แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง วงดนตรแี ละบทเพลง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ รหสั ศ23102 วิชา ศิลปะ 3 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 เวลาเรยี น 3 ชัว่ โมง ผู้สอน นางสาวนฤมล คลงั สนิ คา้ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั k มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ 2.1เข้าใจและแสดงออกทางดนตรอี ยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่า ดนตรถี า่ ยทอดความรู้สกึ ความคิด ตอ่ ดนตรีอยา่ งอสิ ระ ชื่นชม และประยุกตใ์ ช้ใน ชวี ิตประจาวัน ตัวช้ีวัด มาตรฐาน ศ 2.1 ม.1/4 จัดประเภทของวงดนตรไี ทยและวงดนตรีที่มาจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ สาระสาคญั วงดนตรที ้ังวงดนตรีไทย วงดนตรสี ากล และวงดนตรีพื้นบา้ นนน้ั ถูกจัดเป็นประเภทตาม ลกั ษณะเฉพาะ วธิ กี ารบรรเลง และบทบาทหน้าที่ในการบรรเลงของแต่ละวง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. จาแนกประเภทของวงดนตรไี ทยและวงดนตรีทมี่ าจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ ได้ (K) 2. บอกประเภทของวงดนตรีทต่ี นเองรจู้ ักหรอื เคยพบเห็นได้ถูกตอ้ ง (K) 3. ปฏิบตั ิกจิ กรรมรว่ มกบั ผ้อู ืน่ ดว้ ยความซือ่ สตั ย์ ความรบั ผดิ ชอบ และมคี วามสขุ (A) 4. จัดประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรที ่มี าจากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ ได้ (P) การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นิยม (A) 1. สังเกตจากพฤติกรรมขณะ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมรายบุคคล 1. สังเกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากความสนใจและ และปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกลมุ่ แสดงความคิดเห็น ความกระตอื รอื รน้ ในการ 2. สังเกตจากการปฏิบัติ กิจกรรมได้อย่างคล่องแคลว่ 2. จากการตรวจการวัดและ ปฏบิ ัติกิจกรรม 3. สังเกตจากความตง้ั ใจและ ประเมนิ ผลการเรียนรปู้ ระจา 2. สงั เกตจากความรบั ผดิ ชอบ ปฏบิ ัตติ ามขัน้ ตอน หนว่ ย และความมรี ะเบยี บขณะ 3. จากการตรวจแบบทดสอบ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ก่อนเรยี น 3. สงั เกตจากการยอมรบั ความ 4. จากการตรวจใบกิจกรรม คิดเหน็ ของผู้อนื่ ขณะปฏิบัติ กิจกรรม สาระการเรยี นรู้ · วงดนตรีพนื้ เมือง · วงดนตรีไทย · วงดนตรีสากล
กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นท่ี 1 ขัน้ นาเขา้ ส่บู ทเรยี น 1. นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นเพอ่ื ประเมินความรู้ 2. สนทนาซักถามนักเรยี นว่า วงดนตรที ่ีนกั เรยี นรู้จกั หรือเคยพบเห็นมีวงดนตรีอะไรบ้าง เพ่ือประเมิน ความรู้ก่อนเรยี น 3. ครเู ปิดวีดิทัศน์การบรรเลงของวงดนตรีประเภทใดก็ได้ แล้วถามนักเรียนว่า วงดนตรีที่บรรเลงอยู่ เปน็ วงดนตรีประเภทใด ใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั ตอบ และเฉลยคาตอบใหน้ ักเรยี นทราบ ขั้นที่ 2 ข้ันสอน 1. ครนู าเสนอเน้อื หาเรอ่ื ง ประเภทของวงดนตรี เกย่ี วกับประเภทของวงดนตรีไทยและประเภทของวง ดนตรสี ากล โดยให้นกั เรียนดูภาพวงดนตรีในหนงั สอื เรียนควบค่ไู ปดว้ ย 2. ครสู นทนาซักถามนักเรียนว่านักเรียนเคยเห็นวงดนตรีประเภทใดบ้างนอกจากวงดนตรีท่ีกล่าวมา ให้นกั เรียนรว่ มแสดงความคิดเห็น โดยครคู อยใหค้ วามรู้เสรมิ 3. แบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม แล้วนาบัตรคาชื่อเครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงในวงดนตรีไทยและวง ดนตรีสากลต่าง ๆ ที่จดั ทาขน้ึ 2 ชดุ เหมือน ๆ กนั แจกใหน้ กั เรยี นกลุ่มละชุด จากนั้นครูเป็นคนกาหนดให้แต่ละ กลมุ่ จัดประเภทของเคร่ืองดนตรตี ามทีค่ รบู อก โดยกลุ่มทีจ่ ัดไดเ้ รว็ และถกู ตอ้ งเป็นฝ่ายชนะ (ครสู ามารถกาหนด ประเภทของวงดนตรกี วี่ งกไ็ ด้ตามความเหมาะสม) 4. ครอู ธบิ ายเร่ืองวงดนตรพี ้ืนบ้านของแต่ละท้องถ่ินให้นักเรียนฟังแล้วถามนักเรียนว่าในท้องถิ่นของ นักเรยี นมวี งดนตรีพ้นื บา้ นวงใด และใช้บรรเลงในโอกาสใด ให้นักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ ข้นั ท่ี 3 ขั้นสรปุ ให้นกั เรยี นรว่ มกนั สรุปเรอื่ ง ประเภทของวงดนตรี โดยครูคอยให้ความรู้เสริมในส่วนที่นักเรียนไม่ เขา้ ใจหรือสรุปไมต่ รงกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ส่อื /แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมดุ 2. หอ้ งดนตรี 3. วีดที ัศนก์ ารบรรเลงของวงดนตรีประเภทต่าง ๆ 4. รายการประกวดวงดนตรปี ระเภทตา่ ง ๆ ตามสถานีโทรทศั น์หรอื ตามสถานท่ีสาธารณะ 5. ใบกจิ กรรม 6. วงดนตรีไทย วงดนตรีสากล และวงดนตรพี ืน้ บา้ น 7. หนงั สือเรียนรายวิชาพนื้ ฐาน ดนตรี ชั้น ม. 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เร่อื ง เครื่องหมายและสญั ลักษณท์ างดนตรี กล่มุ สาระการเรยี นรศู้ ิลปะ รหัส ศ23102 วิชา ศิลปะ3 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 เวลาเรยี น 2 ชั่วโมง ผสู้ อน ครนู ฤมล คลังสนิ คา้ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ศ 2.1เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่า ดนตรถี ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิด ตอ่ ดนตรีอย่างอสิ ระ ชื่นชม และประยกุ ตใ์ ช้ใน ชีวติ ประจาวนั ตัวชีว้ ัด มาตรฐาน ศ 2.1 อา่ น เขียน รอ้ งโนต้ ไทย และโน้ตสากล (ศ 2.1 ม. 1/1) สาระสาคญั การอ่านหรอื เขยี นโนต้ เพลงไทยในอัตราจังหวะ 2 ชั้นถือเปน็ การฝึกทกั ษะพ้ืนฐานของเพลงไทย เพราะเป็นเพลงทมี่ ีจังหวะไมช่ ้าหรือไม่เรว็ จนเกินไป จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อา่ น เขียน รอ้ งโนต้ ไทยและโน้ตสากลได้ (K) 2. ปฏบิ ตั ิกิจกรรมร่วมกับผอู้ ่ืนดว้ ยความซ่ือสัตยแ์ ละความรบั ผิดชอบ (A) 3. ปฏิบัตกิ ิจกรรมร่วมกบั ผ้อู ื่นดว้ ยความสนกุ สนานและมนั่ ใจ (A) 4. มที ักษะในการรอ้ งเพลงไทยในอัตราจงั หวะ 2 ชั้น (P) การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ดา้ นทักษะ/ กระบวนการ (P) และคา่ นิยม (A) 1. สังเกตจากการปฏิบตั ิ 1. สงั เกตจากการถามและ 1. สังเกตจากความสนใจและ ตามกิจกรรมทีก่ าหนด 2. สงั เกตจากด้าน การแสดงความคิดเห็น ความกระตือรอื รน้ ในการ ความคิด สรา้ งสรรค์ใน การปฏบิ ตั ิ กจิ กรรม 2. จากการตรวจการวัด ปฏิบัตกิ จิ กรรม 3. สังเกตจากความตั้งใจ และการปฏบิ ัตติ าม และ ประเมินผลการเรียนรู้ 2. สังเกตจากความรับผดิ ชอบ ขนั้ ตอน ประจา หน่วย และความมีระเบยี บขณะ 3. จากการตรวจใบ ปฏิบตั กิ จิ กรรม กจิ กรรม 3. สงั เกตจากการยอมรบั ความ คดิ เห็นของผ้อู ื่นขณะปฏิบัติ กจิ กรรม
สาระการเรียนรู้ · - เคร่อื งหมายและสญั ลักษณ์ทางดนตรี – โนต้ เพลงไทย อตั ราจังหวะ 2 ชัน้ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ข้นั ท่ี 1 ขน้ั นาเขา้ ส่บู ทเรยี น ครสู นทนาซกั ถามนักเรยี นวา่ เครื่องหมายและสญั ลักษณท์ างดนตรีทัง้ ของไทยและสากลมคี วามสาคัญ อยา่ งไร ให้นกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ เพอ่ื ประเมนิ ความร้กู ่อนเรียน ขั้นท่ี 2 ขน้ั สอน 1. ครูนาเสนอเน้ือหาเรอ่ื ง เครอ่ื งหมายและสญั ลกั ษณ์ทางดนตรี โดยอธบิ ายเก่ยี วกบั เคร่ืองหมายและ สัญลกั ษณท์ างดนตรไี ทยเก่ยี วกับโน้ตบทเพลงไทยในอตั ราจังหวะ 2 ชน้ั ใหน้ ักเรียนทราบ โดยให้นักเรียนดู หนังสือเรยี นประกอบ 2. ครเู ปดิ เพลงแขกบรเทศ 2 ช้นั ให้นักเรียนฟงั และใหน้ กั เรยี นเคาะตามจงั หวะฉ่ิง 3. ครนู านกั เรยี นฝึกรอ้ งโน้ตเพลงแขกบรเทศ 2 ช้ันหลาย ๆ รอบจนจับทานองได้ แลว้ ใหน้ กั เรียนรอ้ ง เป็นเนือ้ เพลง โดยครเู ปิดเพลงคลอไปพรอ้ ม ๆ กัน 4. ครูให้นกั เรียนร้องเพลงแขกบรเทศพรอ้ ม ๆ กนั โดยไมเ่ ปิดเพลง 5. ครูสนทนาซักถามเกี่ยวกบั ปญั หาในการอ่านโน้ตและขบั ร้องเพลงแขกบรเทศ แล้วใหน้ ักเรยี น รว่ มกันแสดงความคิดเหน็ ขน้ั ที่ 3 ขั้นสรปุ นกั เรยี นรว่ มกนั สรุปเร่อื ง เคร่อื งหมายและสญั ลกั ษณท์ างดนตรี โดยครคู อยใหค้ วามรเู้ สริมในส่วน ที่นักเรียนไม่เขา้ ใจหรอื สรปุ ไมต่ รงกับจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้ 1. เทปหรอื ซีดเี พลงแขกบรเทศ 2 ชน้ั 2. เครื่องหมายและสัญลักษณท์ างดนตรีต่าง ๆ 3. ใบกจิ กรรม 4. สอื่ การเรียนรู้ ดนตรี ชั้น ม. 1 จากอนิ เตอรเ์ น็ท 5. หนงั สอื เรียนรายวิชาพื้นฐาน ดนตรี ช้ัน ม. 1 6. หนงั สอื แบบฝกึ หดั ดนตรี ชน้ั ม. 1
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เรื่อง การเปรยี บเทยี บเสยี งร้องและเสยี งของ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ เครื่องดนตรใี นบทเพลงจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ รหัส ศ23102 วิชา ศลิ ปะ 3 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 เวลาเรยี น 2 ช่วั โมง ผ้สู อน ครูนฤมล คลังสนิ คา้ ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ัด มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ศ 2.1เข้าใจและแสดงออกทางดนตรอี ยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์ คุณค่า ดนตรีถ่ายทอดความร้สู กึ ความคิด ต่อดนตรีอยา่ งอสิ ระ ชื่นชม และประยุกตใ์ ชใ้ น ชีวิตประจาวัน ตัวช้วี ัด มาตรฐาน ศ 2.1 ม.1/2 เปรยี บเทยี บเสียงรอ้ งและเสียงของเคร่อื งดนตรที มี่ าจากวัฒนธรรมทตี่ ่างกนั สาระสาคญั การเปรียบเทยี บเสยี งขบั ร้องและเสยี งของเคร่ืองดนตรีในบทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ สามารถ สังเกตไดจ้ ากวิธกี ารขับรอ้ งและลักษณะวิธีการบรรเลงของเครื่องดนตรีท่ีใช้ในวงดนตรีแต่ละประเภท ซึ่งจะมี ความแตกตา่ งกนั ออกไปตามลกั ษณะของผ้ขู บั ร้องและลักษณะเฉพาะของเคร่ืองดนตรีน้ัน ๆ ซึ่งสามารถสังเกต ไดต้ ามหลักการดังกลา่ ว จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. เปรียบเทยี บเสียงรอ้ งและเสยี งของเครอ่ื งดนตรที ีม่ าจากวฒั นธรรมท่ีต่างกนั ได้ (K) 2. ปฏิบตั ิกจิ กรรมดว้ ยความสนุกสนาน ม่นั ใจ และมีความสุข (A) 3. นาเสนอผลการปฏิบัตกิ จิ กรรมด้วยวธิ กี ารร้องเพลงหรอื วธิ ีการอน่ื ๆ ได้อย่างเหมาะสม (P) การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) ดา้ นความรู้ (K) และค่านิยม (A) 1. สงั เกตจากการปฏิบัติตาม 1. สงั เกตจากการถามและ 1. สังเกตจากความสนใจและ กจิ กรรมทีก่ าหนด การ แสดงความคดิ เห็น ความกระตอื รอื รน้ ในการปฏิบตั ิ 2. จากการตรวจการวัดและ กจิ กรรม 2. สังเกตจากการทางานร่วมกับ 2. สังเกตจากความรบั ผิดชอบ สมาชกิ ในกลุ่มอยา่ ง ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และความมีระเบยี บขณะ คล่องแคลว่ ประจาหน่วย ปฏิบัตกิ จิ กรรม 3. จากการตรวจใบกิจกรรม 3. สังเกตจากการยอมรบั ความ 3. สงั เกตจากการเคล่อื นไหว คิดเหน็ ของผอู้ นื่ ขณะปฏบิ ตั ิ ร่างกายอย่างคล่องแคล่ว กจิ กรรม ม่ันใจ
5. สาระการเรยี นรู้ · เสยี งร้องและเสยี งของเครอ่ื งดนตรใี นบทเพลงจากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ – วธิ ีการขบั รอ้ ง – เคร่อื งดนตรที ีใ่ ช้ 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้ันท่ี 1 ขั้นนาเข้าส่บู ทเรยี น ครูขอตัวแทนนกั เรียนออกมาร้องเพลงชาย 1 คน หญิง 1 คน แล้วถามเพ่ือน ๆ ในชั้นเรียนว่า เพื่อน ร้องเพลงไพเราะหรือไม่ แล้วถามนักเรียนว่านักเรียนรู้ได้อย่างไรว่า เพ่ือนร้องเพลงไพเราะหรือไม่ไพเราะ นกั เรยี นใชห้ ลักเกณฑ์อยา่ งไรบา้ ง เพอื่ เปน็ การประเมนิ ความร้คู วามเข้าใจของนักเรียนกอ่ นเรียน ข้นั ที่ 2 ขั้นสอน 1. ครูนาเสนอเน้ือหาเรื่อง การเปรียบเทียบเสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรีในบทเพลงจาก วัฒนธรรมต่าง ๆโดยอธิบายเก่ียวกับวธิ กี ารสังเกตลักษณะของวิธีการขับร้องและการใช้เคร่ืองดนตรีบรรเลงใน บทเพลงต่าง ๆ ว่าจะต้องสงั เกตในลกั ษณะเบอ้ื งต้นอย่างไรบ้าง 2. ครูเปิดวีดิทัศน์การขับร้องเพลงที่ครูเห็นว่าเหมาะสมให้นักเรียนร่วมกันชมและฟัง แล้วช่วยกัน วิจารณ์ตามหลักการหรือตามวิธีการท่ีจะต้องสังเกตว่ามีเสียงร้องและเสียงของเคร่ืองดนตรีท่ีบรรเลงในเพลง ตรงตามหลกั การหรอื ไม่ อย่างไร โดยครูคอยให้คาแนะนา และเปิดโอกาสให้นักเรยี นซกั ถาม ขนั้ ที่ 3 ขนั้ สรปุ นกั เรยี นร่วมกนั สรุปเร่อื ง การเปรยี บเทยี บเสยี งรอ้ งและเสียงของเครือ่ งดนตรีในบทเพลงจาก วฒั นธรรมต่าง ๆ โดยครูคอยให้ความรเู้ สรมิ ในส่วนที่นักเรยี นไมเ่ ข้าใจหรอื สรุปไมต่ รงกับจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ 1. วีดิทศั น์เพลงประเภทตา่ ง ๆ 2. เคร่ืองดนตรปี ระเภทต่าง ๆ 3. ใบกจิ กรรม 4. การแสดงดนตรีตามสถานทตี่ ่าง ๆ 5. สื่อการเรยี นรู้ ดนตรี ช้นั ม. 1 จากอนิ เตอรเ์ นท็ 6. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน ดนตรี ช้ัน ม. 1 7. หนังสือแบบฝึกหดั ดนตรี ช้นั ม. 1
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอื่ ง บทเพลงสาหรับฝึกร้องและการบรรเลง กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ เครื่องดนตรปี ระกอบการรอ้ งเพลง รหสั ศ23102 วิชา ศลิ ปะ 3 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 เวลาเรียน 3 ชั่วโมง ผู้สอน ครนู ฤมล คลงั สนิ คา้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ 2.1เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ คุณค่า ดนตรถี า่ ยทอดความรสู้ ึก ความคิด ตอ่ ดนตรีอย่างอิสระ ชนื่ ชม และประยกุ ตใ์ ชใ้ น ชวี ติ ประจาวัน ตัวช้ีวัด มาตรฐาน ศ 2.1 ม.1/3 ร้องเพลงและใชเ้ ครือ่ งดนตรบี รรเลงประกอบการรอ้ งเพลงดว้ ยบทเพลงที่ หลากหลายรปู แบบ สาระสาคญั การรอ้ งเพลงหรอื ใชเ้ คร่ืองดนตรบี รรเลงประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลงท่ีหลากหลายรูปแบบ เป็นการแสดงความสามารถทางดนตรีอีกวิธีหน่ึง และบทเพลงที่สามารถนามาฝึกร้องหรือบรรเลงดนตรีนั้นมี หลายรูปแบบ เช่น บทเพลงพื้นบ้านของแต่ละท้องถ่ิน บทเพลงปลุกใจต่าง ๆ บทเพลงประสานเสียง 2 แนว บทเพลงรปู แบบ ABA หรือบทเพลงประกอบการเตน้ ราต่าง ๆ เปน็ ตน้ ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับความชอบหรือความถนัด ของแต่ละบคุ คลที่ตอ้ งการเลอื กนามาร้องหรอื บรรเลง จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเหตุผลในการเลอื กบทเพลงสาหรับรอ้ งหรือบรรเลงดนตรไี ด้ (K) 2. รอ้ งเพลงหรอื บรรเลงดนตรีดว้ ยความสนกุ สนาน มน่ั ใจ และมคี วามสุข (A) 3. เลือกบทเพลงสาหรับรอ้ งหรือบรรเลงดนตรีไดอ้ ย่างเหมาะสม (P) 4. รอ้ งเพลงและใช้เครอื่ งดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงดว้ ยบทเพลงที่หลากหลายรูปแบบได้ (P) การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) 1. สังเกตจากการถาม และคา่ นิยม (A) และการแสดงความ คดิ เห็น 1. สังเกตจากความสนใจ 1. สังเกตจากการปฏิบตั ติ าม 2. จากการตรวจการวดั และประเมนิ ผลการ และความกระตือรอื รน้ ใน กจิ กรรมท่กี าหนด เรยี นรปู้ ระจาหนว่ ย 3. จากการตรวจใบ การปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 2. สังเกตจากการปฏิบัติ กจิ กรรม 2. สงั เกตจากความ กจิ กรรมร่วมกับสมาชิกใน รับผดิ ชอบและความมี กล่มุ อยา่ งคล่องแคล่ว ระเบียบขณะปฏิบตั ิ 3. สังเกตจากการเคลอื่ นไหว กจิ กรรม ร่างกายอย่างคล่องแคลว่ 3. สังเกตจากการยอมรับ มนั่ ใจ ความคิดเห็นของผู้อนื่ ขณะ 4. ประเมินพฤติกรรมตามแบบ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกิจกรรม ประเมนิ ความสามารถในการ ร้องเพลง
5. สาระการเรยี นรู้ การรอ้ งและการบรรเลงเครอ่ื งดนตรีประกอบการร้อง – บทเพลงพน้ื บ้าน บทเพลงปลุกใจ – บทเพลงรปู แบบ ABA – บทเพลงไทยเดิม – บทเพลงประกอบการเต้นรา – บทเพลงประสานเสยี ง 2 แนว 7. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ข้ันท่ี 1 ขนั้ นาเขา้ ส่บู ทเรียน ครขู อตัวแทนนักเรียนออกมาร้องเพลงหน้าชั้นเรียน 1–2 คน ตามความเหมาะสม แล้วถามนักเรียน ท้ังหมดวา่ เพลงที่เพอื่ นรอ้ งจดั อยู่ในเพลงประเภทใด ให้นักเรียนรว่ มกันแสดงความคิดเห็น จากนั้นครูอธิบายให้ นกั เรยี นทราบวา่ เพลงทเี่ พอ่ื นออกมาร้องน้ันจดั อยูใ่ นเพลงประเภทใด ขัน้ ที่ 2 ข้ันสอน 1. ครูนาเสนอเน้ือหาเรื่อง บทเพลงสาหรับฝึกร้องและการบรรเลงเคร่ืองดนตรีประกอบการร้อง เพลง โดยอธิบายเกย่ี วกบั การร้องเพลงและการบรรเลงเครอื่ งดนตรปี ระกอบการร้องดังนี้ – บทเพลงพ้นื บ้าน – บทเพลงประสานเสยี ง 2 แนว – บทเพลงปลกุ ใจ – บทเพลงรปู แบบ ABA (Ternary form) – บทเพลงไทยเดมิ – บทเพลงประกอบการเต้นรา 2. แบง่ กลมุ่ นกั เรยี นเปน็ 6 กลุ่ม ใหแ้ ต่ละกลุม่ จับสลากหัวขอ้ บทเพลงสาหรบั ฝึกรอ้ งดงั นี้ 1) บทเพลงพน้ื บา้ น 4) บทเพลงประสานเสยี ง 2 แนว 2) บทเพลงปลกุ ใจ 5) บทเพลงรูปแบบ ABA (Ternary form) 3) บทเพลงไทยเดิม 6) บทเพลงประกอบการเตน้ รา 3. ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มออกมารอ้ งเพลงทกี่ ลุ่มจบั สลากไดห้ นา้ ชัน้ เรียน ขน้ั ที่ 3 ขัน้ สรุป นักเรียนร่วมกันสรุปเร่ือง บทเพลงสาหรับฝึกร้องและการบรรเลงเครื่องดนตรีประกอบการร้อง เพลง โดยครคู อยให้ความรเู้ สรมิ ในสว่ นท่ีนกั เรยี นไม่เข้าใจหรือสรุปไมต่ รงกับจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ 1. บทเพลงประเภทต่าง ๆ 2. เคร่ืองดนตรีชนดิ ตา่ ง ๆ 3. ผรู้ ูด้ า้ นดนตรีในชุมชน 4. ใบกจิ กรรม 5. ห้องสมุด 6. ส่อื การเรยี นรู้ ดนตรี ช้ัน ม. 1 จากอนิ เตอรเ์ นท็ 7. หนงั สอื เรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน ดนตรี ชั้น ม. 1 8. หนงั สอื แบบฝึกหัดดนตรี ช้ัน ม. 1
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 5 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เร่ือง การใชแ้ ละบารงุ รกั ษาเครอ่ื งดนตรี กล่มุ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ รหสั ศ23102 วิชา ศิลปะ 3 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ผ้สู อน ครูนฤมล คลงั สินคา้ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ 2.1เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ คุณค่า ดนตรถี า่ ยทอดความรสู้ กึ ความคิด ตอ่ ดนตรีอยา่ งอสิ ระ ช่นื ชม และประยกุ ต์ใช้ใน ชวี ิตประจาวัน ตัวชวี้ ัด มาตรฐาน ศ 2.1 ม.1/9 ใชแ้ ละบารุงรักษาเคร่ืองดนตรีอยา่ งระมดั ระวงั และรบั ผิดชอบ สาระสาคัญ เคร่อื งดนตรีแต่ละชนิดหรือแต่ละประเภทมีวิธีการใช้และการดูแลรักษาตามลักษณะเฉพาะของ เครื่องนั้น ๆ การใช้และการดูแลรักษาเครื่องดนตรีตามหลักวิธีได้อย่างถูกต้องจะช่วยยืดอายุการใช้งานของ เครอื่ งดนตรีไดน้ านยง่ิ ขึ้น จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายวิธีการใช้และบารุงรกั ษาเครื่องดนตรไี ด้ถกู ต้อง (K) 2. ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมรว่ มกบั ผ้อู น่ื ด้วยความซอ่ื สัตยแ์ ละมีความรบั ผิดชอบ (A) 3. ใชแ้ ละบารุงรักษาเครอ่ื งดนตรีอยา่ งระมัดระวงั และปลอดภยั (P) การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นิยม (A) 1. สังเกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากความสนใจและ 1. สงั เกตจากการปฏิบัติตาม แสดงความคิดเหน็ ความกระตอื รอื รน้ ในการ กิจกรรมท่กี าหนด 2. จากการตรวจการวดั และ ปฏิบัติกจิ กรรรม 2. สังเกตจากการทางานรว่ มกับ ประเมินผลการเรียนร้ปู ระจา 2. สังเกตจากความรับผิดชอบ สมาชิกในกลมุ่ อยา่ ง หน่วย และความมรี ะเบยี บในการ คลอ่ งแคล่ว 3. จากการตรวจแบบทดสอบ ปฏิบตั ิกิจกรรม 3. สังเกตจากการเคลอื่ นไหว หลงั เรียน 3. สงั เกตจากการยอมรบั ฟงั รา่ งกายอย่างคล่องแคล่ว 4. จากการตรวจใบกิจกรรม ความคดิ เห็นของผ้อู ่ืนขณะ มน่ั ใจ ปฏบิ ตั ิกิจกรรม 4. ประเมินพฤตกิ รรมตามแบบ 4. ประเมินพฤตกิ รรมตามแบบ การประเมินผลดา้ นทักษะ/ การประเมนิ ผลดา้ นคณุ ธรรม กระบวนการ จริยธรรม และคา่ นิยม
สาระการเรยี นรู้ การใชแ้ ละบารุงรักษาเครอื่ งดนตรขี องตน กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขัน้ ท่ี 1 ขัน้ นาเขา้ สู่บทเรียน ครแู บง่ นักเรยี นออกเป็น 2 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเล่นเกมแข่งขันกันเขียนช่ือเคร่ืองดนตรีไทยและเครื่อง ดนตรสี ากลในเวลาท่ีครูกาหนด กลมุ่ ใดเขียนไดม้ ากกว่าเป็นฝา่ ยชนะ (นับเฉพาะชอ่ื เคร่ืองดนตรีทีไ่ ม่ซา้ กัน) ขน้ั ท่ี 2 ขน้ั สอน 1. ครูนาเคร่ืองดนตรีหรือภาพเครื่องดนตรีมาให้นักเรียนดู หรือพานักเรียนไปดูเครื่องดนตรีในห้อง ดนตรี และถามนกั เรียนเก่ียวกับชื่อเครือ่ งดนตรแี ต่ละชิน้ และวธิ ีการเลน่ เพื่อทบทวนความจา 2. ครูนาเสนอเนื้อหาเรื่อง การใช้และบารุงรักษาเครื่องดนตรี เกี่ยวกับวิธีการใช้และการดูแลและ บารุงรักษาเครอ่ื งดนตรีไทยและเครื่องดนตรีสากลแต่ละชนิดให้นักเรียนทราบ และให้นักเรียนดูหนังสือเรียน ประกอบ 3. ครูนาภาพเคร่ืองดนตรีมาให้นักเรียนดูทีละชนิด แล้วให้นักเรียนร่วมกันหรือเลือกสุ่มตัวแทนบอก วธิ กี ารใชแ้ ละการดูแลรกั ษาเครือ่ งดนตรที อี่ ยใู่ นภาพ โดยครคู อยอธบิ ายเพม่ิ เติม 4. ให้นักเรียนทดลองใช้และดูแลรักษาเครื่องดนตรีเบ้ืองต้นตามท่ีครูคิดว่าเหมาะสม โดยครูคอยให้ คาแนะนา ขัน้ ท่ี 3 ขน้ั สรปุ ให้นักเรยี นร่วมกนั สรุปเรอ่ื ง การใช้และบารุงรกั ษาเคร่อื งดนตรี โดยครูคอยให้ความรเู้ สรมิ ในสว่ นที่ นักเรยี นไมเ่ ขา้ ใจหรอื สรุปไม่ตรงกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 1. เคร่ืองดนตรไี ทยและเครอ่ื งดนตรสี ากลชนิดต่าง ๆ 2. ภาพเคร่ืองดนตรไี ทยและเคร่อื งดนตรสี ากลชนดิ ตา่ ง ๆ 3. ใบกิจกรรม 4. หอ้ งดนตรี 5. ห้องสมุด 6. สอ่ื การเรียนรู้ ดนตรี ชัน้ ม. 1 จากอนิ เตอรเ์ นท็ 7. หนังสือเรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน ดนตรี ชน้ั ม. 1 8. หนงั สอื แบบฝกึ หัดดนตรี ช้ัน ม. 1
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 2 เรือ่ ง การถ่ายทอดอารมณข์ องบทเพลง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ รหัส ศ23102 วิชา ศลิ ปะ 3 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 เวลาเรยี น 1 ชั่วโมง ผ้สู อน ครูนฤมล คลังสนิ คา้ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ัด มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ศ 2.1เข้าใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ คุณค่า ดนตรถี า่ ยทอดความรสู้ กึ ความคิด ตอ่ ดนตรีอย่างอิสระ ชน่ื ชม และประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจาวนั ตวั ชีว้ ัด มาตรฐาน ศ 2.1 ม. 1/5 แสดงความคิดเห็นท่ีมตี ่ออารมณ์ของบทเพลงทม่ี ีความเรว็ ของจงั หวะ และ ความดัง–เบาแตกต่าง มาตรฐาน ศ 2.1 ม.1/6 เปรียบเทยี บอารมณ์ ความร้สู กึ ในการฟงั ดนตรแี ต่ละประเภท สาระสาคญั บทเพลงแต่ละบทเพลงมีการถ่ายทอดอารมณ์โดยอาศัยองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น จังหวะ ความดัง – ของเสยี ง เป็นต้น เมอ่ื บทเพลงมกี ารเปลย่ี นแปลงจังหวะหรือความดัง–เบาของเสียงดนตรี ก็สามารถทาให้เกิด ความแตกต่างทางด้านอารมณเ์ พลงได้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. วิเคราะห์วา่ เพลงที่มจี งั หวะท่ตี า่ งกนั สามารถส่ืออารมณต์ ่าง ๆ ได้ (K) 2. วิเคราะห์ว่าเพลงท่ีมเี สียงดงั และเบาต่างกนั สามารถส่อื อารมณ์ต่าง ๆ ได้ (K) 3. อภปิ รายลักษณะการถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลงทส่ี นใจได้ (K) 4. คิดประดษิ ฐ์ทา่ ทางเก่ียวกับเสียงดังและเบาได้ (K) 5. ปฏบิ ัติกิจกรรมดนตรดี ้วยความสนุกสนานและมน่ั ใจ (A) 6. นาบทเพลงไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ (P) 7. ปฏิบตั ทิ ่าทางที่คิดขน้ึ ตามระดบั เสยี งดังและเบาได้ (P) 8. นาเสนอผลงานโดยวธิ กี ารรอ้ งหรอื วิธกี ารอ่ืน ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม (P) การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นิยม (A) 1. สังเกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากความสนใจ 1. สังเกตจากพฤตกิ รรมขณะ แสดงความคิดเห็น และความกระตือรือรน้ ใน ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมรายบคุ คล 2. จากการตรวจแบบทดสอบ การปฏบิ ัติกจิ กรรม และปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกลมุ่ ก่อนเรียน 2. สงั เกตจากความรับผิดชอบ 2. สังเกตจากการปฏิบัติ 3. จากการตรวจการวัดและ และความมีระเบียบขณะ กิจกรรมไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ ประเมินผลการเรียนรู้ประจา ปฏบิ ัติกิจกรรม 3. สงั เกตจากความตั้งใจและ หนว่ ย 3. สงั เกตจากการยอมรับความ ปฏิบัติตามข้นั ตอน คิดเห็นของผอู้ ืน่ ขณะปฏบิ ัติ กจิ กรรม
สาระการเรียนรู้ · การถา่ ยทอดอารมณ์ของบทเพลง – จังหวะกับอารมณเ์ พลง – ความดงั เบากับอารมณ์เพลง – ความแตกตา่ งของอารมณ์เพลง กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ท่ี 1 ขนั้ นาเข้าส่บู ทเรียน 1. ใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพือ่ ประเมนิ ความรู้ 2. ครูเปิดเพลงทีม่ ีจงั หวะชา้ จังหวะปานกลาง จงั หวะเร็ว และเพลงทมี่ ีการใช้เสียงร้องหรือเสียงดนตรี ทีม่ ีความดงั –เบาแตกต่างกันไปให้นักเรียนฟัง แล้วถามนักเรียนว่าเพลงที่มีจังหวะและความดัง–เบาของเพลง แบบใดทีส่ ามารถถ่ายทอดอารมณ์สนกุ สนานไดด้ ี ใหน้ ักเรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ ขน้ั ท่ี 2 ขนั้ สอน 1. ครูนาเสนอเนอ้ื หาเร่ือง การถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง เกี่ยวกับจังหวะกับอารมณ์ของบทเพลง และความดัง–เบากับอารมณ์ของบทเพลง โดยอธิบายให้นักเรียนทราบถึงลักษณะของการถ่ายทอดอารมณ์ เพลงที่เกิดจากจังหวะและความดัง–เบาของบทเพลง แล้วเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถาม และอธิบายเพ่ิมเติม พร้อมทงั้ ยกตัวอยา่ ง 2. แบ่งนกั เรียนออกเป็น 2 กลุ่มเท่า ๆ กัน โดยกลุ่มที่ 1 ศึกษาเร่ืองการถ่ายทอดอารมณ์ของจังหวะ และกลุ่มท่ี 2 ศึกษาเรื่องการถ่ายทอดอารมณ์ของความดัง–เบาของเสียงดนตรี แล้วร่วมกันอภิปรายหน้าชั้น เรยี น 3. ครูตั้งคาถามนักเรียนว่าจังหวะแบบใดที่ส่ืออารมณ์เศร้าได้ดีท่ีสุด หรือเพลงท่ีมีการใช้ระดับเสียง แบบใดที่สามารถถ่ายทอดอารมณ์และความรู้สึกเศร้าได้ดีที่สุด เพ่ือเป็นการประเมินความเข้าใจของนักเรียน ให้นักเรียนช่วยกันตอบและแสดงความคดิ เห็น 4. ครูอธิบายเกี่ยวกับความแตกต่างของอารมณ์เพลง ว่ามีอารมณ์เพลงแบบใดบ้างท่ีเกิดจากความ ไพเราะของดนตรีหรอื บทเพลงตา่ ง ๆ แลว้ ใหน้ กั เรยี นช่วยกันยกตัวอยา่ งชื่อเพลงทร่ี ้จู ักพรอ้ มทัง้ บอกวา่ เพลงนั้น สอื่ หรือถ่ายทอดอารมณ์ใดออกมา ขนั้ ท่ี 3 ข้ันสรปุ นักเรียนรว่ มกันอภิปรายสรุปเร่ือง การถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง โดยครูคอยให้ความรู้เสริม ในสว่ นทน่ี กั เรยี นไมเ่ ขา้ ใจหรือสรุปไม่ตรงกบั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ 1. หอ้ งสมดุ 2. ห้องดนตรี 3. รายการประกวดขับร้องเพลงหรือดนตรีทางสถานโี ทรทัศน์ 4. บทเพลงประเภทต่าง ๆ 5. ใบกิจกรรม 6. สือ่ การเรยี นรู้ ดนตรี ชัน้ ม. 1 จากอนิ เตอร์เน็ท 7. หนงั สอื เรียนสาระการเรยี นรู้พนื้ ฐาน ดนตรี ชน้ั ม. 1 8. หนังสือแบบฝึกหัด ดนตรี ชัน้ ม. 1
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 7 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง การนาเสนอบทเพลงทต่ี นเองสนใจ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ รหัส ศ23102 วิชา ศิลปะ 3 ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 เวลาเรยี น 1 ชัว่ โมง ผู้สอน ครูนฤมล คลงั สนิ ค้า ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ัด มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ศ 2.1เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรอี ย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ คุณค่า ดนตรีถา่ ยทอดความรสู้ กึ ความคิด ตอ่ ดนตรอี ย่างอิสระ ช่ืนชม และประยกุ ต์ใช้ใน ชีวิตประจาวนั ตวั ชี้วัด มาตรฐาน ศ 2.1 ม.1/7 นาเสนอตัวอย่างเพลงที่ตนเองช่ืนชอบและอภปิ รายลกั ษณะเด่นที่ทาให้งาน นนั้ นา่ ชนื่ ชม สาระสาคัญ ในการนาเสนอบทเพลงที่ตนเองสนใจสามารถทาได้หลายวิธี เช่น การร้องเพลง การบรรเลงเครื่อง ดนตรี การนาเพลงมาอภิปราย และวิธีการอ่ืน ๆ ซ่ึงจาเป็นจะต้องมีความเข้าใจในลักษณะเด่นของบทเพลงท่ี ตนเองสนใจดว้ ย จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อภิปรายลกั ษณะเด่นของบทเพลงทน่ี าเสนอได้ (K) 2. ปฏิบตั กิ ิจกรรมดนตรีด้วยความสนกุ สนานและม่นั ใจ (A) 3. รอ้ งเพลงหรือเล่นดนตรีประกอบการรอ้ งเพลงได้ (P) การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นยิ ม (A) 1. สงั เกตจากพฤตกิ รรมขณะ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมรายบุคคล 1. สังเกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความสนใจและ และปฏิบตั กิ จิ กรรมกลุม่ แสดงความคิดเห็น ความกระตอื รือร้นในการ 2. สงั เกตจากการปฏิบตั ิ กจิ กรรมได้อย่างคล่องแคลว่ 2. จากการตรวจการวดั และ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 3. สังเกตจากความตง้ั ใจและ ประเมนิ ผลการเรียนรปู้ ระจา 2. สงั เกตจากความรับผดิ ชอบ ปฏบิ ตั ิตามข้ันตอน หนว่ ย และความมรี ะเบยี บขณะ 3. จากการตรวจใบกิจกรรม ปฏิบตั กิ ิจกรรม 3. สังเกตจากการยอมรบั ความ คิดเห็นของผอู้ ่ืนขณะปฏบิ ตั ิ กจิ กรรม 5. สาระการเรียนรู้ การนาเสนอบทเพลงที่ตนเองสนใจ
กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขั้นท่ี 1 ขัน้ นาเข้าสบู่ ทเรยี น ครขู อตวั แทนนกั เรยี นออกมารอ้ งเพลงหน้าชน้ั เรียน 1 เพลง แล้วสัมภาษณ์นักเรียนว่า เพลงท่ีร้องชื่อ เพลงอะไร มลี ักษณะเด่นท่ใี ด และทาไมจึงเลอื กรอ้ งเพลงน้ี ข้ันท่ี 2 ขัน้ สอน 1. ครูนาเสนอเนื้อหาเร่ือง การนาเสนอบทเพลงท่ีตนเองสนใจ เกี่ยวกับลักษณะเด่นของเพลงท่ีเรา ต้องการนาเสนอในด้านของเนื้อหา ด้านแนวเพลง และด้านองค์ประกอบดนตรีให้นักเรียนฟังว่ามีลักษณะ อย่างไร 2. ครูยกตัวอย่างเพลง 1 เพลงที่มีลักษณะเด่นของเพลงตามลักษณะเด่นด้านเนื้อหา ด้านแนวเพลง และดา้ นองคป์ ระกอบดนตรี และอธบิ ายใหน้ ักเรียนเข้าใจ พร้อมท้ังเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นซักถามในสงิ่ ท่ีสงสัย 3. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 4–5 คน ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันเลือกเพลงท่ีกลุ่มสนใจ 1 เพลง แล้ว ช่วยกนั บอกลักษณะเด่นของเพลง โดยเขยี นลงในกระดาษตามหัวข้อดงั น้ี - ช่อื เพลง - ลักษณะเดน่ ดา้ นเนือ้ หา - ลกั ษณะเด่นด้านแนวเพลง - ลกั ษณะเดน่ ด้านองค์ประกอบดนตรี 4. ให้แต่ละกลมุ่ ออกมานาเสนอผลงานหน้าชัน้ เรยี น และให้ตวั แทนหรือกลุ่มร้องเพลงใหเ้ พื่อน ๆ ฟงั ขั้นที่ 3 ขนั้ สรปุ ให้นักเรียนร่วมกันสรุปเร่ือง การนาเสนอบทเพลงท่ีตนเองสนใจ โดยครูคอยให้ความรู้เสริมในส่วนที่ นกั เรยี นไม่เขา้ ใจหรือสรุปไมต่ รงกับจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ขนั้ ที่ 4 ฝึกฝนผเู้ รียน ใหน้ กั เรยี นปฏิบตั ิ กิจกรรม นาเสนอบทเพลงท่ตี นเองสนใจ แล้วนาเสนอผลงานหน้าชน้ั เรียนทลี ะคน ขั้นที่ 5 การนาไปใช้ นักเรียนสามารถนาความรู้เร่ือง การนาเสนอบทเพลงที่ตนเองสนใจ ไปใช้ในเลือกเพลงท่ีมี ลกั ษณะเดน่ ตรงตามลักษณะเด่นด้านเน้ือหา ด้านแนวเพลง และด้านองคป์ ระกอบดนตรี เพ่ือนามาขับร้องหรือ บรรเลงใหผ้ ู้อ่นื ฟังไดอ้ ยา่ งไพเราะและมคี วามหมาย ส่อื /แหล่งการเรียนรู้ 1. ห้องสมุด 2. ห้องดนตรี 3. รายการประกวดขับรอ้ งเพลงหรอื ดนตรีทางสถานโี ทรทศั น์ 4. บทเพลงประเภทต่าง ๆ 5. ใบกจิ กรรม 6. สื่อการเรยี นรู้ ดนตรี ชัน้ ม. 1 จากอินเตอรเ์ น็ท 7. หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน ดนตรี ช้ัน ม. 1 8. หนงั สอื แบบฝกึ หัด ดนตรี ชน้ั ม. 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 2 เรื่อง วิเคราะห์องค์ประกอบดนตรี กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ รหัส ศ23102 วิชา ศลิ ปะ 3 ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 2 เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง ผู้สอน ครูนฤมล คลงั สนิ คา้ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ 2.1เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรอี ยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่า ดนตรถี า่ ยทอดความรสู้ กึ ความคิด ต่อดนตรอี ย่างอสิ ระ ช่นื ชม และประยกุ ต์ใชใ้ น ชวี ิตประจาวนั ตวั ชีว้ ัด มาตรฐาน ศ 2.1 ม.1/8 ใช้เกณฑส์ าหรบั ประเมนิ คุณภาพงานดนตรีหรือเพลงทฟ่ี งั สาระสาคญั บทเพลงแต่ละเพลงมีความไพเราะทีแ่ ตกต่างกันไปตามลกั ษณะของการสร้างสรรค์และจนิ ตนาการของ ผู้ประพันธ์ แตก่ ็มีเกณฑใ์ นการประเมินคุณภาพของบทเพลงหรือดนตรีท่ีฟังเช่นกัน คือ เกณฑ์ในการประเมิน คณุ ภาพด้านของเนอ้ื หา คณุ ภาพด้านเสียง และคุณภาพด้านองคป์ ระกอบดนตรี จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. ประเมนิ คณุ ภาพของบทเพลงดา้ นเนอ้ื หา ดา้ นเสียง และด้านองค์ประกอบดนตรไี ด้ (K) 2. ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมดนตรีดว้ ยความสนุกสนานและมัน่ ใจ (A) 3. ใชเ้ กณฑ์สาหรบั ประเมินคุณภาพงานดนตรีหรือเพลงที่ฟังไดอ้ ยา่ งเหมาะสม (P) การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) และค่านยิ ม (A) 1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความสนใจและ 1. สงั เกตพฤตกิ รรมขณะปฏิบัติ แสดงความคิดเหน็ ความกระตอื รือรน้ ในการ กิจกรรมรายบคุ คล และ 2. จากการตรวจการวัดและ ปฏิบัติกจิ กรรม ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมกลุ่ม ประเมนิ ผลการเรยี นรปู้ ระจา 2. สังเกตจากความรบั ผดิ ชอบ 2. สงั เกตการปฏิบัติกิจกรรมได้ หน่วย และความมรี ะเบยี บขณะ อยา่ งคลอ่ งแคล่ว 3. จากการตรวจแบบทดสอบ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 3. สงั เกตความตง้ั ใจและปฏบิ ัติ หลงั เรียน 3. สังเกตจากการยอมรับความ ตามขน้ั ตอน 4. จากการตรวจใบกิจกรรม คดิ เหน็ ของผอู้ ืน่ ขณะปฏิบัติ 4. ประเมินพฤตกิ รรมตามแบบ กิจกรรม การประเมนิ ผลดา้ นทกั ษะ/ 4. ประเมินพฤตกิ รรมตามแบบ กระบวนการ การประเมนิ ผลด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ ม
สาระการเรยี นรู้ การประเมนิ คุณภาพของบทเพลง – คณุ ภาพด้านเนอื้ หา – คณุ ภาพด้านเสียง – คณุ ภาพด้านองค์ประกอบดนตรี กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ขนั้ ท่ี 1 ข้ันนาเขา้ สู่บทเรยี น ครเู ปดิ เพลงใหน้ กั เรียนฟัง 1 เพลง แล้วถามนกั เรียนว่า เพลงท่ีครเู ปดิ นนั้ มีความไพเราะหรอื ไม่ และ นกั เรยี นทราบได้อย่างไร ใหน้ ักเรียนรว่ มกนั ตอบเพอื่ ประเมินความรู้กอ่ นเรยี นของนกั เรยี น ขน้ั ท่ี 2 ขัน้ สอน 1. ครนู าเสนอเน้ือหาเรอื่ ง การประเมนิ คุณภาพของบทเพลง โดยอธิบายเกี่ยวกับความไพเราะ ว่าเป็น ส่ิงที่เกิดขึ้นภายในความรสู้ ึกของแต่ละบุคคล แต่ก็มีเกณฑ์ในการประเมินคุณภาพของบทเพลงหรือดนตรีที่ฟัง เช่นกัน คือ เกณฑ์ในการประเมินคุณภาพด้านของเนื้อหา คุณภาพด้านเสียง และคุณภาพด้านองค์ประกอบ ดนตรี โดยใหน้ ักเรยี นดเู นือ้ หาในหนังสือเรยี นประกอบ 2. ครูถามนักเรียนว่าเพลงท่ีนักเรียนคิดว่าดีมีคุณภาพ ควรจะมีเน้ือหาของเพลง เสียงร้องหรือเสียง ของเครื่องดนตรี และลักษณะของการใช้องค์ประกอบดนตรีเป็นอย่างไร ตามลาดับ ให้นักเรียนช่วยกันตอบ และแสดงความคิดเหน็ 3. ครยู กตวั อย่างเพลงท่ีเปิดใหน้ ักเรียนฟังหรือใหน้ ักเรียนร่วมยกตัวอย่าง 1 เพลง แล้วอธิบายคุณภาพ ของเพลงท้งั 3 ด้านใหน้ ักเรียนเขา้ ใจยิง่ ขน้ึ แล้วเปิดโอกาสให้นักเรยี นซกั ถาม ข้นั ท่ี 3 ข้ันสรุป นกั เรียนรว่ มกันอภิปรายสรุปเรื่อง การประเมินคุณภาพของบทเพลง โดยครูคอยให้ความรู้เสริม ในสว่ นทนี่ กั เรียนไมเ่ ข้าใจหรอื สรุปไม่ตรงกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ 1. หอ้ งสมดุ 2. ห้องดนตรี 3. รายการประกวดขับรอ้ งเพลงหรือดนตรีทางสถานโี ทรทศั น์ 4. เพลงประเภทตา่ ง ๆ 5. เครอ่ื งดนตรีประเภทตา่ ง ๆ 6. ใบกจิ กรรม 7. สอื่ การเรียนรู้ ดนตรี ชั้น ม. 1 8. หนงั สือเรยี นรายวิชาพื้นฐาน ดนตรี ชั้น ม. 1
แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 9 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 3 เรื่อง ดนตรกี ับมรดกทางวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ รหัส ศ23102 วิชา ศลิ ปะ 3 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง ผูส้ อน ครูนฤมล คลงั สินค้า ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ศ 2.2เข้าใจความสมั พนั ธร์ ะหว่างดนตรี ประวตั ศิ าสตรแ์ ละวัฒนธรรม เหน็ คุณคา่ ของดนตรี ที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล ตวั ช้ีวัด มาตรฐาน ศ 2.2 ม. 1/2 ระบุความหลากหลายขององคป์ ระกอบดนตรีในแต่ละวฒั นธรรม สาระสาคญั องค์ประกอบของดนตรไี ม่ว่าจะเป็นดนตรีไทย ดนตรีสากล หรือดนตรีพื้นบ้าน ต่างก็มีบทบาทหน้าท่ี และมคี วามสาคญั ในแตล่ ะวัฒนธรรม ซง่ึ มสี ่วนทาใหเ้ กดิ เป็นบทเพลงหรือเกิดเป็นดนตรที ่ีมคี วามไพเราะ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ระบคุ วามหลากหลายขององคป์ ระกอบดนตรีในแตล่ ะวัฒนธรรมได้ (K) 2. วิเคราะหค์ วามแตกต่างของเพลงในการเลือกใช้องคป์ ระกอบของดนตรีได้ (K) 3. ปฏิบตั ิกิจกรรมด้วยความซื่อสัตยแ์ ละความรบั ผิดชอบ (A) 4. ปฏิบตั ิกจิ กรรมด้วยความสนกุ สนานเพลิดเพลินและมั่นใจ (A) 5. เห็นความสาคัญและประโยชน์ขององค์ประกอบดนตรใี นแตล่ ะวัฒนธรรม (A) 6. เปรยี บเทยี บความแตกต่างระหว่างองคป์ ระกอบดนตรตี า่ ง ๆ ได้ (P) 7. สบื ค้นขอ้ มูลเพลงหรือดนตรีไดต้ รงตามลกั ษณะขององค์ประกอบดนตรี (P) 8. รอ้ งเพลงหรอื นาเสนอผลการวเิ คราะห์ดว้ ยวิธีการต่าง ๆ ได้ (P) การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ด้านความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) และค่านยิ ม (A) 1. สงั เกตจากพฤติกรรมขณะ ปฏิบัติกิจกรรมรายบคุ คล 1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากความสนใจและ และปฏบิ ตั กิ จิ กรรมกลุม่ แสดงความคิดเห็น ความกระตอื รอื รน้ ในการ 2. สงั เกตจากการปฏิบัติ กจิ กรรมได้อยา่ ง 2. จากการตรวจการวดั และ ปฏิบัตกิ ิจกรรม คลอ่ งแคล่ว ประเมินผลการเรยี นรปู้ ระจา 2. สังเกตจากความรับผิดชอบ 3. สังเกตจากความต้งั ใจและ ปฏิบัติตามขั้นตอน หนว่ ย และความมรี ะเบยี บขณะ 3. จากการตรวจแบบทดสอบ ปฏิบตั กิ ิจกรรม ก่อนเรยี น 3. สังเกตจากการยอมรบั ความ 4. จากการตรวจใบกิจกรรม คดิ เห็นของผู้อ่นื ขณะปฏบิ ัติ กิจกรรม
สาระการเรียนรู้ องคป์ ระกอบของดนตรใี นแตล่ ะวฒั นธรรม กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขนั้ ที่ 1 ขัน้ นาเข้าส่บู ทเรยี น 1. นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียนเพ่ือประเมนิ ความรู้ 2. ครูสนทนาซกั ถามนักเรียนว่ารจู้ กั องค์ประกอบดนตรีของดนตรไี ทย องคป์ ระกอบดนตรขี องดนตรี สากล และองค์ประกอบดนตรขี องดนตรีพ้นื บ้านอะไรบ้าง แลว้ ใหน้ กั เรียนช่วยกนั ตอบและร่วมกัน แสดงความคดิ เหน็ ขน้ั ที่ 2 ขนั้ สอน 1. ครนู าเสนอเนื้อหาเร่ือง องคป์ ระกอบของดนตรใี นแตล่ ะวฒั นธรรม เก่ยี วกบั องคป์ ระกอบดนตรีไทย องค์ประกอบดนตรสี ากล และองค์ประกอบดนตรีพืน้ บา้ น ว่าประกอบไปด้วยองคป์ ระกอบใด และ มีความสาคัญต่อบทเพลงหรอื ดนตรอี ย่างไร 2. ครแู บง่ นักเรยี นออกเป็น 3 กล่มุ ใหแ้ ต่ละกล่มุ ศกึ ษาความรเู้ รอื่ งองคป์ ระกอบของดนตรีในแต่ละ วัฒนธรรม ดงั น้ี · กล่มุ ท่ี 1 เรื่อง องค์ประกอบของดนตรไี ทย · กลุ่มที่ 2 เร่อื ง องคป์ ระกอบของดนตรสี ากล · กลุ่มที่ 3 เรอ่ื ง องค์ประกอบของดนตรีพนื้ บ้าน 3. ให้แต่ละกลมุ่ ออกมาอภิปรายลักษณะเดน่ ของเร่ืองทกี่ ล่มุ ได้ไปศกึ ษาคน้ คว้าให้ครูและเพื่อน ๆ ใน ช้ันเรยี นฟัง แล้วรว่ มกนั แลกเปล่ียนแสดงความคิดเหน็ ขั้นที่ 3 ขน้ั สรปุ ใหน้ กั เรยี นรว่ มกันสรปุ เรอื่ ง องค์ประกอบของดนตรใี นแตล่ ะวัฒนธรรม โดยครคู อยให้ความรู้ เสริมในสว่ นที่นักเรียนไมเ่ ขา้ ใจหรอื สรปุ ไม่ตรงกบั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 1. เพลงไทย เพลงไทยสากล เพลงสากล และเพลงพ้ืนบ้าน 2. ใบกิจกรรม 3. หอ้ งสมุด 4. หอ้ งดนตรี 5. ผู้รู้ด้านดนตรปี ระเภทต่าง ๆ ในชมุ ชน 6. สอื่ การเรยี นรู้ ดนตรี ชน้ั ม. 1 จากอนิ เตอร์เนท็ 7. หนังสือเรยี นรายวิชาพนื้ ฐาน ดนตรี ช้ัน ม. 1 8. หนงั สือแบบฝึกหดั ดนตรี ช้ัน ม. 1
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 10 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 3 เรอ่ื ง ดนตรีกบั มรดกทางวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ รหสั ศ23102 วิชา ศลิ ปะ 3 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง ผู้สอน ครูนฤมล คลังสนิ ค้า ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัด มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งดนตรี ประวตั ิศาสตรแ์ ละวฒั นธรรม เหน็ คณุ ค่าของ ดนตรที ี่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ภูมปิ ัญญาไทยและสากล ตัวช้วี ัด มาตรฐาน ศ 2.2 ม. 1/1อธบิ ายบทบาทความสมั พันธ์และอิทธพิ ลของดนตรที ่มี ตี ่อสังคมไทย สาระสาคัญ ดนตรีหรือบทเพลงมีบทบาทสาคัญและมีอิทธิพลต่อสังคมไทย เช่น ใช้เพ่ือการผ่อนคลาย ความเครียด ใชใ้ นงานรน่ื เรงิ ใชป้ ระกอบกิจกรรมการแสดงต่าง ๆ ใช้ในพิธีการ ใชป้ ระกอบพิธกี รรมทางศาสนา เป็นต้น ดงั นั้นดนตรจี ึงเปน็ สิง่ ทมี่ ีคุณค่าและมปี ระโยชน์ต่อมนษุ ย์ ตวั ชี้วดั ชน้ั ปี อธบิ ายบทบาทความสมั พันธแ์ ละอิทธพิ ลของดนตรีทมี่ ตี อ่ สงั คมไทย (ศ 2.2 ม. 1/1) จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายบทบาทความสัมพันธ์และอทิ ธิพลของดนตรีทม่ี ตี ่อสงั คมไทยได้ (K) 2. อธบิ ายบทบาทความสมั พนั ธแ์ ละอทิ ธพิ ลของดนตรีทม่ี ีตอ่ สังคมหรือชมุ ชนของตนเองได้ (K) 3. เห็นคณุ คา่ ของความสัมพนั ธแ์ ละอทิ ธพิ ลของดนตรที ่ีมีตอ่ สังคมหรอื ชุมชนของตนเอง (A) 4. ปฏิบตั กิ จิ กรรมดว้ ยความซ่อื สัตยแ์ ละความรบั ผิดชอบ (A) 5. ประยุกต์ใชด้ นตรรี ว่ มกบั กิจกรรมในชีวิตประจาวันของตนเองและครอบครัวได้ (P) 4. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) และค่านยิ ม (A) 1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความสนใจและ 1. สงั เกตจากพฤติกรรมขณะ แสดงความคิดเห็น ความกระตอื รอื รน้ ในการ ปฏิบัติกิจกรรมรายบุคคล 2. จากการตรวจการวดั และ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม และปฏิบตั ิกิจกรรมกลมุ่ ประเมนิ ผลการเรยี นรปู้ ระจา 2. สังเกตจากความรับผดิ ชอบ 2. สงั เกตจากการปฏิบตั ิ หน่วย และความมรี ะเบียบขณะ กิจกรรมไดอ้ ย่างคลอ่ งแคล่ว 3. จากการตรวจแบบทดสอบ ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม 3. สงั เกตจากความตั้งใจและ หลังเรียน 3. สงั เกตจากการยอมรับความ ปฏิบตั ิตามขนั้ ตอน 4. จากการตรวจใบกิจกรรม คิดเหน็ ของผอู้ นื่ ขณะปฏบิ ตั ิ 4. ประเมินพฤตกิ รรมตามแบบ กจิ กรรม การประเมนิ ผลดา้ นทกั ษะ/ 4. ประเมินพฤติกรรมตามแบบการ กระบวนการ ประเมินผลดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ ม
5. สาระการเรยี นรู้ · บทบาทและอิทธิพลของดนตรี – บทบาทดนตรีในสังคม – อิทธพิ ลของดนตรีในสังคม กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขัน้ ที่ 1 ขั้นนาเข้าส่บู ทเรยี น ครูสนทนาซักถามนักเรียนว่า ในชีวิตประจาวันของนักเรียนมีการนาดนตรีหรือบทเพลงมาใช้ใน กิจกรรมใดบ้าง ครูสุ่มเลือกตัวแทนนักเรียนตอบคาถามพร้อมท้ังแสดงความคิดเห็นให้เพื่อน ๆ ในห้อง ฟงั หลังจากนัน้ ครยู กตัวอยา่ งการนาดนตรหี รือบทเพลงไปใช้ในชีวิตประจาวัน 1–2 ตัวอย่าง เพื่อให้นักเรียน เขา้ ใจยิ่งขึ้น เชน่ การฟงั เพลงระหว่างรอรถรบั ส่งนกั เรียน การเต้นแอโรบิกตามจังหวะดนตรี เป็นตน้ ข้นั ท่ี 2 ข้นั สอน 1. ครูนาเสนอเน้ือหาเร่ือง บทบาทและอิทธิพลของดนตรี โดยอธิบายเกี่ยวกับบทบาทของดนตรีใน สงั คมท่ีเราสามารถพบเห็นในปัจจุบัน เช่น การใช้ดนตรีเพื่อผ่อนคลายความเครียด การใช้ดนตรีในงานรื่นเริง การใช้ดนตรีประกอบกิจกรรมการแสดงต่าง ๆ การใช้ดนตรีในพิธีการ การใช้ดนตรีประกอบพิธีกรร มทาง ศาสนา เปน็ ตน้ โดยใหน้ ักเรียนดูเนื้อหาในหนงั สอื เรยี นประกอบ 2. ครูสนทนาซกั ถามนกั เรยี นเกี่ยวกับบทบาทของดนตรีในชุมชนของนักเรียน ที่เคยเห็นการใช้ดนตรี ในกิจกรรมต่าง ๆ และใหน้ ักเรยี นช่วยกนั ยกตัวอย่าง ขนั้ ท่ี 3 ขั้นสรุป ให้นักเรียนร่วมกันสรุปเร่ือง บทบาทและอิทธิพลของดนตรี โดยครูคอยให้ความรู้เสริมในส่วนท่ี นกั เรียนไม่เข้าใจหรือสรปุ ไมต่ รงกบั จุดประสงค์การเรียนรู้ สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ 1. กจิ กรรมการแสดงดนตรีในชมุ ชน 2. บทเพลงและวงดนตรีตา่ ง ๆ 3. ใบกิจกรรม 4. ห้องสมุด
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 11 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 4 เรื่อง การปฏบิ ตั ิเครื่องดนตรีไทย กลมุ่ /รายบุคคล กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ รหสั ศ23102 วิชา ศลิ ปะ 3 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 เวลาเรยี น 1 ชัว่ โมง ผสู้ อน ครูนฤมล คลงั สินค้า ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างดนตรี ประวตั ิศาสตรแ์ ละวัฒนธรรม เห็นคุณคา่ ของ ดนตรที เ่ี ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ภมู ิปัญญาไทยและสากล ตวั ชวี้ ัด มาตรฐาน ศ 2.2 ม.1/2 ระบคุ วามหลากหลายขององคป์ ระกอบดนตรใี นแต่ละวฒั นธรรม สาระสาคญั องค์ประกอบของดนตรีไม่ว่าจะเป็นดนตรีไทย ดนตรีสากล หรือดนตรีพ้ืนบ้าน ต่างก็ต้องมีทานอง และจังหวะเป็นองค์สาคัญ และส่ิงท่ีใช้ในการจดบันทึกทานองและจังหวะ คือ โน้ตดนตรี หรือเรียกกัน โดยทั่วไปว่า โน้ต มีความหมายได้สองทาง หมายถึงสัญลักษณ์ต่างๆ ท่ีใช้ในการนาเสนอ ระดับ เสียง (pitch) และความยาวของเสียงใน ทางดนตรี หรือหมายถึงตัวเสียงเองที่เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ เหล่าน้ัน โน้ตดนตรีแต่ละเสียงจะมีช่ือเรียกประจาของมันเอง เช่น โด-เร-มี-ฟา-ซอล-ลา-ที แทนโน้ต ดนตรี การนาโนต้ มารอ้ ยเรยี งทาให้เกิดเปน็ บทเพลงหรือเกิดเป็นดนตรีท่ีมีความไพเราะ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. ระบคุ วามหลากหลายของโนต้ ดนตรีในวฒั นธรรมดนตรไี ทยได้ (K) 2. วิเคราะห์ความแตกตา่ งของโน้ตตนตรไี ทยกับโน้ตดนตรีประเภทอื่นได้ (K) 3. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมด้วยความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ (A) 4. ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมดว้ ยความสนุกสนานเพลิดเพลนิ และมัน่ ใจ (A) 5. เหน็ ความสาคัญและประโยชนข์ องโนต้ ในองคป์ ระกอบดนตรใี นแต่ละวฒั นธรรม (A) 6. เปรียบเทียบความแตกตา่ งระหว่างโนต้ ดนตรตี า่ ง ๆ ได้ (P) 7. สืบค้นขอ้ มูลเพลงหรือดนตรีได้ตรงตามลกั ษณะขององคป์ ระกอบดนตรี (P) 8. รอ้ งเพลงหรือนาเสนอผลการวเิ คราะหด์ ว้ ยวิธกี ารต่าง ๆ ได้ (P) การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (K) ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นยิ ม (A) 1. สังเกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความสนใจและ 1. สังเกตจากพฤติกรรมขณะ แสดงความคิดเหน็ ความกระตอื รอื ร้นในการ ปฏิบตั ิกจิ กรรมรายบคุ คล 2. จากการตรวจการวดั และ ปฏิบตั ิกจิ กรรม และปฏิบัตกิ ิจกรรมกล่มุ ประเมนิ ผลการเรยี นร้ปู ระจา 2. สังเกตจากความรบั ผิดชอบ 2. สงั เกตจากการปฏิบตั ิ หน่วย และความมรี ะเบียบขณะ กจิ กรรมไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ 3. จากการตรวจแบบทดสอบ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 3. สงั เกตจากความตัง้ ใจและ กอ่ นเรียน 3. สงั เกตจากการยอมรบั ความ ปฏิบตั ติ ามข้นั ตอน 4. จากการตรวจใบกิจกรรม คิดเห็นของผอู้ ่นื ขณะปฏิบตั ิ กิจกรรม
สาระการเรยี นรู้ องค์ประกอบของดนตรใี นแตล่ ะวัฒนธรรม การอา่ นโน้ตดนตรีไทย ในระดับอตั ราจงั หวะสองช้นั กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ขน้ั ที่ 1 ขัน้ นาเข้าสู่บทเรียน 1. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี นเพอ่ื ประเมินความรู้ 2. ครสู นทนาซักถามนกั เรยี นวา่ รูจ้ ักโนต้ ดนตรีของดนตรีไทย โน้ตดนตรีของดนตรีสากล และโน้ต ดนตรขี องดนตรพี ืน้ บ้านอะไรบา้ ง แล้วใหน้ ักเรยี นช่วยกนั ตอบและรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ ขั้นที่ 2 ข้นั สอน 1. ครนู าเสนอเน้อื หาเรือ่ ง โนต้ ดนตรใี นแต่ละวฒั นธรรม เกยี่ วกับโน้ตดนตรไี ทย โนต้ ดนตรสี ากล และ โน้ตดนตรพี ้ืนบา้ น ว่าประกอบไปดว้ ยองค์ประกอบใด และมคี วามสาคญั ตอ่ บทเพลงหรอื ดนตรี อยา่ งไร 2. ครแู บง่ นกั เรียนออกเป็น 3 กลุ่ม ใหแ้ ต่ละกลมุ่ ศกึ ษาความรเู้ รอ่ื งองค์ประกอบของดนตรีในแต่ละ วัฒนธรรม ดงั นี้ กลมุ่ ท่ี 1 เรอ่ื ง โน้ตของดนตรีไทย กลมุ่ ท่ี 2 เรื่อง โนต้ ของดนตรีสากล · กลมุ่ ที่ 3 เรือ่ ง โนต้ ของดนตรีพ้ืนบ้าน 3. ให้แต่ละกลุม่ ออกมาอภปิ รายลักษณะเด่นของเรอื่ งทกี่ ลมุ่ ได้ไปศกึ ษาค้นควา้ ให้ครูและ เพ่ือน ๆ ในชนั้ เรยี นฟัง แล้วรว่ มกันแลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็น ขน้ั ท่ี 3 ขน้ั สรุป ใหน้ กั เรยี นร่วมกันสรุปเร่อื ง โนต้ ของดนตรีในแต่ละวฒั นธรรม โดยครูคอยให้ความรเู้ สริมในส่วนที่ นักเรยี นไม่เขา้ ใจหรอื สรปุ ไมต่ รงกับจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้ 1. เพลงไทย เพลงไทยสากล เพลงสากล และเพลงพน้ื บ้าน 2. ใบกจิ กรรม 3. หอ้ งสมุด 4. สื่อการเรยี นรู้ ดนตรี ชัน้ ม. 1 จากอินเตอร์เน็ท 5. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐาน ดนตรี ชัน้ ม. 1 6. หนงั สือแบบฝึกหดั ดนตรี ช้ัน ม. 1
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 12 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 เรอ่ื ง โน้ตเพลงดนตรีไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหสั ศ23102 วิชา ศิลปะ 3 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 เวลาเรยี น 1 ชัว่ โมง ผ้สู อน ครูนฤมล คลงั สนิ คา้ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ คุณค่าดนตรถี ่ายทอดความรสู้ ึก ความคิด ตอ่ ดนตรอี ย่างอสิ ระ ชน่ื ชม และ ประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวัน ตัวช้ีวัด มาตรฐาน ศ2.1 ม.1/1 อา่ น เขยี น ร้องโน้ตไทย และโน้ตสากล (โน้ตเพลงไทย) จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายวธิ ีการอ่านโน้ตเพลงไทย (K) 2. อ่าน เขยี น รอ้ งโน้ตเพลงไทย (P) 3. เหน็ ประโยชน์ของการฝกึ อ่าน เขียน ร้องโนต้ เพลงไทย (A) สาระสาคัญ การอ่านโนต้ เพลงไทย มีวธิ ีอ่านเหมอื นกบั การอ่านหนงั สือ คอื จะเร่มิ จากซา้ ยไปขวา อ่านจากห้องที่ 1 ไปจนถงึ หอ้ งท่ี 8 ในแต่ละหอ้ งอยา่ งสม่าเสมอ และการอา่ นโนต้ เพลงไทยจะใชก้ ารเคาะจังหวะท่ีโน้ตท้ายหอ้ ง แทนเสียงฉ่งิ และฉับจะทาให้เข้าใจบทเพลงงา่ ยขน้ึ สาระการเรยี นรู้ ความรู้ ( Knowladge :K ) 1. การอา่ นโนต้ เพลงไทยและสากล : โน้ตบทเพลงไทย ทกั ษะ/กระบวนการ (Process : P) 1. การใหเ้ หตุผล 2. การปฏบิ ัติ 3. การสรุปความรู้ 4. การนาไปประยุกต์ใช้ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) 1. ใฝ่เรยี นรู้ 2. มุ่งมนั่ ในการทางาน 3. รกั ความเปน็ ไทย ชน้ิ งาน/ภาระงาน ใบงาน เรอ่ื ง การเขียนโน้ตเพลงและรอ้ งเพลงพม่าเขว หรือ เพลงพม่ากลองยาว
การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 1. วธิ กี ารวัดและประเมินผล 1.1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในการเข้ารว่ มกจิ กรรม 1.2 สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ 1.3 ตรวจใบงานที่ 3 2. เครือ่ งมือ 2.1 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม 2.2 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ 3. เกณฑ์การประเมิน 3.1 การประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คะแนน 9 -10 ระดับ ดีมาก คะแนน 7 - 8 ระดบั ดี คะแนน 5 - 6 ระดับ พอใช้ คะแนน 0- 4 ระดบั ปรับปรุง กิจกรรมการเรียนรู้ ขนั้ นา 1. ให้นกั เรียนแสดงความคิดเหน็ โดยครใู ช้คาถามท้าทาย ดังน้ี ๏ นกั เรียนคดิ วา่ โน้ตมคี วามสาคัญทางดนตรีอย่างไรบ้าง 2. ครูรว่ มสนทนากบั นักเรยี นเกีย่ วกับการอา่ นโนต้ โดยครูใช้คาถาม ดงั น้ี ๏ ตวั โน้ต คืออะไร ๏ (คาตอบ สญั ลักษณท์ ี่ใชบ้ นั ทึกแทนเสียงโน้ตดนตรี) ใหต้ วั แทนนักเรยี นหรอื นักดนตรไี ทยของโรงเรียนอา่ นโนต้ ออกมาอธบิ ายการอ่านโน้ตให้เพือ่ นฟงั ขนั้ สอน 1. ครอู ธบิ ายวธิ กี ารอ่านโนต้ ไทยให้นักเรยี นฟงั วา่ การอ่านโนต้ เพลงไทยจะมีวธิ ีอา่ นเหมอื นกบั การอา่ น หนังสือ คือจะเริม่ อา่ นจากซา้ ยไปขวา อ่านจากห้องท่ี 1 ไปจนถึงห้องที่ 8 ในแต่ละห้องอย่าง สมา่ เสมอ ละการอา่ นโนต้ เพลงไทยจะใช้การเคาะจงั หวะทีโ่ นต้ ทา้ ยหอ้ งแทนเสยี งฉง่ิ และฉับ จะทา ใหเ้ ขา้ ใจบทเพลงยง่ิ ขึน้ 2. ครูนาโน้ตบทเพลงไทยท่มี อี ัตราจังหวะสองช้นั เพลงพมา่ เขว และเพลงพมา่ กลองยาวหรือเพลงอนื่ ๆ ให้ นกั เรียนดู ใหน้ กั เรียนสงั เกตโน้ตเพลง จากนน้ั ครอู ธบิ ายใหน้ ักเรียนฟังวา่ โน้ตเพลงทีน่ ามา แสดงเปน็ ตวั อยา่ งนี้ เปน็ โนต้ เพลงไทยอตั ราจงั หวะสองช้นั ครอู ธิบายความหมายของโนต้ เพลงไทย ในอตั ราจังหวะสองชนั้ ว่า อัตราจังหวะสองช้ัน คอื อัตราจงั หวะทม่ี คี วามเรว็ ปานกลาง ไมช่ า้ มาก และไม่เร็วมาก เป็นจังหวะที่ฟงั สบายๆใหค้ วามรู้สึกผอ่ นคลายซงึ่ บทเพลงไทยในอตั ราจังหวะสอง ช้ัน มีมากมายหลายบทเพลงทนี่ ามาใชบ้ รรเลงและการขบั ร้อง 3. ครอู ่านและร้องโน้ตบทเพลงไทย เพลงพมา่ เขว ให้นกั เรยี นฟงั 1รอบ แล้วให้นักเรยี นฝกึ อา่ นและ ร้องตาม 1 รอบ 4. ใหน้ ักเรยี นแบง่ กล่มุ ตามความเหมาะสมหรือตามท่คี รูจดั ให้เพอ่ื ฝึกอ่านและร้องโน้ตเพลงพมา่ เขว และเพลงพม่ากลองยาว หรือบทเพลงอ่ืนๆตามความเหมาะสม
5. ใหน้ ักเรยี นร่วมกนั แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับการอ่านโนต้ บทเพลงไทย โดยครใู ช้คาถาม ดังนี้ ๏ การเรียนรวู้ ธิ กี ารอ่านโนต้ บทเพลงไทย มีความสาคัญอย่างไร (คาตอบ ทาใหเ้ รามคี วามเข้าใจสัญลกั ษณท์ างดนตรี และสามารถแปลความหมายของ สัญลกั ษณ์เหล่าน้นั เพ่ือนามาใชใ้ นการขับร้องและบรรเลงดนตรีได้อยา่ งถูกตอ้ งแมน่ ยา) ข้ันสรุป 1. นกั เรียนและครูรว่ มกันสรุปความรู้ ดังนี้ การเรยี นรูว้ ธิ กี ารอ่านโนต้ เพลงไทย จะทาใหเ้ รามคี วาม เข้าใจ สัญลกั ษณ์ทางดนตรี และสามารถแปลความหมายของสัญลักษณเ์ หล่าน้นั เพอ่ื นามาใช้ในการ ขับรอ้ ง และการบรรเลงดนตรีไดอ้ ย่างถูกต้องแม่นยา สื่อการเรยี นรู้ /แหล่งการเรยี นรู้ 1. โทรทศั น์ 2. Laptop 3. ใบงานท่ี 3 4. โนต้ เพลงพม่าเขว และเพลงอ่นื ๆ
ช่ือ_________________________นามสกลุ ____________________ชั้น________เลขที่_______ ใบความรู้ หลักการอา่ นโนต้ ดนตรีไทยเบ้ืองต้น ในการเรียนดนตรีและการบรรเลงดนตรีไทย ปกติต้ังแต่สมัยโบราณมาไม่มีการใช้โน้ตจะใช้วิธีการ จดจาบทเพลงตา่ งๆ และส่อื สารต่อกันโดยการบรรเลงเครื่องดนตรี หรือการใช้ปากท่องทานอง หรือที่เรียกว่า การ นอย เพลง ซ่ึงจะทาให้นกั ดนตรีจดจาเพลงได้อย่างแม่นยา่ หากลืมเพลงแลว้ จะไม่สามารถทบทวนเพลงได้ ง่ายนัก ปัจจุบันมีผู้รู้ทางดนตรีไทยหลายท่านได้คิดสัญลักษณ์แทนเสียง ซ่ึงปัญญา รุ่งเรือง ได้กล่าวถึง หลักเกณฑข์ องโน้ตเพลงไทยไว้ดังนี้ 1. ตวั โน้ต ใชต้ ัวอักษรโดยยืมเสยี งของตัวโนต้ ในดนตรีสากลมาใช้ (แต่ระดบั เสียงและความหา่ งของ เสยี งไมเ่ ทา่ กัน) เพอ่ื ความสะดวก และเขยี นเป็นอักษรยอ่ ดังน้ี ด ใชแ้ ทนเสียง โด ร ใชแ้ ทนเสยี ง เร ม ใช้แทนเสียง มี ฟ ใช้แทนเสยี ง ฟา ซ ใช้แทนเสยี ง ซอล ล ใชแ้ ทนเสยี ง ลา ท ใชแ้ ทนเสยี ง ที ในกรณีทเ่ี ปน็ เสยี งสงู กจ็ ะใส่ จุด ไว้บนตัวโน้ต เช่น ด หมายถงึ โด สงู , 2. บรรทัดสาหรับเขียนโน้ต สาหรับวิธีการบันทึกโน้ตไทยนั้นจะบันทึกลงในตาราง โดยแบ่งออกเป็น บรรทัด บรรทัดละ 8 ช่องเรียกว่า “ห้อง” ในแต่ละห้องจะบรรจุโน้ตไว้ 4 ตัว ถ้าเป็นอัตราปานกลางหรือ จงั หวะสองชัน้ โน้ตตวั สุดท้ายของแต่ละหอ้ งจะเป็นโน้ต เสียงตกจังหวะซ่ึงในท่ีน้ีจะอธิบายเฉพาะการอ่านโน้ต แบบอัตราสองชั้นเป็นหลัก ฉิง่ ฉบั ฉ่ิง ฉับ ฉง่ิ ฉบั ฉิ่ง ฉับ 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 1234 นอกจากตัวโน้ตที่บันทกึ ลงในตารางแลว้ ยังมเี ครื่องหมาย – ซ่งึ ใช้แทนตวั โนต้ ดว้ ยขดี 1 ขีด (-) ใช้แทนโนต้ 1 ตวั แสดงการเพิม่ เสียงตวั โนต้ ท่อี ยู่ขา้ งหนา้ เคร่ืองหมาย ให้มีเสยี งยาวข้นึ ทงั้ น้คี วามยาวของเสียงจะมมี ากหรือน้อยขึ้นอยู่กบั จานวนขดี (-) ดงั น้ี ถ้ามี - มีคา่ ความยาวของเสียงเทา่ กับ 1/4 จังหวะ ถ้ามี - - มคี ่าความยาวของเสียงเทา่ กบั 2/4 จังหวะ ถา้ มี - - - มีคา่ ความยาวของเสียงเท่ากบั 3/4 จังหวะ ถา้ มี - - - - มีคา่ ความยาวของเสียงเทา่ กบั 4/4 จงั หวะ หรอื เทา่ กบั 1 จงั หวะ วิธกี ารอา่ นโน้ตไทยนน้ั จะใช้การเคาะจงั หวะทโี่ นต้ ทา้ ยห้อง แทนเสยี งฉิ่งฉบั ในอัตราสองชน้ั จะมโี นต้ ตวั สุดท้ายเปน็ เสยี งตกจงั หวะเสมอ เมอื่ กาหนดให้ 1 บรรทดั โนต้ เทา่ กับ 1 หนา้ ทับปรบไก่ ดังน้นั เม่ืออา่ นโน้ต อตั ราสองช้ัน ควรเคาะจงั หวะท่ีโนต้ หอ้ งสุดท้ายแทนเสยี งฉิง่ เสยี งฉับ สงั เกตท่ีตวั พิมพเ์ ข้าจะทาให้เข้าใจวิธกี าร บันทึกไดง้ ่ายขน้ึ สาหรบั การบันทึกโน้ตไทยโดยท่ัวไปจะบันทกึ ไว้ 8 ลกั ษณะทีพ่ บมากท่ีสดุ ดังน้ี
โนต้ แบบ 4 ตัว ตอ่ 1 หอ้ ง ฉิ่ง ฉับ ฉงิ่ ฉบั ฉิง่ ฉับ ฉงิ่ ฉบั ดดดด รรรร มมมม ฟฟฟฟ ซซซซ ลลลล ทททท ดดดด โนต้ แบบ 3 ตัว ตอ่ 1 หอ้ ง ฉงิ่ ฉับ ฉ่ิง ฉบั ฉง่ิ ฉับ ฉง่ิ ฉับ -ดดด -รรร -มมม -ฟฟฟ -ซซซ -ลลล -ททท -ดดด โนต้ แบบ 3 ตวั ฉ่ิง ฉบั ฉิ่ง ฉบั ฉง่ิ ฉบั ฉิง่ ฉับ ---ด ดด-ร รร-ม มม-ฟ ฟฟ-ซ ซซ-ล ลล-ท ทท-ด โน้ตแบบ 2 ตวั ตอ่ 1 ห้อง (ตวั ที่ 2 และตวั ที่ 4) ฉ่ิง ฉับ ฉงิ่ ฉบั ฉิ่ง ฉับ ฉง่ิ ฉับ -ด-ด -ร-ร -ม-ม -ฟ-ฟ -ซ-ซ -ล-ล -ท-ท -ด-ด โนต้ แบบ 2 ตัว ตอ่ 1 หอ้ ง (ตวั ท่ี 3 และตัวท่ี 4) ฉิ่ง ฉับ ฉงิ่ ฉับ ฉิ่ง ฉับ ฉ่งิ ฉับ --ดด --รร --มม --ฟฟ --ซซ --ลล --ทท --ดด โนต้ แบบ 2 ตวั ต่อ 1 หอ้ ง เป็นแบบจงั หวะยก (ตัวท่ี 1 และตวั ท่ี 2) ฉิ่ง ฉบั ฉ่งิ ฉบั ฉิ่ง ฉบั ฉิ่ง ฉบั ดด-- รร-- มม-- ฟฟ-- ซซ-- ลล-- ทท-- ดด-- ฉบั ฉง่ิ ฉับ ฉิง่ ฉับ โนต้ แบบ 1 ตวั ต่อ 1 หอ้ ง ฉิ่ง ฉบั ฉงิ่ ---ด ---ร ---ม ---ฟ ---ซ ---ล ---ท ---ด ฉ่งิ ฉบั โน้ตแบบ 1 ตัว ตอ่ 2 หอ้ ง ฉง่ิ ฉับ ฉ่ิง ฉบั ฉง่ิ ฉบั ---- ---ด ---- ---ร ---- ---ม ---- ---ฟ การบันทึกโน้ตไทยท้ัง 8 ลักษณะน้ีถือเป็นพ้ืนฐานสาคัญสาหรับการเร่ิมอ่านโน้ตเพลงไทย เพราะ สามารถครอบคลุมรปู แบบการบันทกึ โน้ตเพลงไทยไดท้ ้ังหมด การศกึ ษาเพลงไทยนัน้ ควรจะตอ้ งทราบถึงวิธีการ อา่ นโนต้ ไทยขนั้ พนื้ ฐานเสยี กอ่ น จงึ นาไปสูก่ ารศึกษาเพลงไทยในเชงิ ทฤษฎีให้เข้าใจอยา่ งถ่องแท้
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 13 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 เรือ่ ง การปฏบิ ัตทิ ักษะดนตรีไทยระดบั พนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รหสั ศ23102 วิชา ศลิ ปะ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 เวลาเรียน 1 ช่วั โมง ผู้สอน ครนู ฤมล คลังสนิ คา้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษว์ ิจารณ์คณุ ค่า ดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยกุ ต์ใช้ใน ชวี ติ ประจาวัน ตัวชว้ี ัด มาตรฐาน ศ 2.2 ม.1/3 รอ้ งเพลงและใชเ้ คร่ืองดนตรีบรรเลงประกอบการรอ้ งเพลงดว้ ยบทเพลง ท่ีหลากหลายรูปแบบ จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายประเภทและลักษณะของเคร่อื งดนตรไี ทยที่ฝกึ ปฏิบัติ เชน่ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ขลยุ่ และ การเก็บรกั ษาเครือ่ งดนตรีได้ (K) 2. สามารถปฏิบัติทักษะดนตรีไทยขน้ั พน้ื ฐาน การบังคับมือ และบรรเลงไล่เสียงขัน้ พืน้ ฐานได้ (P) 3. สามารถบรรเลงบทเพลงส้ันๆแบบเด่ยี วและประสมวงดนตรีได้ อยา่ งนอ้ ย 2 เพลง 4. เห็นคณุ ค่าของเครอ่ื งดนตรีไทย (A) สาระสาคญั 1. ประเภทของเครือ่ งดนตรี 2. ลักษณะของการบรรเลง การจับไม้ ท่าทาง การจบั เครอ่ื งดนตรี ท่บี รรเลง 3. วธิ กี ารฝกึ หัดเครอ่ื งดนตรีไทย ในระดับพน้ื ฐาน การบรรเลงเครอ่ื งดนตรไี ทยชนดิ ต่างๆ 4. การฝกึ หดั เครือ่ งดนตรีไทยเพ่ือการบรรเลงในบทเพลงตา่ งๆ 5. การเกบ็ รักษา บารงุ เครอ่ื งดนตรไี ทย สาระการเรียนรู้ ความรู้ ( Knowladge :K ) 1. ประเภทของเครื่องดนตรี 2. ลักษณะของการบรรเลง การจบั ไม้ ท่าทาง การจบั เคร่อื งดนตรี ทีบ่ รรเลง 3. วธิ กี ารฝึกหดั เคร่ืองดนตรไี ทย ในระดับพืน้ ฐาน การบรรเลงเคร่อื งดนตรไี ทยชนดิ ต่างๆ ทกั ษะ/กระบวนการ (Process : P) 1. การปฏบิ ัติ 2. การสรปุ ความรู้ 3. การนาไปประยุกต์ใช้
คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A) 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. มุ่งม่นั ในการทางาน 3. รักความเป็นไทย 4. ทางานเปน็ ทมี สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ชิ้นงาน/ภาระงาน การประเมินผลการเรียนรู้ 1. วธิ กี ารวดั และประเมินผล การประเมินการปฏิบัติทกั ษะดนตรไี ทย พจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคณุ ภาพ/คะแนน ดเี ยย่ี ม (4) ดี(3) พอดี (2) ปรับปรงุ (1) 10 คะแนน 9 คะแนน 7-8 คะแนน 5-6 คะแนน 1.การปฏบิ ตั ทิ กั ษะ บรรเลงเครือ่ งดนตรี บรรเลงเคร่อื งดนตรี บรรเลงเครื่องดนตรี บรรเลงเคร่อื งดนตรี ดนตรไี ทย ระดบั พื้นฐาน ไทยท่เี ลอื กเรียน ตาม ไทยที่เลอื กเรยี น ตาม ไทยที่เลอื กเรยี น ตาม ไทยทเ่ี ลือกเรยี น ตาม เครือ่ งมือ ระนาดเอก โดยลักษณะการ โดยลักษณะการ โดยลักษณะการ โดยลักษณะการ บรรเลง มบี ุคลิก บรรเลงมบี ุคลกิ ท่าทาง บรรเลงมบี คุ ลกิ บรรเลงมบี คุ ลิก ท่าทาง การนัง่ การ การนั่ง การจับไม้ ทา่ ทาง การนงั่ การ ท่าทาง การนัง่ การ จบั ไม้ถกู ต้องตาม ถูกต้องตามหลกั วิธีไล่ จบั ไม้ถูกต้องตามหลัก จบั ไม้ถกู ต้อง ไม่ หลกั วธิ ี ไล่เสียงจาก เสยี งจากต่าไปสงู ได้ วธิ ี สามารถตีไลเ่ สียง สามารถตไี ล่เสยี งได้ ต่าไปสูงไดอ้ ยา่ ง อยา่ งถูกตอ้ ง มีสมาธิ ได้แต่ยงั ไม่มีความ อยา่ งถูกตอ้ ง ครตู อ้ ง ถกู ต้องแมน่ ยา มี ในการเรียน แม่นยา เขา้ ไปคอยแนะนาอยู่ สมาธิในการเรยี น เสมอ 2. เกณฑก์ ารประเมนิ เกณฑ์การให้คะแนนตัดสินระดับคณุ ภาพช้ินงาน/ภาระงาน ระดับ 4 หมายถงึ ดเี ยยี่ ม = 10 คะแนน ระดบั 3 หมายถงึ ดี = 9 คะแนน ระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ = 7 - 8 คะแนน ระดับ 1 หมายถงึ ปรับปรงุ = 5 – 6 คะแนน
กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นนา 1. ครูสอบถามนักเรียนว่า มนี ักเรยี นคนใดทเ่ี คยเล่นเครอื่ งดนตรไี ทยบา้ ง หลงั จากนน้ั ครูให้นกั เรยี นท่ีมี ความสามารถทางด้านดนตรีไทยออกมาสาธิตการบรรเลงให้เพ่ือนในช้ันเรยี นได้ดู 2. ครูเปิด Youtube การบรรเลงระนาดเอก ให้นกั เรยี นดู ขนั้ สอน ครอู ธิบายเกีย่ วกับการน่ัง วธิ ีการจับไม้ใหน้ กั เรยี นฟงั พรอ้ มสาธติ ให้นกั เรียนดูเปน็ ตวั อย่าง 1.การนั่ง นง่ั ขัดสมาธิหรอื น่งั พบั เพยี บ 2.การจับไมต้ ี จับไม้ตีข้างละ1อนั คว่ามอื การวบ ใหน้ ว้ิ ช้อี ยู่ดา้ นบนจรดกับนวิ้ หัวแมม่ อื ห่างจากหัวไม้ ระนาดเอกใหย้ าวพอประมาณและเท่ากนั ทั้งมือซ้ายและมอื ขวาโดยให้กา้ นไมต้ ีระนาดอยูใ่ นอมุ้ มอื และกระชับ 3. ครูอธบิ ายลกั ษณะของโน้ตของระนาดเอก ดังน้ี ๏ เสียงในดนตรีไทย มี 7 เสยี ง คือ โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โดยเขยี นเป็นอกั ษรยอ่ ดังน้ี ด ร ม ฟ ซ ล ท ถา้ เป็นเสยี งตาใหใ้ ช้ (.) ดา้ นล่างตัวโนต้ เชน่ ดฺ ส่วนเสียงสูงจะอยู่ ดา้ นบน เสียงที่ไม่เตมิ เครอ่ื งหมายเป็นระดับเสยี งกลาง ๏ ตาแหน่งของเสยี งระนาดเอก ซฺ ลฺ ทฺ ดฺ รฺ มฺ ฟฺ ซฺ ลฺ ทฺ ด ร ม ฟ ซ ล ท ด ร ม ฟํ ซ ๏ วธิ ตี ีระนาดเอก โน้ตบรรทดั บนตดี ว้ ยมอื ขวา โนต้ บรรทดั ลา่ งตดี ว้ ยมือซ้าย โดยปกตริ ะนาด จะตีเปน็ คู่ 8 ใช้โน้ตบรรทัดบนมอื ขวา เป็นหลัก การบันทึกโน้ตจะใช้เพียงบรรทดั เดยี ว บางคร้งั อาจตเี ป็นคู่ 2 3 4 5 6 จึงจะบนั ทึกโนต้ บรรทดั บนและลา่ งร่วมกนั หอ้ ง 1 2 3 4 5 6 7 8 มอื ขวา - - - - - - - ด - - - ร - - - ม - - - - - - - ม - - - ร - - - ด มอื ซ้าย - - - - - - - ดฺ - - - รฺ - - - มฺ - - - - - - - มฺ - - - รฺ - - - ดฺ 4. ครูใหน้นักเรียนฝึกอา่ นโน้ตดว้ ยตงั เอง 5. ครอู ธิบายถงึ วธิ กี ารตรี ะนาดเอก ดงั น้ี ๏ ยกไมต้ ีระนาดขึ้นใหเ้ ป็นเสน้ ตรงเสน้ เดียวกับแขน เหนือผืนระนาดประมาณ 6 นิว้ ให้แขน ทั้ง 2 ขา้ งอยขู่ ้างลาตวั ๏ ตีลงตรงกลางลูกระนาดพรอ้ มกันทัง้ สองมือ เมือไม้ตีกระทบลกู ระนาดแลว้ รบี ยกขน้ึ ใน ตาแหน่งเดมิ ทนั ที ปฏิบตั แิ บบเดิมจนชานาญ ๏ ตไี ล่จากสยี งตา่ ไปหาเสยี งสงู ดังนี้ ห้อง 1 2 34567 8 มือขวา ซฺ ซฺ ซฺ ซฺ ลฺ ลฺ ลฺ ลฺ ทฺ ทฺ ทฺ ทฺ ด ด ด ด ร ร ร ร ม ม ม ม ฟ ฟ ฟ ฟ ซ ซ ซ ซ มอื ซ้าย ซ ซ ซ ซ ล ล ล ล ท ท ท ท ด ด ด ด ร ร ร ร ม ม ม ม ฟ ฟ ฟ ฟ ซ ซ ซ ซ
ข้นั สรุป 1. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรุปความรเู้ กยี่ วกบั การฝกึ ตรี ะนาดเอก วา่ การฝกึ หดั เคร่อื งดนตรีไทยต้อง คานึงถึงบคุ ลกิ ทา่ ทางการบรรเลงตอ้ งมคี วามสงา่ ผา่ เผย การจับไม้ต้องจบั ให้ถูกต้อง มีความกระชับ ส่ือการเรยี นรู้ /แหลง่ การเรยี นรู้ 1. เครื่องดนตรีไทย ระนาดเอกหรอื ระนาดทุ้ม 2. ไม้ตีระนาดเอก ระนาดทุ้ม
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 14 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เรื่อง การปฏบิ ัติทักษะดนตรีไทยในบทเพลงระดบั พื้นฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ รหัส ศ23102 วิชา ศิลปะ 3 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 เวลาเรียน 1 ชวั่ โมง ผสู้ อน ครูนฤมล คลงั สินคา้ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ศ 2.1 เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรีอยา่ งสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษว์ ิจารณ์คุณค่า ดนตรี ถ่ายทอดความรู้สกึ ความคดิ ตอ่ ดนตรอี ย่างอิสระ ชน่ื ชม และประยุกต์ใชใ้ น ชวี ิตประจาวัน ตัวชี้วดั มาตรฐาน ศ 2.1 ม.1/3 รอ้ งเพลงและใช้เครอื่ งดนตรบี รรเลงประกอบการร้องเพลงดว้ ยบทเพลง ที่หลากหลายรูปแบบ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายประเภทและลักษณะของเครอ่ื งดนตรีไทยทฝี่ ึกปฏิบัติ เชน่ ระนาดเอก ระนาดทมุ้ ขลุ่ย และ การเก็บรักษาเครอื่ งดนตรีได้ (K) 2. สามารถปฏิบตั ทิ ักษะดนตรไี ทยขั้นพนื้ ฐาน การบังคับมือ และบรรเลงบทเพลงไทยขนั้ พ้นื ฐานได้ (P) 3. สามารถบรรเลงบทเพลงสน้ั ๆแบบเด่ียวและประสมวงดนตรไี ด้ อย่างน้อย 2 เพลง 4. เห็นคณุ คา่ ของเครื่องดนตรีไทย (A) สาระสาคญั 1. ประเภทของเครือ่ งดนตรี 2. ลกั ษณะของการบรรเลง การจบั ไม้ ทา่ ทาง การจับเครื่องดนตรี ทบี่ รรเลง 3. วธิ กี ารฝึกหัดเครอ่ื งดนตรไี ทย ในระดับพ้นื ฐาน การบรรเลงบทเพลงเครือ่ งดนตรไี ทยชนดิ ตา่ งๆ 4. การฝึกหดั เครื่องดนตรีไทยเพอื่ การบรรเลงในบทเพลงต่างๆ 5. การเกบ็ รักษา บารุงเคร่อื งดนตรไี ทย สาระการเรียนรู้ ความรู้ ( Knowladge :K ) 1. ประเภทของเครอ่ื งดนตรี 2. ลักษณะของการบรรเลง การจบั ไม้ ท่าทาง การจบั เครอ่ื งดนตรี ท่ีบรรเลง 3. วิธกี ารฝึกหัดเครื่องดนตรีไทย ในระดบั พน้ื ฐาน การบรรเลงเครอ่ื งดนตรีไทยชนดิ ตา่ งๆ ทักษะ/กระบวนการ (Process : P) 1. การปฏบิ ัติ 2. การสรุปความรู้ 3. การนาไปประยกุ ตใ์ ช้ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)
1. ใฝ่เรยี นรู้ 2. มงุ่ ม่นั ในการทางาน 3. รกั ความเป็นไทย 4. ทางานเป็นทีม สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ช้นิ งาน/ภาระงาน - การประเมินผลการเรยี นรู้ 1. วธิ ีการวดั และประเมนิ ผล การประเมนิ การปฏบิ ตั ทิ กั ษะดนตรไี ทย พจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) เกณฑก์ ารประเมิน ระดับคุณภาพ/คะแนน ดเี ย่ยี ม (4) ด(ี 3) พอดี (2) ปรบั ปรุง (1) 10 คะแนน 9 คะแนน 7-8 คะแนน 5-6 คะแนน 1.การปฏิบัติทักษะ บรรเลงเพลงโดยใช้ บรรเลงเพลงโดยใช้ บรรเลงเครื่องดนตรี บรรเลงเคร่ืองดนตรี ดนตรไี ทย ระดบั พนื้ ฐาน เครื่องดนตรีไทยท่ี เคร่ื อ ง ดน ต รี ไ ทย ท่ี ไทยท่ีเลือกเรียน ตาม ไทยท่ีเลอื กเรยี น ตาม เคร่ืองมอื ระนาดเอก เลือกเรียน ตามโดย เลือกเรียน ตามโดย โ ด ย ลั ก ษ ณ ะ ก า ร โ ด ย ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ลักษณะการบรรเลง ลักษณะการบรรเลงมี บ ร ร เ ล ง มี บุ ค ลิ ก บ ร ร เ ล ง มี บุ ค ลิ ก มีบุคลิกท่าทาง การ บุคลิกท่าทาง การน่ัง ท่าทาง การนั่ง การ ท่าทาง การน่ัง การ น่ัง การจับไม้ถูกต้อง การจับไม้ถูกต้องตาม จับไม้ถกู ต้องตามหลัก จบั ไม้ถูกต้องสามารถ ตามหลักวิธี สามารถ ห ลั ก วิ ธี ส า ม า ร ถ วิ ธี วิ ธี ส า ม า ร ถ บรรเลงบทเพลงได้ บรรเลงบทเพลงได้ บรรเลงบทเพลงได้ บรรเลงบทเพลงได้ เลก็ นอ้ ย อย่ า ง ถู ก ต้ อ ง ต า ม อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง ต า ม อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง ต า ม จั ง ห ว ะ มี ค ว า ม จงั หวะ จัง หว ะ แต่ยัง ไ ม่มี แ ม่ น ย า ใ น ก า ร จ า ความแม่นยา โน้ตเพลง
กิจกรรมการเรียนรู้ ขนั้ นา 1. ครูถามนักเรียนวา่ มนี กั เรียนคนไหนเคยเล่นดนตรีไทยบ้าง แลว้ เคยต่อเพลงหรอื รูจ้ ักเพลงไทยเพลง ใดบ้างครใู ห้ตวั แทนนักเรยี นออกมาบรรเลงดนตรไี ทย ในบทเพลงน้ันๆใหเ้ พือ่ นฟัง ข้นั สอน 1. ครูสาธติ การจบั ไม้ แล้วใหน้ ักเรียนปฏบิ ตั ติ ามโดยการตใี นอากาศกอ่ นจะตีลงบนเครื่องดนตรี 2. ครูให้นักเรยี นอา่ นโนต้ เพลงบนกระดานทีค่ รเู ขียนใหท้ ลี ะคา วรรค หรอื บรรทัดนน้ั ๆ เมื่อนักเรยี น สามารถอา่ นไดถ้ ูกตอ้ งแม่นยาแลว้ ครบู รรเลงบทเพลงนน้ั ๆเป็นตัวอยา่ งใหน้ ักเรียนฟัง 3. ครเู ขา้ ไปต่อเพลงใหน้ กั เรยี นเป็นรายบุคคลหรอื เป็นกลุม่ กลมุ่ ละไมเ่ กิน 10 คน ตามจานวนของ เคร่อื ง ดนตรชี นิดน้นั ๆ โดยใช้เพลงแขกบรเทศ อตั ราจังหวะชั้นเดียว จานวน 2 ท่อน ดังนี้ ท่อน 1 ห้องเพลง 1 2 3 4 5 6 7 8 บรรทดั 1 ดลลล ดลลล ดซซซ ดลซม ซมรด ซดรม ซลซม ซมรด ทอ่ น 2 หอ้ งเพลง 1 2 3 4 5 6 7 8 บรรทัด 1 ซมซร มรดล ซมซล ซลดร ซมรด ซดรม ซลซม ซมรด 4. กจิ กรรมการฝกึ ปฏิบตั ิ ๏ ท่อน 1 ห้องเพลงที่ 1-4 หอ้ งเพลง 1 2 3 4 บรรทัด 1 ดลลล ดลลล ดซซซ ดลซม - ฝึกตีโน้ตตามห้องเพลงท่ี 1-4 โดยให้มอื ซา้ ยและมือขวาหา่ งกันเป็นคู่ 8 ดูโน้ตทางขวามอื เป็นหลัก ฝกึ ตีซา้ ๆหลายๆเทย่ี วจนเกดิ ความชานาญ ๏ ทอ่ น 1 ห้องเพลงที่ 5-8 หอ้ งเพลง 5 6 7 8 บรรทัด 1 ซมรด ซดรม ซลซม ซมรด - ฝกึ ตโี น้ตตามห้องเพลงที่ 1-4 โดยใหม้ ือซ้ายและมือขวาหา่ งกันเป็นคู่ 8 ดูโน้ตทางขวามือ เป็นหลกั
ฝกึ ตซี ้าๆหลายๆเท่ียวจนเกิดความชานาญ ๏ ท่อน 1 หอ้ งเพลงท่ี 1- 8 หอ้ งเพลง 1 2 3 4 5 6 7 8 บรรทดั 1 ดลลล ดลลล ดซซซ ดลซม ซมรด ซดรม ซลซม ซมรด - นาโน้ตเพลงแขกบรเทศช้ันเดียว ท่อน 1ห้องเพลงท่ี 1-4 และห้องเพลงที่ 5 - 8 มาฝึกตีรวม เปน็ เพลงแขกบรเทศ ช้ันเดยี ว ท่อน 1 ฝึกตซี า้ ๆหลายๆเที่ยวจนเกดิ ความชานาญ ๏ ท่อน 2 ห้องเพลงท่ี 1- 4 หอ้ งเพลง 1 2 3 4 บรรทัด 1 ซมซร มรดล ซมซล ซลดร - ฝกึ ตโี นต้ ตามหอ้ งเพลงที่ 1-4 โดยใหม้ อื ซ้ายและมือขวาห่างกนั เปน็ คู่ 8 ดูโน้ตทางขวามอื เปน็ หลัก ฝึกตีซ้าๆหลายๆเทย่ี วจนเกิดความชานาญ ๏ ท่อน 2 หอ้ งเพลงท่ี 5 - 8 หอ้ งเพลง 5 6 7 8 บรรทดั 1 ซมรด ซดรม ซลซม ซมรด - ฝึกตีโน้ตตามห้องเพลงที่ 1-4 โดยใหม้ ือซา้ ยและมือขวาห่างกนั เปน็ คู่ 8 ดูโน้ตทางขวามือ เปน็ หลัก ฝกึ ตซี า้ ๆหลายๆเทยี่ วจนเกิดความชานาญ ทอ่ น 2 ห้องเพลงท่ี 1- 8 หอ้ งเพลง 1 2 3 4 5 6 7 8 บรรทัด 1 ซมซร มรดล ซมซล ซลดร ซมรด ซดรม ซลซม ซมรด - นาโน้ตเพลงแขกบรเทศช้นั เดยี ว ทอ่ น 2 หอ้ งเพลงท่ี 1-4 และหอ้ งเพลงท่ี 5 - 8 มาฝกึ ตี รวมเปน็ เพลงแขกบรเทศ ช้ันเดียว ท่อน 2 ฝึกตีซ้าๆหลายๆเท่ยี วจนเกดิ ความชานาญ
ข้ันสรุป 1. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรุปความรูเ้ กีย่ วกบั การฝึกปฏิบตั ิการบรรเลงเคร่ืองดนตรีไทย ว่าการฝึกหัด บรรเลงบทเพลงน้นั จะต้องคานึงถงึ จงั หวะ การมีทกั ษะความจาท่ีดี มีสมาธิในการเรยี น เพราะดนตรีไทยน้ันจะ ใช้ความจา การวเิ คราะหท์ านองหลัก ในบทเพลงต่างๆมากมาย ส่ือการเรยี นรู้ /แหลง่ การเรียนรู้ 1. เครอื่ งดนตรีไทย ระนาดเอกหรือระนาดทมุ้ 2. ไมต้ ีระนาดเอก ระนาดทุ้ม 3. โน้ตเพลงไทยเดิม
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 15 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 5 เรือ่ ง สังคีตกวีดนตรไี ทย กลุ่มสาระการเรียนรศู้ ิลปะ รหัส ศ23102 วิชา ศิลปะ 3 ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ผูส้ อน ครนู ฤมล คลังสนิ คา้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ดั มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ศ 2.2 เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คณุ ค่าของ ดนตรีทีเ่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล ตัวชีว้ ดั มาตรฐาน ศ 2.2 ม.1/1 อธิบายบทบาทความสัมพันธแ์ ละอิทธิพลของดนตรีที่มีตอ่ สงั คมไทย จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายอัตชีวประวตั ิของบคุ คลสาคัญ สังคีตกวีดนตรีไทย (K) 2. เสนอแนวทางในการดาเนนิ ชีวติ ของตนเอง โดยใช้ยึดแนวทางการดาเนินชีวิตของสงั คตี กวี (P) 3. เหน็ คุณค่าของหลกั การดาเนินชีวติ ของบคุ คลสาคัญในวงการดนตรีไทยนามาปรับใช้ใน ชวี ิตประจาวนั (A) สาระสาคญั ในวงการดนตรไี ทยนั้น การเชิดชูบูชาพระคณุ ครผู ู้ถ่ายทอดวิชาการดนตรี เป็นสิ่งที่ควรยึดถือและควร ปฏิบัติอย่างเคร่งครัดสาหรับผู้ที่เป็นนักดนตรีไทย บุคคลสาคัญท่ีได้รับการยกย่องว่าเป็นคีตกวีคนสาคัญมีอยู่ หลายท่าน ในที่นจ้ี ะขอยกบรมครทู างด้านดนตรีไทยทส่ี าคัญ มา 5 ท่านดว้ ยกนั คือ ครูหลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง ) ครูจางวางท่ัว พาทยโกศล ครูมนตรี ตราโมท และ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) ที่คีตกวีท่ีได้นามาศึกษา ล้วนแต่มีส่วนช่วยทะนุบารุง พฒั นาการกิจการดนตรไี ทยให้มีความเจรญิ รงุ่ เรืองถงึ ทกุ วนั น้ี สาระการเรยี นรู้ ความรู้ ( Knowladge :K ) 1. ประวตั ิและผลงานของบุคคลสาคญั ในวงการดนตรไี ทย ทกั ษะ/กระบวนการ (Process : P) 1. การให้เหตุผล 2. การสรปุ ความรู้ 3. การนาไปประยุกต์ใช้ 4. การประเมนิ คา่ 5. การจดั ระบบความคิดเปน็ แผนภาพ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) 1. ใฝ่เรยี นรู้ 2. ม่งุ มนั่ ในการทางาน 3. รักความเปน็ ไทย
ชิ้นงาน/ภาระงาน 1.ใบงานที่ 5 เรอ่ื ง เขยี นอัตชีวประวัตสิ งั คตี กวีดนตรีไทย จากการชมวีดีทศั น์ 2. แผนภาพความคิด สังคีตกวีดนตรีไทย การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1. วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล การประเมินใบงานที่ 5 พจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics) เร่ือง เขียนสรปุ อตั ชวี ประวตั ิสังคีตกวีดนตรีไทย จากการชมวดี ีทัศน์ เกณฑก์ ารประเมิน ระดบั คณุ ภาพ/คะแนน ดีเย่ยี ม (4) ดี(3) พอดี (2) ปรับปรุง (1) 7-8 คะแนน 5-6 คะแนน 10 คะแนน 9 คะแนน เขยี นอธิบายถงึ เขียนอธบิ ายถงึ 1.เขียนอัตชีวประวตั ิ เขยี นอธบิ ายถึง เขียนอธิบายถงึ อตั ชีวประวัตสิ งั คตี กวี อัตชวี ประวัติสังคตี กวี สงั คตี กวีดนตรไี ทย จาก ในดา้ นการศกึ ษาดา้ น ในดา้ น การศกึ ษา อัตชีวประวตั ิสงั คีตกวี อัตชวี ประวตั สิ งั คตี กวี ดนตรี ดา้ นดนตรี 4-5 การชมวดี ีทศั น์ 10 บรรทัด บรรทัดและไมม่ ีการ ได้ครบถว้ น สมบรู ณ์ ได้ครบถว้ น ดา้ นการ ยกตัวยา่ งอะไรเลย ทั้งด้านการดาเนนิ ดาเนนิ ชีวติ การศึกษา ชีวิต การศึกษาด้าน ดา้ นดนตรี มีการ ดนตรี และมกี าร ยกตวั อย่างบทเพลงที่ ยกตัวอยา่ งการ สาคญั 3 - 5 เพลง ประพนั ธเ์ พลง บท 15 บรรทดั เพลงทส่ี าคัญ อยา่ ง เขา้ ใจง่ายและถกู ตอ้ ง 20 บรรทดั ข้ึนไป เกณฑก์ ารประเมิน 1. เกณฑ์การใหค้ ะแนนตัดสินระดบั คุณภาพชน้ิ งาน/ภาระงาน ระดับ 4 หมายถึง ดีเยีย่ ม = 10 คะแนน ระดบั 3 หมายถงึ ดี = 9 คะแนน ระดบั 2 หมายถงึ พอใช้ = 7 - 8 คะแนน ระดบั 1 หมายถึง ปรบั ปรุง = 5 – 6 คะแนน กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้ันนา 1. ครูตัง้ คาถาม นักเรียนคนรจู้ กั คตี กวดี นตรไี ทยทีส่ าคญั ใครบา้ ง 2. ครูเล่าถงึ ประสบการณ์การเรยี นดนตรไี ทย ให้นักเรียนฟัง ตงั้ แตก่ ารไหวค้ รูดนตรไี ทย การมอบตวั เป็นศิษย์ การตอ่ เพลงจากครดู นตรไี ทย
ข้นั สอน 1. ครเู ปดิ วดี ีทศั นอ์ ตั ชวี ประวตั คิ ีตกวดี นตรีไทยให้นักเรยี นดู 2. ครูอธิบายสอดแทรกเพม่ิ เตมิ เก่ยี วกบั อัตชีวประวัตคิ ีตกวดี นตรไี ทยทสี่ าคัญ ดงั นี้ ๏ พระประดิษฐ์ไพเราะ ( มี ดุริยางกูร) หรือ ครูมีแขก ท่านครูมีชีวิตอยู่ในช่วงตอนปลาย รัชกาลที่ 1 ถึงต้นรัชกาลที่ 5 สถานที่เกิดคือบริเวณสุเหร่ากุฏีขาว ใกล้กับวัดกัลยาณมิตร เขตธนบุรี จาก การศึกษาพบว่า ครมู แี ขกสามารถบรรเลงเครื่องดนตรไี ทยได้หลายชนิด แต่ที่ได้รับการยกย่อ คือ ปี่และซอสามสาย ทา่ นรับราชการตาแหน่งจางวางมหาดเล็ก ท่านได้เป็นครูและหัวหน้าวงปี่พาทย์วัง หน้าของสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่านยังมีลูกศิษย์ด้วยกันหลายคน เช่น ครูสิน ศิลปบรรเลง เป็นตน้ ครูมแี ขก ได้ชอ่ื ว่าเป็นต้นตารบั การแต่งเพลงทมี่ ีลกู ลอ้ ลูกขัดหรือ เพลงประเภท “ทยอย” บท เพลงท่ีโดดเด่นที่สุดคือ เพลงเชิดจีน และรับพระราชทานราชทินนามเลื่อนตาแหน่งจาก “หลวง พระดษิ ฐไพเราะ” เป็น “พระประดษิ ฐไพเราะ ๏ จางวางทั่ว พาทยโกศล (เพมิ่ เติม) ๏ หลวงประดษิ ฐ์ไพเราะ (ศร ศลิ ปบรรเลง)เกิดเมื่อวันที่ 6 สงิ หาคม พ.ศ.2424 ภูมิลาเนา เดมิ ท่ี ตาบลดาวดงึ ส์ อาเภออมั พวา จังหวดั สมทุ รสงคราม เป็นบุตรของครูสิน ศิลปบรรเลง ซ่ึงเป็นลูก ศิษย์ของครูมีแขก ศร ได้เร่ิมเรียนดนตรีไทยกับบิดา เมื่ออายุได้เพียง 5 ขวบ เม่ือถึงอายุ 11 ปี ได้ ฝึกฝนระนาดอย่างจริงจัง ครูสินซึ่งเป็นบิดาได้ถ่ายทองวิชาดนตรีจนมีฝีมือเข้าประชันวง ใน พ .ศ. 2443 ขณะอายุได้เพียง 19 ปี นายศร ได้มีโอกาสแสดงเดี่ยวระนาดเอกถวายสมเด็จพระเจ้าน้องยา เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธ์ุวงศ์วรเดช หรือ “สมเด็จวังบูรพา” ท่ีจังหวัด ราชบุรี เป็นท่ีต้อง พระทัยมาก จึงทรงรบั ตวั ไวท้ ว่ี งั บรู พาภริ มย์ ตอ่ มาไดร้ ับตาแหน่งเปน็ จางวางมหาดเล็กมีชื่อเรียกกันว่า “จางวาง ศร” ทาหนา้ เป็นคนระนาดเอกประจาวังบูรพาภิรมย์ เมอ่ื ครัง้ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หัว ( ร.6) เสด็จประพาสมณฑลปักต์ใต้ จางวาง ศร ไดม้ ีโอกาสตามเสด็จและประพนั ธ์ “เพลงเขมรเลียบพระนคร” เปน็ เพลงท่ีประดิษฐ์ขึ้นใหม่ โดยใช้ ทางกรอ เป็นการตโี ดยใช้ไมต้ ีสลับกัน ขวา ซ้าย อยา่ งรวดเรว็ ละเอียด ซึ่งทาให้เสียงยาวขึ้นเนื่องจาก ระนาดไม่สามารถดาเนินทานองได้ยาว ในวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2468 จางวางศร จึงได้รับ พระราชทานบรรดาศกั ด์ิเป็น “หลวงประดษิ ฐ์ไพเราะ” ๏ ครมู นตรี ตราโมท มีนามเดมิ วา่ บุญธรรม เกดิ เม่อื วนั ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ.2443 เป็นชาว จังหวัดสุพรรณบุรี ครูมนตรี ตราโมท เริ่มเรียนปี่พาทย์กับครูสมบุญ นักฆ้อง ต่อมาเรียนระนาดเอก ฆ้องวงใหญ่ และเครอื่ งดนตรีสากลคือ คลาริเน็ต เรียนวิธีประพันธ์เพลงกับพระยาประสานดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์) และหลวงประดิษฐ์ ไพเราะ (ศร ศิลปะบรรเลง) ท่านยังได้รับ มอบให้ทาพิธี ไหว้ครดู นตรีไทยจากหลวงประดิษฐ์ ไพเราะ ๏ พระบาทสมเดจ็ ประปกเกล้าเจ้าอยหู่ วั รชั กาลที่ 7 (เพิ่มเตมิ ) ข้นั สรุป 1. นกั เรียนและครรู ว่ มกันสรปุ ความรู้ดงั นี้ การเรียนรเู้ ร่อื งสังคตี กวีสาคัญของดนตรีไทย ทาให้ เราไดท้ ราบถึงประวตั คิ วามเป็นมาของครูดนตรีไทยและนาเอาแนวทางในการดาเนินชีวิตบนเส้นทาง สายดนตรีไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตจาวันไม่ว่าจะเป็นนักดนตรีไทยหรือไม่ก็ตาม ใน สว่ นของครูกน็ าเอา แนวคดิ ของครดู นตรีไทยมาปรับใช้ในการถา่ ยทอดวิชาดนตรไี ทยใหค้ งอยูส่ ืบไป
ส่อื การเรียนรู้ /แหล่งการเรยี นรู้ 1. โทรทัศน์ 2. Laptop 3. ใบงานท่ี 5 4. ภาพครูดนตรไี ทย
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: