Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Educational-Manual-Covid19-final-Complete 2

Educational-Manual-Covid19-final-Complete 2

Published by krupatcharaporn, 2020-06-30 10:21:13

Description: Educational-Manual-Covid19-final-Complete 2

Search

Read the Text Version

บทเ ีรยนแนวป ิฏ ับ ิตชวงเ ปดเ ีรยนในตางประเทศ รอง ัรบสถานการณโรคโค ิวด 19 92 คมู อื การปฏิบัตสิ ำหรับสถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19

บทเ ีรยนแนวป ิฏ ับ ิตชวงเ ปดเ ีรยนในตางประเทศ รอง ัรบสถานการณโรคโค ิวด 19 คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 93

บทเ ีรยนแนวป ิฏ ับ ิตชวงเ ปดเ ีรยนในตางประเทศ รอง ัรบสถานการณโรคโค ิวด 19 94 คมู อื การปฏิบัตสิ ำหรับสถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19

คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 บทเรยี นแนวปฏิบตั ชิ ว งเปด เรยี นในตางประเทศ รองรบั สถานการณโ รคโควดิ 19 การตรวจเชื้อ รวมถึงครูที่เปน 95

บทเ ีรยนแนวป ิฏ ับ ิตชวงเ ปดเ ีรยนในตางประเทศ รอง ัรบสถานการณโรคโค ิวด 19 96 คมู อื การปฏิบัตสิ ำหรับสถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19

บทเ ีรยนแนวป ิฏ ับติ ชวงเ ปดเ ีรยนในตางประเทศ รอง ัรบสถานการณโรคโค ิวด 19 คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 97

บทเ ีรยนแนวป ิฏ ับ ิตชวงเ ปดเ ีรยนในตางประเทศ รอง ัรบสถานการณโรคโค ิวด 19 98 คมู อื การปฏิบัตสิ ำหรับสถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19

บทเ ีรยนแนวป ิฏ ับติ ชวงเ ปดเ ีรยนในตางประเทศ รอง ัรบสถานการ ณโรคโค ิวด 19 คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 99

บทเ ีรยนแนวป ิฏ ับ ิตชวงเ ปดเ ีรยนในตางประเทศ รอง ัรบสถานการณโรคโค ิวด 19 100 คมู อื การปฏิบตั สิ ำหรับสถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

ภาพกิจกรรมในตา งประเทศ คมู ือการปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 101

ภาพกิจกรรมในตา งประเทศ 102 คมู ือการปฏบิ ัติสำหรับสถานศกึ ษาในการปอ งกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

วธิ ีปฏิบัติ 6 ขอปฏิบัตใิ นสถานศกึ ษา รองรบั สถานการณโควดิ 19 36.5 1. คัดกรองวัดไข 2. สวมหนา กาก 3. ลางมอื เรียนรเู ร่อื ง COVID-19 1m. - 2m. 4. เวนระยะหา ง 5. ทำความสะอาด 6. ลดแออัด คมู ือการปฏิบตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 103

1. วธิ ีการตรวจคดั กรองวัดไข (Screening) ขั้นตอนการตรวจคดั กรองวดั ไขหรอื วดั อุณหภูมิรา งกายทางหนา ผาก 1. ตั้งคาการใชงานเปนโหมดการวัดอุณหภูมิรางกาย (Body Temperature) ปกติเครื่องวัดอุณหภูมิ หนาผาก มีอยางนอย 2 โหมด คือ โหมดการวัดอุณหภูมิพื้นผิว (Surface Temperature) ใชวัดอุณหภูมิ วัตถุทั่วไป เชน ขวดนม หรืออาหาร และโหมดการวัดอุณหภูมิรางกาย ใชวัดอุณหภูมิผิวหนัง แลวแสดงคา เปนอุณหภมู ิรางกาย 2. วัดอุณหภูมิ โดยชี้เครื่องวัดอุณหภูมิไปที่หนาผาก หรือบริเวณที่ผูผลิตแนะนํา ใหมีระยะหางจากผิวหนัง ตามที่ผูผลิตแนะนํา โดยทั่วไปมีระยะหางไมเกิน 15 เซนติเมตร (บางรุนอาจตองสัมผัสกับผิวหนัง) จากนั้นกดปุมบันทึกผลการวัด โดยขณะทําการวัด ไมควรสายมือไปมาบนผิวหนังบริเวณที่ทําการวัด ไมค วรมีวัตถุอนื่ ใดบงั เชน เสนผม หมวก หนา กาก หรือเหงอ่ื 3. อานคาผลการวัด เมื่อมีสัญญาณเสียง หรือสัญลักษณที่แสดงวาทําการวัดเสร็จสิ้น ควรทําการวัด อยางนอย 3 ครั้ง หากผลการวัดไมเทากัน ใหใชคามากที่สุด หากสงสัยในผลการวัด ควรทําการวัดซ้ำดวย เครื่องวัดอุณหภูมิทางการแพทยชนิดอื่นๆ เชน เครื่องวัดอุณหภูมิแบบอินฟาเรดในชองหู (Infrared Ear Thermometers) 104 คมู ือการปฏบิ ัตสิ ำหรบั สถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19

2. วิธกี ารสวมหนา กาก (Mask) . มารูจ กั หนา กาก o หนา กากผา : สาํ หรับบคุ คลทวั่ ไปทไ่ี มปว ย o หนากากอนามยั : สาํ หรบั ผปู ว ยทม่ี กี ารไอ จาม เพอ่ื ปอ งกนั การแพรเ ชอ้ื ทอ่ี อกมากบั นำ้ มกู นำ้ ลาย . o หนากาก N95 : สาํ หรับบุคลากรทางการแพทยท ด่ี ูแลผูป วยอยางใกลช ดิ สวมหนากาก เมอื่ ใด o เมอื่ ออกจากบานทุกครง้ั o ไปในสถานที่ตาง ๆ ที่มีคนจํานวนมาก คนแออัด แหลงชุมชน หรือพื้นที่เสี่ยง เชน สถานศึกษา . ตลาด หา งสรรพสนิ คา ชุมชนแออดั วิธีการสวมหนากาก o กรณีหนากากผา : ใชมือจับสายยางยืดคลองใบหูทั้ง 2 ขาง จับขอบหนากากใหคลุมจมูกและปาก จัดใหกระชบั พอดี o กรณีหนา กากอนามัย : เอาดา นสีเขียวเขมออกดานนอก และขดลวดอยูด า นบนสนั จมกู . จับขอบหนา กากใหค ลุมจมกู และปาก จัดใหกระชบั พอดี วิธีการถอดหนา กาก o กรณีหนากากผา ถอดเก็บชว่ั คราวนาํ มาใสใ หม เชน ชวงพกั กนิ อาหาร ชว งแปรงฟน - ใชม อื จับสายยางยืดถอดออกจากใบหู 2 ขา ง - จบั ขอบหนา กาก พับคร่งึ และพบั ทบ (โดยไมส มั ผสั ดา นนอกหรือดา นในของหนากาก) - เก็บใสถ งุ พลาสตกิ ปากกวา ง พบั ปากถุงปด ชัว่ คราว o กรณีหนากากอนามัย ถอดแลว ทิง้ - ใชม อื จบั สายยางยดื ถอดออกจากใบหู 2 ขา ง - จับขอบหนากาก พับครง่ึ และพับทบ (โดยไมสัมผัสดา นนอกหรือดา นในของหนา กาก) - หยอ นใสถ งุ พลาสติกปากกวา ง ปด สนทิ กอนท้ิง แลว ทงิ้ ในถงั ขยะทีม่ ฝี าปด หมายเหตุ หลงั ถอดหนากากทุกครง้ั ตองลา งมือดวยสบูแ ละนำ้ หรือเจลแอลกอฮอล คมู อื การปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ 19 105

3. วธิ กี ารลางมือ (Hand wash) . ลา งมอื ปอ งกันโควดิ 19 ไดอยางไร . o ลา งมอื บอ ย ๆ ดว ยสบแู ละนำ้ หรือใชเ จลแอลกอฮอลท ําความสะอาดมอื ลา งมอื เมือ่ ใด o กอ นกินอาหาร o หลงั ออกจากหอ งสว ม o กอน - หลังปรุงอาหาร o หลงั สมั ผัสสตั วเล้ียง o กอ นสัมผสั ใบหนา o เม่อื มาถงึ บาน o หลงั เลนกบั เพอื่ น o เมือ่ คดิ วามอื สกปรก . o หลังไอ จาม วิธลี า งมือ 7 ขนั้ ตอน 1. ฝา มอื ถูกนั 70% 70% สบูเจลลา งมอืเจลลา งมือ แอลกอฮอล แอลกอฮอล 2. ฝามอื ถหู ลังมอื และนว้ิ ถูซอกน้วิ 3. ฝา มือถฝู ามือและนวิ้ ถูซอกนิ้ว 4. หลังนิ้วมือถฝู ามอื 5. ถนู ้วิ หวั แมม ือโดยรอบดว ยฝา มือ สบู 6. ปลายน้ิวมือถูฝามือ 7. ถูรอบขอมือ 106 คมู ือการปฏิบัตสิ ำหรับสถานศึกษาในการปอ งกันการแพรระบาดของโรคโควดิ 19

วิธีการทําเจลลางมือ โรงเรียนอาจทําเจลลางมือที่มีสวนผสมของแอลกอฮอลที่มีประสิทธิภาพไดเอง โดยหาซื้อวัตถุดิบ จากรานขายเคมภี ณั ฑหรอื รา นขายยาขององคก ารเภสชั กรรม สามารถทําเองไดจ าก 5 สตู ร ดังน้ี สตู รที่ 1 ดัดแปลงจากองคการอนามยั โลก วิธที ํา - นําเอทิลแอลกอฮอล (ethyl alcohol 95% v/v) 833.3 มิลลิลิตร ไฮโดรเจนเปอรออกไซด (hydrogen peroxide 3%) 41.7 มิลลิลิตร และกลีเซอรีน (Glycerin 98%) 14.5 มิลลิลิตร ผสมใหเขากันในภาชนะที่มีปริมาตรบอกขนาด 1000 มิลลิลิตร แลวเติมน้ำกลั่นหรือน้ำตมสุก ทท่ี ิ้งใหเ ย็นแลว จนครบ 1000 มลิ ลลิ ติ ร คนเบา ๆ ใหเขา กนั สตู รท่ี 2 จากองคก ารอนามยั โลก วิธีทาํ - นาํ ไอโซโพรพลิ แอลกอฮอล (isopropyl alcohol 75% v/v) 751.5 มลิ ลลิ ติ ร ไฮโดรเจนเปอรอ อกไซด (Hydrogen peroxide 3%) 41.7 มิลลิลิตร และกลีเซอรีน (Glycerin 98%) 14.5 มิลลิลิตร ผสมใหเขากันในภาชนะที่มีปริมาตรบอกขนาด 1000 มิลลิลิตร แลวเติมน้ำกลั่นหรือน้ำตมสุก ท่ีท้งิ ใหเยน็ แลว จนครบ 1000 มลิ ลิลิตร คนเบา ๆ ใหเ ขากนั สตู รท่ี 3 จากกรมวิทยาศาสตรการแพทย วิธีทํา - เทคาโบพอล 940 (Carbopol 940) จํานวน 2.5 กรมั ลงในนำ้ รอน 142.75 กรมั คนใหสม่ำเสมอ จนละลายหมด กอ นจะปลอ ยใหพ องตวั เตม็ ท่ี แลว เตมิ เอทลิ แอลกอฮอล (ethyl alcohol 95%v/v) 350 กรัม คนไปเรื่อย ๆ ใหเขากัน จากนั้นเติมไตรเอทาโนลามีน (triethanolamine) 1.75 กรัม เพื่อปรับความเปนกรดดาง เติมกลีเซอรีน (glycerin) 3 กรัม เพื่อชวยเพิ่มความชุมชื้นใหกับผิว คนสวนผสมทัง้ หมดใหเ ขา กนั จะไดแอลกอฮอลเ จลประมาณ 500 กรัม สูตรท่ี 4 วธิ ีทํา - นาํ เอทลิ แอลกอฮอล (ethyl alcohol 95% v/v) 75 มิลลลิ ติ ร ผสมกับกลีเซอรนี (glycerin) 5 มลิ ลิลติ ร และ นำ้ สะอาด 20 มลิ ลลิ ติ ร คนสว นผสมทงั้ หมดใหเ ขา กนั คมู อื การปฏิบัตสิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควิด 19 107

สูตรที่ 5 สตู รกรมอนามยั สว นประกอบ ในการทาเจลแอลกอฮอล 1 ลิตร 1. คารโ บพอล 4 กรมั 4 กรัม 2. ไตรโคลซาน 1.2 กรมั 1.2 กรัม 3. ไตรเอททาโนลามนี 9.6 มิลลลิ ิตร 9.6 มิลลลิ ติ ร 4. แอลกอฮอล 95% 740 มลิ ลิลติ ร 740 มลิ ลิลิตร 5. นา กลั่นหรอื นาสะอาด 260 มลิ ลิลติ ร 260 มิลลลิ ติ ร 6. สีผสมอาหารและหัวนาหอม วธิ ีทำ 1. ตวงนากลัน่ 200 มิลลิลติ ร ลงในถว ยตวงขนาด 1 ลิตร - แบงนำ้ 150 มลิ ลลิ ติ รไปตมใหรอ น - เทคารโบพอลจนหมด - เทนา รอนลงไปในนากลน่ั ท่ีเหลือ - ปนตอ จนคารโ บพอลละลายหมด - คอ ย ๆ เทคารโ บพอลลงไปท่ลี ะนดิ - กรองสว นผสมทไ่ี ดโดยใชต ะแกรงกรอง - ปนใหคารโบพอลละลาย 2. ตวงนากล่ัน 60 มลิ ลลิ ติ รลงในถว ยตวงขนาด 100 มลิ ลิลติ ร - เตมิ ไตรเอททาโนลามีนลงไป 9.6 มลิ ลลิ ิตร 3. ตวงแอลกอฮอล 95 % 740 มิลลลิ ติ ร ลงในถวยตวงขนาด 1 ลิตร - เตมิ ไตรโคลซานลงไป 1.2 กรมั 4. นาสวนผสมขอ 3 เทลงไปในสวนผสมขอ 1 5. ปรบั สแี ละแตงกลนิ่ ตามตองการ 6. คอ ย ๆ เทสวนผสมขอ 2 ลงไปในสวนผสมขอ 4 พรอ มกวนใหสว นผสมเขา กนั - นำไปใสเ ครอื่ งบรรจุเจล - บรรจุลงขวดตามตองการ 108 คูมือการปฏบิ ตั ิสำหรบั สถานศกึ ษาในการปองกันการแพรระบาดของโรคโควดิ 19

4. การเวนระยะหา งทางสังคม (Social Distancing) การเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing) เปนการลดปฏิสัมพันธใกลชิดระหวางตัวเรา กบั บคุ คลอน่ื หรอื ลดการแพรร ะบาดของเชอ้ื ทต่ี ดิ ตอ ทางละอองฝอยหรอื การสมั ผสั โดยการยนื หรอื นง่ั หา งกนั อยา งนอ ย 1 - 2 เมตร งดกจิ กรรมทม่ี กี ารชมุ นมุ รวมถงึ หลกี เลย่ี งการสมั ผสั กบั ผอู น่ื เชน การจบั มอื หรอื โอบกอด รวมถึงไมอยูรวมกันหนาแนนจํานวนมาก ไมพบปะสังสรรค ลดการไปในสถานที่สาธารณะ ลดการใหบริการ ที่ไมจําเปน ลดกิจกรรมที่มีคนหนาแนน การเวนระยะหางทางสังคมเปนมาตรการทางสาธารณสุข ชว ยลดอัตราความเสย่ี งในการสมั ผัสโรคปอ งกันตนเองใหปลอดภยั จากการตดิ เชอื้ และลดปรมิ าณผูตดิ เชื้อ การเวนระยะหางทางสังคม แบงเปน 3 ระดับ 1. ระดับบุคคล โดยเฉพาะเด็กที่มีอายุต่ำกวา 5 ป กลุมผูสูงอายุ และกลุมผูปวยที่มีโรคประจําตัว ควรตองระมัดระวังในการปองกันตัวเอง ไมควรเดินออกจากที่พักอาศัย เนื่องจากเปนกลุมที่มีภูมิคุมกัน คอ นขา งตำ่ อาจทาํ ใหต ดิ เชอ้ื ไดง า ยกวา กลมุ อน่ื ๆ และใหง ดกจิ กรรมในชมุ ชน โดยยดึ หลกั 3 ล (ลด เลย่ี ง ดแู ล) และเวนระยะหางจากผูอื่น 1 – 2 เมตร เพราะเชื้อไวรัสสามารถติดตอผานละอองขนาดเล็กที่มาจากการไอ หรือจามได รวมทั้งหลีกเลี่ยงการรวมตัวของคนหมูมาก หลีกเลี่ยงการใชขนสงสาธารณะ ไมเขารวมกิจกรรม รวมกับผูอื่น ลดการออกไปนอกบานโดยไมจําเปน เชน การไปงานเลี้ยงสังสรรค หรือการไปจายตลาด อาจปรับใหน อยท่ีสุดสัปดาหละ 1 – 2 วัน 2. ระดับองคกร ควรมีมาตรการเหลื่อมเวลาทํางาน หรือการทํางานที่บาน (Work from home) เปนวิธีที่ชวยลดความเสี่ยงในการติดเชื้อและการแพรเชื้อจากการเดินทางดวยขนสงสาธารณะที่มีความแออัด ในชวงชั่วโมงเรงดวน เปนการปองกันการแพรเชื้อทั้งภายในและภายนอกที่ทํางานได ดวยการอยูที่บาน ทาํ ความสะอาดบา น และไมน าํ เชอ้ื โรคเขา บา น และสาํ หรบั ผทู ต่ี อ งเดนิ ทางออกจากบา นเปน ประจาํ เมอ่ื กลบั เขา บา นควรลา งมอื ทนั ที หลงั จากนน้ั ควรเปลย่ี นชดุ อาบนำ้ ชาํ ระรา งกาย และแยกซกั เสอ้ื ผา ทส่ี วมใสใ นวนั นน้ั ดว ย 3. ระดบั ชมุ ชน การเขา รว มกจิ กรรมทางสงั คม ควรลดหรอื งดกจิ กรรมตา ง ๆ หรอื หากไมส ามารถงด หรอื เลอ่ื นได เชน งานศพ ควรลดจาํ นวนของผทู ม่ี ารว มงาน จดั เกา อ้ี หรอื สถานทใ่ี หอ ยหู า งกนั พอสมควร และ จดั พน้ื ทส่ี าํ หรบั ลา งมอื หรอื เจลแอลกอฮอลใ หผ ทู ม่ี ารว มงาน โดยทกุ คนตอ งสวมหนา กากผา หรอื หนา กากอนามยั รวมทั้งพยายามใหชวงเวลาที่จัดงานใหสั้นที่สุดเทาที่จําเปน และลดกิจกรรมที่อาจมีการสัมผัสระหวางกัน สวนสถานที่ที่ยังเปดบริการ เชน สถานีขนสง ขนสงสาธารณะ ตลาด ผูดูแลสถานที่เหลานี้ควรปฏิบัติตาม แนวทางสขุ าภบิ าลและอนามยั สง่ิ แวดลอ มอยา งเครง ครดั เพอ่ื ใหป ระชาชนเวน ระยะหา งระหวา งตวั เองและผอู น่ื คมู อื การปฏิบัติสำหรบั สถานศึกษาในการปอ งกันการแพรระบาดของโรคโควิด 19 109

แนวปฏบิ ตั ิการเวน ระยะหา งจากสงั คม (Social distancing) ในสถานศกึ ษา 1. ใหจัดเวนระยะหางระหวางบุคคล อยางนอย 1 - 2 เมตร เชน หองเรียน หองเรียนรวม หองพักครู หรือสถานที่ตาง ๆ ในสถานศึกษา ตองจัดระบบระเบียบในการนั่ง การยืน เขาแถวตอคิว การเดิน การเลน อยางเครงครัด 2. หลีกเลี่ยงการทักทายที่มีการสัมผัสรางกายและใกลชิดกับผูอื่น เชน จับมือ กอด หอมแกม 3. สง เสรมิ ใหก นิ อาหารจานเดยี วหรอื อาหารแบบกลอ ง ไมร บั ประทานรว มกนั หากจาํ เปน ตอ งกนิ รว มกนั ตองใชชอนสวนตัว ตองนั่งเวนระยะหางกัน ระหวางโตะระหวางบุคคล โดยจัดโตะจัดเกาอี้ เวนระยะหาง ระหวางบุคคล อยางนอย 1 - 2 เมตร และกําหนดจุดตําแหนงมีสัญลักษณที่นั่งโตะอาหาร ถือวาเปนระยะ ทปี่ ลอดภยั และลดการแพรกระจายเช้อื 1m. - 2m. 1m. - 2m. 110 คูม อื การปฏิบัตสิ ำหรับสถานศกึ ษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

5. การทาํ ความสะอาด (Cleaning) วิธีการทำความสะอาด มีหลกั ปฏิบตั ิ ดงั นี้ 1. จดั เตรยี มอปุ กรณท าํ ความสะอาดอยา งเพยี งพอ ไดแ ก นำ้ ยาทาํ ความสะอาดหรอื นำ้ ยาฟอกขาว อปุ กรณก ารตวง ถงุ ขยะ ถงั นำ้ ไมถ พู น้ื ผา เชด็ ทาํ ความสะอาด อปุ กรณป อ งกนั อนั ตรายสว นบคุ คลทเ่ี หมาะสม กบั การปฏิบตั งิ าน อาทิ ถุงมือ หนากากผา เสื้อผาทจ่ี ะนํามาเปลี่ยนหลังทําความสะอาด 2. เลอื กใชผ ลติ ภณั ฑทาํ ความสะอาดพ้ืนผวิ ท่เี หมาะสม o กรณสี ง่ิ ของอปุ กรณเ ครอ่ื งใช แนะนาํ ใหใ ชแ อลกอฮอล 70% หรอื ไฮโดรเจนเปอรอ อกไซด 0.5% ในการเช็ดทาํ ความสะอาด o กรณเี ปน พน้ื ทข่ี นาดใหญ เชน พน้ื หอ ง แนะนาํ ใหใ ชผ ลติ ภณั ฑท ม่ี สี ว นผสมของโซเดยี มไฮโปคลอไรท 0.1% (น้ำยาซักผา ขาว) หรือไฮโดรเจนเปอรอ อกไซด 0.5% o ตรวจสอบคณุ ลกั ษณะของนำ้ ยาทาํ ความสะอาดบนฉลากขา งขวดผลติ ภณั ฑ วนั หมดอายุ รวมถงึ พจิ ารณาการเลือกใชน ำ้ ยา ขน้ึ อยูกบั ชนิดพื้นผวิ วัสดุ เชน โลหะ หนัง พลาสตกิ 3. เตรียมน้ำยาทําความสะอาดเพอ่ื ฆา เช้อื ตามคาํ แนะนาํ ของผลติ ภัณฑ 4. สอื่ สารใหค วามรูข ั้นตอนการทาํ ความสะอาดทถี่ กู ตองและเหมาะสม ขอควรระวงั o สารทใ่ี ชฆ า เชอ้ื สว นใหญเ ปน ชนดิ สารฟอกขาว อาจกอ ใหเ กดิ การระคายเคอื งผวิ หนงั เนอ้ื เยอ่ื ออ น ควรระวงั ไมใหเ ขา ตาหรอื สมั ผัสโดยตรง o หลกี เล่ยี งการใชสเปรยฉ ดี พน เพอื่ ฆาเชอ้ื เนอื่ งจากอาจทําใหเ กดิ การแพรกระจายของเชื้อโรค o ไมค วรผสมนำ้ ยาฟอกขาวกับสารทาํ ความสะอาดอืน่ ทม่ี สี ว นผสมของแอมโมเนีย o ไมควรนําถุงมือไปใชในการทํากิจกรรมประเภทอื่น ๆ ใชเฉพาะการทําความสะอาดเทานั้น เพ่อื ปอ งกันการแพรก ระจายของเชื้อ o หลีกเลี่ยงการใชมือสัมผัสบริเวณใบหนา ตา จมูก และปาก ขณะสวมถุงมือและระหวาง การทาํ ความสะอาด คูมอื การปฏบิ ัตสิ ำหรับสถานศกึ ษาในการปองกันการแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 111

6.การลดความเเออัด (Reducing) 1. หลีกเลีย่ งการทาํ กจิ กรรมทมี่ กี ารรวมตัวกนั จาํ นวนมาก เชน กฬี าสี คา ยลูกเสือ 2. ลดระยะเวลาในการทํากิจกรรมใหส ัน้ ลงเทาท่ีจาํ เปน 3. จํากัดจาํ นวนนกั เรยี นในการทาํ กจิ กรรรมรว มกันและมีการเวน ระยะหางระหวางบคุ คล 4. หลีกเลี่ยงการไปในสถานท่ีเเออัดหรอื แหลงชุมชนหรอื พื้นที่เสย่ี ง 1m. - 2m. 1m. - 2m. 112 คมู ือการปฏิบตั สิ ำหรับสถานศกึ ษาในการปองกันการแพรร ะบาดของโรคโควิด 19

คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 113

114 คมู อื การปฏิบตั สิ ำหรับสถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

คณะทํางานวิชาการหลัก รายช่ือคณะทํางาน 1. รองศาสตราจารยแ พทยห ญิงลัดดา เหมาะสุวรรณ 17. นางสาวปาริชาติ จาํ นงการ ประธานศูนยข อมูลและวิจยั นักวิชาการสาธารณสขุ ปฏิบัติการ ราชวทิ ยาลัยกุมารแพทยแ หงประเทศไทย และ สาํ นกั อนามัยส่งิ แวดลอม กรมอนามยั คณะแพทยศาสตร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร 18. นางสาวพรเพชร ศักดศ์ิ ริ ิชยั ศิลป 2. นายแพทยเอกชัย เพียรศรีวชั รา นักวชิ าการสาธารณสขุ ชาํ นาญการ ผูอำนวยการสำนกั สง เสรมิ สุขภาพ กรมอนามยั สาํ นักสขุ าภิบาลอาหารและนำ้ กรมอนามยั 3. แพทยห ญงิ สุธาทิพย เอมเปรมศลิ ป 19. นางสาวเอมอร ขนั มี ภาควชิ ากุมารเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร นักวิชาการสาธารณสุข โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหดิ ล สาํ นกั สขุ าภบิ าลอาหารและนำ้ กรมอนามัย 4. นางรตั นาภรณ องิ แฮม 20. แพทยห ญิงธนาวดี ตันตทิ ววี ฒั น สํานกั งานองคก ารอนามยั โลกประจําประเทศ นายแพทยชํานาญการพเิ ศษ กองโรคติดตอ ทัว่ ไป กรมควบคมุ โรค 5. นางณภัทร พิศาลบุตร เจา หนา ที่สอ่ื สารเพ่อื การพฒั นาองคการยนู เิ ซฟประเทศไทย 21. นางสาวณิชาภทั ร คกู ติ ิรัตน นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏิบัติการ 6. นายรงั สรรค วิบลู อปุ ถัมภ กองโรคติดตอทั่วไป กรมควบคมุ โรค Education officer องคการยนู เิ ซฟประเทศไทย 22. นางสชุ าดา เกิดมงคลการ 7. นายแพทยกติ ตพิ งศ แซเจ็ง นกั วชิ าการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ ผทู รงคณุ วฒุ ดิ านสงเสรมิ สุขภาพ กรมอนามยั กองปอ งกนั การบาดเจบ็ กรมควบคมุ โรค 8. ทันตแพทยห ญงิ ปย ะดา ประเสรฐิ สม 23. แพทยหญิงดุษฎี จึงศริ กุลวทิ ย ผอู ํานวยการสาํ นักทันตสาธารณสขุ กรมอนามัย ผูอํานวยการสถาบนั สขุ ภาพจิตเด็กและวัยรนุ ราชนครนิ ทร กรมสุขภาพจติ 9. ทนั ตแพทยหญิงจริ าพร ขีดดี ทนั ตแพทยเช่ียวชาญ สํานักทนั ตสาธารณสุข กรมอนามยั 24. แพทยหญิงศทุ รา เอ้อื อภสิ ทิ ธิ์วงศ สถาบนั สุขภาพจติ เดก็ และวยั รนุ ราชนครินทร 10. นางองั ศณา ฤทธ์ิอยู กรมสขุ ภาพจติ นักวชิ าการสาธารณสขุ ชาํ นาญการพิเศษ สาํ นักทนั ตสาธารณสขุ กรมอนามัย 25. นายยทุ ธพงษ ขวญั ช้ืน นกั วิชาการสาธารณสขุ ชํานาญการพิเศษ 11. นางสาวชนกิ า โรจนส กุลพานชิ กองสขุ ศกึ ษา กรมสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ นักวชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั ิการ สํานักทนั ตสาธารณสุข กรมอนามยั 26. นางสาวขนิษฐา ระโหฐาน นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏิบัติการ 12. นางสาวปาจรียภทั ร นาควารี กองกิจกรรมทางกายเพอื่ สุขภาพ กรมอนามัย นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏิบัติการ สาํ นักทนั ตสาธารณสุข กรมอนามยั 27. นางปนดั ดา จ่ันผอ ง นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ 13. นางสาวพรวภิ า ดาวดวง สาํ นักสงเสริมสขุ ภาพ กรมอนามยั นักโภชนาการชํานาญการพเิ ศษ สํานกั โภชนาการ กรมอนามัย 28. นางสาวอญั ชลุ ี ออนศรี นักวิชาการสาธารณสขุ ปฏบิ ัตกิ าร 14. นางสาวใจรัก ลอยสงเคราะห สาํ นักสง เสรมิ สุขภาพ กรมอนามยั นกั โภชนาการปฏิบตั กิ าร สาํ นกั โภชนาการ กรมอนามยั 29. นางสาววลั นภิ า ชัณยะมาตร นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ัติการ 15. นางสาวนฤมล ธนเจริญวัชร สาํ นกั สงเสริมสุขภาพ กรมอนามัย นกั โภชนาการปฏิบัติการ สํานักโภชนาการ กรมอนามยั 30. นางสาวคัทลยี า โสดาปดชา นกั วชิ าการสาธารณสุข 16. นางณีรนชุ อาภาจรัส สํานกั สงเสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามัย นักวชิ าการสาธารณสขุ ชาํ นาญการพเิ ศษ สาํ นักอนามัยสง่ิ แวดลอม กรมอนามยั คมู อื การปฏบิ ตั ิสำหรับสถานศึกษาในการปองกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 115

116 คมู อื การปฏิบตั สิ ำหรับสถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 117

118 คมู อื การปฏิบตั สิ ำหรับสถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

คมู อื การปฏบิ ตั สิ ำหรบั สถานศกึ ษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19 119

120 คมู อื การปฏิบตั สิ ำหรับสถานศึกษาในการปอ งกนั การแพรร ะบาดของโรคโควดิ 19

https://bit.do/schoolcovid-19


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook