การจดั การ สง่ิ แวดล้อมเมอื งทีย่ ั่งยืน ประสบการณ์ แนวทาง และบทเรยี นการพฒั นาเมือง สรู่ างวลั อาเซียนดา้ นสิง่ แวดลอ้ มเมืองทยี่ ง่ั ยืน รางวลั เทศบาลนา่ อยู่อย่างยง่ั ยนื และรางวัลเทศบาลด้านส่ิงแวดลอ้ มย่ังยนื การจดั การส่ิงแวดล้อมเมอื งท่ยี งั่ ยืน 1
การจัดการสง่ิ แวดลอ้ มเมืองทย่ี ั่งยืน: ประสบการณ์ แนวทาง และบทเรยี น การพฒั นาเมืองส่รู างวลั อาเซียนดา้ นส่งิ แวดลอ้ มเมอื งทยี่ ่งั ยนื รางวลั เทศบาลน่าอยู่อย่างยงั่ ยนื และรางวลั เทศบาลดา้ นสิง่ แวดลอ้ มยั่งยนื จัดท�ำโดย กองส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มของประชาชน กรมส่งเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอ้ ม เลขท่ี ๔๙ ซอย ๓๐ ถนนพระราม ๖ แขวงพญาไท เขตพญาไท กรงุ เทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท/์ โทรสาร: ๐ ๒๒๙๘ ๕๖๕๒ E-mail : [email protected] คณะผจู้ ดั ท�ำ กรมสง่ เสริมคุณภาพสิง่ แวดล้อม ปรชั ธนภรณ์ บวั เกษ สรอ้ ยนภา หาญเมตตา พีรพงษ์ สนุ ทรเดชะ ผการัตน ์ เพ็งสวสั ดิ์ กาญจนา สายลาม รุจริ า ชัยศริ ถิ าวรกลุ สุขุมาลย์ ธรี ะสมบรู ณ์ อญั ชลี มะลวิ ลั ย์ ปณิสรา หนเู ทศ สุดาลักษณ ์ บวั ลา่ กฤตพร สอ่ งแสง ซาอาดะห์ ตูเ้ พชร กฤษฎาพร อ่อนมาก สินีนาฏ อนั บรุ ี ชนาธนิ าถ คุม้ รกั ษ์ สบื สกุล ฉัตรทอง อนุพล ภแู่ ก้ว กลั ยา วมิ ตุ ิ สภุ าภรณ์ แซ่นา้ ปณุ ยนชุ ชณิ บตุ ร ทิพยม์ ล ไตรยทุ ธ เนตรชนก ขำ� วงษ์ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย บธนุณัชยชาาพรอนิ เจทือรทภอัยงกุล บรรณาธกิ าร เบญจมาส โชติทอง เปมิกา พรหมสวสั ดิ์ วลิ าวรรณ น้อยภา ออกแบบ ธนิรัตน์ ธนวฒั น์ ดาวนโ์ หลดเอกสาร จัดท�ำเมอ่ื ณฐั ณชิ า ยลี่ ังกา เบญจมาส โชตทิ อง ณฐั ณิชา ยี่ลังกา [email protected] กรกฎาคม ๒๕๖๕
ค�ำ นำ� ปัจจุบัน ประเด็นการขยายตัวของเมืองและสิ่งแวดล้อมเป็นท่ีสนใจท่ัวโลก ประชาคมอาเซียนได้มี การก�ำหนดมาตรการเชิงยุทธศาสตร์ท่ีค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ซ่ึงเป็นหน่ึงมาตรการส�ำคัญในการขับเคล่ือน ประชาคมอาเซยี นให้มีความม่นั คงด้านส่งิ แวดลอ้ ม เพ่ือน�ำไปสู่การพัฒนาเมืองอยา่ งย่งั ยืนและประชาชน มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยรางวัลอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองท่ีย่ังยืนถูกก�ำหนดให้มีข้ึน เพื่อเป็นแรงจูงใจ ให้เมืองต่าง ๆ ในประเทศสมาชิกอาเซียนขับเคล่ือนการด�ำเนินงานด้านพ้ืนท่ีสีเขียวและสิ่งแวดล้อมเมือง ท่ีย่ังยืน สอดคล้องกับแผนงานการจัดต้ังประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio- Cultural Community Blueprint: ASCC Blueprint) ซง่ึ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม โดยกรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม ไดร้ บั มอบหมายใหเ้ ปน็ หนว่ ยงานหลกั ของประเทศในการดำ� เนนิ งาน ดา้ นสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยัง่ ยืนอาเซียน กรมส่งเสริมคุณภาพส่ิงแวดล้อม ได้ร่วมกับมูลนิธิสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ด�ำเนินโครงการถอดบทเรียน แนวทางการพฒั นาสรู่ างวลั อาเซยี นดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มเมอื งทยี่ ง่ั ยนื เพอ่ื เปน็ การสรปุ บทเรยี นการดำ� เนนิ งาน ของเทศบาลทไี่ ดร้ างวลั อาเซยี นดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มเมอื งทยี่ งั่ ยนื เพอ่ื นำ� ไปใชใ้ นการพฒั นารปู แบบและแนวทาง การขับเคล่ือนการด�ำเนินงานด้านการจัดการส่ิงแวดล้อมเมืองให้มีประสิทธิภาพ น�ำไปสู่เมืองต้นแบบ การพฒั นาทีเ่ ป็นมติ รตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม ใหอ้ งค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นและภาคีอน่ื ๆ สามารถนำ� ไปประยุกต์ ใชใ้ นการดำ� เนนิ งานในพ้นื ทข่ี องตนเองตอ่ ไป
สารบัญ ๗ ๘ ๑. บทน�ำ ๑๐ ๑.๑ ทศิ ทางการพัฒนาเมือง ๑๓ ๑.๒ แนวคดิ การจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองยัง่ ยืน ๑๖ ๑.๓ สถานการณส์ ิง่ แวดล้อมเมือง ๑๘ ๒. เมอื งกรณตี ัวอยา่ ง ๓๒ ๒.๑ กรณีเมอื งตวั อย่างในประเทศ ๓๘ ๒.๒ กรณีเมอื งตวั อยา่ งในเอเซยี ๓๘ ๓. แนวทางการจดั การสิ่งแวดล้อมเมือง ๔๓ ๓.๑ การจัดการพนื้ ท่สี ีเขยี วและความหลากหลายทางชวี ภาพ ๕๑ ๓.๒ การจดั การขยะมูลฝอย ๕๔ ๓.๓ การจดั การคณุ ภาพอากาศ ๕๙ ๓.๔ การจัดการน�้ำ ๖๔ ๓.๕ การขยายผลการจดั การส่งิ แวดล้อมเมอื ง ๖๔ ๔. สรุปบทเรียนการจดั การส่งิ แวดล้อมเมอื ง ๖๖ ๔.๑ การจดั การสิง่ แวดลอ้ มเมืองท่ผี า่ นมา ๔.๒ ประสบการณก์ ารเขา้ รว่ มประเมินการพฒั นา ๖๘ สง่ิ แวดล้อมเมืองในระดับประเทศและอาเซียน ๗๐ ๔.๓ ปจั จยั สคู่ วามสำ� เรจ็ ในการจัดการสง่ิ แวดลอ้ มเมือง ๔.๔ ทศิ ทางการจัดการส่งิ แวดลอ้ มเมืองในอนาคต 4 การจดั การส่ิงแวดล้อมเมอื งทยี่ ั่งยืน
บทนำ� การจดั การส่งิ แวดล้อมเมืองทย่ี ่งั ยืน 5
6 การจดั การส่งิ แวดล้อมเมอื งท่ียงั่ ยนื
๑. บทน�ำ ประชากรโลกที่มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดการขยายตัวของเมืองอย่างรวดเร็ว รวมถึงมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ผลจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดจาก การพฒั นาทไี่ มส่ มดลุ ระหวา่ งเศรษฐกจิ สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม ทำ� ใหเ้ กดิ ปญั หาความเสอื่ มโทรมทงั้ คณุ ภาพ สิ่งแวดล้อม คุณภาพสังคมและคุณภาพชีวิตของคนในเมือง อีกท้ังการจัดการส่ิงแวดล้อมท่ีไม่เหมาะสม ก่อให้เกิดเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น ขยะมูลฝอย น้�ำเสียจากครัวเรือน การขาดพ้ืนที่สีเขียว ฝุ่นละออง มลพษิ ทางอากาศและเสยี ง ลว้ นมผี ลกระทบต่อคณุ ภาพชวี ติ ของคนในเมือง ดว้ ยเหตนุ ที้ วั่ โลกจงึ ไดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งยงั่ ยนื โดยในสว่ นของประเทศสมาชกิ อาเซียนได้ร่วมกันจดั ท�ำแผนงานประชาคมอาเซียน พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๘ ก�ำหนดมาตรการเชงิ ยทุ ธศาสตร์ ที่ค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อมไว้เป็นหน่ึงมาตรการส�ำคัญในการขับเคลื่อนประชาคมอาเซียน พร้อมมีกลไก การด�ำเนินงานโดยได้จัดต้ังคณะท�ำงานอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม ๗ ด้าน โดยมีคณะท�ำงานอาเซียน ด้านส่ิงแวดล้อมเมืองท่ียั่งยืน (ASEAN Working Group on Environmentally Sustainable Cities: AWGESC) เปน็ หนึ่งในคณะทำ� งานดังกลา่ ว คณะท�ำงานอาเซียนดา้ นสิ่งแวดลอ้ มเมืองทีย่ ั่งยืนได้ด�ำเนนิ กจิ กรรม “รางวลั อาเซียนดา้ นส่ิงแวดล้อมเมอื งท่ยี ัง่ ยนื (ASEAN Environmentally Sustainable Cities Award: ASEAN ESC Award)” โดยมตี วั ชีว้ ดั แบ่งออก เป็น ๓ ด้าน ไดแ้ ก่ ดา้ นอากาศ ดา้ นน้�ำ ดา้ นขยะและพ้นื ท่ีสีเขยี ว (Clean Air) (Clean Water) (Clean and Green Land) เพอ่ื เป็นมาตรการจูงใจและกระตนุ้ ใหเ้ มอื งมกี ารด�ำเนนิ งานมงุ่ ส่สู ่ิงแวดล้อม เมอื งที่ย่งั ยนื อย่างเปน็ ระบบและมมี าตรฐานสากล การจดั การสิ่งแวดล้อมเมอื งทย่ี งั่ ยนื 7
๑.๑ ทศิ ทางการพัฒนาเมือง จากการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยส่ิงแวดล้อมและการพัฒนา (United Nations Conference on Environment and Development: UNCED หรอื Rio Summit) ณ กรุงริโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล เมอื่ พ.ศ. ๒๕๓๕ (ค.ศ. ๑๙๙๒) ไดม้ กี ารรบั รองแผนปฏบิ ตั กิ าร ๒๑ (Agenda 21) เปน็ แผนแมบ่ ทของโลก ในการด�ำเนินงานเพื่อการพัฒนายั่งยืน (Sustainable Development) เพ่ือขจัดความยากจนและลด การท�ำลายสิ่งแวดล้อมจากการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและเทคโนโลยี โดยแต่ละประเทศได้น�ำไปปรับใช้ ใหเ้ หมาะสมตามบรบิ ทของประเทศ ตอ่ มาใน พ.ศ. ๒๕๕๕ จากการประชมุ สหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการพฒั นา ทย่ี งั่ ยนื (United Nations Conference on Sustainable Development) หรอื Rio+20 ไดย้ นื ยนั คำ� มนั่ ที่จะให้มีการพัฒนาท่ียั่งยืนและส่งเสริมให้มีอนาคตที่ย่ังยืน โดยค�ำนึงถึงขีดจำ� กัดของทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม สนองตอ่ ความตอ้ งการในปัจจุบนั โดยไมส่ ง่ ผลเสยี ตอ่ ความตอ้ งการในอนาคต ใน พ.ศ. ๒๕๕๘ (ค.ศ. ๒๐๑๕) การประชุมระดับผู้น�ำของสหประชาชาติ ได้ประกาศ เป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goal: SDGs) เป็น เป้าหมายการพัฒนาประชาคมโลกจนถึง พ.ศ. ๒๕๗๓ (ค.ศ. ๒๐๓๐) จ�ำนวน ๑๗ เป้าหมาย โดยมีเป้าหมายท่ีเก่ียวกับการจัดการส่ิงแวดล้อมของเมือง ที่ให้ ความส�ำคัญกับการเติบโตของเมือง ประชากรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีและปลอดภัย สามารถเข้าถึงบริการ มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน มีส่ิงอ�ำนวยความสะดวก ด้านสุขอนามยั และสง่ เสริมสุขอนามัยทกุ ระดับ ปกปอ้ งและฟื้นฟรู ะบบนิเวศ มพี ื้นท่ี สาธารณะสเี ขยี ว มกี ารใชป้ ระโยชนท์ ดี่ นิ ยง่ั ยนื ปรบั ปรงุ ผงั เมอื งใหม้ คี วามสอดคลอ้ ง และเหมาะสมกับเมือง การจัดการขยะ การจัดการมลพิษอย่างมีประสิทธิภาพ มีการใช้และเข้าถึงพลังงานสะอาด ตลอดจนส่งเสริมให้เมืองมีการผลิต และการบริโภคอย่างยั่งยนื นอกจากนี้ วาระใหม่แห่งการพัฒนาเมือง (New Urban Agenda) ให้ความส�ำคัญกับแนวทาง การวางแผน การออกแบบ การจัดหางบประมาณ การพัฒนา การวางระเบียบ การบริหารจัดการเมือง และการตง้ั ถน่ิ ฐานมนษุ ย์ เพอื่ ยตุ คิ วามยากจนและความหวิ โหย ลดความเหลอ่ื มลำ�้ สง่ เสรมิ การเจรญิ เตบิ โต ทางเศรษฐกจิ ทยี่ ง่ั ยนื และสนบั สนนุ ใหส้ ตรแี ละเดก็ เขา้ มามสี ว่ นรว่ ม ตลอดจนใหค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นา สุขภาพและความอยู่ดีมีสุขของมนุษย์ให้ดียิ่งข้ึน อีกท้ัง ทิศทางการพัฒนาเมืองในประชาคมอาเซียน (ASEAN) ได้ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาที่สมดุลและมีส่ิงแวดล้อมท่ียั่งยืน ซึ่งมีเป้าหมายสอดคล้องกับ เปา้ หมายการพัฒนาทีย่ ั่งยนื 8 การจดั การส่ิงแวดลอ้ มเมืองที่ย่ังยนื
ประเทศไทย เล็งเห็นความส�ำคัญของการพัฒนาเมืองควบคู่ไปกับการจัดการสิ่งแวดล้อมและการใช้ ทรัพยากรอย่างเหมาะสม ตั้งแต่การบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ทใ่ี หค้ วามสำ� คญั กบั ทกุ ภาคสว่ นรว่ มมอื ดำ� เนนิ การ เปน็ กลไกสำ� คญั ในการอนรุ กั ษแ์ ละคมุ้ ครองสงิ่ แวดลอ้ ม โดยหน่วยงานภาครัฐด้านการควบคุม ก�ำกับ และดูแลกิจกรรมท่ีก่อให้เกิดผลกระทบต่อประชาชนหรือ สิ่งแวดล้อมให้น้อยท่ีสุด รวมถึงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารและการจัดท�ำยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) ซงึ่ มวี สิ ยั ทัศน์วา่ “ประเทศไทยมคี วามมั่นคง มั่งคงั่ ย่ังยนื เปน็ ประเทศพัฒนาแลว้ ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ไดม้ ีการจดั ท�ำแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็นพื้นท่ีและเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ มุ่งเป้าการพัฒนาเมืองน่าอยู่ในทุกภาคของประเทศสอดคล้องกับ อัตลักษณ์ท้องถ่ินและศักยภาพของเมือง โดยมีระบบการบริหารจัดการเมืองท่ีมีประสิทธิภาพ มีส่ิงอ�ำนวยความสะดวกท่ีสามารถรองรับความต้องการของคนทุกกลุ่ม มีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี และสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี ตลอดจน ใหค้ วามส�ำคญั กับการพัฒนาเมืองตามแผนผงั ภมู ินิเวศ ส่วนทิศทางการพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖-๒๕๗๐) เพื่อพลิกโฉมประเทศไทยสู่ “สังคมก้าวหน้า เศรษฐกิจสร้างมูลค่าอย่างย่ังยืน” มีหมุดหมายการพัฒนา ๑๓ ประการ ซง่ึ มหี มดุ หมายท่ีเกย่ี วข้องกับการจดั การสงิ่ แวดล้อมของเมือง คอื หมดุ หมายท่ี ๘ ไทยมพี ื้นที่ และเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน หมุดหมายที่ ๑๐ ไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียน และสังคมคาร์บอนต�่ำ และหมุดหมายที่ ๑๑ ไทยสามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภาพรวมของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๓ ได้ให้ความส�ำคัญกับ การพัฒนาเมืองให้เป็นเมืองน่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และมลพิษ มีระบบการบริหารจัดการขยะอย่างเป็นระบบในระดับชุมชนและเพ่ิมศักยภาพในการรับมือ กับภัยธรรมชาตแิ ละการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ แผนพัฒนา ฯ ฉบับท่ี ๑๓ หมทุดี่ ห๘มาย ไทยมพี นื้ ทแี่ ละเมอื งอจั ฉริยะท่นี ่าอยู่ ปลอดภัย เตบิ โตได้อยา่ งยั่งยนื หมทดุี่ ๑หม๐าย ไทยมเี ศรษฐกิจหมนุ เวยี น และสังคมคารบ์ อนตำ�่ หมทดุี่ ๑หม๑าย ไทยสามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบจาก ภยั ธรรมชาตแิ ละการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ การจัดการสง่ิ แวดลอ้ มเมืองทย่ี ัง่ ยนื 9
๑.๒ แนวคิดการจัดการสงิ่ แวดล้อมเมอื งยัง่ ยนื เมอื งนิเวศ >> เมืองนิเวศเป็นการพัฒนาเมืองให้มีความสมดุลกับระบบส่ิงแวดล้อมของพื้นท่ี โดยค�ำนึง Eco City ผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศใหม้ ผี ลกระทบและมกี ารเปลยี่ นแปลงระบบนเิ วศนอ้ ยทสี่ ดุ มนษุ ยส์ ามารถ อยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างลงตัว ยอมรับการพัฒนาและขยายตัวทางธุรกิจ ภายใต้เง่ือนไข การใชท้ รพั ยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ลดการเกดิ ของเสยี และมลภาวะ ลดความเหลอื่ มลำ�้ ทาง สังคม ส่งเสริมสุขภาพของผู้อยู่อาศัยในเมือง เพ่ือให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี นอกจากน้ี แนวคิดเมืองนิเวศยังได้ค�ำนึงถึงประเด็นอื่น ๆ อีกด้วย อาทิ การออกแบบเมืองนิเวศ การใช้ พลังงานทดแทน การมีโภชนาการและอาหาร ความหลากหลายทางชีวภาพ ความสามารถ ในการรองรบั ของระบบนเิ วศและความสมบรู ณข์ องระบบนเิ วศ จะเหน็ ไดว้ า่ แนวคดิ การพฒั นา เมืองนิเวศจะเป็นการพัฒนาเมืองให้เกิดความสมดุลท้ังในมิติของส่ิงแวดล้อม สังคม และ เศรษฐกจิ นำ� ไปสกู่ ารพฒั นาเมอื งอยา่ งยั่งยนื เมอื ง >> เมืองอัจฉริยะเป็นการพัฒนาเมืองโดยการใช้ประโยชน์เทคโนโลยีดิจิทัลหรือข้อมูล อัจฉริยะ สารสนเทศ นวัตกรรม หรือการส่ือสาร เพื่อประสิทธิภาพของการให้บริการและการบริหาร Smart จัดการเมือง ลดต้นทุน และลดการใช้ทรัพยากรและพลังงาน ลดการเกิดของเสียและการ ปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก รวมถึงลดปรากฏการณ์เกาะความร้อน (Heat Island Effect) City ตลอดจนการวางผังเมืองท่ีชาญฉลาด รองรับการใช้ชีวิตท่ีสะดวกสบาย และประชาชนมี คุณภาพชีวิตท่ีดี ทั้งนี้มีการแบ่งกลุ่มเมืองอัจฉริยะและก�ำหนดกรอบการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ขึน้ โดยแบ่งออกเปน็ สองกล่มุ คือ ๑) เมืองอัจฉริยะน่าอยู่ คือ การฟื้นฟูเมืองเดิม พัฒนาให้เป็นเมืองน่าอยู่ท่ีใช้เทคโนโลยี โครงสรา้ งคมนาคมขนสง่ พลังงาน และดิจทิ ัล ปรบั เปลย่ี นฟน้ื ฟูเมืองใหน้ ่าอยู่ยิ่งข้นึ ๒) เมืองอัจฉริยะทันสมัย คือการพัฒนาเมืองใหม่โดยก่อสร้างพ้ืนที่เมืองขึ้นมาใหม่ทั้งหมด รวมถึงการพัฒนาเมืองทุกมิติให้เป็นเมืองท่ีทันสมัย นอกจากนี้ คณะกรรมการขับเคลื่อน การพัฒนาเมืองอัจฉริยะได้ก�ำหนดองค์ประกอบพ้ืนฐานของเมืองอัจฉริยะไว้ ๗ ด้าน ได้แก่ ด้านคมนาคมขนส่ง (Smart Mobility) ด้านการศึกษาและความเท่าเทียมกันในสังคม (Smart People) ด้านความปลอดภัย (Smart Living) ด้านความสะดวกในการท�ำธุรกิจ (Smart Economy) ด้านบริการจากภาครัฐ (Smart Governance) ด้านพลังงาน (Smart Energy) และด้านส่ิงแวดล้อม (Smart Environment) 10 การจดั การส่ิงแวดลอ้ มเมอื งที่ยัง่ ยนื
เมอื ง >> เมืองคาร์บอนต�่ำให้ความส�ำคัญกับเป้าหมายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก มีการจัดท�ำ คารบ์ อนต่ำ� รายงานข้อมูลบัญชีก๊าซเรือนกระจก (City Carbon Footprint หรือ CCF) ท�ำให้ทราบถึง Low Carbon ระดับการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในกรณีฐานท่ีสามารถใช้เป็นฐานระดับอ้างอิงและ แหล่งปล่อยที่ส�ำคัญ น�ำไปสู่การวางแผนและก�ำหนดแนวทางการพัฒนาเมืองคาร์บอนต�่ำ City มุ่งเน้นการเลือกใช้และพัฒนาเทคโนโลยีให้เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม มีการออกแบบ ให้ผังเมืองสอดคล้องกับระบบนิเวศที่สมดุล เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการของเสีย และสนับสนุนการเปล่ียนของเสียให้เป็นพลังงาน เพ่ิมพ้ืนที่สีเขียวในเมืองเพื่อเป็นแหล่ง ดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ และลดการปล่อยก๊าซเรอื นกระจกจากกจิ กรรมการพฒั นาต่าง ๆ ในเมืองหลัก ลดการใช้เช้ือเพลิงฟอสซิล เช่น น้�ำมัน และถ่านหิน ใช้พลังงานทดแทน และพลงั งานสะอาด เมอื ง >> เมืองสุขภาวะเป็นเมืองที่เอ้ือต่อภาวะแห่งการมีความสุขให้กับประชากรเมือง ทั้งด้าน สุขภาวะ สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ โดยองคก์ ารอนามยั โลก (World Health Organization: WHO) Healthy ได้ก�ำหนดคุณสมบัติของเมืองสุขภาวะ ประกอบด้วย เมืองท่ีมีสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และท่อี ยู่อาศัยทีส่ ะอาดและปลอดภยั มีการรักษาระบบนเิ วศให้สมดุลและยัง่ ยนื เปน็ ชมุ ชน City เข้มแข็ง ช่วยเหลือเกื้อกูลและไม่แสวงหาประโยชน์ส่วนตน การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ มีการตอบสนองต่อความต้องการพื้นฐานของคนในเมือง การเปิดโอกาสให้มีการเข้าถึง กิจกรรมและทรัพยากรภายในเมืองอย่างทั่วถึง การสนับสนุนนวัตกรรมทางเศรษฐกิจ โดยส่งเสริมให้เกิดความหลากหลายและมีชีวิตชีวา การสืบสานประวัติศาสตร์และมรดก ทางวัฒนธรรมของผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นท่ี การมีบริการสาธารณสุขท่ีสามารถให้บริการ ไดอ้ ย่างทว่ั ถึง การทค่ี นในเมืองมสี ุขภาพดแี ละมจี ำ� นวนผู้ป่วยน้อย เมืองน่าอยู่ >> เมืองน่าอยู่ถูกพัฒนามาจากเมืองสุขภาวะ โดยเป็นการพัฒนาเมืองที่ให้ความส�ำคัญ Livable ครอบคลมุ ทง้ั สขุ ภาพของคน สง่ิ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสงั คม ใหเ้ ปน็ เมอื งทอ่ี ำ� นวยความสขุ สรา้ งสขุ ภาพ และสขุ ภาวะทด่ี ใี หก้ บั คนในเมอื ง ซง่ึ American Institute of Architects (AIA) City ได้ก�ำหนดหลักของการเป็นเมืองน่าอยู่ที่ให้ความส�ำคัญกับการออกแบบพื้นท่ีให้เหมาะสม การสญั จร การรกั ษาศลิ ปวฒั นธรรม การสรา้ งอตั ลกั ษณข์ องพน้ื ที่ และการไมท่ ำ� ลายสง่ิ แวดลอ้ ม ขณะทป่ี ระเทศไทยนำ� มาปรบั ใชโ้ ดยกรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มรว่ มกบั องคก์ รเครอื ขา่ ย ได้ค�ำนึงถึงความเป็นองค์รวมด้านเมืองอยู่ดี (กายภาพ เศรษฐกิจ และความปลอดภัย) คนมสี ขุ สงิ่ แวดลอ้ มยง่ั ยนื เมอื งแหง่ การเรยี นรแู้ ละการบรหิ ารจดั การทด่ี ี องค์ประกอบน่าอยู่ • เมืองอยดู่ ี • คนมีสุข • สิง่ แวดลอ้ มย่ังยืน • เมืองแห่งการเรียนรแู้ ละการบริหารจัดการที่ดี การจดั การส่ิงแวดล้อมเมอื งทย่ี งั่ ยืน 11
เมือง >> เมืองส่ิงแวดล้อมยั่งยืนให้ความส�ำคัญต่อการลดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม สงิ่ แวดลอ้ ม การออกแบบท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ค�ำนึงถึงการด�ำเนินชีวิตบนแนวคิดของ ความยั่งยืน ลดการพึ่งพาการใช้ทรัพยากร ทั้งพลังงาน อาหารและน้�ำ ลดการ ยง่ั ยนื ปลดปลอ่ ยของเสยี ทงั้ ในรปู ของความรอ้ นและมลพษิ ตา่ ง ๆ มแี หลง่ พลงั งานหมนุ เวยี น Green City สามารถสร้างพลังงานได้เอง โดยไม่ต้องพึ่งพาทรัพยากรจากภายนอก ดังนั้น หลักการของแนวคิดน้ี คือ การลดขนาดรอยเท้านิเวศ (Ecological footprint) ซง่ึ เปน็ การลดผลกระทบของกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของมนษุ ยท์ ส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศ และลดการปล่อยมลพิษให้อยู่ในระดับท่ีต่�ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ นอกจากนี้ ได้มี การก�ำหนดดัชนีความเป็นเมืองสีเขียว (Green City Index) ที่ให้ความส�ำคัญ กบั การออกแบบและวางผงั ใหเ้ ปน็ ไปตามยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาเมอื งเพอ่ื ความรม่ รนื่ แทล่ีเปะ็นร่ืนมริตมรยก์ับมสีกิ่งาแรวกด�ำลห้อนมดรกะาดรับจคัดากรา์บรอขนยไะดแอลอะกขไอซงดเ์ ส(CียOก2า) รอใาชค้นา�้ำรแแลละะรระะบบบบบข�ำนบสัด่ง น�้ำเสีย คุณภาพอากาศ และระบบการจดั การบริหารเมือง แนวคิดการจัดการสิ่งแวดล้อมเมือง มองการพัฒนาเมืองท่ีเช่ือมโยงการจัดการ ส่ิงแวดล้อมกับระบบการพัฒนาเมืองอย่างเป็นองค์รวม ให้ความส�ำคัญ กับความเชื่อมโยงกับแผนและผังการพัฒนา ระบบการบริการด้านสาธารณสุข การศึกษา เศรษฐกิจ และการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยยึดประชาชน หรือพลเมืองผู้อยู่อาศัยเป็นฐานในการขับเคล่ือนการพัฒนาร่วมกับภาคี ภาคส่วนตา่ ง ๆ บนฐานการบรหิ ารจดั การท่ดี ี 12 การจัดการสิง่ แวดล้อมเมอื งทยี่ งั่ ยนื
๑.๓ สถานการณ์สงิ่ แวดล้อมเมอื ง จ�ำนวนประชากรท่ีเพ่ิมข้ึนส่งผลให้เกิดการขยายตัวของเมือง ด้วยความต้องการพื้นที่เพ่ือรองรับ การประกอบกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของประชากรมากขน้ึ อกี ทง้ั เขตเมอื งเปน็ เขตทมี่ กี ารเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ และเป็นศูนย์รวมของสิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ ซึ่งเป็นปัจจัยที่ดึงดูดให้มีการเคล่ือนย้ายมาอาศัย ในเขตเมืองมากข้ึน ซ่ึงสอดคล้องกับข้อมูลของ Statistics Times ท่ีแสดงให้เห็นว่าจ�ำนวนประชากร ในเมืองจะมกี ารเพิม่ ขึ้นเรอ่ื ย ๆ ซง่ึ ต่างจากประชากรในชนบทที่คอ่ นข้างคงที่ หนว่ ย : พนั ลา้ น ๗ ๖ ๕ ประชากรในเมอื ง ๔ ๓ ๒ ประชากรในชนบท ๑ ๐ ๑๙๕๐ ๑๙๕๗ ๑๙๖๔ ๑๙๗๑ ๑๙๗๘ ๑๙๘๕ ๑๙๙๒ ๑๙๙๙ ๒๐๐๖ ๒๐๑๓ ๒๐๒๐ ๒๐๒๗ ๒๐๓๔ ๒๐๔๑ ๒๐๔๘ พ.ศ. ๒๕๖๕ ภาพแสดงแนวโน้มการขยายตัวของประชากรในเมอื ง ทีม่ า: statisticstimes.com แนวโนม้ สถานการณส์ งิ่ แวดลอ้ มโลกและภมู ภิ าค หลงั สถานการณก์ ารระบาดของโรคโควดิ ๑๙ สิ่งท่ีตามมาก็คือ ภาวะถดถอยทางเศรษฐกิจ (Recession) นอกจากนี้ท่ัวโลกก็ยังประสบกับปัญหาจาก ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ไม่ว่าจะเป็นน�้ำท่วม ภัยแล้ง อุณหภูมิเฉล่ียของโลก ทสี่ งู ขนึ้ คลน่ื ความรอ้ นในพนื้ ทต่ี า่ ง ๆ หากยงั ไมส่ ามารถหยดุ ยง้ั ได้ สงิ่ ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ตามมากค็ อื การลม่ สลาย ของความหลากหลายทางชีวภาพ ขณะท่ีเมืองมีการขยายตัว ท�ำให้เกิดภาวะการขาดแคลนน้�ำ ทั้งแหล่ง น�้ำใต้ดินขนาดใหญ่และน้�ำท่าในลุ่มน�้ำขนาดใหญ่ที่เสี่ยงต่อการขาดแคลนน�้ำในการเกษตร เกิดการ เปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติรุนแรงขึ้น พื้นท่ีป่าไม้ความหลากหลายทางชีวภาพถูกคุกคาม ส่วนส่ิงแวดล้อมในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก พบว่าการขยายตัวเมืองส่งผลกระทบต่อพ้ืนสีเขียว ทางธรรมชาติลดลงและถูกแบ่งเป็นผืนเล็ก ๆ ขาดการเช่ือมต่อกัน เกิดมลพิษทางอากาศข้ามพรมแดน ปกคลมุ ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ จากไฟไหมป้ า่ ในอนิ โดนเี ซยี ปรมิ าณฝนนอ้ ยสง่ ผลใหค้ ณุ ภาพอากาศ แยล่ ง มปี ญั หาขยะพลาสตกิ ทะเล โดยประเทศในอาเซยี น (อนิ โดนเี ซยี ไทย มาเลเซยี ) มกี ารทงิ้ ขยะพลาสตกิ ลงสู่ทะเลมากในล�ำดับต้น ๆ ของโลก ขณะท่ีมีความร่วมมือกันในการบริหารจัดการระบบนิเวศของ แมน่ �้ำโขง รวมทัง้ มคี ณะท�ำงานอาเซียนวา่ ดว้ ยการจัดการทรพั ยากรนำ้� รวมทงั้ คณะจัดการลมุ่ แม่นำ้� โขง การจดั การสิง่ แวดล้อมเมอื งที่ยง่ั ยนื 13
สถานการณส์ ง่ิ แวดลอ้ มเมอื งในประเทศไทย ในแงข่ องประชากรโดยรวมมกี ารเปลยี่ นแปลงนอ้ ย และเข้าสู่สังคมสูงวัยที่มีผู้สูงวัยเพ่ิมเป็นร้อยละ ๑๘ โดยมีการอยู่อาศัยกระจายสู่เมืองต่าง ๆ ในภูมิภาค แทนการกระจุกตัวในเมืองหลัก มีชุมชนและสิ่งปลูกสร้างเพ่ิมข้ึน อีกท้ังมีขยะพลาสติกและบรรจุภัณฑ์ เพิ่มข้ึนจากพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงและการขยายตัวของการบริการสั่งสินค้าออนไลน์ แม้ปริมาณขยะโดยรวมในช่วงการแพร่ระบาดโรคโควิด ๑๙ ลดลง อีกท้ังแหล่งก�ำจัดขยะท่ีไม่ถูกต้อง มีเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันในภาคการเกษตรยังมีการใช้สารเคมีในปริมาณท่ีน่าเป็นห่วง แม้มีการห้ามใช้และ ควบคมุ การใชส้ ารเคมที างการเกษตรบางประเภท แตก่ ารนำ� เขา้ สารอนั ตรายภาคเกษตรกรรมยงั คงเพม่ิ ขนึ้ ฝแลุ่นะมPลMพษิ 2.5ทางอากาศ โดมความร้อน PM 2.5 ป้ายโฆษณารกรุงรัง พื้นทสี่ เี ขียว ไมเ่ พียงพอ ขยะตกคา้ ง นำ�้ รอระบาย รกุ พืน้ ทค่ี คู ลอง ไม่คดั แยกขยะ และน้ำ� เน่าเสีย นอกจากน้ี เมืองซ่ึงเป็นท่ีอยู่ของคนจ�ำนวนมาก ท�ำให้เมืองที่ไม่มีความพร้อมต้องเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ ไม่ว่าเป็นขยะตกค้างและการไม่คัดแยกขยะ ปัญหาฝุ่นขนาดเล็กและมลพิษทางอากาศ พ้ืนท่ีสีเขียว ไม่เพียงพอ น�้ำรอระบาย ป้ายโฆษณารกรุงรัง รุกพ้ืนท่ีคูคลองและน�้ำเน่าเสีย ระบบบ�ำบัดน�้ำไม่เพียงพอ ต่อประชากร มีภาวะโดมความร้อน น�้ำทะเลสูงและพ้ืนที่ชายฝั่งถูกกัดเซาะรุนแรงในหลายพ้ืนที่ จึงเป็น ความท้าทายของเมอื งในการตั้งรับและปรบั ตัว เพ่ือลดผลกระทบจากปัญหาดงั กล่าว 14 การจัดการสิ่งแวดลอ้ มเมอื งทีย่ ่ังยนื
เมอื งกรณตี ัวอยา่ ง 3กม0. การจดั การสิง่ แวดลอ้ มเมอื งที่ยัง่ ยนื 15
๒. เมอื งกรณตี วั อย่าง เมืองกรณีตัวอย่างในการศึกษามีจ�ำนวน ๗ เทศบาล ซึ่งเป็นเทศบาลท่ีได้รับรางวัลอาเซียนด้าน สิ่งแวดล้อมเมืองท่ีย่ังยืนและได้รับรางวัลเทศบาลน่าอยู่อย่างย่ังยืนยอดเยี่ยมระดับประเทศ หรือรางวัลเทศบาลด้านสิ่งแวดล้อมย่ังยืนยอดเย่ียมระดับประเทศ มีการด�ำเนินงานด้านการจัด การส่ิงแวดล้อมของเมืองอย่างต่อเนื่องและมีกิจกรรมเด่นที่น่าสนใจ นอกจากนี้ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ ของเทศบาลสนใจเขา้ ร่วมการถอดบทเรยี นแนวทางการพัฒนาส่รู างวลั อาเซียนดา้ นสิง่ แวดล้อม เทศบาลนครนครสวรรค์ เทศบาลนครเชยี งราย รางวลั เทศบาล รางวัลเทศบาลด้านสิง่ แวดลอ้ มย่งั ยนื ๒๕๕๕ รางวลั อาเซยี น ฯ ดา้ นขยะและพ้ืนท่ีสีเขยี ว ๒๕๕๗ ดา้ นส่งิ แวดลอ้ มย่งั ยืน ๒๕๖๒ รางวลั อาเซียน ฯ ดา้ นนำ�้ ๒๕๕๗ เทศบาลเมอื งกาฬสนิ ธ์ุ รางวลั เทศบาลด้าน เทศบาลนครภูเกต็ สิง่ แวดลอ้ มยง่ั ยืน ๒๕๖๒ รางวัลเทศบาลนา่ อยู่ ฯ ๒๕๕๒ รางวลั อาเซียน ฯ ดา้ นขยะ รางวัลเทศบาลดา้ นสง่ิ แวดล้อมยั่งยืน ๒๕๕๙ และพ้ืนท่ีสเี ขยี ว ๒๕๖๐ รางวลั อาเซยี น ฯ ดา้ นน�้ำ ๒๕๖๐ เทศบาลเมืองรอ้ ยเอด็ รางวัลเทศบาลนา่ อยู่ ฯ ๒๕๖๔ รางวลั อาเซยี น ฯ ด้านขยะ และพน้ื ท่สี เี ขยี ว ๒๕๕๗ เทศบาลเมืองกระบี่ รางวัลเทศบาลน่าอยู่ ฯ ๒๕๖๓ รางวลั เทศบาลด้านส่ิงแวดลอ้ มย่งั ยนื ๒๕๕๘ รางวัลอาเซยี น ฯ ดา้ นขยะและพ้ืนท่ีสเี ขียว ๒๕๖๔ เทศบาลนครยะลา รางวัลเทศบาลน่าอยู่ ฯ ๒๕๖๓ รางวลั อาเซยี น ฯ ดา้ นอากาศ ๒๕๖๔ 16 การจัดการสงิ่ แวดล้อมเมืองทย่ี ัง่ ยนื
รางวัล จดั ขึ้นเพอื่ สรา้ งแรงจูงใจให้เมอื งต่าง ๆ • ดา้ นอากาศ อาเซียน ในประเทศสมาชกิ อาเซียนขบั เคลอื่ น • ด้านน�้ำ ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม การด�ำเนินงานดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม • ดา้ นขยะและพ้นื ที่สเี ขยี ว เมืองทย่ี งั่ ยนื เมืองที่ย่งั ยืน ด�ำเนินการทุก ๆ ๔ ปี มกี ารประกวด ๓ ด้าน ได้แก่ รางวลั ดำ� เนนิ การมาต้งั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๔๗ • เมืองอยู่ดี เทศบาลนา่ อยู่ โดยกรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพ • คนมีสุข อยา่ งยง่ั ยืน สงิ่ แวดล้อมเป็นผู้รับผิดชอบ • สง่ิ แวดลอ้ มยั่งยนื มีองคป์ ระกอบ ๔ ด้าน ไดแ้ ก่ • การเรียนรแู้ ละการบริหาร จดั การทีด่ ี รางวลั เรมิ่ มาต้ังแตป่ ี พ.ศ. ๒๕๕๘ • เมืองธรรมาภบิ าลสงิ่ แวดลอ้ ม เทศบาลด้าน ควบคูก่ บั การประเมินเทศบาลนา่ อยู่ • เมอื งพร้อมรับภัยพิบตั ิ ส่งิ แวดลอ้ ม อย่างยัง่ ยนื โดยกรมส่งเสรมิ คณุ ภาพ • เมืองขจัดมลพิษ สง่ิ แวดลอ้ มเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบ ซง่ึ ตอ้ ง • เมอื งทเ่ี ปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม ยง่ั ยนื เปน็ เมอื งทเ่ี ขา้ รว่ มประเมนิ รางวลั เทศบาลนา่ อยอู่ ย่างยง่ั ยืน และมคี วาม โดดเดน่ ดา้ นการจัดการส่งิ แวดลอ้ ม ในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ปรบั แยกองคป์ ระกอบยอ่ ย เพ่อื ยกระดับการจัดการสง่ิ แวดลอ้ มเมอื ง เทยี บเทา่ มาตรฐานสากล เปน็ ๔ ดา้ น ไดแ้ ก่ การศกึ ษาน้ี ยังได้ครอบคลุมการศกึ ษาข้อมูลเมืองในต่างประเทศ ซงึ่ ได้รบั รางวัลอาเซียนดา้ นสง่ิ แวดล้อม เมืองที่ยั่งยืนหรือรางวัลอ่ืนท่ีเป็นท่ียอมรับในภูมิภาคหรือระดับสากล ซึ่งได้คัดเลือกไว้ ๕ เมือง ได้แก่ เมืองเก่ินเทอ ประเทศเวียดนาม เขตตะวันตกเฉียงเหนือ ประเทศสิงคโปร์ เมืองโอซาก้า ประเทศญ่ีปุ่น กรงุ โซล ประเทศเกาหลใี ต้ และกรงุ ไทเป ไตห้ วัน การจดั การสิ่งแวดล้อมเมอื งทย่ี ง่ั ยนื 17
๒.๑ กรณีเมอื งตัวอย่างในประเทศ ๑. เทศบาลเมอื งกระบ่ี “กระบ่เี มอื งแหง่ ความเปน็ เลิศ” • ขนาดพ้นื ที่ : ๑๙ ตารางกิโลเมตร • ประชากร : ๓๑,๗๙๙ คน (ณ มิถนุ ายน ๒๕๖๕) • ผลงานเดน่ : ป่าในเมอื ง ปา่ ในบ้าน ป่าสมุนไพรใกลต้ วั ปา่ ในวดั การจดั การขยะอย่างเปน็ ระบบ เทศบาลเมืองกระบี่ ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้�ำกระบ่ี มีล�ำคลองกระบ่ีใหญ่ไหลผ่านตัวเมืองด้านทิศเหนือ ไปออกที่แม่น้�ำกระบ่ีซ่ึงวางตัวเป็นแนวยาว ทางทิศตะวันออกติดแนวเขตป่าไม้ ภูเขา และมีป่าชายเลน ผืนใหญ่บริเวณหน้าเมืองกระบี่ จึงมีพื้นที่จ�ำกัด ส่วนการต้ังถ่ินฐานของชุมชนจะอยู่ตามแนวชายฝั่งทะเล และแนวถนนสายหลัก เทศบาลเมืองกระบี่ มีความโดดเด่นในด้านการจัดการพ้ืนที่สีเขียวและภูมิทัศน์เมือง เนื่องด้วยเป็นเมือง ทมี่ ตี น้ ทนุ ทางธรรมชาตทิ อ่ี ดุ มสมบรู ณ์ จงึ เปน็ เรอ่ื งไมย่ ากทจี่ ะขบั เคลอื่ นการพฒั นาเมอื งดว้ ยการสรา้ งพนื้ ท่ี สีเขียว เพื่อให้เกิดประโยชน์ใช้สอยกับประชาชน ไม่ว่าจะเป็นพืชผักสมุนไพรในชุมชน “ป่าในบ้าน” สร้างเป็นสวนสมุนไพรในบ้านและในชุมชน สืบสานการคงอยู่ของภูมิปัญญาด้านการใช้ยาพ้ืนบ้านของ ผู้น�ำชุมชน พื้นท่ีสีเขียวจากบ้านสู่ชุมชนพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชน “ป่าในวัด” ป่าและพื้นที่สีเขียว ในวัด ปลูกต้นไม้เพิ่มในวัดและเป็นแหล่งเรียนรู้สืบค้นกับเยาวชนและผู้สนใจปฏิบัติธรรมที่วัดได้ซึมซับ ความร่มร่ืนในจิตใจ “ป่าในเมือง” มีส่วนร่วมกับภาคีพัฒนาป่าชายเลนให้เป็นที่ภาคภูมิใจและสร้าง อัตลักษณ์ของเมืองและคงไว้ซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพของป่าชายเลน “ป่าในเมือง มหัศจรรย์ เขาขนาบน้�ำ พน้ื ท่ีชมุ่ น�้ำโลก” ใหเ้ ป็นแหลง่ เรียนรรู้ ะบบนเิ วศปา่ ชายเลนของเยาวชนและผ้สู นใจ 18 การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มเมืองทย่ี ั่งยนื
อกี ทงั้ มงุ่ บรหิ ารจดั การพน้ื ทส่ี เี ขยี วทมี่ อี ยเู่ ดมิ และสง่ เสรมิ พนื้ ทสี่ เี ขยี วใหก้ ระจายในชมุ ชน ปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั น์ ด้วยพรรณไม้ในพื้นที่สาธารณะ อาทิ ถนนสายหลัก และสวนสาธารณะ รวมถึงพ้ืนที่ป่าตามกฎหมาย ภายใตค้ วามรบั ผดิ ชอบ รว่ มดแู ลพน้ื ทกี่ บั หนว่ ยงานทตี่ ง้ั อยใู่ นเขตเทศบาล และหนว่ ยงานทอ้ งถน่ิ เพอ่ื ดแู ล รกั ษาและเพม่ิ พื้นทีส่ ีเขียวในเขตเมอื ง อนั เป็นแหล่งพกั ผ่อนหยอ่ นใจ และเสริมสร้างสุขภาพแกค่ นเมอื ง นอกจากนี้ ไดม้ ีการบูรณาการความร่วมมอื ระหวา่ ง สถาบันการศกึ ษา ศาสนสถาน และชมุ ชน ในการเพิม่ พื้นท่ีสีเขียว โดยการบ�ำรุงรักษาต้นไม้ ปลูกต้นไม้ ปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมืองมาอย่างต่อเน่ือง ทั้งการเข้า ร่วมโครงการกับหน่วยงานภายนอก อาทิ โครงการลดโลกร้อนด้วยมือเรา โดยการสนับสนุนของโตโยต้า โครงการอนรุ กั ษป์ ดู ำ� และการเลยี้ งปดู ำ� ทเ่ี ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ มเพอื่ สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ชมุ ชน ณ ชมุ ชนคเู่ มอื ง ภายใต้โครงการความร่วมมือด้านส่ิงแวดล้อมเมืองที่ย่ังยืนของอาเซียน ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านภูมิปัญญา การอนุรกั ษป์ ดู ำ� และการเลย้ี งปดู ำ� ทเ่ี ป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม เพ่อื สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ชุมชน ณ ชมุ ชนคเู มือง โดยเฝ้าระวังและดูแลป่าชายเลนและพ้ืนท่ีชุ่มน้�ำอันเป็นแหล่งอาศัยของสิ่งมีชีวิตท่ีส�ำคัญ มีการเช่ือมโยง กบั การจดั การระบบนเิ วศ พนื้ ทสี่ เี ขยี ว กบั วถิ ชี วี ติ คนในชมุ ชน รวมถงึ พฒั นาชมุ ชนหนิ ขวางและแหลง่ เรยี นรู้ ตลาดริมคลอง ซ่ึงเป็นการบูรณาการความร่วมมือในการปรับปรุงพ้ืนท่ีของกรมโยธาธิการและผังเมือง ร่วมกับเทศบาล และพัฒนาเป็นตลาดวิถีชุมชนริมคลอง ซ่ึงเป็นการเพ่ิมมูลค่าพัฒนาพ้ืนท่ีสีเขียวให้เกิด ประโยชน์ เปน็ แหล่งท่องเที่ยวด้านวฒั นธรรมทช่ี ว่ ยยกระดับเศรษฐกจิ ของชมุ ชน เทศบาลเมอื งกระบ่เี คยประสบความส�ำเรจ็ มาแล้ว และไดร้ ับรางวลั เมอื งส่ิงแวดล้อมยั่งยืน การไดร้ ับรางวัลนั้น นบั วา่ ยากแล้ว แต่การรักษาสิง่ แวดล้อมใหย้ ่ังยืนคูก่ ับเมอื งยอ่ มยากกว่า แต่อย่างไรก็ตาม การที่ชุมชนเมอื งอยรู่ ่วมกับสง่ิ แวดล้อม ได้อย่างยั่งยนื ยอ่ มเป็นสิ่งส�ำคญั ที่สุด พันต�ำรวจเอกสมเดจ็ สุขการ นายกเทศมนตรีเมอื งกระบี่ การจดั การสิง่ แวดลอ้ มเมืองทย่ี ่งั ยืน 19
๒. เทศบาลเมอื งกาฬสนิ ธ์ุ “เมอื งอดุ มสขุ ” • ขนาดพื้นที่ : ๑๖.๙๖ ตารางกิโลเมตร • ประชากร : ๓๒,๐๖๒ คน (ณ มิถุนายน ๒๕๖๕) • ผลงานเด่น : พนื้ ท่ีแกม้ ลิง ชมุ ชนไร้ถงั กองทนุ จติ อาสาพฒั นาสงิ่ แวดล้อม และการบรหิ ารจัดการ แบบกระจายอำ� นาจ เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ มีสภาพพ้ืนท่ีโดยท่ัวไปเปนภูเขาสูงจนถึงที่ราบลุมมีน้�ำขัง ยังมีพ้ืนที่สวนอื่น ๆ ที่มีสภาพเปนหุบเขา ลูกคล่ืน และพ้ืนที่คอนขางราบ มีอากาศเย็นและแห้งในฤดูหนาวอากาศค่อนข้าง เยน็ กว่าปกตเิ พราะมวลอากาศเย็นและแหง จากประเทศจีนเขาปกคลุม การบรหิ ารจดั การของเทศบาลเมอื งกาฬสนิ ธ์ุ มงุ่ เนน้ การพฒั นาสงั คม เศรษฐกจิ และสงิ่ แวดลอ้ มควบคกู่ นั ไป พฒั นาใหเ้ ปน็ เมอื งนา่ อยู่ เมอื งนา่ เทย่ี ว เมอื งนา่ ลงทนุ และเมอื งนา่ ศกึ ษา ใหค้ วามสำ� คญั กบั การพฒั นา เมอื งให้สะอาด สวยงาม และอนรุ กั ษ์คณุ ภาพส่งิ แวดล้อมใหม้ ีคณุ ภาพระดบั สากล ส�ำหรับการบรกิ ารจัดการด้านส่ิงแวดลอ้ มของเมือง มกี ารตรวจวัดคณุ ภาพอากาศ วางระบบน้�ำเสยี โดยใช้ ระบบวางน�้ำและบ่อเติมอากาศรองรับน�้ำเสีย ได้ในปริมาณ ๑๔,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ก่อนปล่อย สแู่ หลง่ นำ�้ ธรรมชาตแิ ละเพมิ่ พน้ื ทสี่ เี ขยี ว ในสดั สว่ นประชาชน ๑ คนตอ่ ๑๔๙ ตารางเมตร ซงึ่ มพี นื้ ทสี่ เี ขยี ว คิดเป็น ๒๙.๘๓ ของพ้ืนท่ีเขตเทศบาล คงสภาพระบบนิเวศพ้ืนท่ีชุ่มน้�ำ กุดเชื่อม กุดยาง หนองเบญ หนองแก่งรักกาญ เป็นแหล่งพื้นท่ีอาศัยของสัตว์และแหล่งอาหารของประชาชน มีการขุดลอกคลอง และบรเิ วณลำ� น้�ำปาวทีไ่ หลผา่ นตัวเมือง สร้างฝายเกบ็ น�ำ้ และสร้างเขอ่ื นปกปอ้ งตลิ่งล�ำน�้ำปาว และแก้ไข ปญั หาปกป้องผบู้ ุกรุกอย่างมีระบบโดยหาที่อยู่อาศยั ใหม่ 20 การจดั การส่ิงแวดล้อมเมืองท่ีย่ังยืน
นอกจากน้ี มกี ารจดั การขยะมลู ฝอยรว่ มกบั ภาคเี ครอื ขา่ ย ภาคราชการ เอกชน ชุมชนไร้ถัง องค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถน่ิ ภายในจังหวัดกาฬสินธุ์ ๓๘ แห่ง โดยลดปริมาณ ขยะ ๓๔.๔๐ ตันต่อวัน มีการอบรมให้ความรู้การจัดการ บ่อขยะแก่เจ้าหน้าท่ี และหมั่นสอบถามผลกระทบจาก ชุมชนรอบเคียงอยู่เสมอ อีกทั้ง บ่อขยะยังสามารถสร้าง รายไดใ้ หช้ มุ ชน และมวี ถิ ชี วี ติ ทดี่ ขี นึ้ จากรายไดก้ ารคดั แยก ขยะ การกระจายอ�ำนาจได้มอบการตัดสินใจไปสู่ผู้บริหารและ เจา้ หน้าทรี่ ะดบั ตา่ ง ๆ ลดขนั้ ตอนการบรหิ ารจดั การเมือง อยา่ งมืออาชพี รวมถึงในการดำ� เนนิ งานทม่ี ่งุ เนน้ ใหช้ มุ ชน มสี ว่ นรว่ ม โดยเทศบาลมหี นา้ ทใ่ี นการสนบั สนนุ ตลอดจน เสริมสร้างให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง ยกตัวอย่างจากการ จัดตั้งกองทุนจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อม เพ่ือการบริหาร จัดการขยะในชุมชน ซ่ึงในระยะแรกเทศบาลมีหน้าท่ี เป็นพี่เลี้ยงที่ช่วยส่งเสริมและสนับสนุนท้ังองค์ความรู้ จนทา้ ยทส่ี ดุ ชมุ ชนสามารถบรหิ ารจดั การกองทนุ ฯ ไดด้ ว้ ย ตัวเอง ซ่ึงถือเป็นโครงการน�ำร่องท่ีสามารถแสดงให้เห็น ถึงความส�ำเร็จของกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของ ประชาชน การไดร้ บั รางวลั เปน็ แรงกระตุ้นให้ทั้งคณะผบู้ ริหารและเจ้าหน้าทีใ่ นเทศบาล มคี วามกระตอื รอื ร้น ตัง้ ใจปรบั ปรงุ แกไ้ ขการด�ำเนนิ งานต่าง ๆ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากทีส่ ุด จารวุ ัฒน์ บุญเพม่ิ นายกเทศมนตรีเมอื งกาฬสินธ์ุ การจัดการสงิ่ แวดลอ้ มเมอื งทย่ี ง่ั ยนื 21
๓. เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด “ร้อยเอ็ดเมืองน่าอยู่ ผ้คู นนา่ รัก ฟูมฟกั ต�ำนานเมอื ง ลือเลื่องวัฒนธรรม” • ขนาดพน้ื ท่ี : ๑๑.๖๓ ตารางกิโลเมตร • ประชากร : ๓๔,๖๔๑ คน (ณ มิถนุ ายน ๒๕๖๕) • ผลงานเด่น : พนื้ ทีส่ ีเขยี วเพื่อนนั ทนาการ ปรบั ภมู ิทศั น์เมอื ง และคลองรอบเมือง เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด มีสภาพพื้นที่ท่ัวไปเป็นท่ีราบสูง มีภูเขาทางตอนเหนือติดกับเทือกเขาภูพาน บริเวณตอนกลางของจังหวัด มีลักษณะเป็นท่ีราบลูกคลื่น บริเวณตอนล่างมีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มริมฝั่ง แม่น�้ำมูลและสาขา ด้านใต้เป็นท่ีราบและแอ่งอยู่ในบริเวณทุ่งกุลาร้องไห้ สูงกว่าระดับน้�ำทะเลปานกลาง ประมาณ ๑๓๐ – ๑๖๐ เมตร เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ให้ความส�ำคัญกับการรักษาและเพิ่มพูนพ้ืนที่สีเขียวใจกลางเมือง เพ่ือเป็นแหล่ง นนั ทนาการ และสถานทพ่ี กั ผอ่ นหยอ่ นใจ เปน็ สง่ิ เชอื่ มโยงผคู้ นใหไ้ ดส้ มั ผสั กบั ธรรมชาตอิ ยา่ งใกลช้ ดิ ทำ� ให้ เปน็ เมอื งและเปน็ ชมุ ชนนา่ อยอู่ ยา่ งยงั่ ยนื ตลอดจนเปน็ แหลง่ อนรุ กั ษค์ วามหลากหลายชวี ภาพของพชื และ สัตว์ พื้นท่ีสีเขียวในเขตเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ๓.๔๙ ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ ๓๐ ต่อพื้นที่เมือง ทง้ั หมด นอกจากนี้ ยงั มี “หอโหวด ๑๐๑” หอสงู ชมเมืองสูงเทา่ อาคาร ๓๕ ช้ัน ซึง่ ถอื เปน็ สถาปัตยกรรม ท่โี ดดเด่น สะทอ้ นตัวตนและอัตลักษณข์ องเมืองทช่ี าวร้อยเอด็ ภาคภูมิใจ 22 การจัดการสงิ่ แวดล้อมเมอื งที่ย่ังยนื
ท้ังนี้เทศบาลเมืองร้อยเอ็ด มีเป้าหมายมุ่งสู่การเป็นเมืองน่าอยู่ บ้านเมืองมีความสะอาดเป็นระเบียบ เรียบร้อย มีส่ิงแวดล้อมที่ดี มีความสะดวกและความปลอดภัย มุ่งเน้นการรักษาภูมิประเทศ และแหล่ง โบราณสถานของเมืองให้คงอยู่ควบคไู่ ปกับการพฒั นาเมืองทีม่ ีความเหมาะสม ทำ� ใหป้ ระชาชนมคี ณุ ภาพ ชีวติ ท่ดี ี ทัง้ การพฒั นาคลองและก�ำแพงรอบเมือง การปรับปรงุ ทัศนยี ภาพในเมืองให้มคี วามนา่ อยู่ รม่ รน่ื เต็มไปด้วยพ้ืนท่ีสีเขียวมีแผนงานการพัฒนาการจัดการขยะและเพิ่มพื้นที่สีเขียวอย่างเป็นระบบ ส่งเสริม ใหเ้ ปน็ เมอื งรม่ รน่ื มกี ารจดั หาบา้ นใหผ้ ยู้ ากไร้ ยดึ หลกั การอยรู่ ว่ มกนั ของสง่ิ แวดลอ้ มโบราณสถานกบั ชมุ ชน การบริหารจัดการเมืองร้อยเอ็ดท�ำให้เกิดนวัตกรรมในการรักษาพัฒนาพ้ืนที่สีเขียว และการจัดการขยะ ที่ชว่ ยลดภาวะเรือนกระจกและชว่ ยสรา้ งรายได้ บรู ณาการแกป้ ญั หาการจัดการสงิ่ แวดล้อม โดยค�ำนึงถงึ ตน้ ทนุ ทมี่ อี ยู่ เชน่ การบรู ณาการใชค้ ลองรอบเมอื งเพอ่ื เปน็ แหลง่ บำ� บดั นำ้� เสยี ธรรมชาติ ทชี่ ว่ ยลดคา่ ใชจ้ า่ ย ในส่วนน้ีได้ เมืองร้อยเอ็ดมีการบริหารจัดการเมืองท่ีให้ความส�ำคัญทั้งด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน ด้านงาน ส่งเสริมคุณภาพชีวิต ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคมและการรักษาความสงบเรียบร้อย เชื่อมโยง ถึงการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการพัฒนากลไก เครือข่ายชุมชน มกี ระบวนการท�ำงานร่วมกันระหว่างชมุ ชนและทอ้ งถิ่น แผนงานการพฒั นาการจดั การขยะและเพิ่มพืน้ ที่สเี ขียวอยา่ งเปน็ ระบบ ส่งเสรมิ ใหเ้ ป็นเมอื งรืมรมย์การจัดหาบ้านให้ผู้ยากไร้ ยึดหลกั การอยรู่ ว่ มกนั ของส่งิ แวดล้อมโบราณสถานกบั ชมุ ชน ดร.วัฒนพงษ์ ชติ ทรงสวสั ดิ์ รองนายกเทศมนตรเี มอื งร้อยเอ็ด การจดั การสงิ่ แวดล้อมเมอื งท่ยี ง่ั ยนื 23
๔. เทศบาลนครเชียงราย “เชยี งรายเมอื งนา่ อยู่ นครแห่งความสขุ ” • ขนาดพ้ืนที่ : ๖๐.๘๕ ตารางกิโลเมตร • ประชากร : ๗๗,๙๔๐ คน (ณ มิถุนายน ๒๕๖๕) • ผลงานเดน่ : ปา่ กลางเมือง มงุ่ สู่ River garden city และการบริหารจดั การเมอื งตามหลกั “รว่ มคิด ร่วมทำ� ร่วมพฒั นา” เทศบาลนครเชียงราย มีสภาพพ้ืนที่โดยทั่วไปเป็นท่ีราบแอ่งกระทะระหว่างภูเขา โดยมีแม่น�้ำกก และแม่น�้ำกรณ์เป็นแม่น้�ำสายหลักที่ไหลผ่านเมือง อากาศในช่วงหน้าหนาวจะต�่ำกว่าพ้ืนราบโดยท่ัวไป จงึ เป็นทนี่ ิยมของหมนู่ กั ท่องเที่ยว “เมืองเชียงราย” เป็นเมืองท่ีเช่ือมต่อกับเมืองชายแดน ประกอบกับความสวยงามทางธรรมชาติและ ความโดดเดน่ ของวฒั นธรรม ท�ำใหเ้ มอื งเชยี งรายเป็นศนู ย์กลางดา้ นเศรษฐกจิ การคา้ การทอ่ งเทีย่ ว และ ทอี่ ยู่ ทำ� ใหเ้ มอื งเชยี งรายมกี ารพฒั นาสคู่ วามเปน็ เมอื งมากยง่ิ ขนึ้ จงึ เปน็ ความทา้ ทายในการบรหิ ารจดั การ เมอื งใหม้ ที ศิ ทางการพฒั นาภายใตว้ สิ ยั ทศั นท์ ส่ี ะทอ้ นอตั ลกั ษณข์ องเมอื งเชยี งรายไดว้ า่ เปน็ เมอื งทอ่ งเทยี่ ว ทสี่ ำ� คญั มเี อกลกั ษณล์ า้ นนาทโี่ ดดเดน่ มคี วามหลากหลายทางชาตพิ นั ธ์ุ วฒั นธรรม ประเพณี และภมู ปิ ญั ญา ท้องถ่ิน การบริหารจัดการเมืองเชียงราย ใช้หลักการ “ร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมพัฒนา” เพื่อสร้างระบบ การบรหิ ารจัดการทดี่ โี ดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล เน้นการทำ� งานเชิงบรู ณาการ โดยเปดิ โอกาสให้ประชาชน ไดม้ สี ่วนรว่ มในการขบั เคลือ่ นการพัฒนาสิ่งแวดลอ้ มของเมือง และสร้างความรว่ มมือกับภาคสว่ นต่าง ๆ 24 การจดั การสิง่ แวดล้อมเมืองท่ียั่งยืน
การด�ำเนนิ งานทสี่ ำ� คัญ ๔ ดา้ น ได้แก่ (๑) เสรมิ สร้างสังคมใหน้ า่ อย่แู ละเปน็ นครแหง่ การเรยี นรสู้ ำ� หรับคนทกุ วัย (๒) การเพิม่ ศกั ยภาพทางเศรษฐกิจของเทศบาลนครเชยี งราย (๓) การพัฒนาส่เู มืองอัจฉริยะ (๔) การอนรุ กั ษ์ ฟนื้ ฟู และรกั ษาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เทศบาลนครเชียงราย ได้มีการเพ่ิมพ้ืนที่สีเขียวต่อ ประชากรในเขตเทศบาลนครเชียงรายให้มากข้ึน เพ่ือ เป็นปอดของเมือง และเพิ่มพ้ืนที่ส�ำหรับการออกก�ำลังกาย และพักผ่อนหย่อนใจให้กับประชาชน ด้วยการพัฒนา พ้ืนที่สาธารณะประโยชน์ที่ยังไม่ได้รับการพัฒนา ให้เป็น สวนสาธารณะทปี่ ระชาชนทกุ คนไดใ้ ชป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั และ สามารถเข้าถึงได้ง่าย บ�ำรุงรักษาล�ำเหมืองสาธารณะและ หนองน�้ำต่าง ๆ ภายในเขตเทศบาลนครเชียงรายเพ่ือแก้ไข และลดปญั หานำ้� ทว่ ม และการเตรยี มความพรอ้ มเพอ่ื รองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ปญั หาหมอกควนั และปญั หา จราจร โดยรว่ มมอื กบั ทกุ ภาคสว่ น ตลอดจนการวางแผนการ แก้ไขปัญหาการจัดการขยะและของเสียอย่างเป็นระบบ โดยเร่ิมจากการส่งเสริมและให้ความรู้การคัดแยกและลด ปริมาณขยะท่ีต้นทาง ท้ังการน�ำกลับมาใช้ใหม่เพื่อ ลดปริมาณและต้นทุนในการจัดการขยะ สามารถน�ำขยะ กลับมาใช้ประโยชน์ การปรับปรุงระบบเก็บขนขยะและ การกำ� จดั ขยะอยา่ งถกู ตอ้ ง การพัฒนาเมอื งทุกวันนเ้ี ราไมไ่ ด้มองแคม่ ถี นน มไี ฟฟา้ และก�ำจดั ขยะ ไมไ่ ด้มมี มุ มองอยา่ งเดยี ว แต่ได้เชือ่ มโยงกับจุดเดน่ ท่ีเรามภี เู ขา ป่า พชื พนั ธ์ุ และชุมชนซง่ึ ยังมวี ิถีชวี ิตชนบททีย่ งั คงมีความผูกพนั กบั ธรรมชาติ และมคี วามรว่ มมอื ภายในชมุ ชน การจดั การสิ่งแวดลอ้ มต้องให้ชมุ ชน มีรายไดแ้ ละมีความสุขดว้ ย ดร.ปรีชา อนรุ กั ษ์ รองนายกเทศมนตรีนครเชียงราย การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มเมอื งท่ยี ง่ั ยนื 25
๕. เทศบาลนครนครสวรรค์ “นครน่าอยู่ เคียงคู่เจ้าพระยา พัฒนานวตั กรรม สรา้ งสงั คมสุขภาวะ” • ขนาดพ้นื ท่ี : ๒๗.๘๗ ตารางกิโลเมตร • ประชากร : ๗๘,๗๙๘ คน (ณ มิถนุ ายน ๒๕๖๕) • ผลงานเดน่ : ปา่ กลางเมอื ง มุ่งสู่ River garden city และการบรหิ ารจดั การเมืองตามหลัก “รว่ มคิด ร่วมท�ำ ร่วมพฒั นา” เทศบาลนครนครสวรรค์ มีพื้นท่ีส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม โดยมีภูเขาขนาดเล็กอยู่ตอนกลาง ได้แก่ เขากบซ่ึงตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีความสูงจากระดับน�้ำทะเลประมาณ ๑๘๕.๕๐ เมตร นอกจากน้ียังมีเขาน้อย เขาวัดไทร เขาดาวดึงส์ และเขาโกรกพม่า ท่ีมีลักษณะเป็นภูเขาขนาดเล็ก มีแม่น�้ำปิงผ่านกลางพ้ืนท่ีตั้งแต่ทางด้านทิศเหนืออ้อมมาทาง ทิศตะวันออกแล้วเลี้ยวลงใต้ มารวมกับ แม่น�ำ้ น่านบรเิ วณปากนำ้� โพเปน็ ต้นแมน่ �ำ้ เจา้ พระยาทางด้านทศิ ตะวันออกของเทศบาล การบรหิ ารจดั การเมอื งนครสวรรคใ์ หค้ วามสำ� คญั กบั การแกไ้ ขปญั หาสำ� คญั เรง่ ดว่ นของเทศบาล ๓ ประการ ไดแ้ ก่ มลพษิ ทางนำ้� มลพษิ ทางอากาศ และสงั คมผสู้ งู อายุ จงึ มนี โยบายในการนำ� เทคโนโลยมี าใชป้ รบั ปรงุ คุณภาพชีวิตตามแนวทางเมืองอัจฉริยะ (Smart City) เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ท่ีดี ของประชาชนในเขตเทศบาล ยกระดับคุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้สูงอายุ ให้การสงเคราะห์เด็ก สตรี ผู้ด้อยโอกาสและผู้ประสบภัยอย่างท่ัวถึงและเท่าทัน จัดให้มีการปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐาน และสาธารณปู โภค พัฒนาการศกึ ษาทอ้ งถน่ิ และสง่ เสริมด้านการกีฬา 26 การจัดการสิง่ แวดลอ้ มเมืองท่ียงั่ ยนื
ในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน ได้ยึดหลักร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมพัฒนา เพื่อสร้าง ความเข้มแข็งให้กับสังคมในเขตเทศบาล อีกทั้งยังส่งเสริมการบริหารจัดการท่ีดีตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อสร้างระบบการบริหารท่ีมีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานการมีส่วนร่วม โปร่งใส สามารถเปิดเผย และตรวจสอบได้ นอกจากน้ี เทศบาลยังมีการน�ำเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาใช้ในการแก้ไขปัญหาโดยต้องมีการศึกษา ความเหมาะสมกับบริบทของเทศบาล พร้อมมีการออกแบบรายละเอียดของแผนการด�ำเนินงาน โดยผู้เช่ียวชาญเฉพาะทาง และให้ความส�ำคัญกับการถ่ายโอนความรู้ในการดูแลและบริหารเทคโนโลยี ใหก้ บั เจา้ หนา้ ทเี่ ทศบาล เพอ่ื ใหส้ ามารถใชเ้ ทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งเตม็ ประสทิ ธภิ าพและตอ่ เนอ่ื ง เชน่ การศกึ ษา ความเหมาะสมของระบบรวบรวมน�้ำเสีย ระบบระบายน�้ำ ระบบบ�ำบัดน้�ำเสีย และค่าบริหารจัดการ ระบบบ�ำบัดน้�ำเสีย อีกท้ังยังให้ความส�ำคัญกับการน�ำต้นทุนที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ให้ ความส�ำคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้ประชาชน สามารถเข้าถึงสาธารณูปโภคท่มี ีคณุ ภาพอยา่ งเทา่ เทยี ม ส�ำหรบั นโยบายการบริหารของเทศบาลนครนครสวรรค์ มุ่งส่งเสริมการบริหารจัดการที่ดตี ามหลกั ธรรมาภบิ าล เพอ่ื ใหม้ ีระบบการบริหารงานที่มีประสทิ ธภิ าพ บนพืน้ ฐานการมีส่วนรว่ ม โปรง่ ใส สามารถเปดิ เผยและตรวจสอบได้ จิตตเกษมณ์ นโิ รจนธ์ นรัฐ นายกเทศมนตรนี ครนครสวรรค์ การจดั การสิ่งแวดล้อมเมอื งที่ยง่ั ยืน 27
๖. เทศบาลนครยะลา “นครยะลา เมอื งแห่งพหุวฒั นธรรม สร้างสรรค์นวัตกรรม สคู่ ุณภาพชวี ิตท่ดี ี” • ขนาดพื้นท่ี : ๑๙.๔ ตารางกโิ ลเมตร • ประชากร : ๕๙,๓๙๘ คน (ณ มิถนุ ายน ๒๕๖๕) • ผลงานเด่น : ผงั เมืองควบคุมแหลง่ กำ� เนิดมลพิษทางอากาศ ขับเคลอ่ื นและบรหิ ารจดั การเมอื ง ตามแนวคดิ เมอื งอัจฉรยิ ะ และ 6C+3R มุ่งใช้เทคโนโลยที ีท่ นั สมัย เมืองยะลาเป็นจังหวัดท่ีอยู่ใต้สุดของประเทศไทย มีอาณาเขตทางใต้ติดกับประเทศมาเลเซีย ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นป่าเขาเนินสูงและภูเขาเตี้ยสลับซับซ้อน มีพื้นท่ีราบเพียงเล็กน้อย มีความเหมาะสมในการท�ำนาส่วนบริเวณตอนใต้ของจังหวัดเป็นป่าเขาและเนินสูง ปกคลุมไปด้วยป่าไม้ มีแมน่ ้ำ� สายส�ำคัญ คือ แมน่ ้�ำปัตตานแี ละแมน่ �้ำสายบรุ ี และเปน็ จังหวดั เดียวในภาคใต้ทไี่ ม่ติดทะเล ยะลาถูกยกย่องให้เป็นเมืองที่มีการจัดวางผังเมืองที่สวยงาม มีการแบ่งพื้นที่ใช้สอยอย่างชัดเจน ซึ่งเมือง ยะลา เป็นหนึ่งในเมืองใหญ่ของประเทศไทยท่ีมีการวางผังเมืองตั้งแต่ก่อนเริ่มสร้างเมือง โดยผังเมืองน้ี ถูกวางโดย “พระรัฐกิจวิจารย์ (สวาสด์ิ ณ นคร)” ซ่ึงเรียกว่า ผังเค้าโครงเมืองยะลา ปี ๒๔๘๕ ผังเมือง ลักษณะเป็นวงเวียน มีถนนกว่า ๔๐๐ สาย ตัดเช่ือมต่อกันเหมือนใยแมงมุม มีวงเวียนซ้อนกัน ๓ วง คล้ายกับกรงุ ปารสี ฝร่งั เศส อกี สว่ นหนง่ึ ตดั กนั เปน็ ตารางหมากรกุ คลา้ ยกบั นครลอสแอนเจลสิ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า มที างเทา้ ควบคู่ รางระบายน�้ำช่วยให้แนวของอาคารเป็นแนวเดียวกัน โดยบริเวณจุดศูนย์กลางของเมืองจะเป็นที่ตั้งของ ศาลหลักเมือง และมีการก�ำหนดพ้ืนท่ีการใช้ที่ดินในเขตเมืองออกเป็นประเภทต่าง ๆ ชัดเจน ได้แก่ พื้นที่หน่วยงานราชการ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ พื้นที่โล่งและนันทนาการ พ้ืนท่ีพาณิชยกรรม พนื้ ทอ่ี ยูอ่ าศัย พนื้ ทีเ่ กษตรกรรม และพื้นทอ่ี ตุ สาหกรรมและคลังสินคา้ 28 การจดั การสิ่งแวดลอ้ มเมอื งที่ยง่ั ยืน
ปัจจุบันนโยบายการจัดท�ำผังรวมของยะลาได้ต่อยอด จากผังเดิม มีประกาศกฎกระทรวงให้ใช้ผังเมืองรวม ยะลาในการควบคุมการใช้ประโยชน์ท่ีดิน และมี เทศบัญญัติในการใช้ประโยชน์จากที่ดินอย่างชัดเจน เพื่อการจัดการท่ีดินอย่างเหมาะสมและยั่งยืน ทั้งน้ี เมืองยะลายังมีข้อก�ำหนดเพ่ือควบคุมการก่อสร้าง ต่าง ๆ ให้เป็นไปอย่างเหมาะสม อาทิ ห้ามก่อสร้าง อาคารทมี่ คี วามสงู เกิน ๘ เมตร เพ่อื ไม่ใหบ้ ดบังทศิ ทางลม ห้ามกอ่ สรา้ งอาคารบรเิ วณริมแม่น้�ำ ต้องมีระยะ ห่างไม่น้อยกว่า ๑๒ เมตร (กรณีแม่น้�ำปัตตานีและแม่น้�ำสายบุรี) และมีระยะห่างไม่น้อยกว่า ๖ เมตร (กรณีแหล่งน้�ำอื่น ๆ) และห้ามสร้างโรงงานอุตสาหกรรมในเขตพื้นท่ีเมือง ซึ่งการวางผังเมืองของยะลา สง่ ผลใหย้ ะลาเป็นเมอื งทม่ี ีความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย และเปน็ เมอื งทส่ี วยงามร่มร่ืน การบรหิ ารจดั การเมอื งยะลา มุ่งเน้นการพฒั นาเมืองโดยใชต้ ้นทนุ ของเมอื งทอ่ี ยู่ และมุ่งใช้เทคโนโลยีท่ีทนั สมัยจนท�ำให้ได้รับตราสัญลักษณ์ “เมืองอัจฉริยะแห่งประเทศไทย” มีการพัฒนา Yala Mobile Application ช่วยให้ประชาชนรับรู้ข้อมูลข่าวสาร กิจกรรม และมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น รวมถึง การแจ้งปัญหา ซ่ึงแอปพลิเคชันนี้จะถูกเชื่อมโยงกับเพจ Facebook และ Line ของเทศบาลนครยะลา นอกจากนี้ ยงั มีระบบ Rich Menu บน Line Official Account เพอ่ื ประชาสมั พนั ธข์ ้อมลู พัฒนาระบบ ร้องเรียน การซ้ือขายและบริการออนไลน์ และระบบการเก็บข้อมูลด้านต่าง ๆ เพ่ือการบริการประชาชน อย่างรวดเร็วและลดความจ�ำเป็นในการเดินทางเข้ามาติดต่อเทศบาล รวมถึงติดตั้งระบบ Free Wi-fi กระจายกว่า ๑๐๐ จุด ระบบ Chatbox ระบบตอบกลับอัตโนมัติ ช่วยตอบค�ำถามแก่ประชาชน และลดข้ันตอนการท�ำงานของเจ้าหน้าที่ และระบบ Dashboard ในการเผยแพร่ข้อมูลแบบสาธารณะ ให้กบั ประชาชนและผูบ้ รหิ ารไดร้ บั ทราบ เมืองยะลาขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองโดยใช้แนวคิด 6C+3R ในการบริหารจัดการเมืองในทุกมิติ โดย 6C ประกอบดว้ ย ความสะอาด (Cleanliness) การทำ� งานรว่ มกนั (Collaboration) การเชือ่ มตอ่ (Connectivity) วฒั นธรรม (Culture) ความสามารถในการแขง่ ขนั (Competitive) และความสะดวกสบาย (Comfort) สว่ น 3R ประกอบดว้ ย Restructure เปน็ การปรบั โครงสรา้ งของเมอื ง Repositioning การวาง ตำ� แหน่งเมืองใหเ้ ปน็ เมอื งแหง่ ความสมานฉนั ท์ และ Reimage การปรับเปลยี่ นภาพลักษณใ์ ห้ดีข้ึน การที่ผู้น�ำเหน็ ความส�ำคัญของสงิ่ แวดล้อม เป็นปจั จัยหนง่ึ ของความส�ำเร็จ ส�ำหรบั เมอื งยะลามที นุ ของเมอื งอยแู่ ลว้ ผบู้ รหิ ารจงึ ไดน้ �ำมาตอ่ ยอดก�ำหนดนโยบาย 6C+3R ซ่ึงเป็นเหมือนแผนท่ที ี่ใหท้ างผปู้ ฏบิ ัติได้เดินตอ่ ไปได้ ย่สู นิ จนิ ตภากร รองนายกเทศมนตรนี ครยะลา การจดั การสง่ิ แวดล้อมเมืองทย่ี ่งั ยืน 29
๗. เทศบาลนครภเู ก็ต “นครแห่งการสรา้ งสรรคท์ ห่ี ลากหลาย มีอตั ลักษณ์ทางวฒั นธรรม น่าอยู่ ปลอดภยั ทันสมยั ดว้ ยเทคโนโลย”ี • ขนาดพน้ื ท่ี : ๑๒.๕๖ ตารางกโิ ลเมตร • ประชากร : ๗๕,๓๒๘ คน (ณ มถิ ุนายน ๒๕๖๕) • ผลงานเด่น : การจดั การแหลง่ น้�ำและตรวจสอบคณุ ภาพนำ้� การจัดการขยะอย่างเปน็ ระบบ และการเฝ้าระวงั คุณภาพอากาศ พ้ืนท่ีเทศบาลนครภูเก็ต ส่วนใหญ่เป็นที่ลุ่มทิศตะวันออกติดชายทะเล ด้านทิศเหนือมีเนินเขาสองลูก คือ เขารังและเขาโตะ๊ แซะ มคี ลองบางใหญ่จากอำ� เภอกะทู้ไหลผ่านตัวเมืองออกสู่ทะเล เมอื งภเู กต็ มยี ่าน เมืองเก่าซ่ึงเป็นพ้ืนที่ด้านใน ที่มีประชากรอาศัยหนาแน่น เป็นย่านธุรกิจการค้า โรงแรม สถานบันเทิง และร้านค้า เทศบาลนครภูเก็ต ให้ความส�ำคัญกับการบริหารจัดการน�้ำอุปโภคและบริโภคทั้งแหล่งส�ำรองน้�ำ ระบบระบายน�้ำ ขุมเหมืองน้�ำประปาของเมือง และการจัดการน้�ำท่วมแบบบูรณาการ ให้ความส�ำคัญ กับพ้ืนที่รับน้�ำ คณะท�ำงาน แผนงาน และเครือข่ายการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนที่เก่ียวข้อง ตลอดจน การผลติ นำ้� ประปาโดยการน�ำน้ำ� กลับมาใช้ใหม่ (Recycle Water Treatment) เพื่อรองรบั การทอ่ งเท่ยี ว ดา้ นอากาศมกี ารตรวจวดั คณุ ภาพอากาศในพนื้ ทเ่ี ปน็ ประจำ� และรายงานตอ่ หนว่ ยงานกำ� กบั ดแู ลทกุ ๖ เดอื น ตรวจวัดโดยหน่วยงานกลาง ตรวจสอบมลพิษจากยานพาหนะ การควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสีย จากเตาเผามูลฝอยและใช้เชื้อเพลิงทางเลือก คุณภาพอากาศท่ีระบายออกจากปล่อง พร้อมมีการส�ำรวจ ความคดิ เหน็ ประชาชนในพน้ื ทใี่ กลเ้ คยี ง การรอ้ งเรยี นของประชาชน รวบรวมขอ้ มลู สขุ ภาพของประชาชน บริเวณพ้นื ท่ีท่ีได้รับผลกระทบ 30 การจัดการสิง่ แวดลอ้ มเมอื งท่ียงั่ ยนื
ในการจดั การขยะมลู ฝอย เทศบาลนครภเู กต็ ไดใ้ หค้ วามสำ� คญั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง มกี ารตง้ั เปา้ หมายการลดอตั รา การเพ่ิมขึ้นของขยะให้ได้ร้อยละ ๓ ต่อปี จากเดิมเป็นการทิ้งขยะรวมมุ่งเน้นการคัดแยกขยะ ตั้งแต่ต้นทาง ก่อนการรวบรวมและขนส่งผ่านสถานีขนถ่ายไปยังศูนย์ก�ำจัดขยะมูลฝอยจังหวัดภูเก็ต มีการจัดต้ังคณะกรรมการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยจังหวัดภูเก็ต โดยความร่วมมือจากหน่วยงาน และองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ในจงั หวัดภเู ก็ต ท้ังน้ี ได้ให้ด�ำเนินงานการจัดการขยะต้ังแต่ต้นทาง กลางทาง สู่ปลายทาง โดยที่ต้นทางได้ริเริ่มโครงการ ลดปรมิ าณขยะแบบครบวงจร ดว้ ยการจดั อบรมใหค้ วามรกู้ ารคดั แยกขยะในชมุ ชน โรงเรยี น สถานประกอบการ หน่วยงาน ด�ำเนินการคัดแยกขยะ ถนนปลอดถัง จัดเก็บแยกประเภท มีจุดรวมขยะอันตรายชุมชน สว่ นการจดั การขยะกลางทาง มกี ำ� หนดเสน้ ทางการเกบ็ ขนขยะใหค้ รอบคลมุ พน้ื ทที่ ง้ั หมด กำ� หนดเสน้ ทาง ระยะเวลาเกบ็ ขนขยะ ใหค้ รอบคลมุ ทว่ั ทงั้ พน้ื ท่ี มรี ถเกบ็ ขนขยะแยกประเภท ทงั้ ขยะทว่ั ไปและขยะอนิ ทรยี ์ มีชุมชนปลอดถัง ก�ำหนดวันเก็บขยะอันตรายชุมชน ส่วนการจัดการปลายทางท่ีศูนย์ก�ำจัดขยะมูลฝอย จงั หวดั ภเู กต็ มงุ่ เนน้ การจดั การขยะแยกประเภท โดยมศี นู ยถ์ า่ ยทอดเทคโนโลยกี ารจดั การขยะจงั หวดั ภเู กต็ อย่างย่งั ยืน คอยสนับสนุนและส่งเสรมิ ความรู้ในพน้ื ทตี่ า่ ง ๆ สำ� หรบั การจัดการดา้ นน�้ำ มกี ารวางแผนหาแหล่งนำ้� ส�ำรองในหนา้ แลง้ และนำ�้ ใตด้ ินจากน้�ำบาดาล มีการ ตรวจสอบคณุ ภาพ การเกบ็ ตวั อยา่ งนำ�้ และตรวจสอบคณุ ภาพตามมาตรฐานอยา่ งสมำ่� เสมอ และมชี อ่ งทาง การสอ่ื สารเพ่ือแจง้ ขา่ วสารและร้องเรียนได้อยา่ งเทา่ ทัน ผลักดันให้เป็นหลักสตู รในระบบของสถานศึกษา ตลอดจนให้ความส�ำคัญกับการปรับปรุงภูมิทัศน์และเพิ่มพ้ืนท่ีสีเขียวให้เมือง ปลูกต้นไม้บนพ้ืนท่ีว่าง ให้มากข้ึน ปรับปรุงก่อสร้างระบบเคเบิ้ลใต้ดินในเขตย่านการค้าเมืองเก่าภูเก็ตเพ่ือทัศนียภาพของเมือง ทส่ี วยงาม ผบู้ รหิ ารใหค้ วามส�ำคัญกบั การอนุรักษ์ธรรมชาตแิ ละการป้องกันมลพิษ การเพม่ิ ศักยภาพสวนสาธารณะให้ตอบสนองความต้องการผสู้ งู วัย การพฒั นาโครงสร้างเพือ่ ให้รองรบั การท่องเทยี่ ว และเนน้ ย้ำ� ความสะอาด ของเมือง รวมถึงเตรยี มรบั มือภัยพบิ ตั ทิ ั้งภยั ธรรมชาติและโรคระบาด อรไพลิน ตระกลู ปริพนธ์ รองนายกเทศมนตรนี ครภูเกต็ การจดั การส่ิงแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน 31
๒.๒ กรณีเมอื งตวั อย่างในเอเชีย ๑. เมอื งเกน่ิ เทอ ประเทศเวยี ดนาม ทศิ ทางการพฒั นา : “มงุ่ พัฒนาเมอื งเก่นิ เทอให้เปน็ เมืองอจั ฉรยิ ะ” • ขนาดพนื้ ที่ : ๑,๓๘๙.๖ ตารางกิโลเมตร • ประชากร : ๑.๒๕ ล้านคน • ผลงานเดน่ : การจดั การขยะทะเล โรงผลติ ไฟฟา้ จากขยะ และการควบคมุ การเกดิ ขยะโดยใชห้ ลกั EPR เมืองเกิ่นเทอ (Can Tho) เป็นเมอื งชายฝงั่ ทะเล ตงั้ อยบู่ นจุดเชื่อมต่อของแมน่ ้�ำสายส�ำคัญของสามเหลยี่ ม ปากแมน่ ำ้� โขง ใกลก้ บั เมอื งโฮจมิ นิ หท์ างตอนใตข้ องประเทศเวยี ดนาม ดว้ ยสภาพพนื้ ทซ่ี งึ่ มคี วามอดุ มสมบรู ณ์ จึงได้รับฉายาว่าเป็นเมืองอู่ข้าวอู่น้�ำของเวียดนาม ที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยผลผลิตทางการเกษตร เป็นศูนย์กลางทางด้านเศรษฐกิจ โลจิสติกส์ การค้าการเงิน การบริการ วัฒนธรรมและเทคโนโลยีต่าง ๆ โดยมีแหล่งอุตสาหกรรมท่ีทันสมัยและแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติที่ผสมผสานกันได้อย่างลงตัว ประกอบกับเมืองเก่ินเทอมีกิจกรรมที่เหมาะกับการท่องเที่ยวหลากหลาย จึงมีการขยายตัวของประชากร และกิจกรรมหนาแน่นขึน้ เร่ือย ๆ จากการขยายตัวและการพัฒนาเมือง ท�ำให้เมืองเก่ินเทอประสบปัญหาขยะและของเสียที่เกิดขึ้นในเมือง ท้ังจากผู้อยู่อาศัยและนักท่องเที่ยว รวมทั้งขยะที่มาจากพื้นที่ต้นน้�ำ กอปรกับท่ีตั้งของเมืองซ่ึงเป็นเมือง ชายฝั่งทะเล จึงเผชิญกับขยะที่ถูกคล่ืนและลมทะเลพัดพามายังชายฝั่ง ส่งผลให้เทศบาลเมืองเกิ่นเทอ มีความตื่นตัวในการแก้ไขปัญหาในเร่ืองนี้ โดยได้มีการร่วมลงนามแผนปฏิบัติการแห่งชาติเพ่ือการจัดการ พลาสติกในทะเล ในปี ค.ศ. ๒๐๒๐ มีเป้าหมายในการลดปริมาณขยะพลาสติกในทะเลลงร้อยละ ๗๕ ภายในปี ค.ศ. ๒๐๓๐ นอกจากน้ี ยังมีการเสนอร่างกฎหมายเก่ียวกับหลักการความรับผิดชอบที่เพ่ิมขึ้นของผู้ผลิต (Extended Producer Responsibility: EPR) ท่ีก�ำหนดให้บริษัทต่าง ๆ ให้มีการน�ำบรรจุภัณฑ์กลับไปใช้ประโยชน์ ใหม่ ส�ำหรับโรงผลิตพลังงานไฟฟ้าจากขยะ ถือเป็นต้นแบบส�ำหรับการจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ เวยี ดนาม ซง่ึ มีการตรวจสอบการปลดปลอ่ ยกา๊ ซจากโรงผลติ พลงั งานจากขยะรูปแบบออนไลนเ์ ปน็ ประจำ� ทุกวนั เพอ่ื ให้เปน็ ไปตามมาตรฐานระดับชาตแิ ละมาตรฐานของสหภาพยุโรป ในการผลติ พลงั งานสะอาด และลดการปลอ่ ยมลพิษ 32 การจัดการส่ิงแวดลอ้ มเมอื งทย่ี ั่งยืน
๒. เขตตะวันตกเฉียงเหนือ ประเทศสิงคโปร์ ทศิ ทางการพฒั นา : “เขตตะวนั ตกเฉียงเหนือ ชมุ ชนสุขภาพดีคนมสี ุข” • ขนาดพ้ืนที่ : ๑๓๘ ตารางกโิ ลเมตร • ประชากร : ๙ แสนคน • ผลงานเด่น : โรงผลิตพลงั งานไฟฟ้าจากขยะ และตดิ ต้งั เครื่องรับซอื้ บรรจุภัณฑร์ ไี ซเคลิ ประเทศสิงคโปร์แบ่งเขตการปกครองออกเป็น ๕ ภูมิภาคหรือ ๕ เขต ส�ำหรับเขตตะวันตกเฉียงเหนือ (North West District) การบรหิ ารจัดการพืน้ ท่ี โดยน�ำแนวความคิดริเรม่ิ ทีเ่ ปน็ แบบอยา่ งไปสคู่ วามย่งั ยนื ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ดว้ ยการสนบั สนนุ รว่ มกนั ขององคก์ ร ชมุ ชน โรงเรยี น อาสาสมคั ร และผอู้ ยอู่ าศยั โดยยดึ หลกั การ เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมคือการแสดงความเป็นเจ้าของส่ิงแวดล้อม การค�ำนึงถึงผู้อื่น โดยรัฐบาลท้องถ่ิน มบี ทบาทสำ� คญั ในการสนบั สนนุ ความยง่ั ยนื เปน็ วถิ ชี วี ติ และสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหผ้ มู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี มากขนึ้ การบริหารจัดการเมอื งของสงิ คโปร์ มคี วามโดดเด่นโดยเฉพาะการจัดการขยะตามหลกั 3Rs ซง่ึ ได้รับการ ขบั เคลอื่ นจากนโยบายของประเทศ ซง่ึ สำ� นกั งานสงิ่ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ (National Environmental Agency: NEA) ไดส้ ง่ เสรมิ ระบบการจดั การขยะมลู ฝอยแบบบรู ณาการ ซงึ่ มงุ่ เนน้ ไปทก่ี ารลดปรมิ าณขยะและการรไี ซเคลิ ทั้งการหลีกเลี่ยงใช้พลาสติกแบบคร้ังเดียวทิ้ง และการติดต้ังเคร่ืองรับซื้อบรรจุภัณฑ์รีไซเคิล เนื่องจาก ขาดแคลนที่ดิน จึงหลีกเลี่ยงการท�ำหลุมฝังกลบ ซึ่งแนวคิดการจัดการขยะตามหลัก 3Rs จะช่วยลดการ สรา้ งขยะที่แหลง่ กำ� เนดิ ลดปัญหามลพษิ จากขยะมูลฝอย เพิ่มขีดความสามารถในการรีไซเคลิ และมสี ่วน ช่วยในการขับเคลื่อนสงิ คโปรไ์ ปสู่ประเทศทไี่ รข้ ยะ (Zero Waste) นอกจากน้ี ยงั มกี ารสรา้ งโรงผลติ พลงั งานไฟฟา้ จากขยะ ซง่ึ รฐั บาลสงิ คโปร์ ใหส้ ทิ ธเิ อกชนมาประมลู รบั จา้ ง เก็บขนและบริหารจัดการโรงงานก�ำจัดขยะ มีการเก็บค่าก�ำจัดขยะ (Tipping Fees) จากผู้รับบริการใน อตั ราทแ่ี ตกตา่ งกนั ตามประเภทผใู้ ชบ้ รกิ าร ลกั ษณะและระยะทางของการเขา้ ไปรบั ขยะ และมกี ระบวนการ คดั แยกสว่ นทน่ี ำ� ไปรไี ซเคลิ ไดอ้ อกไปทำ� ประโยชน์ โดยมกี ารจำ� หนา่ ยกระแสไฟฟา้ จากการเผาขยะทสี่ ง่ เขา้ ระบบสายสง่ ในราคาคา่ ไฟฟา้ ปกตทิ ต่ี อ้ งมกี ารประมลู (Bidding) เสนอปรมิ าณและคา่ ไฟฟา้ รายวนั ในตลาด กลาง Power Pool อกี ทั้ง ยังมีการวางแผนแหล่งรองรบั การฝังกลบขีเ้ ถ้าท่เี หลอื จากการเผาขยะ พร้อมมี มาตรการควบคมุ และตรวจสอบผลกระทบทางส่ิงแวดล้อม และน�ำพื้นที่ไปใชป้ ระโยชน์เป็นพนื้ ที่สีเขยี ว การจดั การสิ่งแวดลอ้ มเมอื งทยี่ ั่งยืน 33
๓. เมืองโอซาก้า ประเทศญีป่ ุ่น ทศิ ทางการพฒั นา : “โอซากาเป็นเมืองสิง่ แวดล้อม มุ่งสู่สังคมคารบ์ อนต่�ำ และบรรลเุ ปา้ หมายในการพฒั นาเมอื ง” • ขนาดพื้นที่ : ๒๒๕ ตารางกโิ ลเมตร • ประชากร : ๒.๗ ลา้ นคน • ผลงานเดน่ : การกำ� หนดมาตรการและใช้กฎหมายเปน็ เครอื่ งมือในการจดั การ กฎหมายการรีไซเคิล เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ขนาดเลก็ แผนการตรวจสอบและตดิ ตามการปลดปลอ่ ยมลพษิ และการใช้ พลังงานทางเลือก เมืองโอซาก้า (Osaka City) เป็นเมืองขนาดใหญ่ของประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเกาะฮอนชู ถือเป็นเมืองท่า เมืองอุตสาหกรรม และเมืองศูนย์กลางการค้าที่ส�ำคัญ มีการเติบโตทางเศรษฐกิจใหญ่ เปน็ อนั ดบั สองของประเทศ เทศบาลเมืองโอซาก้ามีวิสัยทัศน์ในการท�ำให้เมืองโอซาก้าเป็นเมืองท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม สู่สังคม คารบ์ อนตำ่� และบรรลเุ ปา้ หมายในการพฒั นาเมอื งทย่ี งั่ ยนื จงึ ใหค้ วามสำ� คญั กบั การควบคมุ ผลกระทบจาก ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม รักษาสภาพแวดล้อมในเมือง และสังคมบนพื้นฐานของการรีไซเคิล ด้วยการสร้างความร่วมมือและการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของเมือง ตลอดจนการใช้พลังงาน ทางเลอื กเพอ่ื ลดการปลดปล่อยมลพิษส่ชู ัน้ บรรยากาศ เทศบาลเมอื งโอซากา้ มกี ารกำ� หนดมาตรการและใชก้ ฎหมายเปน็ เครอ่ื งมอื ในการจดั การสง่ิ แวดลอ้ มทชี่ ดั เจน ควบคไู่ ปกบั การสรา้ งความรว่ มมอื กบั ภาคสว่ นตา่ ง ๆ เหน็ ไดช้ ดั จากกรณกี ารจดั การของเสยี ทเ่ี กดิ จากสถาน ประกอบการตา่ ง ๆ อยา่ งเขม้ งวด โดยมรี ะเบยี บใหบ้ รษิ ทั เอกชนแตล่ ะแหง่ มผี จู้ ดั การของเสยี ประจำ� บรษิ ทั ซงึ่ จะรบั ผดิ ชอบในการกำ� กบั ดแู ลและพฒั นาแผนการลดของเสยี ทสี่ อดคลอ้ งกบั แนวทางของเมอื งโอซากา้ มีแผนการตรวจสอบและติดตามการปลดปล่อยมลพิษ เพื่อตรวจสอบระดับของอัตราการปล่อย กา๊ ซเรอื นกระจก รฐั บาลของโอซากา้ ไดด้ ำ� เนนิ การทบทวนขอ้ มลู พนื้ ฐานเกยี่ วกบั การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก อย่างต่อเนื่องและมีการติดตามตรวจสอบอย่างสม�่ำเสมอ นอกจากน้ี ยังมีกฎหมายการรีไซเคิลเครื่องใช้ ไฟฟา้ ขนาดเลก็ (Small Appliances Recycling Act) ซึง่ เป็นการรับโลหะที่สามารถนำ� กลับมาใชง้ านได้ ซงึ่ ชว่ ยสง่ เสรมิ การรไี ซเคลิ และการกำ� จดั ขยะอยา่ งเหมาะสม ตลอดจนการใชท้ รพั ยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 34 การจดั การส่งิ แวดลอ้ มเมอื งทย่ี ั่งยนื
๔. กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี ทศิ ทางการพฒั นา : “การสร้างเมอื งแหง่ ความสขุ ของประชากรผา่ นการสอื่ สารและความคิดเห็น” • ขนาดพน้ื ที่ : ๖๐๕ ตารางกิโลเมตร • ประชากร : ๑๐ ลา้ นคน • ผลงานเด่น : เมอื งปลอดฝุน่ เพม่ิ พ้ืนทส่ี เี ขียวในเมอื ง เสน้ ทางสเี ขยี ว ฟน้ื ฟูคลอง และฟ้ืนฟูระบบนเิ วศทางธรรมชาติ กรงุ โซล (Seoul) ตง้ั อยทู่ างตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของประเทศ มแี มน่ ำ้� ฮนั ไหลผา่ นและแบง่ เมอื งออกเปน็ สอง สว่ น เป็นฝ่งั เหนอื และฝั่งใต้ คณะบรหิ ารมหานครโซล (Seoul Metropolitan Government; SMG) ได้ ยกระดับความพยายามที่จะท�ำให้กรุงโซลเป็นเมืองที่ปลอดจากปัญหาฝุ่น โดยการใช้มาตรการหลายด้าน เพ่ือควบคุมปัญหามลพิษทางอากาศ นอกจากน้ันกรุงโซล ยังมีพ้ืนท่ีสีเขียวจ�ำนวนมากซ่ึงช่วยส่งเสริม สภาพแวดล้อมในเมืองและคุณภาพชีวติ ของประชาชน ด้วยความที่เป็นเมืองย่ังยืน และนวัตกรรมจ�ำนวนมากได้เกิดข้ึนเพื่อส่งเสริมพื้นที่สีเขียวในระดับชุมชน รฐั บาลกรงุ โซล ไดใ้ ชม้ าตรการตา่ ง ๆ เพอื่ ลดปญั หามลพษิ ทางอากาศอยา่ งครอบคลมุ เชน่ เครอ่ื งทำ� ความรอ้ น การขนสง่ และสถานทป่ี ระกอบการ เสพง่ อื่ผกลาใรหเชป้ อื่ รมมิ พานณ้ื ทฝต่ีนุ่ า่ ลงะๆอทอว่ังกขรนงุ าโซดลเลทก็ งั้ ปPา่Mใน2.5เมลอื ดงลสงวไนดหช้ ดัรอืเจสนวนมสโี าคธรางรกณาะร เสน้ ทางสเี ขยี ว (Green Path Project) เข้าด้วยกัน เพ่ือท�ำให้ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ อีกท้ังเป็นการเช่ือมพ้ืนที่ใจกลางเมืองกับพ้ืนท่ีอยู่อาศัย โครงการนจ้ี ะทำ� ใหเ้ มอื งมพี นื้ ทส่ี เี ขยี วขนาดใหญ่ เปน็ แหลง่ กกั เกบ็ คารบ์ อนและสรา้ งทศั นยี ภาพทสี่ วยงาม สว่ นการฟน้ื ฟคู ลองชองกเยชอนเปน็ กรณที ไี่ ดร้ บั ความสนใจจากเมอื งตา่ ง ๆ ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ สำ� หรบั คลองชองกเยชอนเปน็ แมน่ ำ�้ สายสำ� คญั ทไี่ หลผา่ นกรงุ โซล เดมิ เคยมปี ญั หานำ�้ เนา่ เสยี แตไ่ ดร้ บั การ พลิกฟื้นให้กลายเป็นคลองท่ีสวยงาม เป็นแหล่งน้�ำของเมือง แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น�้ำ ป้องกันน�้ำท่วม ตลอดจนชว่ ยลดผลกระทบจากเกาะความรอ้ นในเมือง นอกจากหน่วยงานภาครัฐที่มีบทบาทในการบริหารจัดการกรุงโซลซ่ึงเป็นเมืองใหญ่และเป็นศูนย์กลาง การบรหิ ารและศนู ยก์ ลางดา้ นเศรษฐกจิ ของประเทศเกาหลใี ต้ ยงั ไดม้ กี ารกอ่ ตง้ั องคก์ รความรว่ มมอื ระหวา่ ง ภาคประชาชนและภาคธุรกิจ (Public - Private Partnership - PPP) เม่ือปี ค.ศ. ๒๐๑๐ โดยมีสมาชิก ๕๐ เมอื งและในปัจจุบันมีสมาชิกเพ่ิมขึ้นเป็น ๒๑๓ องค์กร โดยได้เข้ามามีบทบาทด้วยในการสร้างเมือง ให้เปน็ เมืองอจั ฉริยะระดับโลก การจดั การสิ่งแวดลอ้ มเมอื งทย่ี ่งั ยืน 35
๕. กรงุ ไทเป ไต้หวนั ทศิ ทางการพฒั นา : “กรงุ ไทเปมุ่งส่เู มอื งคาร์บอนเปน็ ศนู ย์ มุง่ เนน้ พฒั นาเมือง อัจฉรยิ ะ การรีไซเคลิ อย่างครบวงจร และลดขยะใหเ้ ปน็ ศนู ย์ ”Ú • ขนาดพื้นท่ี : ๒๗๑.๘ ตารางกิโลเมตร • ประชากร : ๒.๔๖ ล้านคน • ผลงานเดน่ : ระบบการเกบ็ คา่ กำ� จดั ขยะครวั เรอื น และเปดิ โอกาสใหม้ กี ารจดั ตง้ั องคก์ รภาคประชาสงั คม มีสว่ นร่วมในการพฒั นาเมือง กรุงไทเป (Taipei) ตง้ั อยทู่ างตอนเหนอื ของไตห้ วนั หา่ งจากเมอื งทา่ ทอ่ี ยทู่ างเหนอื พนื้ ทถ่ี กู ลอ้ มรอบดว้ ย นครซนิ เปย่ ์ (นครไทเปใหม)่ พนื้ ทส่ี ว่ นใหญข่ องเมอื งตงั้ อยบู่ นแอง่ ไทเป ซง่ึ เปน็ กน้ ทะเลสาบโบราณ แอง่ ไทเป ลอ้ มรอบดว้ ยหบุ เขาทค่ี อ่ นขา้ งแคบของแมน่ ำ้� จหี ลงและแมน่ ำ้� ซนิ เตยี้ น ซง่ึ รวมกนั เปน็ แมน่ ำ้� ตนั้ ฉยุ่ ทไ่ี หลไป ตามแนวพรมแดนด้านตะวันตกของเมือง เนื่องจากกรุงไทเปมีประชากรอาศัยอย่างหนาแน่น แต่มีพื้นที่ สำ� หรบั กำ� จดั ขยะนอ้ ย จนเกดิ การออกมาประทว้ งของกลมุ่ สตรที เ่ี กย่ี วเนอื่ งกบั ปญั หาขยะ ความเคลอ่ื นไหว ของกลมุ่ กระตนุ้ ใหร้ ฐั บาลทอ้ งถน่ิ ออกนโยบายเพอ่ื ชว่ ยในการลดปรมิ าณขยะและสง่ เสรมิ การนำ� กลบั มาใช้ ใหม่ โดยได้นำ� ระบบการเก็บคา่ กำ� จดั ขยะครัวเรอื นมาใช้ โดยเรยี กว่า โครงการคา่ เก็บขยะตอ่ ถุง “Per-Bag Trash Collection Fee Program” ซง่ึ ก�ำหนดใหผ้ อู้ ยู่อาศยั ในพืน้ ท่ีตอ้ งซ้ือถุงขยะที่เหมาะสม กรงุ ไทเปเนน้ การเปดิ โอกาสใหม้ กี ารจดั ตง้ั องคก์ รภาคประชาสงั คมไดแ้ สดงความคดิ เหน็ ในการพฒั นาเมอื ง ภายใต้กฎหมายเก่ียวกับองค์กรประชาสังคมไต้หวัน อีกท้ังรัฐบาลท้องถ่ินยังมีการท�ำงานอย่างใกล้ชิดกับ ประชาชน รับฟังข้อมูลและร่วมกันหาทางการแก้ไขปัญหาและจัดท�ำแผนที่ชัดเจน ทั้งนี้ การจัดการขยะ เปน็ วาระสำ� คญั วาระหนง่ึ ของกรงุ ไทเป ทที่ กุ ฝา่ ยไดใ้ ชค้ วามพยายามในการแกไ้ ขปญั หาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง นำ� ไปสู่ การใช้มาตรการต่าง ๆ จนเกิดการเปล่ียนแปลงไปในทิศทางท่ีดีขึ้น สามารถเปล่ียนไทเปจาก เกาะขยะ “Garbage Island” ไปสูผ่ นู้ ำ� ในการรไี ซเคิล ซงึ่ เปน็ ทช่ี ่ืนชมและเป็นต้นแบบในการทำ� งานของเมอื งอืน่ ๆ นอกจากน้ี ยังได้จัดท�ำแผนสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ หรือ Net Zero ภายใน ปี ค.ศ. ๒๐๕๐ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศ โดยไดค้ วามสำ� คญั กบั ๓ ภาคสว่ น ไดแ้ ก่ ภาคท่อี ยู่อาศยั และพาณิชยกรรมมุ่งเน้นพัฒนาอาคารอัจฉริยะและไร้คาร์บอน ภาคการขนส่งเน้นเส้นทางส่งเสริม การขนสง่ ทเี่ ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มต�่ำ และภาคของเสีย ซ่ึงใช้หลัก “รีไซเคิลอย่างเต็มรูปแบบและขยะ เปน็ ศูนย”์ โดยจะด�ำเนินการทัง้ สามเส้นทางนใี้ หบ้ รรลเุ ปา้ หมาย 36 การจดั การส่ิงแวดล้อมเมอื งทยี่ ่ังยนื
แนวทางการจดั การ สง่ิ แวดลอ้ มเมอื ง การจดั การส่งิ แวดล้อมเมอื งที่ย่งั ยืน 37
๓. แนวทางการจดั การส่ิงแวดลอ้ มเมอื ง ๓.๑ กทาารงจชัดีวกภาารพพน้ื ทีส่ เี ขยี วและความหลากหลาย แนวทางการจดั การพนื้ ที่สีเขยี ว และความหลากหลายทางชวี ภาพ การจดั การพน้ื ทสี่ เี ขยี วในเมอื ง ทงั้ การดแู ล รกั ษา อนรุ กั ษ์ ฟน้ื ฟู ตลอดจนการเพมิ่ พน้ื ทส่ี เี ขยี วในเมอื ง ให้มากขึ้น อาทิ สวนสาธารณะในเมือง พ้ืนที่สีเขียวในบ้าน วัด และในพื้นที่เอกชน รวมถึงให้พ้ืนที่ สเี ขียวมีการเชอ่ื มโยงภายในเมอื งที่ประชาชนจะสามารถเข้าถงึ ไดง้ ่าย การสร้างพื้นที่สีเขียวให้เป็นแหล่งนันทนาการและแหล่งเรียนรู้ ตลอดจนเป็นแหล่งรักษาพันธุ์ไม้ ทอ้ งถิ่นท่ีสำ� คัญ การพัฒนาพืน้ ที่สเี ขยี วควบค่ไู ปกบั การดแู ลรกั ษาระบบนเิ วศ ให้คงเดิม ไมใ่ หเ้ กดิ ความเสื่อมโทรม การจดั ท�ำฐานขอ้ มลู ต้นไม้ในเมอื ง ระบบสบื ค้นตน้ ไม้ และทะเบยี นพันธุไ์ ม้ โดยใหป้ ระชาชนสามารถ เขา้ ถงึ และเรียนรู้ชนดิ ของพันธุ์ไม้ในเมอื ง ซึง่ สามารถเป็นฐานขอ้ มูลในการคำ� นวณการปรมิ าณกักเก็บ คาร์บอนของต้นไม้ได้ การปรังปรุงภูมิทัศน์เมือง ให้มีความเหมาะสมและเป็นไปตามความต้องการของประชาชนในเมือง เพื่อทัศนียภาพของเมืองท่ีสวยงาม เป็นระเบียบ และเอื้อต่อการพักผ่อนหย่อนใจของประชาชน ใหม้ ีคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี 38 การจัดการส่ิงแวดล้อมเมืองทีย่ ่งั ยนื
การสร้างพนื้ ทสี่ ีเขยี ว แหล่งนันทนาการ และแหล่งเรียนรู้ พนื้ ทสี่ เี ขยี วในเมอื งเปน็ ตวั ชว้ี ดั หนงึ่ ของการพฒั นาเมอื งสกู่ ารเปน็ เมอื งนา่ อยู่ ซงึ่ ใหค้ วามสำ� คญั การทป่ี ระชาชน จะสามารถเขา้ ถงึ พนื้ ทสี่ เี ขยี วในเมอื งไดอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ ซง่ึ พนื้ ทส่ี เี ขยี วมคี ณุ ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ตอ่ คณุ ภาพชวี ติ ของคน อกี ทงั้ ชว่ ยเสรมิ สรา้ งความเปน็ เมอื งนา่ อยทู่ ง้ั ชว่ ยเพมิ่ มลู คา่ ทดี่ นิ และสง่ิ กอ่ สรา้ ง โดยเมอื งทม่ี ที ศั นยี ภาพ ทส่ี วยงาม มคี วามรม่ รนื่ และสวยงามดว้ ยตน้ ไมแ้ ละสวนสาธารณะจะดดู ดงึ ใหม้ นี กั ทอ่ งเทย่ี วเขา้ มาเยย่ี มชม และพกั ผอ่ นในเมอื งได้มากกวา่ เมืองที่เต็มไปด้วยสงิ่ ปลกู สร้าง ท้ังเป็นแหล่งนนั ทนาการ เปน็ สถานทพี่ กั ผอ่ น หยอ่ นใจ รวมถงึ เปน็ แหลง่ พบปะพดู คยุ หรอื ทำ� กจิ กรรมรว่ มกนั นอกจากน้ี ในแง่คุณค่าด้านสิ่งแวดล้อม พื้นท่ี สีเขียวจัดเป็นแหล่งรวมความหลากหลายทางชีวภาพที่ส�ำคัญ เป็นแหล่งท่ีอยู่อาศัยทั้งพืชและสัตว์ ช่วย ลดมลพิษทางอากาศ ช่วยดูดซับสารโลหะหนัก เพ่ิมความชื้นในอากาศ ส่งผลไม่ให้อากาศร้อนจนเกินไป ตลอดจนเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอนท่ีส�ำคัญท้ังในส่วนใต้ดินและบนดิน ซ่ึงเป็นการช่วยลดภาวะโลกร้อน จากคณุ คา่ ของพน้ื ทส่ี เี ขยี วทก่ี ลา่ วมา ทำ� ใหห้ ลาย ๆ เมอื งไดใ้ หค้ วามสำ� คญั ในการรกั ษาพนื้ ทสี่ เี ขยี วในเมอื ง ไว้ ทั้งการอนรุ กั ษ์ ฟืน้ ฟพู ืน้ ทสี่ เี ขยี วเดิมใหค้ งอยู่ และการเพ่มิ พน้ื ท่ีสีเขียวในเมอื งให้มากขึน้ องคก์ ารอนามัยโลก (World Health Organization; WHO) ไดร้ ะบุว่าควรมี พื้นทส่ี ีเขียวอย่างน้อย ๙ ตารางเมตรตอ่ คน ซงึ่ การปลูกไม้ในเมอื งถอื เปน็ กลไกส�ำคัญ ในการเพ่ิมพนื้ ท่สี เี ขยี วในเมือง และชมุ ชนอย่างยง่ั ยืน กรณตี วั อยา่ งการอนรุ กั ษแ์ ละฟน้ื ฟพู นื้ ทส่ี เี ขยี ว เทศบาลเมอื งกระบ่ี ไดร้ ว่ มสถานพี ฒั นาทรพั ยากร ป่าชายเลนที่ ๒๖ (เมอื งกระบี)่ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง่ั จดั ท�ำโครงการปา่ ในเมือง จงั หวดั กระบี่ เพอ่ื สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การมสี ว่ นรว่ มของภาคราชการ ทอ้ งถน่ิ เอกชน และประชาชน ในการสงวนอนุรักษ์ และฟื้นฟู และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ในพื้นที่ป่าชายเลน บริเวณเขตเทศบาลเมืองกระบ่ี จ�ำนวน ๑๘๐ ไร่ ให้เป็นป่าในเมือง ตามนโยบาย “สวนปา่ ในเมอื ง สวนปา่ ประชารฐั เพอ่ื ความสขุ ของคนไทย” รวมถงึ การเพม่ิ พนื้ ที่ สเี ขยี วในบา้ นเปน็ “ปา่ ในบา้ น” โดยการเพาะปลกู พชื ผกั สมนุ ไพร พฒั นากลายเปน็ แหล่งเรยี นรู้ ชมุ ชนดา้ นสขุ ภาพและสมนุ ไพรไทย “ศนู ยก์ ารเรยี นรกู้ ารอบสมนุ ไพรเพอื่ สขุ ภาพ” ตงั้ อยทู่ ช่ี มุ ชน ทงุ่ โหลง อกี ทง้ั การสรา้ ง “ปา่ ในวดั ” ใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรตู้ ลอดจนสรา้ งความรม่ รนื่ ในจติ ใจ หลายเมืองได้สร้างสวนสาธารณะ ซ่ึงเป็นพ้ืนที่สีเขียวใจกลางเมือง ที่ถือเป็นจุดแลนด์มาร์ค ที่ส�ำคัญ ดังเช่น เทศบาลเมอื งกาฬสนิ ธพ์ุ ัฒนาพ้ืนท่ีสวนสาธารณะแก่งดอนกลาง เป็นแหล่ง เรยี นรู้ พฒั นาฐานขอ้ มลู ความหลากหลายทางชวี ภาพ อกี ทงั้ พฒั นาใหเ้ ปน็ แหลง่ รองรบั นำ�้ และ ปอ้ งกนั นำ้� ทว่ ม ชว่ ยบำ� บดั นำ้� เสยี ใหเ้ จอื จาง รวมถงึ ชว่ ยปอ้ งกนั ปญั หาความแหง้ แลง้ โดยการผนั นำ้� การจัดการสง่ิ แวดล้อมเมืองทย่ี ั่งยนื 39
เข้าสู่แหล่งน้�ำสาธารณะ เทศบาลเมอื งรอ้ ยเอด็ พัฒนาพื้นท่ีสีเขียวควบคู่ไปกับการดูแลรักษา ระบบนเิ วศ โดยการขดุ ลอกบงึ พลาญชยั เพอื่ แกป้ ญั หานำ้� เนา่ เสยี และอนรุ กั ษช์ นดิ พนั ธป์ุ ลาและ สัตว์น้�ำจืด อีกท้ัง การปรับปรุงเกาะเต่าบึงพลาญชัย เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมและสร้าง ระบบนิเวศทเี่ หมาะสมตอ่ การผสมพันธแุ์ ละการวางไข่ของเตา่ และตะพาบนำ�้ มกี ารดแู ลรกั ษา พนั ธุ์ไม้ในบริเวณบงึ และปลูกตน้ อนิ ทนลิ ซึ่งเปน็ ไมป้ ระจ�ำจงั หวัดรอบบงึ สง่ ผลให้บงึ พลาญชยั แหง่ นม้ี ภี มู ทิ ศั นท์ สี่ วยงามและเปน็ แหลง่ นนั ทนาการทสี่ ำ� คญั และมชี อื่ เสยี งในจงั หวดั เปน็ ตน้ มา ส�ำหรับเทศบาลนครเชียงรายได้พัฒนาดอยสะเก็นเป็น “ป่าใจกลางเมือง” เป็นแหล่งเรียนรู้ ชมุ ชนทส่ี ำ� คญั และมกี ารออกแบบเสน้ ทางการทอ่ งเทยี่ วเชงิ นเิ วศ มกี ารจดั กจิ กรรมคา่ ยพกั แรม และกิจกรรมการท่องเทีย่ วในชุมชน มีไกด์น�ำเทีย่ ว นำ� เดนิ ป่าสำ� รวจพันธุ์ต้นไม้ เพอื่ เสริมสร้าง ความรู้ ความตระหนกั ถึงความสำ� คญั ของป่าดอยสะเกน็ ตลอดจนตอ่ ยอดจนเป็นแหล่งเรยี นรู้ และแหลง่ ทอ่ งเทยี่ วแหง่ ใหม่ นอกจากน้ี เทศบาลนครเชยี งรายไดม้ กี ารพฒั นาพน้ื ทร่ี มิ แมน่ ำ�้ กก บางส่วนให้เอ้ือต่อการพักผ่อนหย่อนใจของคนประชาชนและดึงดูดนักท่องเท่ียวมาเย่ียมชม และแนวคิดจะพัฒนาพ้ืนที่ริมแม่น�้ำกกให้เป็นสวนสาธารณะกระจายเปน็ จดุ ๆ เพอื่ เออ้ื ใหก้ บั ประชาชนในแตล่ ะพนื้ ทส่ี ามารถเขา้ ถงึ ไดง้ า่ ยมากขน้ึ พรอ้ มกบั การเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว ทม่ี กี ารจำ� หนา่ ย สินค้าของชุมชนไปพร้อม ๆ กัน โดยจะมีเส้นทางเช่ือมโยงกันตลอดแนวแม่น�้ำ ซ่ึงในขณะน้ี ได้มีการศึกษาออกแบบพัฒนาพื้นท่ีโดยค�ำนึงถึงสภาพทางธรรมชาติ ลักษณะทางอุทกวิทยา และการไหลเวียนของน้�ำ เพ่ือไม่ให้ส่งผลกระทบต่อแหล่งที่อยู่อาศัยของชนิดพันธุ์พืชและ สัตว์น้�ำ และในเทศบาลนครนครสวรรค์ ไดส้ รา้ งอทุ ยานสวรรคใ์ หเ้ ปน็ พน้ื ทสี่ เี ขยี วใจกลางเมอื ง เปน็ แหลง่ นนั ทนาการ ใหป้ ระชาชนทำ� กจิ กรรมตา่ ง ๆ รวมถงึ จดั งานประเพณแี ละเทศกาลตา่ ง ๆ รวมถงึ การพฒั นาทางเทา้ เกาะกลางถนนรวมถงึ การสรา้ งสวนหยอ่ มขนาดเลก็ กระจายอยทู่ ว่ั เมอื ง ซึ่งต้นไม้ใหญ่นอกจากจะช่วยท�ำให้เมืองมีความร่มร่ืนแล้ว ยังช่วยดกั กรองฝนุ่ ชว่ ยดดู ซบั กา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละคารบ์ อนมอนอกไซด์ ซง่ึ เปน็ มลพษิ ทเี่ กดิ จากการจราจรไดด้ ี นอกจากน้ีกรงุ โซล สาธารณรฐั เกาหลี มกี ารดำ� เนนิ โครงการเสน้ ทางสเี ขยี ว(GreenPathProject) เป็นการเช่ือมโยงพื้นท่ีสีเขียวทั่วกรุงโซลเข้าด้วยกัน เช่น ป่าในเมือง สวน หรือสวนสาธารณะ เสน้ ทางสีเขียวอีก ๔๐๐ กโิ ลเมตรจะถกู เชือ่ มเขา้ กบั เสน้ ทางยาวกวา่ ๑,๖๐๐ กโิ ลเมตรทีม่ ีอยู่ แลว้ เพอื่ ใหป้ ระชากรสามารถเขา้ ถงึ ไดอ้ ยา่ งทวั่ ถงึ คาดวา่ โครงการนจี้ ะสำ� เรจ็ ภายในปี ค.ศ. ๒๐๒๖ และจะเชื่อมพ้ืนท่ีใจกลางเมืองกับพื้นท่ีอยู่อาศัยและแหล่งพักผ่อนหย่อนใจเพ่ือประโยชน์ ทงั้ ในดา้ นรา่ งกายและจติ ใจสำ� หรบั ประชาชน การสรา้ งและรกั ษาพนื้ ทส่ี เี ขยี วในรปู แบบตา่ ง ๆ จะก่อให้เกิดประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมแก่ส่ิงแวดล้อม สังคม และมนุษย์ ท�ำให้เมือง มีความร่มรื่น น่าอยู่ ช่วยเพ่ิมคุณภาพชีวิตของประชาชน ช่วยรักษาสมดุลของระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ ตลอดจนช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการกักเก็บคาร์บอน ในรูปแบบเนอื้ ไม้ ซงึ่ มีสว่ นชว่ ยลดภาวะโลกร้อนไดอ้ ีกด้วย 40 การจดั การสง่ิ แวดล้อมเมืองที่ย่งั ยนื
การรกั ษาพน้ื ทีส่ ีเขยี วและพันธุ์ไมท้ อ้ งถ่ิน การดูแลรักษาพื้นท่ีสีเขียวท่ีมีอยู่ในเมืองเป็นส่ิงส�ำคัญ โดยเฉพาะการจัดท�ำฐานข้อมูลพันธุ์ไม้ เป็นประโยชน์ในการวางแผนการพัฒนาพื้นท่ีสีเขียวและเก็บข้อมูลพันธุ์ไม้เพื่อประโยชน์ในอนาคต โดยระบบสืบค้นต้นไม้และการจัดท�ำทะเบียนพันธุ์ไม้ จะเป็นระบบข้อมูลท่ีแสดงชนิดพันธุ์ไม้ ความสูง เส้นรอบวง และพิกัด ซึ่งเทศบาลนครยะลา ได้จัดท�ำระบบสืบค้นต้นไม้และการจัดท�ำทะเบียนพันธุ์ไม้ โดยใช้รหัส QR Code จัดท�ำข้ึนในรูปป้ายชื่อพันธุ์ไม้มาติดกับต้นไม้เพ่ือให้ประชาชนได้เรียนรู้ชนิด ของพันธุ์ไม้ในเมือง ซ่ึงสามารถเข้าถึงฐานข้อมูลได้ผ่านโทรศัพท์มือถือ โดยเร่ิมจากในสวนสาธารณะ ท่ีเทศบาลดูแลเอง และมีแผนจะขยายไปสู่ต้นไม้ในโรงเรียน หน่วยงานราชการ วัด และพ้ืนท่ีเอกชน ส่วนเทศบาลเมืองกระบ่ี ด�ำเนินการร่วมกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และ ประชาชนใกล้เคียง ท�ำการส�ำรวจพันธุ์ไม้และจัดท�ำฐานข้อมูลต้นไม้ในเขตวัดปานุราชประชาสรรค์ โดยใช้รหัส QR Code ติดตามต้นไม้ เพื่อการเรียนรู้ประโยชน์และคุณค่าของต้นไม้ประเภทต่าง ๆ ตลอดจนสามารถน�ำมาค�ำนวณปริมาณการกกั เก็บคารบ์ อนของต้นไมแ้ ตล่ ะตน้ นอกจากนี้ เทศบาลนครยะลา ได้จัดตั้งศูนย์เพาะเล้ียงเน้ือเยื่อในความดูแลของเทศบาล เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๖ เพื่อเป็นแหล่งเพาะพันธุ์พืชท้องถิ่นท้ังไม้ประดับและพืชเศรษฐกิจ กาแฟโรบสั ตา้ กล้วยหนิ ยะลา เฟริ น์ ยางอนิ เดยี และดาหลา เปน็ ต้น เพือ่ น�ำไปใช้ในการเพิ่ม พ้ืนท่ีสีเขียวและตกแต่งในพ้ืนท่ีเขตเทศบาล รวมถึงสนับสนุนสร้างรายได้แก่ชุมชน เช่น สนับสนุนกล้าไม้กาแฟโรบัสต้าให้กับเกษตรกร เป็นต้น โดยศูนย์ฯ แห่งน้ี เป็นแหล่งเรียนรู้ ในการเพาะเลี้ยงและดูแลกล้าไม้ และสามารถผลิตกล้าไม้คุณภาพดีมีปริมาณมากพอ ทจี่ ะใช้สำ� หรับการเพ่มิ พื้นท่ีสเี ขียวเพอื่ มงุ่ สู่ “นครแห่งสวน” อยา่ งแท้จริง กาแฟโรบสั ตา้ ยางอนิ เดีย ยางอินเดีย ยางอนิ เดยี กาแฟโรบสั ต้า การจดั การสิ่งแวดล้อมเมืองทีย่ ่ังยนื 41
การปรบั ปรุงภมู ิทัศนเ์ มอื ง การปรับปรุงภูมิทัศน์ของเมืองเป็นการพัฒนาเมืองโดยค�ำนึงถึงความเป็นระเบียบเรียบร้อย อัตลักษณ์ ของเมือง การใช้ประโยชน์ท่ีดิน การเพ่ิมพ้ืนที่สีเขียว และมีระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการอย่าง ครบถว้ น ซง่ึ การปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั นข์ องเมอื งใหม้ คี วามเหมาะสมและเปน็ ไปตามความตอ้ งการของประชาชน ในพนื้ ทเ่ี ปน็ อกี หนงึ่ เชน่ ในเขตเทศบาลเมอื งรอ้ ยเอด็ ไดท้ ำ� การปรบั ภมู ทิ ศั นบ์ รเิ วณตวั เมอื งใหด้ ขี น้ึ การยา้ ย เรือนจ�ำออกนอกเมือง ซึ่งประชาชนให้ความเห็นว่าควรย้ายเรือนจ�ำออกไปนอกเมือง เน่ืองจากตั้งอยู่ ในแหลง่ ชมุ ชน อาคารสถานทมี่ กี ารชำ� รดุ ทรดุ โทรมเสอื่ มสภาพ เทศบาลจงึ ทำ� การยา้ ยเรอื นจำ� ไปพน้ื ทใ่ี หม่ ซ่ึงห่างจากตัวเมืองออกไป นอกจากน้ี ยังมี “แผนการพัฒนาพื้นที่สีเขียวและการท่องเที่ยวในอนาคต” โดยการจดั การพนื้ ทร่ี มิ แมน่ ำ�้ ทมี่ กี ารรกุ ลำ�้ ไดพ้ ฒั นาปรบั ปรงุ คลองคเู มอื งใหส้ วยงาม มกี ารเจรจายา้ ยบา้ น เรือนท่ีรุกล้�ำล�ำน้�ำ โดยการจัดหาที่อยู่ใหม่ให้กว่า ๒๐๐ หลังคาเรือน โดยเริ่มจากการส�ำรวจข้อมูลชุมชน จดั ทำ� แผนผงั และชแ้ี จงทำ� ความเขา้ ใจกบั ประชาชน ตลอดจนการคนื สภาพคเู มอื งกำ� แพงเมอื งทเ่ี สอ่ื มโทรม ใหก้ ลบั มาเปน็ โบราณสถานและแหลง่ ทอ่ งเท่ียว โดยจดั ให้มถี นน ไฟฟา้ ทางระบายน้�ำ ทางเทา้ และสวน สขุ ภาพ จากการดำ� เนนิ งานสง่ ผลใหเ้ ทศบาลเมอื งรอ้ ยเอด็ เปน็ ตน้ แบบโครงการจดั ทำ� แผนพฒั นาทอ่ี ยอู่ าศยั และแผนปอ้ งกนั แกไ้ ขปัญหาชมุ ชนแออัด อกี ท้ังประชาชนท่ยี า้ ยไปอยทู่ แี่ ห่งใหม่มคี ณุ ภาพชีวติ ทด่ี ขี ึ้น กรณีเมืองเชียงราย ท่ีเป็นเมืองท่ีมีภูมิทัศน์ที่สวยงามตลอดสองข้างริมแม่น�้ำกกท่ีไหลผ่าน เทศบาลนครเชยี งรายยงั คงมสี ภาพทางธรรมชาตทิ ส่ี วยงาม กลมกลนื กบั ภมู ทิ ศั นภ์ เู ขาโดยรอบ โดยเทศบาลนครเชียงรายได้มีการพัฒนาพื้นท่ีริมแม่น�้ำกกบางส่วนให้เอ้ือต่อการพักผ่อน หย่อนใจของคนประชาชนและดึงดูดนักท่องเท่ียวมาเย่ียมชม โดยจะพัฒนาให้เป็นสวน สาธารณะกระจายเป็นจุด ๆ เพ่ือเอื้อให้กับประชาชนในแต่ละพื้นที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย มากข้ึน พร้อมมีเส้นทางเช่ือมโยงกันตลอดแนวแม่น้�ำ โดยได้เร่ิมท�ำการศึกษาออกแบบและ เปิดโอกาสให้นักวิชาการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้เข้าร่วมแสดงความคิดเห็น ซึ่งส่วนใหญ่ เห็นว่าควรหลีกเลี่ยงการใช้โครงสร้างแข็ง (Hard structure) หรือใช้เท่าที่จ�ำเป็น เน้นการ พัฒนาท่ีค�ำนึงถึงสภาพพ้ืนที่ทางธรรมชาติ ลักษณะทางอุทกวิทยา และการไหลเวียนของน้�ำ โดยศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลย้อนหลังในอดีต เพ่ือรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การระบายนำ้� การรกั ษาพน้ื ทช่ี มุ่ นำ�้ และไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ แหลง่ ทอี่ ยอู่ าศยั ของชนดิ พนั ธพ์ุ ชื และสตั ว์น้�ำ 42 การจดั การสงิ่ แวดล้อมเมอื งที่ยง่ั ยืน
๓.๒ การจดั การขยะมลู ฝอย แนวทางการจัดการขยะมูลฝอย การจดั การขยะมลู ฝอยทตี่ น้ ทาง เนน้ ใชห้ ลกั การ 3Rs ลดการใช้ (Reduce) ใชซ้ ำ้� (Reuse) และแปรรปู เพื่อใช้ใหม่ (Recycle) รวมถึงการคัดแยกขยะมูลฝอยซ่ึงจะช่วยเพ่ิมความสะดวกในการหมุนเวียน กลับมาใชใ้ หม่ การปรับเปลย่ี นพฤติกรรม เพอ่ื ช่วยลดการเกิดขยะ โดยการปรับเปล่ียนจากถังขยะขนาดใหญ่ใหเ้ ป็น ถังขยะขนาดเล็ก และการกำ� หนดใหผ้ อู้ ยูอ่ าศัยซอ้ื ถุงขยะทเี่ หมาะสมกับปริมาณขยะ การมอบรางวัล เพื่อจูงใจให้เกิดการมีส่วนร่วมในการลดการเกิดขยะที่ต้นทาง ตลอดจนการ ด�ำเนนิ งานท่ีเปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม การแปรรูปขยะเป็นพลังงาน โดยเร่ิมจากการคัดแยกขยะแต่ละประเภทให้มากท่ีสุด และเลือกใช้ เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกบั ประเภทขยะทีเ่ กิด การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยใี นการตดิ ตามรถขยะ โดยใชร้ ะบบ GPS พรอ้ มตดิ ตงั้ กลอ้ ง สามารถควบคมุ และส่ังการในระบบออนไลนไ์ ด้ทกุ ท่ี และชว่ ยในการวางแผนการบริหารจดั การต่อไป การส่งเสริมกลไกเครือข่ายในการจัดการขยะ ผ่านการสร้างแรงจูงใจและการสนับสนุนจาก อปท. ในการจัดตั้งกลมุ่ กลไกทีจ่ ะนำ� ไปสู่การจดั การขยะท่ียง่ั ยืน การจัดการสง่ิ แวดลอ้ มเมอื งทย่ี ่งั ยืน 43
การสง่ เสริมการจัดการขยะมูลฝอยทีต่ ้นทาง เปน็ ทท่ี ราบกนั ดีว่าในปัจจบุ นั เมืองตา่ ง ๆ ไดม้ กี ารรณรงค์ให้มกี ารจัดการขยะมูลฝอยทต่ี น้ ทาง โดยการลด ปริมาณขยะมูลฝอยจากแหล่งก�ำเนิดและการคัดแยกขยะมูลฝอย ส�ำหรับแนวทางการลดขยะมูลฝอย ในระดับครัวเรอื น มุ่งเน้นการใช้หลกั 3Rs คือ ลดการใช้ (Reduce) ใช้ซำ�้ (Reuse) และแปรรปู เพอื่ ใชใ้ หม่ (Recycle) เพื่อใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยให้ได้สูงสุดและลดปริมาณขยะมูลฝอยในชุมชนลง การลด การใช้เป็นจุดเริ่มท่ีส�ำคัญในการลดปริมาณขยะ ท้ังการลดการใช้พลาสติกแบบครั้งเดียวท้ิง ใช้วัสดุอ่ืน ทดแทนพลาสติก ลดการใช้สารเคมีในบ้าน โดยหันมาใช้น�้ำยาอเนกประสงค์ท่ีแปรรูปมาจากเศษวัสดุ ธรรมชาติ เช่น ขยะอินทรีย์จากครัวเรือน ส่วนการใช้ซ้�ำ เป็นการน�ำส่ิงของต่าง ๆ กลับมาใช้ใหม่ เช่น การน�ำถงุ พลาสตกิ มาใชใ้ หม่ ใชก้ ระดาษสองหน้า บรจิ าคเสอื้ ผ้าให้ผู้ที่ตอ้ งการ ฯลฯ 3Rs ลดการใช้ (Reduce) ใช้ซ้�ำ (Reuse) แปรรูปเพือ่ ใช้ใหม่ (Recycle) การคัดแยกขยะมูลฝอยเป็นการจัดการขยะท่ีช่วยเพ่ิมความสะดวกในการหมุนเวียนกลับมา ใชใ้ หม่ โดยหลาย ๆ เมอื งไดร้ ณรงคใ์ หช้ มุ ชนมกี ารคดั แยกขยะ ๔ ประเภท คอื ขยะทว่ั ไป ขยะอนิ ทรยี ์ ขยะอันตราย และขยะรีไซเคิล ซ่ึงขยะแต่ละประเภทจะถูกจัดการอย่างเหมาะสมต่อไป ส�ำหรับขยะทั่วไปและขยะอันตรายเป็นหน้าท่ีของ อปท. ที่ท�ำการรวบรวมจัดเก็บและน�ำส่ง ยังแหล่งก�ำจัด ส่วนขยะอินทรีย์และขยะรีไซเคิลจะถูกน�ำเข้าสู่กระบวนการน�ำกลับมาใช้ใหม่ ซง่ึ ในกรณี เทศบาลเมอื งรอ้ ยเอด็ ไดม้ กี ารจดั การขยะอนิ ทรยี โ์ ดยจดั ตง้ั จดุ รวบรวมขยะอนิ ทรยี ์ และมีรถเพ่ือเก็บรวบรวมขยะอินทรีย์โดยเฉพาะ เพื่อน�ำไปแปรรูปใช้ประโยชน์ต่อไป รวมถึง รณรงค์ให้ชุมชนน�ำขยะอินทรีย์ไปท�ำน้�ำหมัก/ปุ๋ยหมักชีวภาพใช้ในครัวเรือนเอง ส่วน เทศบาลนครภูเก็ต ได้มีการเก็บรวบรวมขยะอินทรีย์จากตลาด ร้านค้า และร้านอาหาร น�ำไปเป็นอาหารสัตว์และท�ำน�้ำหมัก/ปุ๋ยหมักชีวภาพเช่นเดียวกัน โดยผู้ประกอบการเข้ามา มสี ่วนร่วม 44 การจดั การสิง่ แวดล้อมเมืองทย่ี ัง่ ยืน
คัดแยก ๔ ประเภท ขยะทั่วไป ขยะอินทรีย์ ขยะอนั ตราย ขยะรไี ซเคิล นอกจากนี้ ในเขตตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ของประเทศสงิ คโปร์ มสี ง่ เสรมิ การจดั การขยะ โดยเนน้ หลัก 3Rs สรา้ งจติ ส�ำนึกให้ประชาชน เดก็ และเยาวชน รวมถึง สง่ เสรมิ แนวทางการรไี ซเคิล ทีเ่ หมาะสม โดยการรเิ ริ่มโครงการ We Care, We Recycle @North West ในปี ค.ศ. ๒๐๑๔ ร่วมมือกับ SembWaste และ NEA โดยโรงเรียนท่ีเข้าร่วม ได้รับการศึกษาเกี่ยวกับแนวทาง ปฏบิ ตั ิในการรไี ซเคลิ ทเ่ี หมาะสม เพ่ือปอ้ งกันอตั ราการปนเปอ้ื นที่สูงของถังรีไซเคลิ นอกจากน้ี มีการจัดตั้งจุดทิ้งขยะรีไซเคิลในโรงเรียน ท้ังนี้ ขยะรีไซเคิลท่ีได้จากจุดท้ิงขยะรีไซเคิลนั้น SembWaste จะสนับสนุนเงินบางส่วนแก่โรงเรียน ซึ่งโรงเรียนจะน�ำเงินที่ได้นี้ไปส่งเสริม กิจกรรมที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม อีกทั้งมีการติดต้ังเครื่องรับซ้ือบรรจุภัณฑ์รีไซเคิล (Reverse Vending Machine: RVM) โดยสำ� นกั งานสงิ่ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ และ F&N ซงึ่ สนบั สนนุ ใหผ้ พู้ กั อาศยั คดั แยกขยะรไี ซเคลิ ดว้ ยการมอบสทิ ธพิ เิ ศษและรางวลั มาใชเ้ ปน็ แรงจงู ใจเชงิ บวก ในการคัดแยกขยะรีไซเคลิ นำ� มาทง้ิ ทเี่ ครื่อง RVM โดยสามารถเลอื กรับสทิ ธิพเิ ศษตา่ ง ๆ หรอื ผ้ใู ช้สามารถเปล่ยี นสทิ ธพิ เิ ศษเหล่านีเ้ ป็นบริการอ่นื ๆ ไดใ้ นภายหลัง ในขณะเดยี วกนั เมอื งโอซากา้ ประเทศญป่ี นุ่ มแี นวคดิ ในการจดั การขยะมลู ฝอยอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยการสง่ เสรมิ หลกั การ 3Rs และการรไี ซเคลิ ขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ มกี ารตงั้ จดุ รวบรวมขยะ เชน่ หลอดไฟฟลอู อเรสเซนต์ แบตเตอร่ี และกลอ่ งกระดาษ เปน็ ตน้ การจัดการสง่ิ แวดล้อมเมืองท่ยี ัง่ ยนื 45
การจูงใจเพ่อื ให้เกิดการปรบั เปลี่ยนพฤติกรรม การจูงใจเป็นหลักการทางจิตวิทยาท่ีใช้ในการบริหารบุคคลหรือบริหารงานให้บรรลุเป้าหมายตามที่ได้ ก�ำหนดไว้ การจูงใจนั้นเกิดได้จากการสร้างแรงจูงใจโดยสามารถเกิดข้ึนได้จากภายในและภายนอกของ บุคคล เป็นส่ิงท่ีผลักดันตัวบุคคลกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรม โดยแรงจูงใจภายในจะเป็นส่ิงท่ีผลักดันให้เกิด เจตคติ ความคิด ความสนใจ ความตั้งใจ การมองเหน็ คุณคา่ ความพอใจ ความต้องการ โดยสิง่ เหล่านีจ้ ะมี อิทธิพลต่อพฤติกรรมค่อนข้างถาวร ในขณะท่ีแรงจูงใจภายนอกจะเป็นการกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรม อาจเป็นการได้รับรางวัล เกียรติยศช่ือเสียง หรือการยกย่อง โดยแรงจูงใจน้ีจะเป็นปัจจัยค้�ำจุนที่ส่งเสริม ให้เกดิ แรงจูงใจภายในได้ในอนาคตหากมีการบรหิ ารจัดการท่ดี ี ดังนั้นหลายเมืองได้ใช้แนวคิดนี้ส�ำหรับการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองให้ประชาชนมีการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะท่ียั่งยืน ดังเช่น เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ด�ำเนิน โครงการกาฬสนิ ธร์ุ ว่ มใจ ไรถ้ งั ขยะ เพอื่ ใหช้ มุ ชนมที ศั นยี ภาพทดี่ ขี น้ึ เพมิ่ พน้ื ทจี่ ราจร และสรา้ ง ให้ประชาชนรู้จักการคัดแยกขยะในครัวเรือน เริ่มจากการเปล่ียนถังขยะขนาดใหญ่ ให้เป็นถังขยะขนาดเล็ก แจกจ่ายถังขยะขนาดเล็กฟรีให้กับชุมชนที่ได้สมัครเข้าร่วม โครงการฯ ควบคู่กับการสร้างความรู้ความตระหนักในการลดและการคัดแยกขยะ แม้ว่า ในระยะแรกจะมีผู้ไม่เห็นด้วย แต่ในภายหลังประชาชนเกิดการปรับเปลี่ยนในการลดขยะ ให้ความส�ำคัญกับการจัดการขยะที่ต้นทางมากย่ิงขึ้น เน่ืองด้วยเห็นข้อดีในการด�ำเนินงานนี้ สง่ ผลให้เทศบาลสามารถลดค่าใช้จ่ายในการจดั การไดม้ ากกว่า ๔.๙ ล้านบาทต่อปี สำ� หรับการด�ำเนินงานในต่างประเทศ กรงุ ไทเป ประเทศไต้หวนั ดำ� เนนิ โครงการคา่ เก็บขยะ ต่อถุง “Per-Bag Trash Collection Fee Program” ซึง่ ก�ำหนดใหผ้ ูอ้ ยูอ่ าศยั ในพ้ืนท่ตี ้องซอ้ื ถุงขยะท่ีเหมาะสม เป็นการกระตุ้นให้ผู้บริโภคซ้ือผลิตภัณฑ์ท่ีก่อให้เกิดขยะน้อยท่ีสุด ซ่ึงสามารถลดปริมาณขยะที่จะต้องน�ำไปจัดการได้ถึงร้อยละ ๓๐ ในขณะที่การเก็บรวบรวม วัสดุท่ีสามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ก็เพ่ิมขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญ และในเขตตะวันตกเฉียงเหนือ ของประเทศสิงคโปร์ จูงใจด้วยการมอบรางวัล 3Rs ให้กับโรงแรม ห้างสรรพสินค้า และ ผู้ค้าปลีก สำ� หรับผู้ประกอบการท่ีมีการน�ำแนวคิด 3Rs มาใช้และมีการดำ� เนินงานที่เป็นมิตร Per-Bag ลดปรมิ าณขยะ Trash Collection Fee Program ๓๐ทได่ีจ้ถะึงตอ้ งนำ� ไป%จดั การ 46 การจดั การสง่ิ แวดล้อมเมืองทยี่ ่ังยืน
กับส่ิงแวดล้อมได้ดีที่สุด โดยการตั้งกองทุนเพ่ือสนับสนุนการจัดการ 3Rs เปิดให้องค์กร ตา่ ง ๆ สามารถสมคั รเขา้ รว่ มไดต้ ลอดทง้ั ปเี พอ่ื ดำ� เนนิ โครงการลดและรไี ซเคลิ ขยะ โดยกองทนุ เปดิ รบั แนวคิดและไอเดยี ท่ีน่าสนใจ (สนับสนนุ เงินทุนสงู ถงึ ๒๐,๐๐๐ ดอลลาร์ หรือร้อยละ ๘๐ ของตน้ ทนุ โครงการ) การแปรรูปขยะเป็นพลังงาน การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากขยะ เป็นหนึ่งในแนวคิดของการก�ำจัดขยะท่ีได้รับความสนใจในปัจจุบัน โดยเป็นการผสานความคิดทั้งในด้านพลังงาน สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจเพื่อให้เกิดการจัดการขยะ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสอดคล้องกับแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ที่มุ่งเน้น การน�ำทรัพยากรที่ถูกใช้แล้วกลับมาใช้อีก ให้เกิดการใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่าและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด อีกท้ังเป็นหนึ่งแนวทางที่ช่วยแก้ปัญหาปริมาณขยะท่ีมีจ�ำนวนมากจนเกินขีดความสามารถในการรองรับ ของสถานทีก่ ำ� จดั ขยะมูลฝอย ดังน้ัน หลาย ๆ เมอื งจงึ ไดส้ รา้ งโรงงานไฟฟ้าเพอ่ื ผลติ ไฟฟา้ จากขยะ อาทิ เทศบาลเมืองกระบี่ ถูกก�ำหนดให้เป็นพื้นท่ีเป้าหมาย แก้ปัญหาการขาดแคลนพื้นท่ีฝังกลบ ในอนาคต รวมถึงปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมท่ีเกิดจากบ่อฝังกลบ เตรียมรับมือในระยะยาว อย่างมีประสิทธิภาพในเร่ืองการจัดการปัญหาต่าง ๆ ของขยะมูลฝอยท่ีเพ่ิมข้ึนตามอัตรา การขยายตัวทางเศรษฐกิจของเมืองโดยการแปรรูปขยะชุมชนเป็นพลังงาน (Waste to Energy) โดยสามารถรองรับขยะมูลฝอยได้ทั้งจังหวัดกระบ่ีในปริมาณ ๕๐๐ ตันต่อวัน สร้างความรว่ มมือระหว่าง ๒๑ องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ เจา้ ของโครงการ และประชาชน ท่ีได้รับผลกระทบด้วยหลัก 4P (Public Private People Partnership) เป็นแหล่งเรียนรู้ ด้านการจัดการขยะและแปรรูปเป็นพลังงานไฟฟ้า ด้วยเทคโนโลยีท่ีทันสมัย สามารถก�ำจัด ขยะได้อย่างถูกหลักสุขาภิบาลและย่ังยืนตามแนวทางวาระแห่งชาติ เร่ืองการจัดการขยะ และสร้างพลังงานทดแทน สร้างความส�ำคัญต่อความมั่นคงด้านพลังงาน และการใช้พลังงาน ทเ่ี ป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม เทศบาลเมอื งรอ้ ยเอด็ สรา้ งโรงงานจดั การขยะเพอื่ ผลติ เปน็ เชอ้ื เพลงิ (Refuse Derived Fuel; RDF) เริ่มด�ำเนินการตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๙ แล้วเสร็จ พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยน�ำขยะมูลฝอย มาผ่านกระบวนการคัดแยกขยะท่ีไม่สามารถย่อยสลายได้แต่สามารถเผาได้ น�ำไปปรับปรุง องค์ประกอบทั้งทางเคมีและกายภาพให้มีคุณสมบัติ ค่าความร้อน ขนาด และความช้ืน ให้เหมาะสมต่อการน�ำไปผลิตพลังงานไฟฟ้า โดยมีเอกชนมารับซ้ือและส่งต่อไปยังโรงไฟฟ้า ในจงั หวดั สระบุรี การจัดการสิง่ แวดล้อมเมอื งทย่ี ่ังยนื 47
เทศบาลนครภูเก็ต จัดตั้งโรงไฟฟ้าจากเตาเผาขยะร่วมกับภาคเอกชน เร่ิมด�ำเนินการ ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๕๕ เป็นโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนเชื้อเพลิงขยะ ซึ่งใช้เทคโนโลยีเตาเผา ขยะมลู ฝอย (Incineration) เทคโนโลยกี ารผลติ ไฟฟา้ โดยใชก้ ังหันไอนำ้� (Steam Turbine) และใช้เทคโนโลยีจากเตาเผาแบบตะกรับ (Stoker) โรงไฟฟ้าดังกล่าวรับขยะจาก อปท. ต่าง ๆ ในจงั หวดั ภูเกต็ ซ่งึ อปท. จะมีการจา่ ยค่ากำ� จัดขยะให้กับเทศบาลนครภูเก็ต กอ่ นที่ จะจดั สรรใหเ้ อกชนในอัตราท่กี ำ� หนด โดยปัจจบุ ันมขี ยะเขา้ ส่เู ตาเผา ประมาณ ๗๐๐-๘๐๐ ตนั ต่อวัน สามารถผลิต ไฟฟ้าได้ประมาณ ๑๒ เมกะวตั ต์ ในขณะเดียวกนั หลาย ๆ ประเทศได้จดั การขยะมูลฝอย โดยการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากขยะ เช่น เมืองเก่ินเทอ ประเทศเวียดนาม สร้างโรงผลิตพลังงานไฟฟ้าจากขยะภายใต้ ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน ในปี ค.ศ. ๒๐๑๘ (พ.ศ. ๒๕๖๑) ถือเป็นโรงงาน ท่ีมีการใช้เทคโนโลยีข้ันสูงแห่งแรกท่ีสามารถเผาขยะมูลฝอยได้ ๔๐๐ ตันต่อวัน สามารถ ผลิตพลังงานที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมได้ประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ กิโลวัตต์ต่อวัน หรือปีละ ๖๐ ล้านกโิ ลวตั ตช์ ่ัวโมง โดยคาดการณ์วา่ ในอนาคตจะมกี �ำลงั การผลิต ๕๐๐ ตันตอ่ วนั การเลือกเทคโนโลยีให้เหมาะกับปริมาณกับลักษณะของขยะ จะช่วยลดปัญหาทางด้าน เทคนิคและเกิดความคุ้มค่าในการลงทุน ตลอดจนให้ความส�ำคัญกับการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับการแปรรูปขยะเป็นพลังงาน เพื่อลดความขัดแย้งที่ อาจเกิดขนึ้ การใช้ระบบ GPS ตดิ ตามรถขยะ แม้ว่าปัจจุบันจะมีการรณรงค์ให้ประชาชนให้ความส�ำคัญกับการจัดการขยะที่ต้นทางมากข้ึน แต่ยังคงมีขยะมูลฝอยบางส่วนท่ีเกิดข้ึนจากความจ�ำเป็นรวมถึงการจัดการที่ไม่ถูกต้องในบางครัวเรือน การจัดการขยะในปลายทางจึงคงมีความส�ำคัญ หลาย ๆ เมือง จัดการโดยการรวบรวม จัดเก็บขยะ โดยรถเก็บขนไปสู่แหล่งจัดการขยะมูลฝอยในแต่ละเขตเมืองท่ีรับผิดชอบ ซึ่งการด�ำเนินการดังกล่าว ต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงในเมืองที่มีปริมาณขยะมูลฝอยจ�ำนวนมาก เพ่ือเป็นการลดต้นทุน ในการเก็บขน ปัจจุบันได้มีการน�ำเทคโนโลยี GPS (Global Positioning System) มาปรับใช้ ดังเช่น เทศบาลนครยะลาและเทศบาลเมืองรอ้ ยเอด็ 48 การจดั การส่ิงแวดลอ้ มเมอื งท่ยี ง่ั ยนื
สำ� หรบั เทศบาลนครยะลา ได้ตดิ ต้งั ระบบ GPS และกล้องกบั รถเก็บขยะ ๑๖ คนั โดยสามารถ ควบคุมและส่ังการในระบบออนไลน์ได้ทุกที่มีการควบคุม ก�ำกับผ่านโปรแกรมติดตาม GPS จากคอมพิวเตอร์และสมาร์ทโฟน เทศบาลสามารถทราบช่วงเวลาและจุดที่รถขยะท�ำการ เกบ็ ในบรเิ วณตา่ ง ๆ โดยเทศบาลสามารถแจง้ ประชาชนในบรเิ วณดงั กลา่ ว นำ� ขยะออกมาวาง ได้ในเวลาท่ีใกล้เคียงกับที่รถขยะจะท�ำการเก็บเพื่อป้องกันสุนัขหรือสัตว์มาคุ้ยเขี่ยขยะ รวมถึงช่วยให้การจัดเก็บขยะมีประสิทธิภาพมากขึ้น สามารถเข้าถึงทุกพื้นท่ี สามารถลดค่า ใช้จ่ายและประหยัดน้�ำมันเชื้อเพลิง ตลอดจนช่วยในการตัดสินใจและวางแผนเพ่ือก�ำหนด ยทุ ธศาสตรแ์ ละกลยทุ ธ์ทางด้านการบรกิ ารได้อย่างเหมาะสม ติดตง้ั ระบบ GPS • จัดเก็บขยะมีประสทิ ธภิ าพ และกลอ้ งกับรถเก็บขยะ • เขา้ ถึงทกุ พ้ืนท่ี ควบคุม กำ� กับผ่านโปรแกรม • ลดค่าใช้จา่ ยและประหยดั น้�ำมัน ติดตาม GPS จากคอมพิวเตอร์ เชื้อเพลงิ • ชว่ ยในการตดั สินใจและวางแผน และสมาร์ทโฟน เพอ่ื ก�ำหนดยทุ ธศาสตร์และกลยุทธ์ ทางดา้ นการบรกิ ารไดอ้ ย่างเหมาะสม การส่งเสริมกลไกเครอื ข่ายในการจดั การขยะ การจัดการขยะท่ีได้มาซึ่งการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยใช้เฉพาะจิตอาสานั้นอาจยังไม่เพียงพอที่จะ ท�ำให้เกิดการเปล่ียนแปลง จึงต้องมีการสร้างแรงจูงใจในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมมากข้ึน และนำ� ไปสู่การจัดการขยะที่ย่ังยืน ซ่ึงในเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ ได้ส่งเสริมและสนับสนุนชุมชนให้จัดตั้ง กองทุนจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อม ใน พ.ศ ๒๕๕๕ ซ่ึงกองทุนน้ีเกิดจากความร่วมมือและความตั้งใจ ของแกนน�ำท่ีมีจิตอาสาในชุมชน จัดต้ังขึ้น เพ่ือการบริหารจัดการขยะในชุมชนอย่างยั่งยืน ซ่ึงเทศบาล เมืองกาฬสินธุ์ได้สนับสนุนทุนเร่ิมแรกจ�ำนวน ๘,๐๐๐ บาท มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารกองทุน การจัดการส่งิ แวดลอ้ มเมืองท่ยี ่งั ยืน 49
เน้นให้ตัดสินใจโดยใช้มติของที่ประชุมเป็นหลัก เพื่อความโปร่งใสของการท�ำงานและให้เกิดความยั่งยืน มีการจดั ท�ำระเบยี บทไ่ี มข่ ัดต่อเทศบญั ญติ โดยจะมกี ารประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารกองทุนฯ อยา่ งน้อย เดือนละคร้ัง เพื่อสรุปผลการด�ำเนินงานและวางแผนการด�ำเนินงานในเดือนต่อไป ซ่ึงในระยะแรก เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์มีหน้าที่เป็นพี่เล้ียงที่ช่วยส่งเสริมและสนับสนุนทั้งองค์ความรู้ในการจัดการขยะ และการบริหารจัดการกองทุนท่ีถูกต้อง ซ่ึงเม่ือกองทุนมีความเข้มแข็งและสามารถบริหารจัดการได้เอง จึงเปล่ียนบทบาทเป็นที่ปรึกษาแทน โดยภารกิจหลักของกองทุนนี้คือ การรณรงค์ให้ชุมชนมีการจัดการ ขยะท่ีต้นทางและเป็นตัวกลางในการรับซื้อขายวัสดุรีไซเคิล ช่วยสร้างรายได้ให้กับชุมชน ซึ่งถือเป็น แรงจูงใจที่ดี ช่วยสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะมากข้ึน โดยสมาชิกในกองทุนยังถือว่า เปน็ เจา้ ของทนุ ร่วมกัน และจะไดร้ บั เงนิ ปนั ผลในทกุ สิ้นปี ส่วนในเทศบาลเมืองร้อยเอ็ด ได้มีการส่งเสริมกลไกเครือข่ายชุมชนในลักษณะเดียวกัน โดยส่งเสริมให้จัดตั้งกองทุนธนาคารขยะ ฌาปนกิจสงเคราะห์ โดยเร่ิมจากการแต่งต้ัง คณะกรรมการกองทุนขยะฌาปนกิจสงเคราะห์ มีการแบ่งหน้าท่ีและกระจายอ�ำนาจบริหาร มีการจัดท�ำร่างระเบียบกองทุน โดยระบุรายละเอียดทั้งหมดต้ังแต่เริ่มต้นสมัคร ค่าตอบแทน การเบิกจ่ายเงิน เป็นต้น ท�ำให้ชุมชนเริ่มมีความเช่ือม่ันในกองทุนฯ ส�ำหรับสวัสดิการต่าง ๆ ที่สมาชิกจะได้รับ อาทิ เมื่อเสียชีวิตจะได้รับเงิน ๓,๐๐๐ บาท ค่ารักษาพยาบาลปีละ ๕๐๐ บาท กองทุนมีการวางแผนเร่ืองการให้ทุนการศึกษาบุตรของสมาชิกในอนาคต ถ้ากองทนุ มเี งนิ เพิ่มข้นึ ปลี ะ ๒ ทุน กองทนุ มกี ารจัดทำ� สมดุ ออมสิน เม่อื สมาชิกมีการออมสิน ถึง ๓๐๐ บาท ถึงจะมีสิทธิ์เบิกถอนได้ และเงินคงเหลือในกองทุน จะเป็นค่าด�ำเนินการงาน ของกองทุนต่อไป ซึ่งกองทุนฯ จะช่วยให้มีการคัดแยกขยะและสมาชิกชุมชนสามารถน�ำ ขยะรีไซเคิลมาขายให้กับกองทุนฯ เดือนละ ๑ ครั้ง ซ่ึงกองทุนจะท�ำการประสานพ่อค้า คนกลางให้เข้ามารบั ซอื้ โดยเลอื กพอ่ ค้าคนกลางทรี่ บั ซ้อื ขยะรีไซเคิลในราคาท่ีสูงสดุ กรณีเมืองในประเทศแถบเอเชียไดใ้ หค้ วามสำ� คัญตอ่ เครือขา่ ยความรว่ มมือในการจัดการขยะ เพื่อแก้ไขปัญหาขยะตกค้างและการมีข้อจ�ำกัดเร่ืองพ้ืนท่ีก�ำจัดขยะ เช่นเดียวกับใน เขตตะวันตกเฉียงเหนือ ประเทศสิงคโปร์ ได้มีการสร้างกลุ่ม National Voluntary Partnership (NVP) เพื่อจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ (โครงการซ่อมแซม รีไซเคิล และสร้าง ความตระหนักรู้ของประชาชน) เพื่อพัฒนาศักยภาพในการด�ำเนินการ รวมถึง การสร้าง ความรว่ มมอื ของรฐั บาล บา้ น โรงเรยี น และภาคธรุ กจิ ชว่ ยสง่ เสรมิ การดำ� เนนิ การตามแนวคดิ รเิ รมิ่ และส่งเสรมิ ให้เกดิ ผลลพั ธเ์ ชิงบวก 50 การจดั การสิ่งแวดลอ้ มเมอื งทีย่ ง่ั ยืน
Search