเรียนร)ู้ 2. วิเคราะห์ปัญหาจากผลคะแนนโอเน็ต (O-net)ในปีการศึกษาท่ีผ่านมาเพื่อเป็นแนวทางในการ คดั เลือกเนือ้ หาในบทเรียนทจี่ ะพฒั นา 3. สบื คน้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Active learning กิจกรรมกำหนด Timeline สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยโี รงเรยี นเบญจมรำชทู ศิ จงั หวดั จนั ทบุรี
สรปุ ผลดำเนินกำรชมุ ชนกำรเรยี นรทู้ ำงวชิ ำชพี | สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลมุ่ สำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3 ปฏทิ ินกำรดำเนนิ กำร PLC ปีกำรศึกษำ 2563 กลุ่ม BIO-01 โรงเรียนเบญจมรำชูทิศ จังหวดั จันทบรุ ี กิจกรรมที่ 1 วาง Timeline ข้นั ตอนการทากิจกรรมของกล่มุ ครัง้ ท่ี วนั / เดือน / ปี กิจกรรม หมำยเหตุ ภำคเรียนที่ 1 Step 1 (วงรอบที่ 1) 1 22 พ.ค.63 - จัดตงั้ และหาสมาชกิ รว่ มทีม (ก่อรา่ งสร้างทีม) Step 1 (วงรอบท่ี 2) 2 29 พ.ค.63 - สมาชิกในทมี รว่ มกันพูดคุยและแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั การ เลือกปญั หาท่ตี ้องการแก้ไข Step 1 - สรุปเรอื่ งและเลอื กปญั หาที่ตอ้ งการแก้ไข (วงรอบที่ 3) 3 5 มิ.ย.63 - ศึกษาหลกั สตู ร Step 2 (วงรอบท่ี 1) 4 12 ม.ิ ย.63 - สืบคน้ ข้อมูลเกย่ี วกับท่มี าของปัญหา (ชดุ กิจกรรมการเรยี นร)ู้ Step 2 5 19 มิ.ย.63 - วิเคราะหป์ ัญหาจากผลคะแนนโอเนต็ (O-net) (วงรอบที่ 2) 6 26 ม.ิ ย.63 -สืบคน้ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนแบบ Active learning Step 2 -กาหนด Timeline (5 STEP) (วงรอบที่ 3) 7 3 ก.ค.63 - รว่ มกันอภปิ รายถงึ แนวทางในการใช้กจิ กรรม Active learning Step 2 (วงรอบท่ี 4) 8 10 ก.ค.63 - สรุปเรอ่ื งและกจิ กรรมของสมาชิกในทีมทจ่ี ะนามาใช้ในกจิ กรรม Step 2 9 17 ก.ค.63 - ศึกษากจิ กรรมของสมาชิกแตล่ ะทา่ น (วงรอบท่ี 5) 10 24 ก.ค. 63 -ร่วมกนั อภิปรายกิจกรรมการเรียนรแู้ บบกระตอื รือร้น (Active Step 2 learning)ท่สี มาชิกแต่ละคนได้ออกแบบไว้ครั้งที่ 1 (วงรอบท่ี 6) 11 31 ก.ค.63 -ร่วมกนั อภปิ รายกิจกรรมการเรยี นร้แู บบกระตือรือรน้ (Active Step 2 learning)ทีส่ มาชิกแตล่ ะคนไดอ้ อกแบบไวค้ รัง้ ท่ี 2 (วงรอบท่ี 7) 12 7 ส.ค.63 - ออกแบบแผนการจดั การเรียนรแู้ บบกระตือรือร้นActive learning Step 2 (วงรอบท่ี 8) Step 3 (วงรอบท่ี 1) สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กล่มุ สำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยโี รงเรยี นเบญจมรำชทู ศิ จงั หวดั จนั ทบุรี
สรปุ ผลดำเนนิ กำรชมุ ชนกำรเรยี นรทู้ ำงวชิ ำชพี | สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี ครัง้ ท่ี วนั / เดอื น / ปี กิจกรรม หมำยเหตุ 13 14 ส.ค.63 - แลกเปลี่ยนแนวคิดในการออกแบบแผนการจดั การเรียนรู้ Step 3 ของสมาชิกในทีม (วงรอบที่ 2) 14 21 ส.ค.63 - ด7าเนินการจัดทาชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ คร้ังที่ 1 Step 3 (วงรอบที่ 3) 15 28 ส.ค.63 - ดาเนนิ การจัดทาชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ครง้ั ท่ี 2 Step 3 16 11 ก.ย.63 - ดาเนนิ การจดั ทาชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ คร้ังท่ี 3 (วงรอบท่ี 4) 17 18 ก.ย.63 - ดาเนินการจดั ทาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ครัง้ ที่ 4 Step 3 (วงรอบที่ 5) 18 25 ก.ย.63 - แลกเปลย่ี นแนวคดิ กบั สมาชิกภายในทมี Step 3 ภำคเรยี นท่ี 2 (วงรอบท่ี 6) 19 2 ต.ค.63 - กาหนดหลักเกณฑ์ เพื่อสรา้ งแบบประเมินความพงึ พอใจในการใช้ Step 3 ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบกระตือรือร้น Active learning ครัง้ ที่1 (วงรอบท่ี 7) 20 9 ต.ค.63 - กาหนดหลักเกณฑ์ เพื่อสรา้ งแบบประเมนิ ความพงึ พอใจในการใช้ Step 3 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบกระตือรือร้น Active learning ครงั้ ที่1 (วงรอบท่ี 8) 21 16 ต.ค.63 - แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เพ่อื ปรับปรุงพฒั นาการจัดทาชดุ กจิ กรรม Step 3 (วงรอบที่ 9) 22 4 ธ.ค.63 - การหาประสิทธิภาพชุดกจิ กรรม ส่ือ หรอื ชดุ การสอนครัง้ ท่ี 1 Step 3 23 18 ธ.ค.63 - การหาประสิทธภิ าพชุดกิจกรรม สือ่ หรอื ชดุ การสอนคร้งั ท่ี 2 (วงรอบท่ี 10) 24 25 ธ.ค.63 - การหาประสิทธภิ าพชดุ กิจกรรม สอ่ื หรอื ชุดการสอนครง้ั ที่ 3 Step 3 (วงรอบที่ 11) 25 8 ม.ค.64 - การหาประสิทธภิ าพชดุ กจิ กรรม สือ่ หรือชุดการสอนครง้ั ที่ 4 Step 3 26 15 ม.ค.64 - สมาชิกนาคาแนะนาและข้อเสนอแนะไปปรับปรุงนวตั กรรมของ (วงรอบที่ 12) ตนเอง Step 3 27 22 ม.ค.64 - สรา้ งชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกระตอื รือรน้ โดยสอดแทรก (วงรอบท่ี 13) เทคนิค รปู แบบตา่ งๆ Step 3 (วงรอบที่ 14) Step 3 (วงรอบที่ 15) Step 4 (วงรอบท่ี 1) สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยโี รงเรยี นเบญจมรำชทู ศิ จงั หวดั จนั ทบุรี
สรปุ ผลดำเนนิ กำรชมุ ชนกำรเรยี นรทู้ ำงวชิ ำชพี | สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี คร้ังท่ี วนั / เดือน / ปี กิจกรรม หมำยเหตุ 28 29 ม.ค.64 - สรา้ งชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบกระตอื รือร้น โดยสอดแทรก Step 4 เทคนคิ รูปแบบตา่ งๆ (วงรอบที่ 2) 29 5 ก.พ.64 - สรา้ งชุดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบกระตือรือรน้ โดยสอดแทรก Step 4 เทคนคิ รปู แบบตา่ งๆ (วงรอบท่ี 3) 30 12 ก.พ.64 - สรา้ งชุดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบกระตอื รือรน้ โดยสอดแทรก Step 4 เทคนิค รูปแบบตา่ งๆ (วงรอบท่ี 4) 31 19 ก.พ.64 - สร้างชุดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบกระตอื รือร้น โดยสอดแทรก Step 4 เทคนคิ รปู แบบตา่ งๆ (วงรอบที่ 5) 32 5 ม.ี ค.64 - สร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกระตือรือรน้ โดยสอดแทรก Step 4 เทคนคิ รปู แบบต่างๆ (วงรอบท่ี 6) 33 12 ม.ี ค.64 - สรา้ งชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้แบบกระตือรือร้น โดยสอดแทรก Step 4 เทคนิค รปู แบบต่างๆ (วงรอบท่ี 7) 34 19 มี.ค.64 - สร้างชุดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบกระตอื รือร้น โดยสอดแทรก Step 4 เทคนคิ รูปแบบตา่ งๆ (วงรอบที่ 8) 35 26 มี.ค.64 -ทบทวนหลังการปฏิบตั ิงาน After Action Review : AAR Step 5 (วงรอบท่ี 1) รวม ชว่ั โมง PLC ปกี ำรศกึ ษำ 2563 จำนวน 58.33 ชั่วโมง สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลมุ่ สำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยโี รงเรยี นเบญจมรำชทู ศิ จงั หวดั จนั ทบุรี
สรปุ ผลดำเนนิ กำรชมุ ชนกำรเรยี นรทู้ ำงวชิ ำชพี | สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี 6 กจิ กรรมกำหนด Timeline 1. ร่วมกันอภปิ รายถึงแนวทางในการใช้กิจกรรมการเรยี นร้แู บบกระตอื รือรน้ (Active learning) 2. สรุปเรื่องและเทคนคิ การเรยี นแบบ Active Learningของสมาชิกในทมี ทจ่ี ะนามาใช้ในกจิ กรรม 3. ศึกษากิจกรรมของสมาชิกแต่ละท่าน และนาเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมแบบ Active Learning ในหัวข้อเนอ้ื หารายวิชาของตนเองเพอื่ ร่วมกนั พิจารณาจดุ เด่น จุดด้อย 4. สมาชิกร่วมกันวางโครงสร้าง และอภิปรายชุดกิจกรรม การเรียนรู้แบบกระตือรือร้น (Active learning) ท่สี มาชิกแต่ละคนได้ออกแบบไว้ สรปุ เวลำ STEP 2 ข้ันสืบคน้ ข้อมลู / เลือกแนวทำงแก้ไขจำนวน 13.33 ชั่วโมง STEP 3 ขัน้ ออกแบบนวัตกรรม/ทดลองใช้นวตั กรรม กิจกรรมท่ี 1สืบคน้ ข้อมูล 1. ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learningหาทฤษฎีและแนวทางรองรับ 2. แลกเปลี่ยนแนวทางการจดั ทาแผนการจัดการเรียนร้แู บบ Active Learning กิจกรรมที่ 2 การออกแบบการสร้างนวัตกรรม 1. ดาเนินการจดั ทาชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบActive Learningและคมู่ ือในการใช้ 2. ร่วมแลกเปล่ยี นกบั สมาชกิ ในกลมุ่ เพื่อปรบั ปรุงข้อแกไ้ ขของชุดกจิ กรรม 3. ออกแบบประเมนิ ความพงึ พอใจในชุดกจิ กรรม กจิ กรรมที่ 3 นานวัตกรรมไปทดลองและปรับปรงุ ให้สมบูรณ์ 1. สมาชิกในกลุม่ นาชดุ กจิ กรรมไปทดลองใชก้ ับกลุ่มตัวอย่าง และปรับปรุงข้อบกพร่อง 2. หาประสทิ ธิภาพของชดุ กิจกรรม สรปุ เวลำ STEP 3 ขน้ั ออกแบบนวตั กรรม จำนวน 25 ชัว่ โมง สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยโี รงเรยี นเบญจมรำชทู ศิ จงั หวดั จนั ทบุรี
สรปุ ผลดำเนินกำรชมุ ชนกำรเรยี นรทู้ ำงวชิ ำชพี | สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลมุ่ สำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี 7 STEP 4 ขั้นนำนวตั กรรมไปใช้จรงิ กิจกรรม1. นิเทศ ตดิ ตาม อภปิ รายการนานวตั กรรมสูห่ อ้ งเรียน ( STEP 4 วงรอบที่ 1-4) 1. นาชุดกจิ กรรมไปใช้จริง 2. สมาชิกในกลุ่มรว่ มกนั ติดตามประเมนิ ผลการใชช้ ดุ กจิ กรรมของสมาชกิ ในกลมุ่ 3. วเิ คราะหผ์ ลการใช้ชุดกิจกรรม กิจกรรมท่ี 2 เกบ็ ข้อมลู ผลสมั ฤทธขิ์ องผู้เรียน และข้อมูลความพงึ พอใจ ( STEP4 วงรอบที่ 5-8) 1.ขอ้ มูลผลสัมฤทธข์ิ องผเู้ รียน ตารางท่ี 1 ข้อมูลผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน ที่ ครผู ู้สอน ชอ่ื ชุดกจิ กรรม ผลสมั ฤทธิ์ 1 นางสาวมรีจิ คงทรัตน์ กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบกระตือรือรน้ ผลสัมฤทธห์ิ ลังเรียน (Active learning) รายวิชาชวี วทิ ยา 3 2 นางกุลภัสสร์ สายทอง เรอ่ื ง ระบบภูมิคุ้มกนั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 เพิ่มขึ้นร้อยละ จานวน 30 คน 82.33 3 นางสาวอิสรยิ า คารอด ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบกระตือรือร้น (Active learning) รายวิชาชวี วิทยา3 ผลสัมฤทธห์ิ ลงั เรยี น 4 นางสาวปารชิ าต เรอ่ื งระบบย่อยอาหาร ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 เพม่ิ ขน้ึ ร้อยละ สิงหโ์ ตทอง จานวน 31 คน 82.80 ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบกระตือรือรน้ (Active learning) รายวชิ าชวี วิทยา 3 ผลสมั ฤทธ์ิหลังเรยี น เรื่อง ระบบหมนุ เวียนเลอื ด ช้ันมธั ยมศกึ ษา เพิม่ ขน้ึ ร้อยละ ปีที่ 5 จานวน 30 คน 83.33 ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบกระตอื รือรน้ (Active learning) รายวิชาชวี วทิ ยา 3 ผลสมั ฤทธหิ์ ลังเรยี น เรือ่ ง ระบบขบั ถา่ ย ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 เพ่ิมขน้ึ ร้อยละ จานวน 30 คน 82.63 สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลมุ่ สำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยโี รงเรยี นเบญจมรำชทู ศิ จงั หวดั จนั ทบุรี
สรปุ ผลดำเนินกำรชมุ ชนกำรเรยี นรทู้ ำงวชิ ำชพี | สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2. ขอ้ มลู ในกำรประเมนิ ควำมพงึ พอใจ 8 1. ครูกุลภัสสร์ สำยทอง ใช้แบบสอบถามนักเรียนทั้งหมด31 คน พบว่านักเรียนมีความ พึง พอใจเฉล่ียเท่ากับ 4.85 นักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุดในเร่ือง รูปแบบชุด กจิ กรรมนา่ สนใจ และมีกจิ กรรมที่หลากหลาย มีค่าเฉลี่ยเทา่ กนั คอื 4.90 2. ครูมรีจิ คงทรัตน์ ใช้แบบสอบถามนักเรียนท้ังหมด 30 คน พบว่านักเรียนมีความพึง พอใจเฉล่ียเท่ากับ 4.58 นักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุดในเรื่อง มีรูปแบบกิจกรรม น่าสนใจ มีคา่ เฉลยี่ เทา่ กบั 4.73 และมีความพึงพอใจน้อยที่สุดในเร่ือง สนุกในการใช้ชุด กิจกรรม มีคา่ เฉลย่ี เท่ากับ 4.53 3. ครูอสิ ริยำ คำรอด ใชแ้ บบสอบถามนักเรียนทงั้ หมด 30 คน พบว่านักเรียนมคี วามเฉล่ีย เท่ากับ 4.62 นักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุดในเรื่อง มีกิจกรรมท่ีหลากหลาย มี ค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.73 และมีความพึงพอใจน้อยสุดในเรื่อง สนุกในการใช้ชุดกิจกรรม มี คา่ เฉล่ยี เท่ากับ 4.57 4. ครูปำริชำต สงิ ห์โตทอง ใชแ้ บบสอบถามนกั เรียนท้ังหมด 30 คน พบวา่ พบวา่ นักเรยี นมี ความพึง พอใจเฉลี่ยเท่ากบั 4.63 นักเรยี นมีความพึงพอใจมากท่สี ดุ ในเร่ือง มเี ทคนิคช่วย ในการจาได้ง่าย มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.73 และมีความพึงพอใจน้อยท่ีสุดในเรื่อง สนุกใน การใช้ชุดกิจกรรม มีคา่ เฉล่ีย เท่ากบั 4.57 สรุปเวลำ STEP 4 นำไปใช้จริง จำนวน 13.33 ชว่ั โมง สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยโี รงเรยี นเบญจมรำชทู ศิ จงั หวดั จนั ทบุรี
สรปุ ผลดำเนนิ กำรชมุ ชนกำรเรยี นรทู้ ำงวชิ ำชพี | สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลมุ่ สำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี 9 STEP 5 ขั้นรว่ มสะท้อนผลกำรนำไปใช/้ เผยแพร่ผลงำน กจิ กรรมที่ 1 ร่วมสะท้อนผล ARR (After Action Review) 1. กิจกรรมท่ีทำได้ดี ประสบควำมสำเร็จคือความร่วมมือร่วมใจของครูในกลุ่ม PLC การ สืบค้นข้อมูล ท่ีนามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ การสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ กระตือรือร้น (Active learning) รายวิชาชีววิทยา ท่ีตรงกับเน้ือหาบทเรียน และการใช้ สอื่ นวตั กรรม และมีกิจกรรมท่ีหลากหลายทาใหน้ ักเรยี นตน่ื เต้น ท้าทาย สนกุ สนาน ความ ความสนใจใคร่รู้ อยากทากจิ กรรมอกี 2. ปัญหำและอุปสรรคจำกำรดำเนินงำน นักเรียนบางคนต้องต้องให้ความช่วยเหลือจึงจะ ทากจิ กรรมได้เร็วขึน้ 3. เรำได้เรียนรู้จำกกิจกรรมนี้คือ การสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ขึ้นมาทาให้นักเรียนมีความ สนใจ อยากเรียนรู้ และทาให้คณุ ภาพของการเรยี นรพู้ ัฒนาขน้ึ 4. แนวกำรปรับปรุงผลกำรดำเนินงำนต่อไป โดยนักเรียนได้มีส่วนร่วมในการออกแบบ กิจกรรม และสร้างนวัตกรรมที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนแล้วนามาใช้ในการ จดั กิจกรรมเรียนรตู้ ่อไปซงึ่ จะกระต้นุ ความสนของผเู้ รียนได้เพ่มิ ข้นึ กิจกรรมท่ี 2 การเผยแพรผ่ ลงาน 1. หลงั จากรายงานสรุปผลการดาเนนิ งานเปน็ รปู เล่ม เสรจ็ แลว้ สมาชกิ แต่ละคนเผยแพร่ผลงาน ร่วมกับครูในโรงเรยี นเบญจมราชทู ศิ จงั หวัดจนั ทบรุ ี ผ่านเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต และกลุ่ม Facebook ของ โรงเรียน สรปุ เวลำ STEP 5 ขนั้ รว่ มสะทอ้ นผล/เผยแพร่ผลงำนจำนวน 1.67 ช่ัวโมง สำขำวชิ ำชวี วทิ ยำ : กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยโี รงเรยี นเบญจมรำชทู ศิ จงั หวดั จนั ทบุรี
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: