คำประสม คำซ้อน
คำประสม หลักสังเกตคำประสม คำประสมเกิดจากการนำคำมูลตั้งแต่ คำมูลที่นำมาประสมกันต้องไม่มี 2 คำขึ้นไปมารวมกัน คำมูล คือ คำที่มี ความเกี่ยวข้องกัน ความหมายอยู่ในตัวของมันเอง เช่น คล้ายคลึงกัน เด็ก ใจ สิงโต กระดาษ หรือตรงกันข้ามกันแต่อย่างใด เมื่อประสมกันแล้ว ต้องเกิดความหมายใหม่ แต่ยังคงเค้าความหมายเดิม หากไม่เกิดความหมายใหม่จะไม่ใช่คำประสม ตัวอย่าง แม่ หมายถึง หญิงผู้ให้กำเนิด บ้าน หมายถึง ที่อยู่อาศัย พ่อ หมายถึง สามีของแม่ แม่บ้าน หมายถึง หญิงผู้จัดการงานในบ้าน ตา หมายถึง พ่อของแม่ พ่อตา หมายถึง พ่อของภรรยา คอ หมายถึง ส่วนของร่างกายที่ต่อศีรษะกับตัว ห่าน หมายถึง ชื่อนกจำพวกเป็ด คอยาว ลูก หมายถึง บุตร คอห่าน หมายถึง ส่วนของโถส้วม น้ำ หมายถึง ของเหลว ลูกน้ำ หมายถึง ลูกของยุง
คำซ้อน หลักสังเกตคำซ้อน คำซ้อนเกิดจากการนำคำมูล เมื่อนำมาซ้อนกันแล้ว ตั้งแต่ 2 คำขึ้นไปมารวมกัน ความหมายอาจยังคง ความหมายคล้ายกัน คำมูลที่นำมาซ้อนกัน เหมือนกัน ไปในทำองเดียวกัน ต้องมีความเกี่ยวข้องกัน หรือตรงกันข้ามกัน คล้ายคลึงกันหรือตรงกันข้าม ซึ่งจุดมุ่งหมายในการซ้อน คือ เพื่อให้ได้ความหมายที่ชัดเจนขึ้น ตัวอย่าง ความหมายเหมือนกัน คือ คำที่นำมาซ้อนกันนั้นเป็นสิ่งเดียวกัน ความหมายตรงกันข้าม เช่น เร็วไว ทรัพย์สิน ใหญ่โต สูญหาย คือ คำที่นำมาซ้อนกันนั้นมีความ ดูแล นุ่มนิ่ม เลือกสรร เขียวขจี ภูตผี สูญหาย หมายเป็นคนละลักษณะหรือคนละฝ่าย กัน เช่น ใกล้ไกล สูงต่ำดำขาว ความหมายคล้ายกัน ผิดถูก ตัดเป็นตัดตาย ชั่วดี คือ คำที่มีความหมายใกล้เคียงกันหรือเป็นไปใน ทีหน้าทีหลัง เหตุผล ตืนลึกหนาบาง ทำนองเดียวกัน พอที่จะจัดเข้ากลุ่มเดียวกันได้ เช่น อ่อนนุ่ม ใจคอ เล็กน้อย ยักษ์มาร ไร่นา ศีลธรรม ภาษีอากร หน้าตา เขตแดน ถ้วยโถโอชาม เย็บปักถักร้อย
ตัวอย่างข้อสอบ
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: