พลงั งานแสงอาทิตย์ เรียบเรียงโดย นายจีระศกั ดิ์ ชื่นรอด 1สชฟ2 เลขที่ 2 สาขาชา่ งไฟฟ้ ากาลงั วทิ ยาลยั เทคนิคสโุ ขทยั
1 พลงั งานแสงอาทิตย์ พลงั งานแสงอาทติ ย์แบ่งออกเป็น 2 สว่ นใหญ่ๆคอื พลังงานที่เกดิ จากแสงและพลังงานท่เี กิดจากความร้อน 1. พลงั งานทเี่ กิดจากแสง รูปแบบการนาพลงั งานของแสงอาทติ ย์มาใชง้ าน แบ่งอยา่ งกว้าง ๆ เป็น 2 รปู แบบ ขน้ึ อยู่กบั วธิ ีการในการจบั พลงั งานแสง การแปรรปู ใหเ้ ป็นพลงั งานอีกรปู หน่ึง และการแจกจา่ ยพลังงานที่ได้ใหม่นั้น รูปแบบแรกเรยี กวา่ แอคทีพโซลาร์ เป็นการใชว้ ธิ ีการ ของ โฟโตโวลตาอิคส์ หรอื solar thermal เพื่อจบั และเปลี่ยนพลังงานของแสงอาทิตยใ์ ห้เป็น พลังงานไฟฟา้ หรือพลังงานความร้อนโดยตรง อีกรปู แบบหน่ึงกค็ ือ พาสซีฟโซลาร์ เป็น วธิ ีการใช้ประโยชน์ทางอ้อม ไดแ้ ก่ การออกแบบอาคารในประเทศหนาวให้รับแสงแดดได้เต็มท่ี หรอื การติดตั้งวสั ดทุ ี่ไวตอ่ อุณหภูมิ thermal mass เพื่อปรับสมดุลของอากาศในอาคาร หรือ ตดิ ตัง้ วัสดทุ ี่มคี ุณสมบัติกระจายแสง หรือการออกแบบพืน้ ทวี่ า่ งให้ อากาศหมุนเวียนโดย ธรรมชาติ 2. พลงั งานทีเ่ กิดจากความร้อน เชน่ พลงั งานลม พลงั งานน้า พลังงานคล่นื เปน็ ต้น การประยุกตใ์ ชพ้ ลงั งานแสงอาทติ ย์[แก]้ พลังงานแสงอาทิตย์ สามารถนาไปประยุกต์ใช้งานได้หลายหลายรูปแบบ เช่น เพ่ือเพ่ิมสุขอนามัย ในพื้นท่ีห่างไกล เช่น การฆ่าเชื้อโรคที่มากับน้าโดยการให้น้าสัมผัสกับแสงอาทิตย์โดยตรง การ เล้ียงสาหร่ายในการปรับสภาพน้าโดยการเพ่ิมออกซิเจน การติดต้ังเคร่ืองสูบน้าพลังแสงอาทิตย์ เพื่อแจกจ่ายน้าสะอาดเพื่อการบริโภค การพัฒนาเชื้อเพลิงทางเลือก เช่น การเลี้ยงสาหร่ายบาง ชนิดเพื่อนามาสกัดเป็นเช้ือเพลิงชีวภาพ การติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์เพ่ือสร้างพลังงานให้รถไฟฟ้า การพัฒนาการเกษตร เช่น การปลูกต้นไม้เช่นพืชผักสวนครัวดอกไม้ในเรือนกระจกในประเ ทศ หนาวเป็นต้น เรือนกระจกจะป้องกันอากาศหนาวจากภายนอกและเก็บกักความร้อนจาก แสงอาทิตย์เพ่ือให้พืชเจริญเติบโตได้ การติดต้ังไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ในพ้ืนท่ีห่างไกลเพ่ือสูบน้า เข้าไร่นาเพื่อการเกษตร การผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังค้าบ้านท่ัวไปแล้วต่อเข้ากับ สายส่งของผู้ผลิตไฟฟ้ากลาง เพ่ือใช้เองและขายส่วนเกินให้ผู้ผลิตกลาง การผลิตน้าร้อนจากพลัง แสงอาทติ ย์เพื่อการพานชิ ย์ ปัจจุบนั มกี ารผลติ ทวั่ โลกถึง 196 GW (ปี 2010) ใน 1 ช่ัวโมง โลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตยป์ ระมาณ 174 [petawatts], 30% ของพลังงานนี้ ถูกสะท้อนกลับไปในอวกาศ ที่เหลือถูกดูดซับโดยเมฆ มหาสมุทรและพื้นดิน คิดเป็ น 3,850,000 [exajoules] ต่อปี ประมาณวา่ พลงั งานน้ีใน 1 ชว่ั โมงมีปริมาณเกือบ เทา่ กบั พลงั งานที่โลกใชท้ ้งั ปี (510 EJ ในปี 2009)[1]
2 พลังงานนี้เป็นต้นกาเนิดของวัฏจักรของส่ิงมีชีวิตในโลก ทาให้เกิดการหมุนเวียนของน้าและธาตุ ต่าง ๆ เช่น คาร์บอน พลงั งานแสงอาทติ ยจ์ ดั เปน็ หน่ึงในพลังงานทดแทน หรอื พลังงานหมนุ เวียน ท่ีมีศักยภาพสูง ปราศจากมลพิษ อีกท้ังเกิดใหม่ได้ไม่สิ้นสุด และยังเป็นต้นกาเนิดของพลังงาน น้า (จากการทาให้น้ากลายเป็นไอและลอยตัวขึ้นสูง พลังงานน้าที่ตกกลับลงมาถูกนาไปผลิต กระแสไฟฟ้า) เป็นต้นกาเนิดของพลังงานเคมีในอาหาร (พืชสังเคราะห์แสง เปล่ียนแร่ธาตุให้เป็น แป้งและน้าตาล ซ่ึงสามารถให้พลังงานแก่มนุษย์และสัตวช์ นดิ ต่าง ๆ) เป็นต้นกาเนิดของพลังงาน ลม (ทาให้เกิดความกดอากาศและทาให้เกิดการเคลื่อนที่ของอากาศ) และเป็นต้นกาเนิด พลงั งาน คลืน่ (ทาใหน้ ้าข้นึ -ลง) การผลติ ไฟฟา้ จากพลังงานแสงอาทติ ย์ดว้ ยวิธี โฟโตโวล ตาอิคส์ หรอื solar photovoltaics[แก้] เป็นการแปลงพลังงานแสงอาทิตย์ ให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยใช้เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar cell หรือ Photovoltaic cell (PV)) ซ่ึงถูกผลิตครั้งแรกในปี พ.ศ. 2426 โดย Charles Fritts โดยใช้ ธาตุ ซีลเี นยี ม 19 MW solar park in Germany ในปี พ.ศ. 2484 เป็นการเร่ิมต้นของการผลติ แผงเซลล์แสงอาทติ ย์ดว้ ยธาตุ ซิลิกอน โมเลกุลเด่ยี ว ด้วยต้นทุนการผลิตท่ีค่อนข้างสูง การใช้งานของแผงเซลแสงอาทิตย์ในช่วงแรก เน้นไปท่ีการใช้ งานในอวกาศ เชน่ ใชก้ บั ดาวเทยี ม [2] หลังจากประสบกับปญั หานา้ มันแพง ใน พ.ศ. 2516 และ 2522 กลมุ่ ประเทศพฒั นาแลว้ จึงหันมา ให้ความสนใจในพลังงานแสงอาทิตย์และเริ่มมีการพัฒนาอย่างจริงจังมากขึ้น หลังจากการตีพิมพ์ ข้อมูลโลกร้อนของ กลุ่มผู้เช่ียวชาญด้านการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การติดตั้งแผงพลังงาน แสงอาทิตย์มีปริมาณเพิ่มข้ีน 10-20% ทุกปี ในประเทศไทยการติดต้ังเพิ่มขึ้นอีกมากเร่ิมจากปี 2553 โดยเร่ิมมีการติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์เพื่อผลิตไฟฟ้ามาตั้งแต่ปี 2526 จนถึงปี 2553 มียอด ติดตั้งรวม 100.39 MW แจกจ่ายไฟฟ้า(เฉพาะเช่ือมกับสายส่งของ กฟผ แล้ว) ทั้งปี 2553 รวม
3 21.6 GWh หรือ 0.0134% ของปริมาณความต้องการใช้ไฟฟ้าทั้งหมด 161,350 GWh โดยการ ไฟฟ้าฝา่ ยผลิต ผลติ ไฟฟ้าได้ 2.2 GWh ผผู้ ลิตรายย่อย 19.4 GWh[3] ตามพระราชบัญญัติการพัฒนาพลังงานหมุนเวียน 15 ปีนับจากปี 2552 กาหนดเป้าหมายการใช้ พลังงานหมุนเวียนไว้ที่ 20.3% ของพลังงานทั้งหมด โดยมีสัดส่วนของพลังงานจากเซลล์ แสงอาทิตย์อยู่ที่ 6% ดังนั้น ตามแผนงาน ในปี 2565 ประเทศไทยต้องมีโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ด้วยเซลล์แสงอาทิตย์มีกาลังการผลิตรวม 500 MW ตัวเลขในปี 2554 อยู่ระหว่าง ดาเนินการตดิ ตัง้ 265 MW และอยูร่ ะหวา่ งการพิจารณาจาก กฟผ อีก 336 MW โรงไฟฟ้าทีส่ รา้ งทจ่ี ังหวัดลพบุรดี ้วยเทคโนโลยี amorphous thin film ตอ้ งใชแ้ ผงเซลล์ แสงอาทติ ย์ถึง 540,000 ชุด มกี าลังการผลิต 73 MW จะเป็นโรงไฟฟา้ พลังงานแสงอาทิตย์ ระบบโฟโตโวลตาอคิ สท์ ่ใี หญ่ท่สี ดุ ในโลกแหล่งขอ้ มลู อา้ งอิงพลงั งานแสงอาทิตย์ [ออนไลน]์ เขา้ ถึงไดจ้ าก:https://th.wikipedia.o( วนั ที่คน้ ขอ้ มูล 18 ก.ค. 2560)
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: