หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 พฒั นาการของอาณาจักรธนบรุ ี ตอน การสถาปนาและปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ ความเจริญรงุ่ เรอื งของ อาณาจกั รธนบรุ ี
ก คำนำ หนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ ฉบับการ์ตูน (E-book) เล่มน้ีเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา สารสนเทศ และนวัตกรรมสาหรบั การสอนสงั คมศึกษา ซ่งึ ในหนงั สือเล่มนจ้ี ะเล่าถึงการล่มสลาย ของอาณาจักรอยธุ ยา ในพทุ ธศักราช 2310 ส่งผลให้เกิดความวุ่นวาย เกิดเป็นกก๊ ข้นึ ปกครอง ตนเอง แยกตัวเป็นอิสระต่อกัน เจ้าตากได้หลบหนีออกจากกรุงศรีอยุธยาไปตั้งหลัก และ รวบรวมกาลังพล เพอื่ กลับมากอบกกู้ รุงศรอี ยุธยาจากพม่า จนสามารถกอบกู้ได้สาเร็จ แต่ด้วย สภาพบ้านเมืองของกรุงศรีอยุธยาโดยเผาทาลายยากที่จะฟื้นฟู เจ้าตากจึงได้ไปสถาปนาราช ธานใี หม่ท่กี รงุ ธนบรุ ี และทาพธิ ีราชาภิเษกเกียรติยศเป็นพระเจ้าแผ่นดิน นามว่า “พระเจ้ากรุง ธนบรุ ี” ขอขอบคุณ ดร.ทวัช บุญแสง อาจารย์ประจาวิชา คุณครูนวลจรัส จิตสงค์ ครูท่ีปรึกษา และนางสาวเบญจลักษณ์ เกียรติเสรีกุล นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ครู ทใี่ ห้คาปรกึ ษา แนะนา และให้ความช่วยเหลือ จนทาใหห้ นังสอื เลม่ นี้สาเรจ็ ลลุ ่วงไปได้ด้วยดี หวังว่าหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ฉบับการ์ตูน (E-book) เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ ต่อผู้ที่สนใจ หากหนังสอื เลม่ น้ผี ิดพลาดประการใดต้องขออภยั มา ณ ทีน่ ีด้ ้วย คณะผจู้ ัดทา
1 สวัสดีครับ ผมช่ือ “จุก” เพื่อน ๆ พร้อมจะไปเรียนรู้ประวัติศาสตร์ไทย ตอน การสถาปนาและปัจจัยท่ีมีผลต่อ ความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรธนบุรี กับผมหรือยังครับ ก่อนอ่ืนผมจะแนะนา ให้เพ่ือน ๆ รู้จักกับตัวละครสาคัญ ๆ รวมถึงสงิ่ ท่ีควรรใู้ นเร่อื งนี้กอ่ นนะครบั - ถา้ พร้อมแลว้ เราไปกนั เลย -
2 สมเด็จพระเจำ้ กรงุ ธนบุรี หรอื สมเดจ็ พระเจำ้ ตำกสนิ มหำรำช ทรงเป็นพระมหำกษัตรยิ ์ผู้กอ่ ตง้ั อำณำจกั รธนบรุ ี และเปน็ พระมหำกษัตริยพ์ ระองค์เดยี ว ของอำณำจกั รธนบรุ ี เจำ้ เมอื งระยอง เปน็ ผ้ปู กครองหัวเมอื งระยอง
3 เจำ้ เมอื งจนั ทบุรี เป็นผูป้ กครองหวั เมอื งจันทบรุ ี แม่ทพั สกุ ้ี เปน็ แม่ทพั หรือพระนำยกองทพี่ มำ่ แตง่ ตงั้ ใหค้ ุมกำลงั ทค่ี ำ่ ยโพธ์ิสำมตน้ ทำงเหนือของพระนคร
4 นำยทองอนิ เป็นคนไทยท่ีพม่ำแตง่ ตัง้ ให้คมุ กำลังทเ่ี มอื งธนบุรี นำยสดุ จนิ ดำ หรอื กรมพระรำชวังบวรมหำสุรสงิ หนำท เปน็ ผู้นำทัพเจำ้ ตำกจำกเมืองจันทบุรีไปตคี ่ำยของ พมำ่ ทีโ่ พธ์ิสำมตน้ จนสำมำรถกอบก้เู อกรำชจำก กำรเสยี กรุงศรอี ยุธยำครงั้ ท่ี 2 ได้
5 พระยำพพิ ธิ เป็นผูค้ มุ กองทัพ ตง้ั ค่ำยประชดิ คำ่ ยของพมำ่ ท่ี โพธิ์สำมต้น จนสำมำรถกอบกเู้ อกรำชจำกกำร เสยี กรงุ ศรีอยธุ ยำครั้งท่ี 2 ได้ พระยำพชิ ัยดำบหกั หรอื พระยำพิไชย เป็นผคู้ ุมกองทพั ตง้ั ค่ำยประชิดคำ่ ยของพม่ำท่ี โพธ์ิสำมตน้ จนสำมำรถกอบกเู้ อกรำชจำกกำร เสียกรงุ ศรอี ยุธยำครั้งที่ 2 ได้
6 แผนทีแ่ สดงอาณา เขตประเทศไทย ในอดีต
7 ในสมัยสมเด็จพระเจ้ำเอกทัศ หรือ สมเด็จพระท่ีนั่งสุริยำศน์- อมรินทร์ เกิดควำมขัดแย้งทำงทหำรครั้งที่สองระหว่ำงรำชวงศ์ โกนบองแห่งพม่ำ กับรำชวงศ์บ้ำนพลูหลวงแห่งอยุธยำ ในศึกครั้งน้ี เป็นผลพวงของสงครำมพระเจ้ำอลองพญำ เม่ือ พ.ศ. 2303 ฝ่ำยพม่ำ ส่งกองทัพเข้ำบุกครองอยุธยำเป็นสองทำงแบบคีม ทัพพม่ำพิชิต กำรปอ้ งกันของทัพอยธุ ยำ และเข้ำล้อมกรงุ ศรีอยุธยำนำน 14 เดือน
8 ครั้งพม่ำล้อมกรุงศรีอยุธยำ พระยำตำกถูกเกณฑ์ลงมำจำก กำแพงเพชร เพื่อช่วยรักษำพระนคร วันหน่ึงพม่ำยกทัพมำพระยำตำก เอำปืนใหญ่ย่ิงพม่ำโดยไม่ได้ขออนุญำตก่อน จึงถูกภำคทัณฑ์จนเกือบ ตอ้ งโทษ
9 พระยำตำกเสียใจคิดว่ำ ถึงจะรบพุ่งรักษำกรุงก็จะไม่เป็นประโยชน์ จึงรวบรวมสมัครพรรคพวกได้ประมำณ 500 คน ตกค่ำก็ยกทัพออกจำกค่ำย วัดพิชัย ตีฝ่ำพม่ำตำมรำยทำงไปทำงทิศตะวันออก เดินทำงผ่ำน แดน เมืองฉะเชิงเทรำ เมืองชลบรุ ี ไปจนถึงเมืองบำงละมงุ
10 ข่ำวพระยำตำกรบชนะพม่ำหลำยครั้งก็เลื่องลือแพร่ สะพัดไป อย่ำงรวดเร็ว รำษฎรต่ำงพำกันมำอ่อนน้อม เข้ำเป็นบริวำรได้พลมำก จนเป็นกองทัพ พระยำตำกจึงลงไปเมืองระยอง หมำยจะเอำเมืองระยอง เป็นที่ต้ัง และรวบรวมกำลังทหำรต่อไป ฝ่ำยเจ้ำเมืองระยองเห็น พระยำตำกมีกองทพั เข้มแขง็ เกรยี งไกรกเ็ หลือกำลงั ทจ่ี ะสู้ จึงพำพรรคพวก มำอ่อนน้อม และพำเข้ำเมือง
11 เม่ือพระยำตำกลงไปถึงเมืองระยองนั้น กรุงศรีอยุธยำยังไม่เสียแก่พม่ำ บรรดำหัวเมืองต่ำง ๆ กค็ ดิ ว่ำพระยำตำกซอ่ งสมุ ผูค้ นเพ่ือผลประโยชน์ของตัวเอง ไม่ใชแ่ ก่บ้ำนเมือง เช่นเดียวกับข้ำรำชกำรเก่ำแก่ในเมืองระยอง ซึ่งไม่เห็นด้วยที่ พระระยองเจ้ำเมืองเปิดประตูเมืองรับพระยำตำกเข้ำมำ เหล่ำข้ำรำชกำรจึง รวบรวมรพี ลเขำ้ ตคี ่ำยพระยำตำก
12 พระยำตำกรู้ทันเสียก่อนจึงจัดกองทัพตีโอบกัน เข้ำมำจนสำมำรถ ฆ่ำฟันข้ำศึกกระจัดกระจำยไปหมด และทำให้พระยำตำกท่ีได้เมืองระยอง เป็นสิทธิ์เด็ดขำดในวันนั้น ซ่ึงกำรตีเมืองระยองของพระยำตำกในคร้ังน้ี ส่งผลให้เป็นผู้ละเมิดกฎหมำย ควำมผิดเข้ำขั้นกบฏ พระยำตำกจำต้อง ปล่อยเลยตำมเลย แล้วตั้งตนเป็นใหญ่ในเมืองระยอง เหล่ำบริวำรก็เรียกว่ำ “เจำ้ ตำก” ตัง้ แตน่ ั้นมำ
13 เม่ือเจ้ำตำกตั้งตัวเป็นอิสระก็เห็นว่ำเมืองระยองเล็กเกินไป จึงเล็งไปที่ เมืองจันทบุรี ซึ่งเป็นเมืองใหญ่ท่ีสุดในภำคตะวันออก เจ้ำตำกใคร่จะทรำบว่ำ พวกเมืองจันทบรุ จี ะเป็นศัตรูหรือไม่ จึงแต่งตั้งทูตไปยังเมืองจันทบุรี เพื่อแจ้งว่ำ เจ้ำตำกได้รวบรวมกำลังพลอยู่ท่ีเมืองระยอง หมำยจะยกไปรบพม่ำ ขอให้พระยำจันทบุรีเห็นแก่บ้ำนเมือง มำช่วยกันปรำบปรำมข้ำศึกให้ กรงุ ศรีอยุธยำกลบั มำผำสกุ เหมอื นดงั แตก่ ่อน
14 ขณะน้ันกรุงศรีอยุธยำเสียแก่พม่ำพอดี พม่ำจับเอำพระเจ้ำแผ่นดิน และเจำ้ นำยเชอ้ื พระวงศ์ไปหมด เมื่อกรุงแตกควำมคิดของผูม้ กี ำลงั และอำนำจ ตำมหัวเมืองก็เปลี่ยนแปลงไปตำมสถำนกำรณ์ พระยำจันทบุรีก็ไม่ตอบรับ ไมตรขี องเจำ้ ตำก
15 เจำ้ ตำกจงึ ตดั สินใจบุกเข้ำตเี มืองจันทบุรีโดยเรยี ก นำยทัพ นำยกอง มำสั่งว่ำ เรำจะตีเมืองจันทบุรีในค่ำวันนี้ เมื่อกองทัพหุงข้ำวเย็นกินเสร็จแล้ว ให้เททิง้ อำหำรที่เหลือ และตอ่ ยหม้อเสียให้หมด หมำยไปกินข้ำวเช้ำด้วยกันท่ี ในเมืองเอำพรุ่งน้ี ถ้ำตีเมืองไม่ได้ในค่ำวันน้ี ก็จะได้ตำยเสียด้วยกันให้หมด นำยทพั นำยกองเคยเหน็ อำญำสิทธ์ขิ องเจ้ำตำกมำก่อน จึงไมม่ ใี ครกล้ำขัดขนื
16 ครั้นเวลำค่ำเจ้ำตำกจึงให้ทหำรไปซุ่มอยู่ไม่ให้ชำวเมืองรู้ตัว ส่ังให้ฟังเสียงปืนสัญญำณเข้ำปล้นเมืองให้พร้อมกัน พวกไหนเข้ำเมืองได้ ก่อนให้โห่ร้องข้ึน เพ่ือให้พวกทำงด้ำนอ่ืนรู้ เม่ือเตรียมควำมพร้อมเสร็จ ได้ฤกษ์ เวลำ 3 นำฬิกำ เจ้ำตำกกท็ รงชำ้ งพังคีรีบัญชร และให้ยิงปืนเป็น สัญญำณบอกทหำรให้เข้ำปล้นพร้อมกัน ส่วนเจ้ำตำกขับช้ำงพระท่ีนั่ง เขำ้ พงั ประตเู มือง
17 ขณะน้ันชำวเมืองซ่ึงรักษำหน้ำที่ยิงปืนใหญ่น้อย ระดมยิ่งมำเป็นอันมำก นำยท้ำยช้ำงท่ีนั่งเห็นลูกปืนก็เกรงจะถูกเจ้ำตำก จึงเกี่ยวข้ำงที่น่ังให้ถอยออกมำ เจ้ำตำกขัดพระทัยชกั พระแสงหันมำจะฟันนำยท้ำยช้ำง ตกใจมำกร้องทูลขอชีวิตไว้ แล้วไสช้ำงกลับเขำ้ ซื้อพับบำนประตเู มอื งจนพงั ลง พวกทหำรก็กรูกนั เข้ำเมืองได้
18 พวกชำวเมืองรู้ว่ำข้ำศึก เข้ำเมืองได้แล้ว ต่ำงก็ละหน้ำท่ี พำกนั แตกหน้ี สว่ นพระยำจนั ทบรุ ี พำครอบครัวลงเรือหนีไปยังเมือง บันทำยมำศ เจ้ำตำกตีเมือง จันทบุรีได้นั้นเป็น วันอำทิตย์ เดือน 7 ปีกุน พ.ศ. 2310 หลัง เสยี กรุงศรอี ยธุ ยำไปแล้ว 2 เดือน และเกลี้ยกล่อมผู้คนให้กลับคืนยัง ภมู ลิ ำเนำเดมิ
19 ครั้นเหน็ วำ่ เมอื งจนั ทบรุ เี รียบร้อยดแี ลว้ ก็ยกกองทัพไปยงั เมอื งตรำด เม่ือยึดเมืองตรำดได้แล้ว เจ้ำตำกก็กลับเมืองจันทบุรี และเจ้ำตำกก็มีอำนำจ สิทธิขำดตลอดทุกหัวเมืองชำยทะเลตะวันออก จึงต้ังต้นตระเตรียมกำรที่จะ เขำ้ มำทำสงครำมกอบกูก้ รุงศรีอยธุ ยำตอ่ ไป
20 ช่วงเวลำน้ันเป็นฤดูฝน มีมรสุมทำงทะเลตะวันออก กำรรบพุ่ง ต้องหยุดชะงักไว้ก่อน แต่เจ้ำตำกก็ไม่ได้อยู่เฉย ให้ทหำรลงมือต่อเรือรบ รวบรวมเครื่องศัสตรำวุธยุทธภัณฑ์ เตรียมกำลังให้พร้อม หมำยจะยกข้ึน มำชงิ กรุงศรอี ยุธยำในฤดแู ลง้
21 เม่ือเจ้ำตำกเตรียมทัพอยทู่ เ่ี มืองจันทบรุ ี มขี ำ้ รำชกำรเกำ่ ใน กรงุ ศรอี ยธุ ยำไปเข้ำรว่ มดว้ ยหลำยคน มีหลวงศักดน์ิ ำยเวรมหำดเล็ก และนำยสุดจินดำ (กรมพระรำชวังบวรมหำสรุ สงิ หนำท) ได้นำยทพั นำยกองมำกขึน้ พอถึงเดือน 11 ปกี นุ พ.ศ. 2310 ส้นิ มรสุม เจำ้ ตำก ตอ่ เรือรบได้ 100 ลำ และรวบรวมทหำรได้ 5,000 คน กย็ กทัพออก จำกเมอื งจนั ทบุรี
22 ฝ่ำยนำยทองอินรู้ว่ำ เจ้ำตำกยกกองทัพเรือเข้ำมำทำงปำกน้ำ ก็รีบแจง้ ไปยังสกุ ี้แมท่ พั ทค่ี ำ่ ยโพธส์ิ ำมต้น ใหพ้ ลปนื ขน้ึ ประจำปอ้ มวไิ ชย- ประสิทธิ์ เตรียมพร้อมต่อสู้ คร้ันกองทัพเจ้ำตำกมำถึงทหำรเห็นว่ำเป็น คนไทยด้วยกันเองก็มิอยำกต่อสู้ เจ้ำตำกจึงได้เมืองธนบุรี และจับตัวนำย ทองอนิ ไปประหำรชวี ิต แลว้ เร่งกองทพั ยกขึน้ ไปยังกรงุ ศรอี ยุธยำ
23 ฝ่ำยสุก้ีแม่ทัพพม่ำที่ค่ำยโพธิ์สำมต้นเม่ือทรำบว่ำ ธนบุรีเสียแก่เจ้ำตำกแล้วก็ตกใจ รีบสั่งให้แม่ทัพรอง ช่ือมองย่ำ ยกกองทัพเรือลงมำสกัดอยู่ที่เพนียด ส่วนเจ้ำตำกเมื่อทรำบว่ำ มีข้ำศึกมำดักรอก็ยังกองทัพรอไว้ เพรำะไม่รู้ว่ำข้ำศึกมีจำนวน มำกน้อยเทำ่ ใด
24 ขณะท่ีคนไทยท่ีอยู่ในกองทัพพม่ำ เมื่อรู้ว่ำกองทัพไทยด้วยกัน ยกข้ึนไปก็รวนเร จะหลบหนีบ้ำง จะมำเข้ำกบั เจ้ำตำกบ้ำง มองย่ำเห็นท่ำไม่ดี เกรงว่ำหำกพวกไทยไม่เต็มใจจะต่อสู้แล้วพำกันเป็นกบฏขึ้นมำ จะควบคุม กองทพั ไม่ได้ จงึ รบี หนีเอำตัวรอดกลบั มำทีค่ ่ำยโพธ์สิ ำมตน้
25 รุ่งเช้ำเจ้ำตำกได้รู้ว่ำ ข้ำศึกถอยทัพออกจำกเพนียดแล้วก็รีบ ยกทัพตำมขน้ึ ไป ระดมทหำรเขำ้ ตีคำ่ ยพมำ่ ข้ำงฟำกตะวันออก พอเวลำ 9 นำฬิกำก็ตีได้ค่ำยน้ัน เจ้ำตำกให้เข้ำตั้งรักษำค่ำยแล้วทำบันได สำหรับจะพำดปนี คำ่ ยพม่ำฟำกตะวันตก
26 ครั้นเข้ำเวลำค่ำก็สั่งให้พระยำพิพิธ พระยำพิไชย นำยทหำรจีน คุมกองทหำรจีนไปต้ังค่ำยประชิด ค่ำยสุกี้ทำงวัดกลำง พอรุ่งเช้ำก็ให้ กองทหำรไทย-จีน เข้ำระดมตีค่ำยสุกี้พร้อมกัน รบกันต้ังแต่เช้ำจนเที่ยง กองทัพเจ้ำตำกก็เข้ำค่ำยทหำรพม่ำได้ ฆ่ำสุก้ีแม่ทัพตำยในสนำมรบ ไพรพ่ ลทเี่ หลอื หนไี ปได้บ้ำง ทีโ่ ดนจับได้และตกเป็นเชลยก็มีอยูม่ ำก
27 เจ้ำตำกตคี ำ่ ยพมำ่ ท่ีโพธิ์สำมต้นแตก ก็ได้กรุงศรีอยุธยำกลับคืนมำ เป็นของไทยอีกคร้ัง เม่ือได้ชัยชนะแล้วเจ้ำตำกก็ตั้งทัพ อยู่ในค่ำยพม่ำที่ โพธ์สิ ำมต้น สั่งใหป้ ล่อยคนไทยทถ่ี กู พม่ำจองจำ ซง่ึ มที ั้งพระบรมวงศำนวุ งศ์ ข้ำรำชกำร และเหลำ่ รำษฎร
28 จำกนั้นสั่งกำรให้ขุด พระบรมศพพระเจ้ำเอกทัศ เชิญลงพระโกศ ประดิษฐำนในพระเมรุท่ีสร้ำงไว้ เที่ยวหำพระสงฆ์ที่ยังเหลืออยู่มำสวด ตำมประเพณแี ล้วถวำยพระเพลิงพระบรมศพ และบรรจุพระอัฐิตำมเยี่ยงอย่ำง สมเดจ็ พระเจำ้ แผน่ ดินแต่กอ่ นมำ
29 หลังเสร็จพิธีเจ้ำตำกก็ทรงช้ำง ทอดพระเนตรในบริเวณ พระรำชวัง และสถำนท่ีต่ำง ๆ ในพระนคร เห็นปรำสำทรำชมณเฑียร วดั วำอำรำม บ้ำนเรือนรำษฎร ถกู ขำ้ ศึกเผำทำลำยเสียหำย เป็นอันมำก ก็สลดใจจึงล้มเลิก ควำมตั้งใจท่ีจะบูรณะกรุงศรีอยุธยำ แต่จะไปสร้ำง เมอื งธนบรุ ีเป็นเมืองหลวงใหม่แทน
30 เหตุที่เจ้ำตำกทรงสร้ำงเมืองหลวงใหม่เพรำะทรงเห็นว่ำ กรุงศรีอยธุ ยำแมจ้ ะเป็นท่ีมีชัยภูมิด้วยน้ำล้อมรอบ มีป้อมปรำกำรม่ันคง ก็จริง แต่กำลังพลของเจ้ำตำกที่มีอยู่ไม่มำกพอที่จะบำรุงรักษำกรุง และขณะน้นั ศัตรูก็มีท้ังพม่ำ และก๊กต่ำง ๆ ซ่ึงกรุงศรีอยุธยำอยู่ในทำง ที่ข้ำศึกจะมำถึงได้สะดวกทั้งทำงบก และทำงน้ำ ถ้ำมีกำลังไม่มำกพอ กำรต้งั อยทู่ ี่กรงุ ศรีอยธุ ยำก็จะเปน็ อนั ตรำย
31 กำรลงมำตั้งอยู่ที่เมืองธนบุรี ก็ไม่ห่ำงไกลจำกกรุงศรีอยุธยำนัก แตไ่ ด้เปรียบตรงทใี่ กล้ทะเล แม้ข้ำศึกมำทำงบกไม่มีทัพเรือเป็นกำลังก็ยำกท่ี จะตีกรุงธนบุรี หำกสุดวิสัยรักษำเมืองไว้ไม่ได้จริง ๆ ก็อยู่ใกล้ปำกน้ำ สำมำรถลงเรือถอยทัพกลับไปเมืองจันทบุรีอย่ำงเดิมก็สะดวก ด้วยเหตุผลนี้ เจ้ำตำกจงึ ต้งั กรงุ ธนบุรีเป็นรำชธำนี แล้วทำพิธีรำชำภิเษกประกำศเกียรติยศ เป็นพระเจำ้ แผ่นดนิ ทรงพระนำมว่ำ “ พระเจำ้ กรุงธนบุรี ”
32
33 สาระนา่ รู้กบั จกุ ภายหลังจากที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้สถาปนา กรุงธนบุรีเป็นราชธานีใน พ.ศ. 2311 เป็นต้นมา อาณาจักรธนบุรี ก็เริ่มมีความเป็นปึกแผ่น มีการขยายพระราชอาณาเขตออกไปอย่าง กว้างขวาง การค้ากับต่างประเทศโดยเฉพาะการค้าขายกับพ่อค้าจีน ก็ขยายตัวมากขึ้นมีการพัฒนาด้านต่างๆ เช่น การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การสร้างสรรค์ ภมู ิปัญญาและวัฒนธรรมไทยตามลาดับ
34 ปจั จยั ท่มี ผี ลตอ่ ความเจรญิ รงุ่ เรอื ง ของอาณาจกั รธนบรุ ี
35 ควำมเขม้ แขง็ ทำงด้ำนกำรทหำร ห ลั ง จ า ก ก า ร เ สี ย ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า ใ น พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้ทรง รวบรวมชุมนุมต่างๆที่ต้ังตัวเป็นใหญ่เข้ามาอยู่ ภ า ย ใ ต้ อ า น า จ ข อ ง พ ร ะ อ ง ค์ ไ ด้ เ ป็ น ผ ล ส า เ ร็ จ นอกจากนี้ พระองคย์ งั มแี มท่ ัพทม่ี คี วามสามารถ เช่น สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก เจ้าพระยาสุรสีห์ พระยาพิชัย (ดาบหัก) เป็นต้น และการท่ีรัฐต่างๆ ไม่สามารถรบชนะธนบุรไี ดเ้ หมือนสมัยอยุธยาก่อนจะ เสียกรุง ทาให้อานาจทางทหารของธนบุรีเป็นที่น่า เกรงขามของข้าศึก ส่งผลให้ธนบุรีขยายอาณาเขต ออกไปไดก้ วา้ งขวางมากขึ้น
36 นโยบำยฟนื้ ฟเู ศรษฐกจิ ในระยะแรกของการสถาปนาอาณาจักร ธ น บุ รี เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ขอ ง ธ น บุ รี ต ก ต่ า ล ง ม า ก สื บ เ นื่ อ ง ม า จ า ก ส ง ค ร า ม เ สี ย ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงใช้นโยบาย แก้ปัญหาด้านเศรษฐกิจอย่างเร่งด่วน เช่น การแก้ไขปัญหาเรื่องขาดแคลนขา้ วสาร ข้าวเปลือก การอาศัยพ่อค้าสาเภาจีนช่วยแก้ไขให้การค้าฟ้ืนตัว การส่งเสริมให้ราษฎรทานา เพาะปลูก เป็นต้น เศรษฐกจิ จงึ ไดเ้ รม่ิ ฟน้ื ตัวอยา่ งรวดเร็ว
37 นโยบำยฟ้ืนฟพู ระพทุ ธศำสนำ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า ต า ก สิ น ม ห า ร า ช ให้ความสาคัญกับพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะฟ้ืนฟูคณะสงฆ์ท่ีเสื่อมโทรมลงไปมาก เมื่อคราวสงครามเสียกรุงศรีอยุธยาให้เจริญรุ่งเรือง ดังเดิม เพราะพระพุทธศาสนาถือเป็นหลักสาหรับ การดาเนินชีวิตของคนไทยในสมัยน้ัน ถ้าคณะสงฆ์ มี ค ว า ม ม่ั น ค ง แ ล ะ เ ค ร่ ง ค รั ด ต่ อ ก า ร รั ก ษ า ศี ล ประพฤติธรรม ก็จะช่วยจรรโลงสังคมไทยสมัยน้ัน ไดม้ าก
38 แบบฝึกหดั หลงั เรียน
39 แบบฝกึ หดั หลงั เรยี น 1. พระเจ้าตากหนีออกจากกรุงศรี ก. เมืองตาก อยธุ ยาไปรวบรวมผู้คนท่เี มอื งใด ข. เมืองจนั ทบรุ ี ค. เมืองพษิ ณุโลก ง. เมอื งกาแพงเพชร
40 แบบฝกึ หัดหลังเรียน ก. อยธุ ยาไดร้ ับความเสียหายมากจนไม่สามารถเป็นราชธานไี ด้ 2. หลังเสียกรุงศรีอยุธยา คร้ังท่ี 2 ข. เขมรเขา้ ยดึ ครองหัวเมืองชายฝัง่ ตะวันออกของไทย สภาพบ้านเมืองของอยุธยามีลักษณะ ค. พมา่ ยดึ อยธุ ยาเป็นเมอื งประเทศราช อยา่ งไร ง. ลาวต้ังตนเปน็ อสิ ระจากอยุธยา
41 แบบฝกึ หัดหลังเรียน 3. กอ่ นการสารวจสภาพทั่วไปของ ก. ตั้งชุมนมุ พระเจา้ ตาก อาณาจักรอยุธยาหลังเสียให้แก่ ข. ถวายเครอื่ งราชบรรณาการแก่พระเจ้ากรุงจนี พม่าเม่ือ พ.ศ. ๒๓๑๐ พระยาตาก ค. ถวายพระเพลงิ สมเดจ็ พระที่นงั่ สุรยิ าศน์อัมรนิ ท์ ได้ปฏิบัติภารกิจใดก่อนการย้าย ง. ต้ังโรงทานแจกข้าวและเครอ่ื งมือจาเปน็ แกช่ าวบา้ น ราชธานีมาอยู่ ณ กรงุ ธนบุรี
42 แบบฝึกหดั หลังเรียน 4. เหตุผลข้อใดท่ีพระยาตาก ก. กรุงศรีอยธุ ยาทรดุ โทรมยากทจ่ี ะบรู ณะ ตั ด สิ น ใ จ เ ลื อ ก ก รุ ง ธ น บุ รี เ ป็ น ข. กาลงั พลไม่เพยี งพอจะรกั ษากรุงศรีอยุธยา ราชธานีแห่งใหม่แทนกรุงศรี อยุธยา ค. มปี อ้ มปราการขนาดย่อมพอเพียงกับกาลังพล ง. กรงุ ธนบรุ อี ยู่ตดิ กับทะเล สะดวกในการค้าขาย
43 แบบฝกึ หัดหลงั เรยี น 5. กรุงธนบุรีสถาปนาเป็นราชธานี ก. พ.ศ.2310 เมื่อปี พ.ศ.ใด ข. พ.ศ.2311 ค. พ.ศ.2312 ง. พ.ศ.2313
44 แบบฝึกหัดหลังเรียน ก. ใช้กรุงธนบรุ ที ีม่ ั่นในการกอบกเู้ อกราช 6. ขอ้ ใดกล่าวถึงการเตรียมการกอบกู้ ข. ใชเ้ วลาในการกอบก้เู อกราชยาวนานถึง 15 ปี เอกราชของพระเจา้ ตากสินได้ถูกตอ้ ง ค. เจ้าตากจะยกทพั เจา้ โจมตที ่ีพม่าทก่ี รุงศรีอยุธยาเปน็ ครั้งแรก ทีส่ ดุ ง. เตรยี มต่อเรือรบท่ีจนั ทบรุ ี และยกทัพลดั เลาะตามชายฝั่งทะเล
45 แบบฝกึ หดั หลังเรยี น 7. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยท่ีส่งผลต่อความ ก. นโยบายฟ้นื ฟเู ศรษฐกิจ เจรญิ ร่งุ เรอื ของอาณาจักรธนบุรี ข. ความเขม้ แขง็ ทางสังคม ค. นโยบายฟน้ื ฟูพระพทุ ธศาสนา ง. ความเข้มแข็งทางดา้ นการทหาร
46 แบบฝึกหดั หลังเรยี น 8. ในระยะแรกของการสถาปนา ก. เศรษฐกิจดี อาณาจักร เศรษฐกิจของธนบุรี ข. เศรษฐกจิ พอดี มีลักษณะเป็นอย่างไร ค. เศรษฐกจิ ตกต่า ง. เศรษฐกจิ ปานกลาง
47 แบบฝึกหัดหลงั เรียน 9. อาณาจักรธนบุรีค้าขายกบั ชาตใิ ด ก. ประเทศจนี มากทส่ี ุด ข. ประเทศอนิ เดีย ค. ประเทศฝรัง่ เศส ง. ประเทศองั กฤษ
48 แบบฝกึ หดั หลังเรยี น 10. ปัญหาเศรษฐกิจในขอ้ ใด ก. ปญั หาการขาดแคลนนา้ เกิดขน้ึ ในสมยั ธนบรุ ี ข. ปญั หาการขาดแคลนกาลงั คน ค. ปัญหาการขาดแคลนขา้ วสาร ง. ปญั หาการขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ
Search