Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

T1

Published by nung1_com, 2017-03-21 00:49:23

Description: T1

Search

Read the Text Version

การสอื่ สารขอ้ มูล Data CommunicationsLOGO

คาํ ถาม1. การสอ่ื สารขอ้ มลู คอื อะไร?

ความหมายของการส่ือสารขอ้ มูล การส่ือสาร(Communications) คือการติดต่อเพ่ือการส่ือความหมายระหว่างผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสาร ผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารอาจจะอยู่ในสถานท่ีเดียวกันหรืออยู่ต่างสถานที่กันก็ได้ในกรณีท่ีผู้ส่งข่าวสารและผู้รับข่าวสารอยู่ใกล้กันหรืออยู่ในสถานท่ีเดียวกัน รูปแบบการส่ือสารท่ีถูกนํามาใช้ก็อาจจะเป็นการน่ังพูดคุยกัน หากอยู่ต่างสถานท่ีกันก็อาจจะใช้การเขียนจดหมาย, การส่งโทรเลข, โทรศัพท,์ โทรสาร

คาํ ถาม2. ถ้านักศึกษาต้องการส่งข่าวให้ญาติท่ีอยู่ต่างจังหวัดมาร่วม งานทําบญุ ขน้ึ บ้านใหม่ ƒ นกั ศกึ ษาจะเลอื กส่งข่าวสารด้วยวธิ ีใดเรว็ ทส่ี ดุ ƒ และวธิ ีใดประหยัดทีส่ ุด ƒ พรอ้ มอธิบายเหตผุ ล

เทคโนโลยีโทรคมนาคม และการสอ่ื สารขอ้ มลู เทคโนโลยีการส่ือสารข้อมูล เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีประกอบด้วยเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีโทรคมนาคม เทคโนโลยีโทรคมนาคม หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้ในการส่ือสารระหว่างผู้สง่ ขา่ วและผู้รบั ข่าว เช่น โทรเลข โทรศัพท์ ดาวเทยี ม เป็นตน้ คําว่าการส่ือสารข้อมูล หรือ เทคโนโลยีคมนาคม มักถูกใช้ร่วมกันเสมอ ซึ่งความจริงแล้วเทคโนโลยีโทรคมนาคมจะมีความหมายที่กว้างและครอบคลุมมากกว่าการส่ือสารข้อมูล หรืออาจกล่าวอีกนัยหน่ึงได้ว่า การสื่อสารข้อมูลเป็นส่วนยอ่ ยสว่ นหน่งึ ของเทคโนโลยโี ทรคมนาคม

™โทรเลข (Telegraphy)™โทรพมิ พ์ (Telex)™โทรสาร (Facsimile)™โทรศัพท์ (Telephone)™โทรทศั น์ (Television)™วิทยกุ ระจายเสียง (Radio)™ไมโครเวฟ (Microwave)™ดาวเทียม (Satellite)

โทรเลข หลักการทํางานของระบบโทรเลข จะใช้วิธีการแปลตัวอักษรหรืออักขระ ตัวเลข ให้เป็นรหัส จากน้ันทําการแปลรหัสดังกล่าวให้เป็นสัญญาณไฟฟ้าส่งผ่านตัวกลาง เช่น สายทองแดงเพอ่ื ไปยงั ปลายทาง เม่อื ปลายทางไดร้ ับกจ็ ะทาํ การถอดรหัสให้เป็นข้อความ

โทรพิมพ์ เป็นรูปแบบของบการบริการโทรเลข ชนิดหน่ึง แต่ผู้ใช้งานสามารถติดต่อ โต้ตอบได้ โดยเครื่องโทรพิมพ์จะมี ลักษณะคล้ายเครื่องพิมพ์ดีดท่ีเป็นได้ ท้ังเคร่ืองรับส่งข้อมูลในตัวเดียวกัน โทรพิมพ์ส่ือสารกันได้ด้วยการพิมพ์โต้ตอบระหว่างกัน โดยข้อความที่ส่งถึงกันจะทําได้ด้วยการพิมพ์ข้อความลงบนกระดาษพิมพ์ของท้ังสองฝ่าย และถึงแม้ว่าฝ่ายผู้รับจะไม่มีพนักงานคอยรับข้อความ เครื่องก็สามารถทํางานและหยุดไดเ้ องโดยอตั โนมตั ิ

โทรสาร เคร่ืองโทรสารมักเรียกส้ัน ๆ ว่า แฟกซ์ ใช้เทคนิคของแสงสแกนลงบนเอกสาร ต้นฉบับที่สามารถเป็นได้ทั้งข้อความและภาพจ า ก น้ั น ก็ จ ะ เ ป ลี่ ย น เ ป็ น สั ญ ญ า ณ ไ ฟ ฟ้ า เ พ่ื อ ส่ ง ต่ อ ไ ป ต า มสายโทรศัพท์ เมื่อเคร่ืองฝ่ายผู้รับได้รับข้อมูลที่ส่งมา ก็จะนําข้อมูลที่เปน็ สัญญาณไฟฟ้านั้นมาเปลี่ยนเปน็ ขอ้ มูลทเี่ หมอื นกับต้นฉบบั

โทรศัพท์ เป็นอุปกรณ์ท่ีนิยมใช้เป็นอย่างสูง ซ่ึงมักมีใช้งานตามบ้านเรือนเกือบทุกครัวเรือน ในปัจจุบัน ชุมสานโทรศัพท์น้ันได้มีการพัฒนาและเปล่ียนมาเป็นรูปแบบของสัญญาณดิจิตอลในบางพื้นที่มากข้ึนตามลําดับ เพ่ือรองรับการส่ือสารข้อมูลความเร็วสูง การใช้ชุมสายโทรศัพท์ในการสื่อสารนั้นราคาถูกและเป็นท่ีนิยมตัวอย่างเช่น การใช้งานอินเทอร์เน็ตตามบ้านเรือนต่าง ๆ ด้วยการใช้คอมพิวเตอร์เช่ือมต่อกับโมเด็ม ซ่ึงบางบริษัทท่ีบริการอินเทอร์เน็ตก็ยังคงรูปแบบการบริการแบบอนาล็อกกับแบบดิจิตอลความเร็วสูง โดยระบบดิจิตอลจะมีช่องสัญญาณหรือแบนด์วิดธ์ที่กว้างกว่า ทําให้มีการรับส่งข้อมูลที่รวดเร็วโดยเฉพาะข้อมูลในรูปแบบของสื่อประสมหรือมัลติมีเดีย อีกทั้งในขณะท่ีใช้งานก็ยังสามารถใช้งานโทรศัพท์ได้อีกด้วยเนื่องจากใช้ช่องความถ่ีที่ต่างกันในการส่ือสาร ในขณะที่รูปแบบเดิมหรือแบบอนาล็อกนน้ั เมอ่ื ใช้งานอนิ เทอรเ์ นต็ อยู่ก็จะไมส่ ามารถใช้งานโทรศพั ท์ได้

โทรทัศน์ เป็นระบบท่ีใช้ในการแพร่ภาพกระจายท่ีย่านความถ่ีสูง หรือย่านความถี่สูงมาก ซ่ึงเป็นย่านความถ่ีท่ีใช้สําหรับกิจการทาง ปัจจุบันการส่งสัญญาณโทรทัศน์ในประเทศไทยมีอยู่ 2 ระบบด้วยกัน คือ ระบบออกอากาศทว่ั ไป และระบบเคเบลิ ทวี ี ซึง่ ระบบน้จี าํ เป็นตอ้ งสมัครสมาชกิและต้องเสียค่าบริการรายเดือน นอกจากนี้ยังมีเทคโนโลยีหนึ่งเรียกว่าVideo on Demand ซ่งึ เป็นระบบโทรทศั นท์ ีผ่ ูช้ มสามารถเป็นผ้เู ลือกชมรายการได้ดว้ ยตนเอง

วทิ ยกุ ระจายเสียง เป็นการสื่อสารที่อาศัยคล่ืนวิทยุด้วยการส่งคลื่นไปยังอากาศเพ่ือเข้าไปยังเคร่ืองรับวิทยุ โดยใช้เทคนิคการกล้ําสัญญาณหรือเรียกว่าการมอดูเลต (Modulate) ทําให้การสื่อสารด้วยวิทยุกระจายเสียงนั้นไม่จําเป็นต้องใช้สาย อีกท้ังยังสามารถส่งคลืน่ ไดใ้ นระยะทางทไี่ กลออกไปได้ตามประเภทของคลื่นนน้ั ๆ

ไมโครเวฟ การสง่ สัญญาณขอ้ มลู ไมโครเวฟมักใช้กนั ในกรณีท่กี ารตดิ ตัง้ สายเคเบลิทําได้ไม่สะดวก แต่ละสถานีไมโครเวฟจะติดตั้งจานส่ง-รับสัญญาณข้อมูล ซ่ึงมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10 ฟุต สัญญาณไมโครเวฟเป็นคลื่นย่านความถี่สูง(2-10 จิกะเฮิรตซ)์ เพือ่ ป้องกนั การแทรกหรอื รบกวน จากสัญญาณอ่ืนๆ แต่สัญญาณอาจจะ อ่อนลงหรือหักเหได้ในท่ีมีอากาศร้อน จัด พายุหรือฝน ดังน้ันการ ติดตั้งจาน ส่ง-รับสัญญาณจึง ต้องให้หนั หน้าของจานตรงกัน และหอยง่ิ สงู ยิ่งส่งสัญญาณไดไ้ กล

ดาวเทยี ม ท่ีจริงดาวเทียมก็คือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้าน่ันเอง ซึ่งทําหน้าท่ีขยายและทบทวนสัญญาณข้อมูล รับและส่งสัญญาณข้อมูลกับสถานีดาวเทียมที่อยู่บนพื้นโลก สถานีดาวเทียมภาคพ้ืนจะทําการส่งสัญญาณข้อมูลไปยังดาวเทียม ซ่ึงจะหมุนไปตามการหมุนของโลกซ่ึงมีตําแหน่งคงท่ีเมื่อเทียมกับตําแหน่งบนพื้นโลก ดาวเทียมจะถูกส่งข้ึนไปให้ลอยอยู่สูงจากพ้ืนโลกประมาณ 23,300 กม. เคร่ืองทบทวนสัญญาณของดาวเทียม (Transponder) จะรับสัญญาณข้อมูลจากสถานีภาคพ้ืนซ่ึงมีกําลังอ่อนลงมากแล้วมาขยาย จากนั้นจะทําการทบทวนสัญญาณ และตรวจสอบตําแหน่งของสถานีปลายทาง แล้วจึงส่งสัญญาณข้อมูลไปด้วยความถี่ในอีกความถ่ีหน่ึงลงไปยังสถานีปลายทาง การส่งสัญญาณข้อมูลขึ้นไปยังดาวเทียมเรียกว่า \"สัญญาณอัปลิงก์\"(Up-link) และการส่งสัญญาณข้อมูลกลับลงมายังพื้นโลกเรียกว่า \"สัญญาณ ดาวน์-ลงิ ก์ (Down-link)

ดาวเทยี มลักษณะของการรับส่งสัญญาณข้อมูลอาจจะเป็นแบบจุดต่อจุด(Point-to-Point) หรือแบบแพร่สัญญาณ (Broadcast) สถานีดาวเทียม 1 ดวง สามารถมีเคร่ืองทบทวนสัญญาณดาวเทียมได้ถึง 25เครื่อง และสามารถครอบคลุมพื้นท่ีการส่งสัญญาณได้ถึง 1 ใน 3 ของพ้นื ผิวโลก ดังน้ันถ้าจะส่งสัญญาณข้อมูลให้ได้รอบ โลกสามารถทําได้โดยการส่งสัญญาณ ผ่านสถานีดาวเทียมเพียง 3 ดวง เทา่ นน้ั

คาํ ถาม3. ใหอ้ ธบิ ายลกั ษณะการสอ่ื สารต่างๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี E-mail  Electronic Fund Transfer : EFT Voice mail  Electronic Data Interchange : EDI Video Conferencing  Blue Tooth GPSs  Wi-fi Groupware  Wi-max


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook