ข. - 1 ภาคผนวก ข. หลกั การบัญชเี บอ้ื งตน เนอ้ื หาสาระ ทส่ี ําคัญของบทนี้ ครอบคลมุ รายละเอียดรวม 12 เร่อื ง ดังนี้ เรอ่ื ง 1 ความหมายของการบัญชี เรอ่ื ง 2 แมบทการบญั ชี เรือ่ ง 3 ผูใชประโยชนจ ากการบญั ชี เรอ่ื ง 4 งบการเงนิ เรื่อง 5 รายการคา เรื่อง 6 สมการบัญชี เร่ือง 7 บญั ชแี ละบัญชีแยกประเภท เรอ่ื ง 8 วงจรบญั ชี เรอื่ ง 9 ผังบัญชี เรื่อง 10 สมดุ รายวนั ท่ัวไปและวิธีการบันทึกรายการ เรอื่ ง 11 การผานรายการบญั ชีรายวนั ไปยงั บัญชแี ยกประเภท เรือ่ ง 12 งบทดลอง วัตถปุ ระสงค 1. อธบิ ายความหมาย ของการบญั ชไี ด 2. เขา ใจในเร่อื งแมบทของการบญั ชี 3. เขาใจและอธบิ ายถงึ ประโยชนจากการบัญชี 4. เขา ใจและสามารถอธิบายเก่ยี วกับงบการเงินได 5. อธิบายไดวารายการคาเก่ียวขอ งกบั การดําเนินธรุ กิจอยา งไร 6. เขา ใจและอธบิ ายถึงหลกั การสมการบญั ชี 7. บนั ทึกรายการเปลีย่ นแปลงในบัญชีและบัญชีแยกประเภทได 8. อธบิ ายและบันทึกรายการบัญชที เ่ี กิดข้นึ และเขา ใจถงึ วงจรทางบญั ชี 9. จัดระบบผงั บัญชีใหเปน หมวดหมูอ ยางเปน ระเบียบ 10. เขาใจถึงสมุดรายวันท่ัวไปและวิธกี ารบนั ทึกรายการ 11. ผานรายการบัญชรี ายวันไปยังบญั ชแี ยกประเภทได 12. จดั ทาํ งบทดลองได
ข. - 2 เร่ืองที่ 1. ความหมายของการบญั ชี “ การเงินมีปญหา ” เปนปญหาที่หลายองคการไมอยากใหเกิดขึ้น การปองกันปญหานี้สามารถกระทํา ไดหากกิจการมีการวางระบบบัญชีและการควบคุมทางการเงิน เพราะขอมูลทางการเงิน เพราะขอมูลทางการเงิน สามารถบงช้ีใหเห็นสถานะของกิจการไดเปนอยางดี ซึ่งผูบริหารจะใชขอมูลเพื่อตัดสินใจทางการบริหาร ดังนั้น การมีขอ มูลทางการเงินท่ีถูกตองจะทําให ผูบริหารตัดสินใจไดอยางมีประสิทธิมากขึ้น กลาวไดวา “ การบัญชีคือ หูและตาของฝายบริหาร ” อยางไรก็ตาม การท่ีจะมีขอมูลทางการเงินที่ถูกตอง ยอมตองมีระบบการบัญชีที่ ถกู ตอ งและมีประสิทธิภาพดวย ซงึ่ จะขออธิบายในแตล ะสว นดงั ตอไป ความหมายของการบัญชี การบัญชีเปน ศิลปะในการจดบันทึกรายการหรือเหตุการณท่ีเกี่ยวของกับ การเงินในรูปแบบของเงินตรา มีการจัดแยกหมวดของรายการที่บันทึก มีการสรุปผลและวิเคราะหความหมาย ของรายการทท่ี ําการบนั ทกึ ซง่ึ แสดงอยใู นรปู ของรายงานทางการเงนิ จากความหมายขางตนจะเห็นไดวาการบัญชี เปนงานบริการอยางหนึ่งเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมขอมูล ทางการเงินของกิจการและรายงานผลการประกอบการ ซ่ึงเปนประโยชนของกิจการท่ีจะใชวัดประสิทธิภาพใน การดําเนินงาน อยางไรก็ตามในการดําเนินธุรกิจมีหลายรูปแบบ ซึ่งแตละรูปแบบจะมีลักษณะการบันทึกรายการ ทางบัญชีที่แตกตางกันไป ดังน้ันจึงขออธิบายเก่ียวกับรูปแบบซึ่งแตละรูปแบบจะมีลักษณะการบันทึกรายการทาง บัญชที แี่ ตกตา งกันไป ดงั น้ันจึงขออธบิ ายรูปแบบของธรุ กิจดังนี้ กิจการเจาของคนเดียว ( Single Proprietorship) เปนกิจการท่ีมีบุคคลคนเดียวเปนเจาของ ซ่ึงเปนผูนําเงินมาลงทุน และทําหนาท่ีต้ังแตผูจัดการ พนักงานขาย พนักงานเก็บเงิน รวมทั้งบันทึกรายการทางการเงินเอง ดังนั้นจึงรับผิดชอบในกําไรหรือขาดทุน ของกิจการแตผูเดียว ในทางกฎหมายกิจการท่ีมีเจาของคนเดียวไมถือเปนนิติบุคคลเน่ืองจากไมมีการจดทะเบียน ดังน้ัน จึงไมตองมีการรายงานผลการดําเนินงานใหแกบุคคลอื่นทราบและการดําเนินของธุรกิจไมไดข้ึนกับกฎ ขอ บังคับพิเศษอนั ใด หางหุนสว น (Partnership) เปนกิจการที่มีบุคคลต้ังแต 2 คนขึ้นไปตกลงกันเพ่ือกระทํากิจการรวมกัน เพื่อแบงปนกําไรอันพึงจะ ไดจ ากการดาํ เนินกิจการ ซง่ึ สามารถแบง ปน 2 ประเภท คอื • หางหุนสวนสามัญ คือ หางหุนสวนที่ผูเปนหุนสวนทุคนจะตองรับผิดชอบในหน้ีสินไมจํากัดจํานวน หางหนุ สว นประเภทนจ้ี ดทะเบยี นกไ็ ดหรอื ไมจ ดทะเบยี นกไ็ ด • หางหุนสวนจํากัด คือ หางหุนสวนท่ีมีการจดทะเบียนเปนนิติบุคคล และมีหุนสวน 2 ประเภท คือ หุนสวนที่จํากัดความรับผิดชอบซึ่งรับผิดชอบในหนี้สินไมเกินจํานวนเงินที่ลงทุนไวและหุนสวนที่ไม จํากัดความรับผิดชอบ จะรับผิดชอบในหนี้สินไมจํากัดจํานวนตามกฎหมายบัญญัติหางหุนสวนจํากัด ความรับผดิ ชอบจะไดรบั สิทธิในการจักการหา งหุน สว นได
ข. - 3 บรษิ ทั จาํ กัด (Corporation) เปน กิจการทีต่ งั้ ขน้ึ โดยกลมุ บุคคลทมี่ วี ัตถุประสงคเพือ่ กระทาํ กจิ กรรมทางธุรกจิ รวมกัน ซ่ึงจะตองมีการ จดทะเบียนเปนนิติบุคคลแยกจากผูเปนเจาของคือผูถือหุน ผูถือหุนแตละคนมีสวนเปนเจาของบริษัทตามหุนท่ี ตนเองถืออยู โดยมีการแบงทุนออกเปนหุนเพื่อใชเปนเงินลงทุนในการดําเนินกิจการ เงินที่ไดจากการแบงทุน เปนหุนเรียกวา “ ทุนเรือนหุน ” ผูถือหุนไมมีสิทธิเขามาจัดการบริษัทยกเวนจะไดรับแตงตั้งเปนกรรมการ เนื่องจากการจัดการบริษัทจะเปนหนาท่ีกรรมการบริษัทเทานั้น ผูถือหุนจะไดรับสวนแบงในรูปของเงินปนผล บริษัทจาํ กัดสามารถแบง ไดเปน 2 ประเภท คอื บริษทั เอกชน จํากดั หมายถึง บริษัทท่ีจัดตั้งข้ึนตามประมวลกฎหมายเพงและพาณิชยมาตรา 1095 วา “บรษิ ทั จํากัด คอื บรษิ ทั ประเภทหนง่ึ ทจ่ี ดั ต้งั ขึ้นดว ยการแบงทุนเปน หุนมีมลู คา เทา ๆกัน โดยมีผูถือหุนหน่ึงรอยคน รวมทั้งนิติบุคคล (ถามี) ผูถือหุนจะรับผิดจํากัดเพียงไมเกินจํานวนเงินท่ีตนยังสงใชไมครบ (หรือครบจํานวน) มลู คาของหุน ทตี่ นถอื ” บริษัท มหาชน จํากัด หมายถึง บริษัทท่ีจัดตั้งข้ึนตามพระราชบัญญัติจํากัดมหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 15 วา “บริษัทมหาชน จํากัด คือบริษัทประเภทหนึ่งท่ีตองข้ึนดวยความประสงคที่เสนอขายหุนใหกับ ประชาชน โดยผูถือหุนมีความรับผิดจํากัดไมเกินจํานวนเงินคาหุนที่ตองชําระและบริษัทดังกลาวตองระบุความ ประสงคเ ชน นัน้ ไวใ นหนังสือบรคิ ณหสนธิ ” เร่อื งท่ี 2. แมบทการบัญชี ขอ มูลทางบญั ชนี บั เปนประโยชนแกบุคคลหลายฝาย ดังน้ันเพื่อใหขอมูลท่ีจัดทําและนําเสนอมีความนา เชื่อถอื จงึ ตองมกี ารจัดทํางบการเงนิ ข้ึนตาม “ หลักการบัญชีท่ีรับรองทั่วไป : General Accounting Principles ” ที่ จะบงช้ีถึงวิธีปฏิบัติทางบัญชี สําหรับการบัญชีท่ีนิยมกันโดยทั่วไปในประเทศสหรัฐอเมริกา The American Institute of Certified Public Accountants : AICPA เปนผูกําหนดหลักการบัญชีเพ่ือใหนักบัญชียึดถือตามเพ่ือ ใชปฏิบตั แิ ละเปนมาตรฐานเดียวกัน สําหรับประเทศไทยสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหงประเทศไทย เปนผูกําหนดขอ ปฏิบัติตาง ๆ ทางการบัญชี ซึ่งไดมีการแถลงการณเกี่ยวกับมาตรฐานการบัญชีหลายฉบับรวมท้ังการกําหนดขอ สมมุติข้ันมูลฐานทางการบัญชี เพ่ือใชเปนหลักเกณฑในการจัดทําบัญชี ซ่ึงในปจจุบันไดมีการยกเลิกมาตรฐาน การบัญชีฉบับท่ี 1 และประกาศใช “ แมบทการบัญชี ” ต้ังแตวันท่ี 25 กุมภาพันธ 2545 ซึ่งแมบทการบัญชีน้ี ไดกําหนดเกณฑสําหรับการจัดทําและนําเสนองบการเงินในเรื่องเก่ียวกับวัตถุประสงค กลุมผูใชงบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพของ งบการเงิน องคประกอบของงบการเงิน และคํานิยามขององคประกอบน้ัน รวมถึง เกณฑการรับรูรายการในงบดุล การวัดมูลคาของรายการ และแนวคิดเกี่ยวกับทุนและการรักษาระดับทุนที่ใช วดั ผลกําไรในงบการเงนิ โดยมีรายเอยี ดขอสมมตุ ฐิ านทางการบัญชี ดงั นี้
ข. - 4 1. เกณฑค งคา ง เพ่ือใหขอมูลแกผูใชงบการเงินเกี่ยวกับรายการคาในอดีต ที่เก่ียวของกับการรับและการจายเงินสด ภาระผูกพันที่กิจการตองจายเปนเงินสดในอนาคต และขอมูลเก่ียวกับทรัพยากรท่ีจะไดรับเปนเงินสดในอนาคต ดวย โดยจะบันทึกบัญชีและแสดงในงบการเงินตามงวดท่ีเกี่ยวของซึ่งจะเปนประโยชนตอผูใชงบการเงินสําหรับ การตัดสินใจในเชงิ เศรษฐกจิ 2. การดําเนินงานตอเนื่อง โดยทั่วไปงบการเงินจัดทําข้ึนตามขอสมมุติท่ีวากิจการจะดําเนินงานอยางตอเนื่องและดํารงอยูตอไปใน อนาคต ดังนั้นจึงสมมุติวากิจการไมมีเจตนาหรือมีความจําเปนที่จะเลิกกิจการ หรือลดขนาดของการดําเนินงาน หากกจิ การมีเจตนาหรือความจําเปน ดงั กลา วงบการเงินจะตองจัดทาํ ข้นึ โดยใชเกณฑอื่นและตองเปดเผยเกณฑที่ใช ในงบการเงนิ ดวย 3. ลักษณะเชงิ คณุ ภาพของงบการเงนิ หมายถงึ คุณสมบัติท่ีทําใหขอมูลในงบการเงินมีประโยชนตอผูใชงบการเงิน ซึ่งคุณสมบัติดังกลาว จะ ชวยใหผูใชงบการเงินสามารถอานงบการเงินและมีความเขาใจได และงบการเงินนั้นมีความนาเช่ือถือ สามารถ เปรียบเทียบปจจัยตางๆ ท่ีเก่ียวของและทําใหเกิดความม่ันใจตอการตัดสินใจในเร่ืองตางๆ ไดดี ความเก่ียวของ กบั การตดั สินใจ ความเชอ่ื ถือได และการเปรียบเทียบกนั ได 4. ความเขา ใจ เปนขอสมมุติเก่ียวกับความรูของผูใชงบการเงินวาจะมีความรูเก่ียวกับธุรกิจ กิจกรรมเชิงเศรษฐกิจและ การบัญชี เพ่ือมิใหเกิดการละเวนขอมูลบางอยางเพื่อเหตุวาขอมูลดังกลาวมีความยุงยากหรือซับซอนเกินกวาผูใช งบการเงินจะทาํ ความเขา ใจ 5. ความเกย่ี วของกับการตัดสินใจ จะเกี่ยวของกับประโยชนตอการตัดสินใจในเชิงเศรษฐกิจ ซ่ึงจะชวยใหผูใชงบการเงินประเมิน เหตุการณในอดีต ปจจุบัน และอนาคต รวมไปถึงบงชี้ถึงขอผิดพลาดของการประเมินที่มาของผูใชงบการเงิน เพ่ือประโยชนในการยืนยันผลคาดคะเนที่ผานมา เชน การคาดคะเนความสามารถของกิจการในการลงทุน และ เพ่ือประโยชนในการคาดคะเนฐานะทางการเงนิ ในอนาคต 6. เหตุการณมนี ัยสําคัญ หมายถึงเหตุการณซ่ึงหากท่ีผูเกี่ยวของไมไดรับราบ อาจสงผลตอการตัดสินใจ ทําใหเกิดการตัดสินใจท่ี ผิดพลาดได ดังนั้น งบการเงินจึงควรเปดเผยขอมูลนัยสําคัญที่มีผลตอการตัดสินใจ ท้ังนี้มีความนัยสําคัญจะ ขนึ้ อยกู ับขนาดของการผิพลาดทเี่ กิดข้ึน ภายใตส ภาพการณเฉพาะจึงตองมกี ารพจิ ารณา เปนกรณๆี ไป 7. ความเชอื่ ถือได เพื่อใหไดขอมูลท่ีมีความนาเช่ือถือ ดังนั้น การบันทึกขอมูลทางการเงินและการจัดทําบัญชีตองจัดทํา ข้ึน โดยอาศัยหลักฐานและขอเท็จจริงอันเท่ียงธรรม เพ่ือใหบุคคลที่เกี่ยวของเขาใจในงบการเงินของกิจการได อยางถูกตองและใกลเคียงกับความเปนจริงมากที่สุด โดยท่ัวไปงบการเงินจัดทําขึ้นตามขอสมมุติที่วากิจการจะ ดําเนินงานอยางตอเน่ืองและดํารงอยูตอไปในอนาคต ดังนั้นจึงสมมุติวากิจการไมมีเจตนาหรือความจําเปนท่ีจะ เลิกกิจการหรือลดขนาดของการดําเนินงานอยางมีในสําคัญ หากกิจการมีเจตนาหรือความจําเปนดังกลาว งบ การเงนิ จะตอ งจัดทําขึน้ โดยใชเ กณฑอ่ืนและตองเปดเผยเกณฑทใี่ ชใ นงบการเงนิ ดว ย
ข. - 5 8. การเปนตวั แทนอันเทีย่ งธรรม เพี่อใหขอ มูลเปน ตวั แทนอนั เที่ยงธรรม การบันทึกและการแสดงขอมูลตองเปนไปตามความเปนจริงใน เชิงเศรษฐกิจ เน่ืองจากบางครั้งเน้ือหาทางเศรษฐกิจอาจมีความแตกตางไปจากรูปแบบทางกฎหมาย เพื่อใหผูใช งบการเงนิ ไดท ราบขอ มลู เก่ยี วกบั กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ของเหตกุ ารณน ้ันไดช ดั เจนขึ้น 9. เนอ้ื หาสาํ คัญกวารูปแบบ ขอมูลเปนตัวแทนอันเท่ียงธรรมของรายการและเหตุการณทางบัญชี ดังน้ันขอมูลจึงตองบันทึกและ แสดงตามเนื้อหาและความเปนจริงในเชิงเศรษฐกิจประกอบดวย ทําใหบางครั้งเน้ือหาของรายการและเหตุการณ ทางบัญชอี าจไมตรงกบั รูปแบทางกฎหมาย 10. ความเปนกลาง ขอมูลในงบการเงินจะมีความนาเชื่อถือ เม่ือมีความเปนกลางปราศจากความลําเอียงงบการเงินท่ีมีการ เลอื กหรือแสดงขอ มลู ในบางประเด็นเปน งบการเงนิ ทีข่ าดความเปน กลาง 11. ความระมดั ระวงั หมายถึง การใชดุลพินิจในการประมาณการภายใตความไมแนนอน เพ่ือมิใหสินทรัพยหรือรายได แสดงจํานวนสูงเกินไป และหนี้สินและคาใชจายแสดงจํานวนต่ําเกินไป แตไมไดหมายความวากิจการตั้งสํารอง ลบั หรือตัง้ คาเผ่อื หนี้ใหสงู เกินไปโดยเจตนา ซ่ึงจะสงผลตอความเปนกลางและความนา เชือ่ ถอื ของงบการเงนิ 12. ความครบถวน หมายถึง ขอ มลู ในงบการเงินจะตอ งครบถวนจึงจะทําใหง บการเงินมคี วามนาเชอื่ ถือได เนื่องจากการไม แสดงรายการในบางรายการอาจสงผลตองบการเงิน ทําใหขอมูลมีความผิดพลาดและทําใหผูใชงบการเงินมีความ เขาใจผิดและสง ผลตอการตดั สินใจที่ผิดพลาดดวย 13. การเปรียบเทียบกนั ได ผูใชงบการเงินตองสามารถเปรียบเทียบงบการเงินของกิจการในรอบระยะเวลาท่ีตางกันได เพื่อ คาดคะเนแนวโนมของฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการนั้น รวมถึงตองสามารถเปรียบเทียบงบ การเงินระหวางกิจการไดดังนั้นงบการเงินจึงควรแสดงขอมูลของรอบระยะเวลาที่ผามาเพ่ือประโยชนในการ เปรียบเทียบ หรืออาจกลาวไดวาการเปรียบเทียบกันไดเปนลักษณะเชิงคุณภาพที่เก่ียวของกับการตัดสินใจและ ความเช่ือถือได 14. ขอจาํ กัดของขอ มูลท่ีมีความเก่ยี วของกบั การตัดสนิ ใจและความเชอื่ ถอื ทันตอเวลา ยอมแนนอนวากิจการยอมตองการขอมูลที่มีความนาเช่ือถือเพ่ือใชในการตัดสินใจ แตบางคร้ัง การ รวบรวมรายการและรายงานขอมูลอาจลาชา ทําใหขอมูลท่ีไดมาไรประโยชนเน่ืองจากไมทันตอความตองการใช งาน ดังน้ันจงึ ตองพิจารณาความตอ งการของผใู ชง บการเงินเชงิ เศรษฐกิจเปน หลัก 15. ความสมดุลระหวางประโยชนทีไ่ ดร บั กับตนทุนทเ่ี สยี ไป ปกติแลวประโยชนที่ไดรับจากขอมูลควรมีมากกวาตนทุนในการจัดหาขอมูล ซ่ึงจัดเปนลักษณะเชิง คุณภาพที่จําเปนตองใชดุลพินิจเปนหลัก ในการประเมินประโยชนและตนทุนโดยประโยชนของขอมูลน้ันอาจมี แกบ คุ คลอ่ืนนอกเหนอื จากกิจการกไ็ ด
ข. - 6 16. ความสมดลุ ของลกั ษณะเชิงคุณภาพ ผูจัดทํางบการเงินจําเปนตองหาความสมดุลของลักษณะเชิงคุณภาพตางๆ เพื่อใหงบการเงินบรรลุ วัตถุประสงค ซ่ึงจะมีความแตกตางกันออกไปในแตละกรณี จึงจําเปนท่ีผูจัดทํางบการเงินตองใชดุลพินิจในการ ตดั สนิ ใจเลือกความสมดลุ ดังกลาว 17. การแสดงขอมลู ทถี่ กู ตอ งตามควร แมบทการบัญชีสาํ หรับการจัดทาํ และนาํ เสนองบการเงิน วัตถุประสงค ลักษณะของงบการเงิน ใหข อ มลู ทเ่ี ปน ประโยชนต อ การตัดสนิ ใจเชงิ เศรษฐกจิ ขอ สมมุติ เกณฑค งคา ง การดาํ เนินงานอยางตอ เนอ่ื ง ขอจํากดั ทนั ตอเวลา ความสมดลุ ระหวางประโยชนท ไี่ ดร ับ ความสมดลุ ของ กับตน ทุนท่เี สยี ไป ลกั ษณะเชิงคุณภาพ ลักษณะเชงิ คุณภาพ ถูกตอ งและยตุ ธิ รรมทถ่ี กู ตอ งตามควร ลกั ษณะแรก เขาใจได เก่ียวของกบั การตดั สินใจ เช่อื ถอื ได เปรยี บเทียบได ลกั ษณะรอง นัยสาํ คญั ตัวแทนอันเทยี่ งธรรม เนอ้ื หาสําคญั กวา รปู แบบ ความเปนกลาง ความระมดั ระวัง ความครบถว น
ข. - 7 เรือ่ งท่ี 3. ผูใชป ระโยชนจ ากการบัญชี การบญั ชีมไิ ดหมายถึงการสรุปคาใชจ ายและการรบั รองของกิจการเทาน้นั ในความเปน จริงขอมูลทางการ บัญชมี ปี ระโยชนต อ ท้ังผทู อ่ี ยภู ายในกจิ การและอยูภ ายนอกกิจการซ่ึงผูใชประโยชนภายในกิจการจะสามารถอาศัย ขอมูลทางการบัญชีจาก “ การบัญชีการเงิน ” ดังน้ันจะเห็นวาการพิจารณาตามผูใชประโยชนจากการบัญชี จะ สามารถแบง ประเภทของการบญั ชไี ด 2 ประเภท ดังกลาวขางตน และในแตละประเภทมผี ูใ ชประโยชนด งั นี้ 1. ผูใชประโยชนจากการบญั ชีบรหิ าร (บคุ คลภายในกจิ การ) การบัญชีบริหาร (Managerial Accounting) เปนสาขาหน่ึงของการบัญชีท่ีเนนในเรื่องการรวบรวม ขอมูล เพ่ือใหฝายจัดการนําไปใชในการแกไขปญหาตางๆ เก่ียวกับการบริหารงานของกิจการรวมไปถึงการ เปรียบเทียบเพื่อแสดงใหเห็นความแตกตางระหวางผลท่ีเกิดขึ้นจริงและการประมาณการ ดังนั้นจึงเก่ียวของกับ บุคคลภายในระดับบริหารจัดการ เชน ผูจัดการฝายตางๆ และผูบริหารฝายระดับสูงของกิจการ เพ่ือนําขอมูลที่ ไดไ ปใชป ระโยชนด ังนี้ 1.1 เพื่อการตัดสินใจทางการเงิน ผูบริหารจะใชขอมูลทางการบัญชีท่ีมีอยูพิจารณาเกี่ยวกับการจัดหา แหลงเงินทุนมาสนับสนุนการดําเนินงานของกิจการใหเกิดความของตัว เพื่อใหเกิดประโยชนใน การบริหารสินทรพั ย โดยอาศัยขอมลู ทางการบญั ชีเปน พน้ื ฐานในการวเิ คราะหเ พ่อื การตัดสนิ ใจ 1.2 เพ่ือประโยชนในการจัดสรรทรัพยากรขององคการผูบริหารจะอาศัยขอมูลทางการบัญชีที่มีอยูใน การจดั สรรเงินทุน เพอื่ ใหเกดิ ประโยชนจากเงนิ ลงทุนท่ไี ดรับทมี่ ากท่ีสุด 1.3 เพื่อประโยชนการจัดสินใจเพื่อผลิตสินคา ผูบริหารจะนําขอมูลเกี่ยวกับยอดขาย ตนทุนการขาย และกําไรข้นั ตน ในแตละผลิตภัณฑ ไปใชใ นการวเิ คราะหเพื่อตดั สนิ ใจผลิตตอ 1.4 เพ่ือประโยชนใ นการตดั สินใจดานการตลาด โดยผูบริหารจะนาํ ขอมูลทางการบัญชีไปพิจารณาเพ่ือ ประกอบการต้ังราคาขายและนโยบายการสง เสรมิ การขายในสนิ คาแตล ะประเภท 2. ผใู ชป ระโยชนจ ากการบญั ชีการเงนิ (บคุ คลภายนอกกิจการ) บัญชีการเงิน (Financial Accounting) เปนสาขาหนง่ึ ของการบัญชีท่ีเนนในเรื่องการรายงานเก่ียวกับ ผลดําเนินงาน ฐานะการเงิน และการเปลี่ยนแปลงฐานะทางการเงินของกิจการ ดังนั้นผูใชประโยชนจาการบัญชี การเงินประกอบดว ย 2.1 เจาของหรือผูถือหุนในกิจการ จะพิจารณาขอมูลเหลาน้ีเพ่ือทราบถึงความกาวหนาของกิจการ ฐานะทางการเงิน ซ่ึงจะทําใหทราบถงึ ผลตอบแทนทจี่ ะไดร ับ 2.2 เจาหนี้ทางการคาและผูใหกูยืม จะขอมูลจากบัญชีการเงินเพื่อประกอบการพิจารณาการใหสินเช่ือ การตดิ ตามทวงถามลกู หนแ้ี ละใชประกอบพจิ ารณาความสามารถในการชาํ ระหนข้ี องลูกหนี้ 2.3 นักลงทุน ขอมูลทางการบัญชีจะชวยเพื่อความมั่นใจใหกับผูลงทุน โดยพิจารณาจากฐานะทาง การเงนิ และผลการดาํ เนินงานของกิจการ 2.4 หนวยงานรัฐบาล เชนกรมสรรพากร จะใชขอมูลทางการบัญชีเพื่อประกอบการพิจารณาวางแผน กําหนดนโยบายการจดั เก็บภาษี เปน ตน 2.5 บุคคลท่ัวไป เชน พนักงานหรือลูกคาของกิจการ กลุมบุคคลทั่วไปมักจะใชขอมูลทางการบัญชี เพื่อประเมินความสามารถของกิจการในการจายคาตอบแทน บําเหน็จ บํานาญและโอกาสในการ จางงาน ในขณะที่ลูกคาตองการทราบขอมูลทางการบัญชีเพื่อเพ่ิมความม่ันใจเกี่ยวกับความม่ันคง ของกจิ การ เปน ตน
ข. - 8 เรอื่ งที่ 4. งบการเงนิ (Financial Statement) งบการเงิน คือ งบที่กิจการจัดทําข้ึนมาเพ่ือแสดงผลการดําเนินงานจองกิจการ ตลอดจนฐานะของ กิจการในวนั ใดวันหนึง่ ดงั นั้นงบการเงนิ คือผลติ ผลของงานบญั ชี โดยปกติแลวงบการเงนิ แบงเปน 1. งบดลุ 2. งบกาํ ไรขาดทนุ 3. งบกาํ ไรสะสม 4. งบแสดงการเปล่ียนแปลงฐานะการเงนิ ในประเทศไทยสวนใหญงบการเงินท่ีจัดทําข้ึนจะประกอบดวยงบดุลและงบกําไรขาดทุนเทาน้ัน โดย กิจการจะจัดทํางบการเงินขึ้นมาตามงวดบัญชี (Accounting Period) ที่กําหนดข้ึน ซ่ึงในการจัดทํางบการเงินจะ สามรถจัดทําได 2 รูปแบบ คือ รายงาน(Report Form) และแบบบญั ชี/แบบตัวที (Account Form) โดยแบบรายงาน งบการเงินจะแสดงรายการเรียงตอกันไปเปนลําดับ สําหรับตัว T นั้นจะแสดง รายการออกเปน 2 ดาน โดยงบกําไรขาดทุนคาใชจายจะอยูดานซาย รายไดจะอยูดานขวา สวนผลตางท่ีเกิดข้ึน หากเปนกําไรผลตางนั้นจะอยูดายซาย หากขาดทุนผลตางจะอยูดานขวา สําหรับงบดุลสินทรัพยจะอยูดานซาย หน้ีสินและสวนของเจาของจะอยูดานขวา ท้ังงบกําไรขาดทุนและงบดุลยอดรวมทั้งสองขางจะตองเทากัน ซ่ึงจะ สามารถแสดงรายละเอยี ดสว นประกอบของงบการเงินแตล ะประเภทไดดงั ตอ ไปน้ี 1. งบกาํ ไรขาดทุน (Income Statement) คือ งบที่แสดงผลการดําเนินงานของกิจการ ณ งวดบัญชีหนึ่งๆ วากิจการมีรายไดและคาใชจายเทาไร ถามีรายไดมากวาคาใชจาย ผลตางที่ไดคือกําไร ในทางตรงกันขามถาคาใชจายมากกวารายได ผลตางที่ไดคือ ขาดทุน สว นประกอบที่มีในงบกาํ ไรขาดทุน ประกอบดว ย งวดบัญชี รายได และคา ใชจาย 1.1 งวดบญั ชี (Accounting Period) คือ ระยะเวลาในการแบงหาผลการดําเนินงานทางการบัญชีออกเปนงวดๆ งวดละเทาๆ กัน งวดบัญชี แตละกิจการจะกําหนดระยะเวลาเทาใดก็ได แลวแตละฝายจะเห็นสมควรซึ่งโดยมากจะกําหนดตามปปฏิทิน (Calendar Year) และมีรอบระยะเวลา 1 ป คือ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม ในปเดียวกัน หรือกิจการอาจ กําหนดงวดบัญชีไดเปนงวด ๆ เชน งวด 1 เดือน งวด 3 เดือน (รายไตรมาตร) หรือ งวด 6 เดือน ก็ได นอกจากนี้ในการกําหนดงวดบัญชีอาจกําหนดตามรายปการเงิน (Fiscal Year ) ซึ่งหมายถึงงวดบัญชีที่มี ระยะเวลา 12 เดือน แตโ ดยเร่ิมตนและสิน้ สดุ เม่อื ใดกไ็ ดแตระยะเวลาตองครบ 12 เดือน 1.2 รายได (Revenue) หมายถึงผลตอบแทนที่ธุรกิจไดรับจากการขายสินคาและบริการใหกับลูกคา ซ่ึงคํานวณเงินไดเปน จํานวนเงินที่แนนอนจากลูกคา และรวมถึงผลกําไรท่ีไดจากการขายแลกเปล่ียนสินทรัพย ดอกเบ้ียท่ีไดรับจาก การกยู มื เงนิ ปนผลจากการลงทุนซื้อหนุ ในกิจการอื่น ซึ่งสามารถแบงรายได ดงั น้ี - รายไดทางตรง (Direct Revenue) หรือรายไดจากการดําเนินงาน (Operating Revenue) คือรายไดที่ เกิดข้ึนตามวิถีทางการคาโดยปกติของกิจการ เชน ธุรกิจท่ีซ้ือสินคามาขายตอ รายไดโดยตรง คือรายไดจาการ ขายสินคา ธุรกจิ ใหสินเช่ือ รายไดโดยตรงคอื ดอกเบี้ย เปน ตน - รายไดอ่ืน (Other Revenue) คือ รายไดท่ีมิไดเกิดขึ้นตามวิถีทางการคาโดยปกติของกิจการ เชน กาํ ไรจากการขายสินทรัพยท กี่ ิจการไมต อ งการใชแ ลว เปน ตน
ข. - 9 มีขอพึงสังเกตวาเงินสดท่ีกิจการรับมาไมใชรายไดท้ังหมด เนื่องจากเงินสดท่ีรับเขามาในกิจการในแต ละวันอาจมีเงินรับจากการขายสินคาหรือบริการ เงินสดรับจากลูกหน้ีการคา หรือเงินสดรับจากการกูยืม เงินสด รับท่ีถือวาเปนรายไดของกิจการจะหมายถึง เงินสดรับที่เกิดจาการขายสินคาหรือบริการเทาน้ัน หากกิจการไดมี การขายสินคาหรือบริการไปแลวแตยังเก็บเงินไมได ยังถือวาเปนรายไดประจํางวดเนื่องจากนักบัญชีจะตอง บันทกึ รายไดและคา ใชจ ายตามหลกั เงินคงคาง ในธุรกิจหน่ึงๆ อาจมีการจัดทําบัญชีรายไดแยกออกเปนหลายๆ บัญชีก็ได ทั้งน้ีแลวแตความประสงค ของกจิ การเชน บัญชีขาย (Sales Account) ใชบันทึกรายการที่เกิดข้ึนจากการขายสินคา โดยกิจการที่ขายสินคา เมื่อมี การนําสินคาสง ใหลกู คาและลูกคาไดลงนามในใบสง ของแลว ถอื วาเกิดรายไดจากการขายแลว บัญชีรายไดจากการใหบริการ (Service Revenue Account ) เชน ธุรกิจรับสงสินคา มีรายไดคือ คา บริการจากการขนสง สินคา บัญชีดอกเบี้ยรับ (Interest Earned Account) สําหรับบันทึกรายการรายไดท่ีเกิดจาการใหกูยืมเงิน ไดแ กสถาบนั การเงินตา ง ๆ หรอื ดอกเบีย้ ทีเ่ กิดจากการฝากเงินประเภทตา ง ๆ นน่ั เอง บัญชีรายไดคาธรรมเนียม (Fee Earned Account) สําหรับบันทึกรายการรายไดของผูประกอบอาชีพ อสิ ระ เชน แพทย ทนายความ ผูสอบบญั ชี และสาํ นักงานท่ีปรกึ ษา เปน ตน 1.3 คาใชจ า ย (Expense) คือ ตนทุนสินคาหรือบริการที่กิจการไดจายไปเพื่อกอใหเกิดรายได ตนทุนในที่นี้ หมายถึง ตนทุนที่ ตองจายไปเปนคาสินคาหรือบริการ บวกดวยคาใชจายตางๆ ที่ทําใหสินทรัพยหรือบริการอยูในลักษณะท่ี สมบูรณพรอมขายหรือใชประโยชนได คาใชจายสวนใหญจะอยูในรูปของเงินสด แตมีคาใชจายบางประเภทไม อยูใ นรปู ของเงนิ สด เชน คา เสื่อมราคาสนิ ทรพั ย พึงระวงั วาการจายเงินสดในบางคร้ังไมจําเปนตองเปนคาใชจาย เชน การจายเงินสดเพื่อชําระหน้ีทางการคา ซ่งึ สามารถแบง ประเภทของคา ใชจ า ยสาํ หรับกจิ การซื้อสินคา ไดดังนี้ • ตนทุนขาย (Cost of Sales) หมายถึง ตนทุนของสินคาหรือบริการที่ขาย ซึ่งรวมราคาสินคาที่ซ้ือ และคา ใชจ ายเก่ียวกับการซอ้ื และการผลติ ท่ีจาํ เปน เพอ่ื ทาํ ใหส ินคา อยูในสภาพทพ่ี รอ มขาย ดังนนั้ ตน ทนุ ขาย = สินคาสาํ เรจ็ รูปตน งวด + ซอื้ สทุ ธิ – สินคาสาํ เรจ็ รูปปลายงวด • คาใชจายเกี่ยวกับการขาย (Selling Expenses) หมายถึง คาใชจายท่ีเกิดจากการขายสินคาหรือ บรกิ ารโดยตรง เชน เงินเดือนพนักงานขาย คาโฆษณา คาขนสง เปนตน • คาใชจายเกี่ยวกับการบริหาร (Administrative Expenses ) คาใชจายที่เกิดข้ึนจากการบริหารงาน อันเปนสวนรวมของกิจการน้ัน เชน เงินเดือนเจาหนาท่ีฝายบริหาร คาเชาอาคารสถานท่ี คาใชจาย ในสาํ นักงาน เปน ตน • คาใชจายอื่นๆ (Other Expenses ) หมายถึง คาใชจายที่ไมไดเกิดจากการคาโดยปกติของกิจการ เชน ดอกเบ้ยี จา ย เปนตน • ภาษีเงินได ( Income Tax ) หมายถึง ภาษีเงินไดนิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร ซ่ึงจะแสดงใน รายการคาที่คํานวณจากกําไรสุทธิกอนหักภาษีเงินได หลังจากกิจการหักภาษีเงินไดแลวสวนท่ี เหลอื คอื กําไรหลังหักภาษีเงินไดข องกจิ การ
ข. - 10 • กําไรกอนรายการพเิ ศษ ในภาวะปกติกําไรกอนรายการพิเศษก็คือ กําไรสุทธิน่ันเองแตบางครั้งการ ดําเนินงานของกิจการอาจเกิดภาวการณบางอยางที่สงผลตอการดําเนินงานของกิจการทําใหกิจการ ตองมกี ารแสดงรายการเหลา น้ีตอ จากกาํ ไรกอนรายการพิเศษ • รายการพิเศษ หมายถึง รายไดหรอื คาใชจ า ยท่ีมีลักษณะดังน้ีคือ มิไดเกิดขึ้นจาการดําเนินงานปกติ ของกิจการและไมสามารถคาดการณไดวาจะเกิดข้ึนบอยหรือเปนประจําหรือไม เชน ขาดทุนจาก ไฟไหม นํ้าทวม หรือภัยธรรมชาติอยางอ่ืน กําไรหรือขาดทุนจาการขายโรงงาน (เนื่องจากเลิก ผลิต/หยุดดําเนินการ) กําไรจาการขายเงินลงทุนในกิจการอ่ืนท่ีมิไดมีวัตถุประสงคในการจัดการ เพื่อจําหนายตอ สินทรัพยท่ีถูกเวนคืน/ถูกยึด การลดคาของเงินตราตางประเทศท่ีไมได เปล่ียนแปลงในอัตราปกติ หรือการตัดบัญชีคาความนิยม และสินทรัพยไมมีตัวตนอื่นที่มิใช เหตกุ ารณปกติในงวดบญั ชีนน้ั เปน ตน ตวั อยาง งบกําไรขาดทุน (แบบรายงาน ) บริษัท บัว จํากัด งบกําไรขาดทุน สาํ หรับสินป สิ้นสดุ เพียงวนั ที่ 31 ธนั วาคม 25xx รายได 1,108,000 หนว ย : บาท รายไดจาการขาย 12,000 1,120,000 รายไดอ นื่ คา ใชจ าย 620,000 977,000 ตน ทุนขาย 204,000 143,000 คา ใชจ ายในการขายและบริหาร 36,000 117,000 ดอกเบ้ยี จาย ภาษเี งนิ ได กําไรสทุ ธิ
ข. - 11 2. งบกําไรสะสม ( Statement Of Retained Earnings ) เปนงบการเงนิ ทแี่ สดงการเปล่ียนแปลงกําไรของบริษัท ระหวางตนงวดบัญชีถึงวันสินงวดบัญชีวากําไร สะสมท่ีเปล่ียนแปลงนั้นมาจากสาเหตุใด รายการหลักซึ่งกระทบกําไรสะสม ไดแก กําไรขาดทุนท่ีเกิดขึ้นใน ระหวา งงวดบญั ชี เงินสํารองและเงินปนผลจายท่ีประกาศจายใหกับผูถือหุนของกิจการ เปนตน งบกําไรสะสมท่ี เปนตัวเชื่อมระหวางงบกําไรขาดทุนกับงบดุล เนื่องจากสวนของผูถือหุนที่ปรากฏในงบดุลจะประกอบดวยทุน และกาํ ไรสะสม ตวั อยาง งบกาํ ไรสะสม (แบบรายงาน) บริษัท บัว จํากัด งบกาํ ไรสะสม สาํ หรบั ป สิน้ สุดเพียงวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25xx กําไรสะสม 1 มกราคม 25xx หนวย : บาท บวก กําไรสทุ ธปิ ระจําป 266,500 143,000 หัก สํารองตามกฎหมาย 7,200 409,000 เงินปน ผลจาย 100,000 (107,000) 302,300 กําไรสะสม 31 ธันวาคม 25xx 3. งบดลุ (Balance Sheet ) คอื งบท่แี สดงฐานะทางการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหน่ึงวากิจการมีสินทรัพย หนี้สินและทุนเทากับ เทาไร ขอมูลที่ปรากฏในงบดุลเม่ือนํามาวิเคราะหงบการเงินจะช้ีใหเห็นสภาพคลองของกิจการไดซึ่งสามารถ อธิบายในแตละองคประกอบสาํ คัญไดดังนี้ 3.1 สินทรพั ย ( Assets ) คือ สิ่งท่ีมีตัวตนหรือไมมีตัวตน มีมูลคาวัดเปนเงินได ซ่ึงบุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลเปนเจาของ และแสดงถึงการมีกรรมสทิ ธิใ์ นสินทรพั ยน น้ั ซ่งึ เปนไปไดทั้งอสังหาริมทรัพย สังหาริมทรัพยและสินทรัพยที่ไม มีตัวตน ไดแก เงินสดและเงินฝากธนาคาร ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ คาใชจายลวงหนา ท่ีดิน อาคาร สิทธบิ ตั ร เปน ตน สินทรัพยทางบัญชีแบงเปน 5 ประเภทใหญๆ คือ สินทรัพยหมุนเวียน เงินลงทุนระยะยาว ท่ีดิน อาคารและอุปกรณ สินทรพั ยอนื่ ๆ และสนิ ทรพั ยไมม ีตวั ตน ดังรายละเอียดดงั นี้ • สินทรพั ยห มุนเวียน (Current Assets ) คือ สินทรัพยที่เปล่ียนเปนเงินสดไดงาย หรือหมุนเวียนจากกิจการหน่ึงไปเปนของอีกกิจการหน่ึง ซึ่ง อาจกระทําไดโดยการซื้อขายแลกเปลี่ยนหรือใชหมดไปในระยะเวลาหน่ึง หรือในรอบระยะเวลาการดําเนินงาน ตามปกติของกิจการ ไดแก เงินสด เงินฝากธนาคาร เงินลงทุนระยะส้ันหรือหลักทรัพยตามความตองการของ ตลาด เงนิ ลงทุนชว่ั คราว ตัว๋ เงนิ ลูกหนี้ สนิ คาคงเหลือ รายไดคางรบั และรายจายลวงหนา เปนตน
ข. - 12 - เงินสดและเงินฝากธนาคาร คือ ธนบัตรและเหรยี ญกษาปณทีก่ ิจการมีอยู เช็คที่ยังไมไดนําไปฝาก ธนาคาร เช็คเดินทาง ดราฟท ธนาณตั ิ และเงินฝากธนาคารทุกประเภท - หลักทรัพยตามความตองการของตลาด คือ หลักทรัพยท่ีกิจการซื้อไวโดยหวังดอกผลจากเงิน ลงทุน หรือหากําไรเมื่อหลักทรัพยน้ันราคาเพิ่มข้ึน และกิจการตองการเงินสดอาจนําหลักทรัพยนั้นไปขาย ณ ตลาดหลักทรัพย ดังน้ันเงินลงทุนประเภทน้ีตองเปนหลักทรัพยท่ีอยูในความตองการของตลาด เชน หุนของ บริษทั ตางๆ หรอื หนุ กู จึงอาจเรียกเงินลงทุนประเภทนีไ้ ดออี ยา งหนึ่งวาเงนิ ลงทุนระยะสั้น - ลูกหน้ีการคาและตั๋วเงินรับ ลูกหน้ีการคา คือ ลูกคาที่ซ้ือสินคาไปจากกิจการแลวยังไมไดชําระเงิน ต๋ัวเงินรับเกิดจากลูกคาท่ีซื้อสินคาจากกิจการไป และมีการรับรองต๋ัวเงินเปนการคํ้าประกันหน้ี ทั้งลูกหนี้การคา และตั๋วเงินรับมีการกําหนดชําระไมเกิน 1 ป การแสดงรายการลูกหน้ีและต๋ัวเงินรับ ในงบดุลจะแสดงเปน 2 รายการคอื ลูกหนก้ี ารคาและต๋ัวเงินรบั - หนี้สงสัยจะสญู คือ การต้ังสํารองรายการไวสําหรับหนี้ที่คาดวาจะเก็บเงินไมไดหรือคาดวาจะสูญ จึงตองสาํ รองไว โดยนาํ มาหกั จากลกู หนก้ี ารคา ในงบดลุ - เงินที่ใหกูยืมแกบริษัทในเครือและบริษัทรวม หมายถึง การที่กิจการนําเงินไปใหบริษัทในเครือ กยู ืมโดยคดิ ดอกเบ้ียทบตน โดยมกี ารกําหนดการชําระเงนิ ภายใน 1 ป - สินคาคงเหลือ คือ สินคาสําเร็จรูปที่มีไวเพื่อใชในกิจการหรือซ้ือมาไวเพ่ือขาย และมีอยูในวันปด บัญชีของกิจการ หากเปนกิจการท่ีผลิตสินคาเอง สินคาคงเหลือจะประกอบดวยงานระหวางทําคงเหลือและ วัตถุดบิ คงเหลือ - สินทรัพยหมุนเวียนอื่น คือ สินทรัพยอ่ืนๆ นอกเหนือจากรายการขางตน เชน คาใชจายจาย ลวงหนา รายไดคา งรับ เปนตน - ลูกหน้ีและเงินใหกูแกกรรมการและลูกจางบริษัท รวมทั้งหน้ีสินท่ีกรรมการและลูกจางมีตอ กิจการ โดยเกิดจากการซื้อสินคาไปจากกิจการ เงินใหกูยืมน้ีไมรวมถึงเงินที่กิจการจายลวงหนาเพ่ือดําเนินธุรกิจ ปกติและการใหกูเปนสวัสดิการ ควรแยกตางหากอีกรายการหนึ่งในงบดุล และแสดงแยกตางหากจากสินทรัพย หมนุ เวียน • เงนิ ลงทุนระยะยาว ( Long-Term Investments) คือ เงินทก่ี ิจการนําไปลงทุน เพอื่ หาประโยชนใหแกกิจการในระยะเวลาเกินกวา 1 ป ไดแก เงินลงทุน ที่ซ้ือหุนในบริษัทตางๆ พันธบัตรรัฐบาลกําหนดไถถอนเกินกวา 1 ป ท่ีดินท่ีซ้ือไวเพื่อขยายกิจการในอนาคต สรางอาคารใหเชา เงินกูยืมกําหนดไถถอนเกินกวา 1 ป เงินกันไวเพื่อวัตถุประสงคอยางใดอยางหน่ึงโดยเฉพาะ เงินลงทุนในเครือหรือบริษัทรวมและบริษัทอื่น ต๋ัวเงินรับท่ีบริษัทนําไปรวมลงทุนกับบริษัทในเครือหรือบริษัท อ่นื โดยการซอื้ หนุ ของบรษิ ัทเหลา น้นั แสดงอยู • ทดี่ นิ อาคาร และอุปกรณ (Property-Plant and Equipment/Fixed Assets) คือ ที่ดินที่กิจการซ้ือมาสรางอาคารท่ีทําการโดยปจจุบันของกิจการในปจจุบัน อาคารที่กิจการสราง เสร็จแลวเปดใชเปนท่ีทําการ สิ่งปลูกสราง เครื่องจักร เคร่ืองตกแตง อุปกรณสํานักงาน ยานพาหนะ เครื่องมือ ตางๆ และสิทธิการเชาอสังหาริมทรัพย ซ่ึงมีไวใชเพ่ือเปนสถานท่ีสําหรับประกอบธุรกิจหรือท่ีพักหรือ สวัสดิการสงเคราะหข องพนักงานและลูกจางของกิจการ สินทรัพยดังกลาวยกเวนที่ดิน และสิทธิการเชาระยะยาว แสดงยอดเตม็ หักดวยคา เสื่อมราคาสะสม และสิทธกิ ารเชาตดั บัญชเี ปนคา ใชจายแลว
ข. - 13 • สินทรัพยอ ื่น คือ สินทรัพยรอการตัดบัญชี เชน คาใชจายในการจัดต้ังบริษัทและสินทรัพยอ่ืนที่ไมแสดงอยูใน สินทรัพยท่ีกลาวมาตั้งแตตน สําหรับสินทรัพยไมมีตัวตน หรือสินทรัพยท่ีไมอาจเห็นดวยตาเปลาแตสามารถวัด คาเปนเงินได และใหประโยชนแกการดําเนินงานของกิจการ เชน คานิยม คาสิทธิบัตร ลิขสิทธ์ิ และ เครื่องหมายการคา สินทรพั ยไมมีตวั ตนบางกจิ การอาจนําไปแสดงภายใตหวั เรอื่ ง “ สินทรพั ยอนื่ ” ได • สินทรพั ยไมมีตัวตน คือ สินทรัพยท่ีไมอาจมองเห็นไดดวยตาเปลาแตสามารถวัดคาเปนเงินได และใหประโยชนแกการ ดาํ เนนิ งานของกิจการ เชน คานิยม สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการคา สินทรัพยไมมีตัวตน บางกิจการอาจ นาํ ไปแสดงภายใตห วั เร่อื ง “ สินทรพั ย ” ได 3.2 หนส้ี ิน (Liabilities) คือ สิทธิเรียกรองท่ีบุคคลภายนอกท่ีเปนเจาหนี้มีตอกิจการ หน้ีสินเปนพันธะท่ีกิจการจะตองชดใช ใหแกบุคคลท่ีเปนเจาหน้ี เมื่อหนี้นั้นถึงกําหนดที่จะตองชดใชตามสัญญาที่ไดกระทําตอกัน หนี้สินทางการบัญชี แบง เปน 3 ประเภท คอื 1. หน้ีสนิ หมุนเวยี น ( หน้ีสนิ ระยะส้นั ) 2. หนี้สินระยะยาว 3. หน้หี นส้ี นิ อ่ืน ดงั รายละเอยี ดตอ ไปน้ี • หนสี้ นิ หมนุ เวยี น (Current Liabilities) คือ หน้ีสินท่ีถึงกําหนดชดใชภายในระยะเวลาอันส้ัน ไดแก เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูยืมจากธนาคาร เจาหน้ีการคา เจาหน้ีเงินกูท่ีมีเง่ือนไขคืนภายใน 1 ป ต๋ัวเงินจาย คาใชจายคางจาย รายไดรับลวงหนา เปนตน ดงั รายละเอยี ดตอไปน้ี - เงินเบิกเกินบัญชีและเงนิ กยู ืมจาธนาคาร เงินเบิกเกินบัญชี เปนเงินท่ีกิจการเปนหนี้ธนาคารโดยมีขอตกลงกับธนาคารขอเบิกเงินในบัญชี เดินสะพัด ( กระแสรายวัน ) ไดเกินกวาเงินที่มีอยูในบัญชีของกิจการ วงเงินเบิกเกินบัญชีจะเปนเงินเทาใดตอง เปนไปตามขอตกลงท่ีกิจการไดทําไวกับธนาคารวาจะเบิกเกินบัญชีไดเทาใดก็ตองเปนตามวงเงินนั้น อัตรา ดอกเบ้ียก็เปนไปตามขอตกลงเชนกัน ขอพึงระวังสําหรับผูรับผิดชอบ คือ อยาเบิกเกินจํานวนเงินที่ไดตกลงไว กบั ธนาคาร มิฉะน้ันอาจถกู ปรับในอัตราดอกเบี้ยท่ีสูงสงผลตอ การดาํ เนนิ งานของกจิ การได เงินกูยืมจากธนาคาร กิจการอาจขอกูเงินจากธนาคาร ซึ่งธนาคารอาจจะคิดดอกเบ้ียทุกวัน โดย กิจการจะตองชําระดอกเบี้ย ณ วันสิ้นเดือน การชําระดอกเบ้ียอาจชําระเปนเช็คหรือใหธนาคารหักจากบัญชี กระแสรายวนั ทก่ี จิ การมีอยูกับธนาคารกไ็ ด - เจาหน้ีการคา ( Account Payable ) คือ เจาหนี้อันเกิดจาการซ้ือสินคาหรือบริการโดยกิจการมี พนั ธะท่ีจะตอ งชดใชภ ายใน 1 ป - ต๋ัวเงินจาย (Notes Payable) คือ เอกสารท่ีกิจการออกใหเจาหน้ีอันเกิดจากการซื้อสินคาหรือ บริการ โดยรับรองตั๋วเงินใหเปนการรับประกันหนี้ เมื่อต๋ัวเงินถึงกําหนดกิจการจะตองจายเปนเงินตามท่ีเงื่อนไข ทกี่ ําหนดไวใ นหนาตั๋วเงนิ จา ยน้นั ๆ
ข. - 14 - หน้ีสินระยะยาวที่ตองจายภายใน 1 ป (Current Portion of Long-term Debt ) คือ สวนหน่ึง ของหนี้สนิ ระยะยาว ท่ถี งึ กําหนดในสญั ญาจะชําระคืนแกเจาหนใ้ี นรอบ 1 ปบัญชถี ดั ไป - เงนิ ปนผลคา งจาย ( Accrued Dividends) คือ เงินปนผลที่กิจการประกาศจายแลวแตยังจายเงินสด แกผ ูถือหนุ ไมครบตามจํานวนในวันปด บญั ชี ดังนน้ั กจิ การจึงตองตั้งเปน เงนิ ปน ผลคา งจา ยไวใ นงบการเงิน - เงินกูยืมจากบริษัทในเครือและบริษัทรวม (Loans from Subsidiaries and Associated Companies) คือ เงนิ ที่กจิ การขอ กเู งินจากบรษิ ัทในเครือหรอื บรษิ ัทรวมมาใชในการดาํ เนนิ ธุรกิจ - เจาหนี้และเงินกูยืมจากกรรมการและลูกจาง (Payable and Loans from Directory and Employees) และรวมท้ังนี้หนี้สินที่กิจการมีตอกรรมการและลูกจางไมวาจะเปนการซ้ือสินคา หรือการซื้อสินทรัพยจากบุคคล ดังกลา ว - เงินกูจากบริษัทในเครือและบริษัทรวม (Loan from Subsidiaries and Associated Companies ) คือ เงินท่ีกิจการไปกูจากบริษัทในเครือหรือบริษัทรวม เปนการกูระยะยาวมีกําหนดการคืนเงินกู กวา 1 ป ขน้ึ ไป แสดงในงบดลุ เปนหน้สี ินระยะยาว - เงินทุนเล้ียงชีพและบําเหน็จ ( Provident and Pension Fund ) คือเงินสะสมของลูกจางที่หักจาก เงินเดือนหรือคาจางแรงงาน และเงินที่กิจการจายสมทบใหอีกสวนหนึ่งตามโครงการสวัสดิการท่ีกิจการกําหนด ไว รวมทัง้ บําเหนจ็ ท่ีกจิ การตองจา ยใหพนักงานตามเงือ่ นไขเวลาท่ีกาํ หนดไว - หน้ีสินหมุนเวียนอื่น ( Other Current Liabilities ) คือ คาใชจายคางจาย รายไดรับลวงหนาและ หนส้ี ินหมุนเวยี นอนื่ ๆ ทไ่ี มอ าจแสดงไดตามรายงานขน้ั ตน • หนสี้ ินระยะยาว ( Long-Term Liabilities ) คือ เงินที่กิจการทําการกูเงินจากสถาบันการเงินหรือจากบุคคลธรรมดา โดยสัญญากูยืมมีกําหนดเวลา ใชคืนเกินกวา 1 ป โดยไมรวมการกูยืมจากบริษัทในเครือและบริษัทรวมและเงินกูจากกรรมการและลูกจาง สามารถแบงหนส้ี ินระยะยาวออกเปน - หุนกู (Bond Payable ) เปนการจัดการหาเงินทุนอยางหนึ่งของกิจการจากบุคคลภายนอกเพื่อ นํามาใชขยายกิจการและดําเนินงาน โดยแบงจํานวนเงินท่ีตองการกูออกเปนหุนราคาแตละหุนเทากัน เรียกวา “หุนกู” ซ่ึงกิจการจะออกเปนหลักฐานการกูยืม และจะจายผลตอบแทนใหแกบุคคลภายนอกในรูปของดอกเบี้ย สวนใหญแ ลวหุนกูจะมกี ารกําหนดระยะเวลาในการไถถอนเกินกวา 1 ป ในระหวางที่หุนกูยังไมครบกําหนดการ ไถถอน ผูถือหุนมีฐานะเปนเจาหนี้ของกิจการและกิจการตองจายดอกเบี้ยใหตามที่กําหนดไว สําหรับในประเทศ ไทย กิจการทีจ่ ะออกหนุ กไู ดต อ งมีลกั ษณะเปนบริษัทมหาชนเทาน้นั - เงินกูระยะยาวโดยมีการจํานอง (Mortgage Payable ) เปนการกูยืมเงินจากบุคคลภายนอกหรือ สถาบันการเงิน โดยนําสินทรัพยของกิจการไปจํานองไวเปนหลักประกันหรือเพ่ือคํ้าประกันการกู โดยกิจการมี หนาท่ีตองจายเงินตนและดอกเบี้ยเมื่อครบกําหนดเวลา หากกิจการไมสามารถชําระเงินตนและดอกเบี้ยไดตาม กาํ หนด ผูร บั จาํ นองสามารถยึดหรอื นําสนิ ทรัพยทจ่ี าํ นองไวไปขายทอดตลาดได - เงินกูระยะยาวโดยไมมีการจํานอง ( Long-Term Loan ) เปนการกูยืมเงินจากบุคคลภายนอกหรือ สถาบนั การเงนิ โดยไมต องนําหลักทรพั ยมาค้ําประกันหรอื จาํ นอง ซึ่งมรี ะยะเวลาจา ยชาํ ระคนื เงนิ ตนเกนิ กวา 1 ป • หนี้สินอื่น คือ หน้ีสินท่ีไมอาจแสดงรวมในรายการขางตนได ดังน้ันจึงแสดงเปนยอดรวม และมี รายละเอยี ดประกอบงบดุลภายหลัง
ข. - 15 3.3 สวนของเจา ของ คือ สวนที่เปนของผูลงทุน หากกิจการเจาของคนเดียว สวนของเจาของคือสวนท่ีเปนสินทรัพยและ หนี้สินท่ีเจาของนํามาลงทุนในกิจการของตน เจาของกิจการอาจนําเฉพาะสินทรัพยมาลงทุนหรืออาจนําท้ัง สินทรัพยและหนี้สินมาลงทุนพรอมกันก็ได สําหรับหางหุนสวน สวนของผูเปนหุนสวน คือ สวนท่ีผูเปน หุนสวนนํามาลงทุน ซึ่งมักจะเปนเงินสดมากกวาสินทรัพยอื่น แตถาเปนบริษัทจํากัด สวนของเจาของเรียกวา “สวนของผูถือหนุ ” ซึ่งหมายถึง เงินทผ่ี ถู อื หุนนาํ มาลงทนุ โดยการซื้อหนุ • ทนุ เรอื นหนุ - ทุนจดทะเบียน ( Authorized Share Capital ) คือ จํานวนเงินทุนท่ีบริษัทไดนําไปจดทะเบียนไว กบั กรมทะเบียนการคา กระทรวงพาณชิ ยว า บรษิ ัทจะมี หนุ สามัญ หนุ บุรมิ สทิ ธิ จํานวนกี่หุน มูลคาหุนละเทาใด รวมเปนเงินทั้งสินเทาใด ภายหลังการจดทะเบียนทุนไวแลวหากตองการเพิ่มทุนก็สามรถทําได โดยไปทําการจด ทะเบียนเพิ่มทุนอีก - ทุนที่ออกและเรียกชําระแลว ( Issued and Paid up Share Capital ) เมื่อบริษัทจดทะเบียนแลว ตองมีการแบงทนุ ออกเปน หนุ ๆ ละเทา ๆ กัน เพื่อจําหนา ยและเรยี กชาํ ระมูลคา หุน โดยแสดงหุนแตละชนิดแยก ออกจากกันใหชัดเจน ท้ังทุนหุนสามัญและหุนบุริมสิทธิ ถากิจการจําหนายหุนไวโดยไมระบุวาเรียกเงินชําระ มูลคา หนุ ไดค รบแลว อาจเรยี กเงินครัง้ แรกไมค รบ 100% กไ็ ด แตตอ งไมต าํ่ กวา 25% ตามกฎหมายกําหนด - สวนเกินมลู คาหุน (Premium on Share Capital ) คือ เงินสวนท่ีจําหนายไดสูงกวามูลคาท่ีตรา ไวในใบหนุ ท้ังหุนสามัญและหนุ บุริมสิทธิ - กําไรสะสม ( Retained Earning ) คือสวนกําไรสุทธิท่ีกิจการไดสะสมไวต้ังแตเริ่มดําเนินกิจการ จนถึงปจจบุ นั เมือ่ นํากําไรสทุ ธงิ วดน้ีมาบวกแลว สามารถนําไปจัดสรรได เชน สํารองตามกฎหมาย สํารองเพ่ือ ขยายกิจการ สํารองเพื่อสง ชดใชห นุ กู หรือสาํ รองเพ่ือรักษาระดับเงินปนผล เปน ตน ตวั อยาง งบดุล ( รายงาน ) บรษิ ทั บวั จํากัด งบดลุ ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25xx สินทรัพย 5,000 120,000 หนวย : บาท 200,000 657,000 สนิ ทรพั ยห มุนเวยี น 150,000 เงินสดและเงินฝากธนาคาร 145,000 เงินทนุ ระยะส้นั 190,000 ลกู หนี้การคา หกั คา เผ่อื หนีส้ งสยั จะสูญ 2,000 สนิ คาคงเหลือ คาเบ้ียประกันภัยจา ยลวงหนา รวมสินทรัพยหมุนเวียน
ทดี่ ิน อาคาร และอุปกรณ ข. - 16 ท่ีดิน 400,000 1,020,000 580,000 80,000 อาคาร 700,000 40,000 1,757,000 หกั คา เส่ือมราคาสะสม 120,000 50,000 2,100 73,500 อปุ กรณสาํ นักงาน 220,000 21,400 300,000 หัก คา เสอื่ มราคาสะสม 180,000 1,000,000 1,383,500 1,000,000 1,757,000 รวมท่ดี ิน อาคาร และอปุ กรณ 383,500 สนิ ทรัพยอน่ื ๆ คา ใชจ า ยลวงหนาระยะยาว รวมสินทรพั ยทง้ั หมด หนีส้ นิ และสว นของผูถือหนุ หนสี้ ินหมุนเวียน เจา หน้กี ารคา คาภาษเี งนิ ไดคางจาย เงินปน ผลคา งจาย รวมหนสี้ ินหมุนเวียน เงินกยู ืมระยะยาว เงนิ กูดอกเบย้ี 12% ครบกําหนดชําระป 25xx สวนของผถู อื หุน ทุนเรือนหนุ ทนุ จดทะเบียน หุนสามัญ 10,000 หนุ ๆ ละ 100 บาท ทนุ ทอี่ อกและเรียกชาํ ระแลว หุน สามญั 10,000 หนุ ๆ ละ 100 บาท กาํ ไรสะสม จดั สรรแลว สาํ รองตามกฎหมาย 81,200 ยงั ไมไดจ ดั สรร 302,300 รวมหนส้ี นิ ของผถู อื หนุ
ข. - 17 ความสมั พนั ธข องงบกําไรขาดทุน งบกําไรสะสมและงบดลุ จากงบการเงินท้ัง 3 ประเภทขางตน จะเห็นไดวางบการเงินท้ัง 3 แบบมีความสัมพันธกันหากผูใชงบ การเงินตองการทราบถึงผลการดําเนินงานที่ผานมาของกิจการ จะพิจารณาจากงบกําไรขาดทุน แตถาตองการ ทราบฐานะทางการเงินของกจิ การ ณ วันใดวันหน่ึงจะพิจารณาไดจากงบดุลสวนงบกําไรสะสมจะเปนตัวบอกถึง กําไรทั้งหมดของกิจการ ซง่ึ งบกําไรสะสมจะเปนตัวเช่ือมโยงระหวา งงบกําไรขาดทุนและงบดุลเขาดวยกนั รายกการยอ ของงบดลุ สินทรพั ย 1. สินทรพั ยห มนุ เวียน 1.1 เงนิ สดและเงินฝากธนาคาร 1.2 เงินลงทุนระยะสั้น 1.3 ลูกหนี้การคา และต๋ัวเงินรบั หกั หนส้ี งสัยจะสญู ลูกหน้ีการคาและต๋ัวเงินรับสทุ ธิ 1.4 เงนิ ใหกยู มื แกบ ริษัทในเครอื และบรษิ ทั รว ม 1.5 สนิ คาคงเหลอื 1.6 สนิ ทรัพยหมุนเวียนอนื่ รวมสินทรพั ยห มนุ เวยี นอ่ืน 2. ลกู หน้ีและเงินใหก ูยมื แกกรรมการและลกู จาง 3. เงนิ ลงทนุ และเงินใหกูยืมแกบ ริษทั ในเครือ บริษทั รวมและบรษิ ัทอ่ืน 4. ท่ดี ิน อาคาร และอปุ กรณ 5. สินทรัพยอื่น รวมสนิ ทรพั ย หนี้สนิ และสว นของผถู ือหนุ 1. หนสี้ ินหมนุ เวียน 1.1 เงินเบิกเกินบญั ชีและเงินกยู มื จากธนาคาร 1.2 เจาหน้ีการคา 1.3 เงนิ ปนผลคางจา ย 1.4 สวนของหนส้ี ินระยะยาวทก่ี ําหนดชําระภายใน 1 ป 1.5 เงนิ กยู มื จากบรษิ ัทในเครอื และบริษัทรวม 1.6 หน้สี ินหมุนเวยี นอืน่ รวมหนีส้ ินหมุนเวยี น 2. เจา หนีแ้ ละเงินกูยมื จากกรรมการและลกู จาง 3. เงินกูยืมจากบริษัทในเครอื และบรษิ ัทรวม 4. เงนิ ลงทุนเลี้ยงชีพและบาํ เหนจ็
ข. - 18 5. เงินกยู มื ระยะยาว 6. หน้ีสนิ รวมหน้สี ิน 7. สว นของผูถ ือหุน 7.1 ทนุ เรือนหุน 7.1.1 ทนุ จดทะเบยี น 7.1.2 ทุนทอ่ี อกและเรียกชาํ ระแลว 7.2 สว นเกินมูลคาหุน 7.3 กําไรสะสม 7.3.1 จดั สรรแลว 7.3.1.1 สาํ รองตามกฎหมาย 7.3.1.2 สาํ รองอนื่ 7.3.2 ยังไมไ ดจดั สรร รวมหน้ีสินและสว นของผถู ือหุน รายการยอ ของงบกําไรขาดทุน 1. รายได 1.1 รายไดจ ากการขาย 1.2 ราไดอ น่ื รวมรายได 2. คาใชจ าย 2.1 ตน ทนุ ขาย 2.2 คาใชจ ายในการขายและการบรหิ าร 2.3 ดอกเบ้ียจา ย 2.4 ภาษเี งินได รวมคาใชจ า ย 3. กาํ ไรหรือขาดทุนกอนหักรายการพิเศษ 4. รายการพเิ ศษ 5. กาํ ไรหรอื ขาดทุนสทุ ธิ 6. กาํ ไรตอ หุน 6.1 กาํ ไรกอ นรายการพเิ ศษ 6.2 รายการพิเศษ 6.3 กาํ ไรสุทธิ
ข. - 19 เรื่องท่ี 5. รายการคา (Business Transaction) คือรายการอันเกี่ยวกับการเงินท่ีเกิดขึ้นจาการดําเนินงานของกิจการ เปนรายการซึ่งกอใหเกิดการ เปล่ียนแปลงในสินทรัพย หน้ีสิน และทุนของกิจการ กิจการจะตองนํารายการเหลานี้มาบันทึกไวในบัญชี เชน การซ้ือขายสินคา การจายเงนิ ชําระเจาหนี้การคา การจา ยภาษี หรอื การเกบ็ เงนิ จากลูกหน้ี เปน ตน รายการคาทกี่ ระทบตอธุรกจิ ประกอบดวย 1. รายการที่มผี ลกระทบตอสินทรัพยแ ละหน้สี ิน ไดแก 1.1 การรบั ชําระหนี้จากลูกหน้ี 1.2 การจายซอ้ื สนิ ทรัพยอ่นื เชน ที่ดิน อาคาร และอปุ กรณ 1.3 การจา ยชําระหนี้ 1.4 การกอหนี้ 2. รายการที่มีผลกระทบตอ สนิ ทรัพยหรือหน้ีสนิ และทุน ไดแ ก 2.1 การจาํ หนายทนุ เรือนหุน 2.2 การเกิดข้ึนของรายได 2.3 การเกิดขึน้ ของคาใชจาย 3. รายการทไ่ี มกระทบสินทรัพย หนสี้ ิน แตกระทบทุน ไดแก 3.1 จา ยปนผลเปนหุนสามญั 3.2 จัดสรรกาํ ไรสะสม เรื่องท่ี 6. สมการบญั ชี (Balance Sheet Equation Accounting Equation) เปนส่ิงท่แี สดงถึงความสัมพันธร ะหวางสนิ ทรัพย หนี้สนิ และสวนของเจาของกิจการซง่ึ สามารถแสดง ในรปู ของสมการไดด ังนี้ สินทรพั ย = หน้สี ิน + สวนของเจาของ Assets Liabilities Owner’s Equity เนื่องจากทุนหรือสวนของเจาของ คือ สวนของสินทรัพยภายหลังหักหนี้สินออกหมดแลว ดังน้ัน หากกจิ การไมม ีหน้สี ิน ทนุ (สว นของเจา ของ) ของกิจการจะเทากับสนิ ทรพั ยทั้งหมด อาจเขยี นเปนสมการไดว า สินทรัพย = ทนุ ตวั อยาง นายพีท นําเงินสวนตัวมาลงทนุ เพอ่ื ขายหมูปง 500 บาท สมการบัญชีจะเปนดงั นี้ จาก สินทรพั ย = ทุน ดงั นี้ 500 = 500
ข. - 20 แตถา นายพีท ไปกูเงินจากบุคคลภายนอกมาลงทุนเพื่อใชในการดําเนินกิจการ 300 บาทดังน้ัน สินทรัพยของกิจการจะมี 800 บาท แตกิจการของนายพีทจะมีบุคคลอื่นเขามาเก่ียวของในฐานะเจาหนี้ ซึ่งจะมี สทิ ธิในการเรียกรอ งในสนิ ทรัพยข องกจิ การเพมิ่ จากนายพที ได สมการบัญชีทีไ่ ดจ ะทําใหเปลยี่ นจากเดมิ เปน สนิ ทรัพย = หน้สี นิ + ทุน 800 = 300 + 500 แมวาในแตละวันกิจการจะมีรายการคาเกิดข้ึนมากมาย การเกิดข้ึนของรายการเหลานั้นจะทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงในสินทรัพย หน้ีสินและทุน (สวนของผูเปนเจาของ) แตอยางไรก็ตามสินทรัพยจะเทากับหนี้สิน บวกทุนเสมอ ซึ่งจะขอยกตัวอยางการเปล่ียนแปลงของรายการคาที่สงผลกระทบและไมสงผลกระทบตอทุนของ กจิ การดังนี้ ตัวอยาง การเปล่ียนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินแตละชนิด โดยไมมีผลกระทบตอทุนของกิจการ ไดแก การเปล่ียนแปลงที่ทําใหสินทรัพยชนิดหนึ่งเพิ่มขึ้นและสินทรัพยอีกชนิดหน่ึงลดลงหรือสินทรัพยเพ่ิมข้ึน และหนส้ี ินเพ่ิมขึ้น หรือสนิ ทรพั ยลดลงและหนส้ี นิ ลดลงในจํานวนทเี่ ทากนั เชน วันท่ี 1 มกราคม 25xx นายกบ เจาของรานรุงบริการ ไดนําเงินมาลงทุน 600 บาท และกูเงินจาก นายไกเ พือ่ ใชในกจิ การอีก 400 บาท ในงบดลุ จะแสดงรายการตอ ไปนี้ รานรุงบริการ งบดลุ ณ วันท่ี 1 มกราคม 25xx หนว ย:บาท สนิ ทรพั ย หนี้สินและทนุ เงนิ สด 1,000 เจาหนีก้ ารคา 400 ทุน 600 รวมสินทรัพย 1,000 รวมหนีส้ นิ และทนุ 1,000 ตอ มาวนั ที่ 2 มกราคม 25xx จายเงินสดซ้ืออุปกรณสํานักงาน 700 บาท รายการดังกลาวมีผลให สนิ ทรพั ยอยางหน่งึ ลดลงและสินทรัพยอยา งหนึ่งเพมิ่ ขึ้น โดยท่หี นี้สินและทุนยังเทาเดิม รา นรงุ บรกิ าร งบดลุ ณ วันที่ 2 มกราคม 25xx หนว ย:บาท สินทรัพย หนส้ี ินและทนุ เงินสด 300 เจาหน้กี ารคา 400 อปุ กรณส าํ นักงาน 700 ทนุ 600 รวมสนิ ทรัพย 1,000 รวมหนส้ี นิ และทุน 1,000 ในวันที่ 3 มกราคม 25xx ไดขายเช่อื อุปกรณสาํ นักงานช้นิ หน่งึ ไปในราคาทุน 200 บาท รายการคา น้สี งผลใหส ินทรพั ยช นดิ หนงึ่ ลดลง และสินทรัพยอ กี ชนิดหนึ่งเพิม่ ขึ้นเชน กนั โดยมีหน้ีสินและทนุ เทาเดิม
ข. - 21 สนิ ทรัพย รานรุง บริการ หนวย:บาท เงินสด งบดุล ลกู หนีก้ ารคา 400 อปุ กรณส าํ นักงาน ณ วันท่ี 3 มกราคม 25xx 600 รวมสนิ ทรัพย หนส้ี นิ และทุน 1,000 300 เจาหน้ีการคา 200 ทนุ 500 1,000 รวมหนสี้ ินและทนุ วันที่ 4 มกราคม 25xx จายเงินสดชําระเงินกู 100 บาท รายการคาน้ีทําใหสินทรัพยลดลงและ หน้ีสนิ กล็ ดลงในจํานวนเทา กนั งบดุลจะเปนดงั นี้ สนิ ทรัพย รา นรุงบรกิ าร หนวย:บาท เงินสด งบดุล ลูกหน้ีการคา 300 อปุ กรณสํานักงาน ณ วันที่ 4 มกราคม 25xx 600 xxx รวมสินทรพั ย หนส้ี นิ และทนุ 900 200 เจา หนกี้ ารคา 200 ทุน 500 900 รวมหนสี้ นิ และทุน วันที่ 5 มกราคม 25xx ซ้ืออุปกรณสํานักงานอีกช้ินหน่ึงราคา 200 บาท รายการคาน้ีมีผลทําให สินทรพั ยเพมิ่ ขน้ึ และหน้สี นิ เพมิ่ ข้ึนในจํานวนเทากนั งบดุลจะเปนดังนี้ สินทรพั ย รานรุงบริการ หนว ย:บาท เงินสด งบดุล ลูกหนก้ี ารคา 500 อุปกรณส ํานักงาน ณ วันที่ 5 มกราคม 25xx 600 xx xx รวมสนิ ทรัพย หนสี้ ินและทุน 1,100 200 เจา หนกี้ ารคา 200 ทุน 700 1,100 รวมหนี้สนิ และทุน
ข. - 22 ตัวอยาง การเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหน้ีสินในแตละชนิด และมีผลกระทบตอทุนของกิจการ ไดแก การโอนสินทรัพยอยางหนึ่งออกไป โดยไดรับสินทรัพยท่ีมีมูลคามากข้ึนหรือนอยลงมาแทน หรือการ เพ่ิมทนุ หรือการถอนทนุ ของกิจการ เปน ตน (รายการคาท่ีกระทบตอการดาํ เนินธุรกจิ แสดงไวแ ลวขา งตน) วันที่ 6 มกราคม 25xx นายกบ ไดขายอุปกรณสํานักงานซ่ึงมีราคาทุน 200 บาท ไปในราคา 300 บาท มีผลใหท ุนเพิม่ ขนึ้ 100 บาท สินทรัพย รานรุง บรกิ าร หนว ย:บาท เงินสด งบดลุ ลูกหนก้ี ารคา 500 อุปกรณสาํ นักงาน ณ วันท่ี 6 มกราคม 25xx 700 xx xx รวมสินทรัพย หนสี้ ินและทนุ 1,200 500 เจา หน้กี ารคา 200 ทนุ 500 1,200 รวมหน้ีสินและทนุ วันที่ 7 มกราคม 25xx ขายอุปกรณสํานักงานอีกช้ินหนึ่งท่ีมีราคาทุน100 บาทไปในราคา 50 บาท สงผล ใหส ินทรัพยช นิดหนึง่ ลดลง 100 บาท แตสนิ ทรพั ยอกี ชนิดหนง่ึ จะเพ่มิ ขน้ึ เพยี ง 50 บาท ทนุ จึงลดลง 50 บาท สนิ ทรัพย รา นรุงบรกิ าร หนวย:บาท เงนิ สด งบดุล ลูกหนี้การคา 500 อปุ กรณสํานักงาน ณ วันท่ี 7 มกราคม 25xx 650 xx xx รวมสนิ ทรพั ย หน้ีสนิ และทนุ 1,150 550 เจาหนีก้ ารคา 200 ทนุ 400 1,150 รวมหน้สี นิ และทุน วันท่ี 1 กุมภาพันธ 25xx นายกบ ไดจายเงินสด 250 บาท เพ่ือชําระหน้ีเงินกู รายการน้ีมีผลให สนิ ทรพั ยลดลง 250 บาท และหน้ีสนิ ลดลง 250 บาท
ข. - 23 สนิ ทรัพย รา นรงุ บริการ หนว ย:บาท เงนิ สด งบดุล ลกู หนกี้ ารคา 250 อุปกรณสํานักงาน ณ วันท่ี 1 กุมภาพนั ธ 25xx 650 xxx รวมสนิ ทรัพย หน้สี นิ และทุน 900 300 เจา หนก้ี ารคา 200 ทุน 400 900 รวมหนี้สนิ และทนุ วันท่ี 2 กุมภาพันธ 25xx นายกบ นําเงินสด 200 บาท และสินคา 300 บาท มาลงทุนเพิ่ม รายการ คา น้ีทาํ ใหสนิ ทรัพยเ พิ่มข้นึ 500 บาท และทุนเพิ่มขนึ้ 500 บาท สนิ ทรัพย รา นรุงบริการ หนว ย:บาท เงินสด งบดุล ลูกหนกี้ ารคา 250 สนิ คา ณ วันที่ 2 กมุ ภาพันธ 25xx 1,150 อุปกรณสาํ นักงาน หนีส้ ินและทุน x xx x รวมสนิ ทรัพย 500 เจา หน้ีการคา 1,400 200 ทนุ 300 400 1,400 รวมหนสี้ ินและทนุ วันท่ี 3 กุมภาพันธ 25xx นายกบ ถอนทุนออกมาใช 100 บาท เปนเงินสด ดังน้ันยอดเงินสดจะ ลดลงและทนุ ลดลง 100 บาท เทา กัน รานรงุ บรกิ าร งบดลุ ณ วันที่ 3 กุมภาพนั ธ 25xx หนว ย:บาท สินทรพั ย หนีส้ นิ และทุน เงนิ สด 400 เจา หนก้ี ารคา 250 ลกู หนีก้ ารคา 200 ทุน 1,050 สนิ คา 300 อปุ กรณสํานักงาน 400 x xx x รวมสินทรพั ย 1,300 รวมหนีส้ ินและทนุ 1,300
ข. - 24 เรื่องที่ 7. บัญชแี ละบญั ชีแยกประเภท บัญชี เปนแหลงสําหรับบันทึกรายการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย หนี้สินและสวนของเจาของใน ระยะเวลาใดเวลาหน่ึง โดยมีการจัดหมวดหมูแยกเปนประเภทตางๆ ซึ่งเรียกวา “บัญชีแยกประเภท (Ledger)” ประกอบดวย บัญชีแยกประเภทสินทรัพย หนี้สิน สวนของเจาของ รายได และคาใชจาย รูปรางของบัญชีแยก ประเภทจะมีลักษณะคลายรูปตัว T (T Account) ซ่ึงแบงออกเปน 2 สวน คือ ดานซายและดานขวา ดานซาย ของบัญชีเรยี กวา เดบติ (Debit/Dr.) และดา นขวาของบญั ชเี รยี กวา เครดิต (Credit/Cr.) แสดงไดด ังน้ี ชอื่ บัญชี เดบติ (Debit/Dr.) เครดติ (Credit/Cr.) 1. สินทรพั ยเพ่ิมข้นึ 1. สินทรพั ยลดลง 2. หนส้ี ินลดลง 2. หนส้ี ินเพ่ิมข้ึน 3. สว นของผถู ือหุนลดลง 3. สวนของผถู ือหุน เพิ่มข้นึ 4. รายไดลดลง 4. รายไดเพิม่ ข้ึน 5. คา ใชจ ายเพิม่ ขึ้น 5. คา ใชจ ายลดลง จากขอ มลู ขางตนสามารถสรุปไดว า 1. การเพิ่มข้ึนในสินทรัพย บันทึกทางซายมือ (เดบิต) การลดลงในสินทรัพยบันทึกดานขวามือ (เครดิต) 2. การเพิม่ ขน้ึ ในหนสี้ ิน บนั ทกึ ดา นขวามือ (เครดติ ) การลดลงในหน้ีสิน บันทกึ ดา นซา ยมือ (เดบติ ) 3. การเพ่ิมขึ้นในสวนของเจาของ บันทึกดานขวามือ (เครดิต) การลดลงในสวนของเจาของบันทึก ดานซา ยมือ (เดบติ ) สาํ หรบั บัญชีรายไดแ ละคา ใชจ าย จะแยกตา งหากจากบัญชีสวนของผูเปนเจาของ เพื่อใหเห็น ผลการดาํ เนนิ งานอยางชดั เจน แตยงั ใชห ลักการบันทึกบญั ชแี บบเดย่ี วกบั สวนของผเู ปน เจา ของ 4. รายไดเพ่ิมข้ึน มีผลใหสวนของเจาของเพ่ิม ดังน้ันจึงบันทึกดานขวามือ (เครดิต) ถารายไดลดลง แสดงวาสว นของเจาของ บนั ทกึ ดา นซายมือ (เดบติ ) 5. คาใชจายเพ่ิมข้ึน ทําใหสวนเจาของลดลง จึงบันทึกดานซายมือ (เดบิต) ถาคาใชจายลดลงทําให สว นของเจาของเพิม่ ขนึ้ บนั ทกึ ดานขวามอื (เครดิต) หลักการบญั ชีคู (Double-Entry Accounting) คือ การบันทึกรายการคาทุกรายการที่เกิดขึ้นจะบันทึกบัญชี 2 ดาน ในจํานวนเงินท่ีเทาๆกัน แต จํานวนบัญชีที่บันทึกอาจไมเทากันได เชน การบันทึกในดานเครดิต 2 บัญชี และมีผลรวมเทากับจํานวนเงินที่ บันทึกลงในดานเดบิตบัญชีเดียว รายการเชนน้ีเรียกวา Compound Entry ดังน้ันการบันทึกรายการบัญชีจะยึด ตามหลักการบญั ชคี ูแ ละสมการบัญชี สวนผลรวมของดา นเดบติ และเครดิตจะตอ งเทากนั เสมอ
ข. - 25 เรอ่ื งท่ี 8. วงจรบญั ชี (Accounting Cycle) คือ ลําดับขั้นตอนทางการบัญชี เริ่มจากการบันทึกรายการบัญชีท่ีเกิดข้ึน จนถึงการเสนอรายงาน ทางการเงนิ ของรอบระยะเวลาบัญชีหนง่ึ ๆ ซงึ่ มลี ําดบั ขนั้ ตอนดงั น้ี 1. การวเิ คราะหร ายการคา 2. บันทกึ รายการลงในสมดุ รายวนั 3. ผานรายการไปยงั บัญชีแยกประเภท 4. เม่ือสิ้นงวดบัญชีจัดทํางบทดลอง เพื่อทดสอบดูวา จํานวนเงินทางดานเดบิตและเครดิตในบัญชี แยกประเภทเทา กนั หรือไม 5. ลงรายการปรบั ปรุง ในสมดุ รายวนั ทั่วไปแลวผานไปยังบญั ชแี ยกประเภท 6. ลงรายการปดบัญชี ในสมดุ รายวนั ท่ัวไปแลว ผานไปยังบญั ชแี ยกประเภท 7. หายอดดุลของบัญชที ย่ี งั ไมไ ดป ดทกุ รายการ 8. จัดทาํ งบการเงิน วธิ กี ารบนั ทึกบญั ชขี นั้ ตน 1. การวเิ คราะหร ายการบญั ชี คือ การวิเคราะหรายการคาที่เกิดข้ึนวามีผลกระทบตอสินทรัพย หน้ีสิน หรือสวนของผูเปน เจาของเปลีย่ นแปลงไปอยางไร รายการท่ีเกิดขึ้นแตละรายการอาจจะกระทบเฉพาะสินทรัพย หรืออาจกระทบทั้ง สินทรัพยและหนี้สิน หรืออาจกระทบสินทรัพยและสวนผูเปนเจาของก็ได ดังรายการที่เคยกลาวไปแลวขางตน ในหวั ขอรายการคากบั สมการบญั ชี 2. บัญชีแยกประเภทและหลักการบนั ทกึ รายการ ตามที่ไดกลาวมาขางตนเกี่ยวกับประเภทบัญชี 5 ประเภทหลัก คือ สินทรัพย หน้ีสิน สวนของ ผูเปนเจาของ รายได และคาใชจาย อยางไรก็ตามในแตละประเภทบัญชียังสามารถที่จะแยกเปนบัญชียอยไดอีก เชน บญั ชีคา ใชจ าย อาจแยกตามประเภทของคา ใชจายตาง ๆ เชน บัญชีคาโฆษณา บัญชีคาสาธารณูปโภค บัญชี เงินเดือนบัญชีดอกเบ้ียจาย เปนตน บัญชีแตละบัญชีหลายๆบัญชีรวมกันเรียกวา บัญชีแยกประเภท (Ledger) แบบของบัญชีแยกประเภทที่นิยมใชกันโดยทั่วไปมีลักษณะคลายตัวอักษรภาษาอังกฤษ คือ ตัว T เรียกวา T Account ใชบันทึกรายการของธุรกิจ โดยแบงเปน 2 ดาน คือดานขวามือและดานซายมือ ดานขวาเรียกวา เครดิต ดานซายเรียกวา เดบิต แบบบัญชีแยกประเภทที่สมบูรณนิยมใชกันโดยท่ัวไปมี 2 แบบ คือแบบบัญชี มาตรฐาน (Standard Account Form) และแบบแสดงยอดดลุ (Balance Account Form) บญั ชแี บบมาตรฐาน ชือ่ บัญชี เลขท่บี ัญชี วนั /เดือน/ป รายการ อางองิ จํานวนเงิน วัน/เดือน/ป รายการ อางองิ จํานวนเงิน
ข. - 26 บัญชีแบบมาตรฐาน (Standard Account Form) มีลักษณะเหมือนตัว T บัญชีมีการแบงออกเปน 2 ดาน เพอ่ื บันทกึ จํานวนเงนิ ที่เพ่มิ ข้ึนดานหน่งึ และบันทึกจํานวนเงินท่ีลดลงอีกดานหน่ึง แตละดานมีชองสําหรับ บันทกึ ขอความ ดังนี้ 1. ชอง วนั เดอื น ป ใชสําหรบั ลงวันเดอื นป ท่นี ํารายการนน้ั ๆ มาลงบญั ชี โดยเรียงลําดับกอน-หลงั 2. ชองรายการ เปนชองสําหรับเขียนอธิบายถึงลักษณะรายการหรือเหตุผลในการนํารายการน้ันมา ลงบัญชอี ยา งยอ บางครงั้ ใชแสดงช่ือบญั ชีทีอ่ ยูดา นตรงขาม 3. ชองหนาบัญชี เปนชองสําหรับลงเลขที่หนาของสมุดรายการเบื้องตน ท่ีใชบันทึกรายการน้ันเพื่อ ประโยชนที่จะคน หาท่ีมาและหลกั ฐานประกอบรายการน้นั 4. ชองจํานวนเงนิ เปน ชอ งสาํ หรบั ลงจํานวนเงินของรายการทน่ี ํามาบนั ทกึ บัญชแี บบแสดงยอดดลุ วนั /เดือน/ป รายการ ชอ่ื บญั ชี เดบิต เลขท่บี ัญชี อา งการผาน เครดติ ยอดดลุ บญั ชี บัญชีแบบแสดงยอดดลุ ตางจากแบบมาตรฐาน คือ ไมไดแบงเปน 2 ดาน แตม ีชอ งจํานวนเงิน 3 ชอ ง เรียงไวตดิ กันเพื่อบนั ทกึ จํานวนเงนิ ทเ่ี พิม่ ข้นึ จํานวนเงนิ ทล่ี ดลง และยอดดุล บัญชแี บบนท้ี ําใหทราบยอดดลุ ได ทุกครงั้ ท่ีมีรายการเกดิ ข้ึน สวนชอ งวนั เดอื นป รายการและหนาบัญชี ใชสําหรับบันทึกขอความเหมือนแบบแรก ตัวอยาง การบันทึกบญั ชีข้ันตน 1) วนั ที่ 1 มกราคม 25xx บริษัท แกว จาํ กัด ไดจ ัดต้ังและไดรบั เงินสดจากการจําหนา ยหนุ 5,000 หุน ในราคาหุน ละ 100 บาท วเิ คราะหรายการ สินทรพั ยของบรษิ ทั คือ เงินสดเพิ่ม เดบิต บญั ชีเงนิ สด 500,000 บาท สว นของผถู อื หุน คอื ทุน-หนุ สามญั เพ่ิม เครดิต บัญชีทุน-หนุ สามัญ 500,000 บาท
ข. - 27 2) เน่ืองจากบริษัทเปนกิจการท่ีซื้อสินคาเพ่ือขาย ดังนั้นเมื่อมีสินคามาจะนํามาลงบัญชีดานเดบิต ใน ราคาทุนของสินคาที่ซื้อมา โดยจะบันทึกในบัญชีซ้ือซึ่งมีลักษณะเปนบัญชีประเภทคาใชจาย ซึ่งจะบันทึก จํานวนเงนิ ทีเ่ พ่มิ ขึน้ ทางดา นเดบติ เมอ่ื บริษทั ซ้ือสนิ คา เปน เงินสด 80,000 บาท จะบันทึกบัญชีไดด ังนี้ วเิ คราะหรายการ คาใชจ ายของบริษัทเพม่ิ ขึ้น(ซอ้ื สนิ คา ) เดบติ บัญชีซอื้ 80,000 บาท สินทรัพย คอื เงนิ สดลดลง เครดติ บญั ชีเงินสด 80,000 บาท 3) วันท่ี 5 มกราคม 25xx ซือ้ อุปกรณสํานักงานเปนเงินเชอ่ื 20,000 บาท วิเคราะหรายการ คา ใชจายของบรษิ ทั เพม่ิ ขนึ้ คือ อปุ กรณสาํ นักงานเพิม่ ขน้ึ เดบิต บัญชีอุปกรณส ํานกั งาน 20,000บาท หนี้สนิ ของบรษิ ัท คือ เจา หนก้ี ารคาเพิ่มข้ึน เครดิต บญั ชเี จา หน้ีการคา 20,000บาท 4) วันท่ี 7 มกราคม 25xx ซ้ือรถยนตเพ่ือใชงาน 1 คัน ราคา 300,000 บาท จายเงินสดเพียง 50,000 บาท ทเ่ี หลือออกเปน ตั๋วเงนิ จาย วิเคราะหรายการ สนิ ทรัพยข องบริษทั คือ รถยนตเ พ่มิ ขน้ึ เดบิต บัญชีรถยนต 300,000 บาท สินทรพั ยข องบรษิ ัท คอื เงินสดลดลง เครดติ บัญชีเงนิ สด 50,000 บาท หน้สี นิ ของบริษทั คอื ต๋ัวเงนิ จาย เครดิต บญั ชีตว๋ั เงนิ จา ย 250,000 บาท 5) วนั ที่ 8 มกราคม 25xx ขายสินคาเปน เงนิ สด 55,000 บาท รายไดจาการขายสินคาจะนํามาบันทึกในบัญชีขายดานเครดิตในราคาท่ีขายได เพราะบัญชีขายเปนบัญชีประเภท รายได วเิ คราะหรายการ สนิ ทรัพยข องบริษทั คือ เงนิ สดเพิ่ม เดบิต บญั ชเี งินสด 55,000 บาท รายไดของบริษทั คือ คา ขายเพม่ิ ขนึ้ เครดิต บัญชขี าย 55,000 บาท 6) วนั ท่ี 10 มกราคม 25xx จายคาเชา อาคาร 5,000 บาท และคาโฆษณา 1,000 บาท วเิ คราะหรายการ คา ใชจ า ยของบริษัท คอื คา เชาเพิม่ ขึน้ เดบติ บัญชีคาเชา 50,000 บาท คา ใชจ า ยของบริษทั คือ คา โฆษณาเพิม่ ข้ึน เดบติ บัญชีคาโฆษณา 1,000 บาท สนิ ทรพั ยของบรษิ ัท คือ เงินสดลดลง เครดติ บัญชีเงินสด 6,000 บาท 7) วนั ท่ี 12 มกราคม 5xx จายชาํ ระหนคี้ า อปุ กรณส าํ นักงานทไี่ มไ ดใ ชแ ลวในราคาทุน เปนเงิน 400 บาท วเิ คราะหร ายการ หนส้ี นิ ของบริษทั คอื เงนิ สดเพิ่มขนึ้ เดบติ บญั ชเี งินสด 400 บาท สินทรัพยของบรษิ ัท คอื อปุ กรณสาํ นกั งานลดลง เครดิต บญั ชีอุปกรณส าํ นกั งาน 400 บาท
ข. - 28 เรอื่ งท่ี 9. ผงั บญั ชี (Chart of General Ledger Accounts / Chart Account) คือ รายการบัญชีแยกประเภทเก่ียวกับสินทรัพย หน้ีสิน สวนของผูเปนเจาของ รายได และคาใชจาย ที่กจิ การมอี ยใู นระบบบญั ชขี องกิจการ โดยจัดใหม ีชื่อและบญั ชเี ปนหมวดหมูอ ยา งเปนระเบยี บ ผังบัญชีของแตละกิจการไมจําเปนตองมีบัญชีท่ีเหมือนกัน ขึ้นกับลักษณะการดําเนินงานของธุรกิจ ขนาดของธุรกิจ การดําเนินงาน ความละเอียดของรายการบัญชี เพื่อใชในการตัดสินใจของฝายบริหาร เปนตน การจัดหมูและการแยกประเภทบัญชีโดยทั่วไปท่ีนิยมกันจะเริ่มที่บัญชีแยกประเภทสินทรัพย หน้ีสิน สวนของ เจาของ รายได และคาใชจาย โดยแทนบัญชีแยกประเภทแตละหมวดดวยตัวเลข เริ่มจาก 1 ไปถึง 5 ซ่ึงแตละ หมวดบญั ชอี าจมรี ายการบญั ชียอ ยๆ กไ็ ด โดยใชตัวเลขกํากับเชนเดียวกัน และที่นิยมกันโดยทั่วไปเลขท่ีบัญชีตัว แรกนนั้ จะหมายถงึ ประเภท/หมวดบัญชี สวนตัวเลขที่สองหมายถึงชนิดของบัญชีแตละประเภทน้ันๆ ซึ่งสามารถ กาํ หนดไดด ังนี้ เลขที่ 11-19 เปน บัญชปี ระเภทสินทรัพย เลขที่ 20-29 เปน บัญชปี ระเภทหนส้ี ิน เลขที่ 30-39 เปน บญั ชปี ระเภทสว นของผูเ ปนเจาของ เลขที่ 40-49 เปน บญั ชปี ระเภทรายได เลขที่ 50-59 เปน บญั ชปี ระเภทคาใชจ าย ตวั อยางในการทําผงั บญั ชี จะเปนดงั นี้ ชือ่ บญั ชี เลขที่บัญชี สนิ ทรพั ย บญั ชเี งินสด 11 บัญชลี กู หน้ีการคา 12 บญั ชตี ๋วั เงินรบั 13 บัญชคี า เบี้ยประกันจายลวงหนา 14 บัญชีท่ีดิน 15 บญั ชอี าคาร 16 บญั ชอี ปุ กรณสาํ นกั งาน 17
ข. - 29 ชอื่ บัญชี เลขที่บัญชี หน้ีสนิ 21 บัญชีเจาหนีก้ ารคา 22 บัญชตี ๋ัวเงินจา ย 23 บัญชีคา ภาษอี ากรคางจาย 27 บญั ชเี จาหนเี้ งินกู 31 ทุน 34 บญั ชีทุนเรือนหุน บญั ชีกาํ ไรสะสม 41 42 รายได บญั ชีขาย 51 บัญชคี าเชารบั 52 53 คาใชจา ย 54 บัญชซี ้อื 55 บญั ชเี งนิ เดอื น 56 บญั ชีดอกเบ้ียจา ย 57 บัญชคี าโฆษณา 58 บญั ชีคานํา้ คา ไฟ บญั ชีคาโทรศพั ท บัญชีคา เผื่อหนส้ี งสัยจะสญู บัญชีคาเส่ือมราคา-อาคาร เรอ่ื งที่ 10. สมดุ รายวนั ทว่ั ไปและวธิ กี ารบันทกึ รายการ สมุดรายวัน (Journal) เปนสมุดสําหรับบันทึกรายการเบื้องตนภายหลังจากการวิเคราะหรายการคาแลววา ควรเดบิตหรือเครดิตบัญชีอะไรบาง ซึ่งจะชวยลดความผิดพลาดของการบันทึกบัญชีไมครบตามหลักการบัญชีคู ได โดยบันทึกตามหลักเหตุการณท่ีเกิดข้ึน และมีคําอธิบายรายการยอๆ เพ่ือใหทราบถึงท่ีมาของรายการนั้น สมดุ รายวนั สามารถแบง ไดเปน 2 ประเภท คอื 1. สมดุ รายวนั ท่วั ไป (General Journal) รายการคาทุกรายการท่ีเกิดขึ้นจะตองนํามาบันทึกในสมุดรายวันทั่วไปเสียกอน การบันทึกในสมุด รายวันท่ัวไป เปน การวเิ คราะหผลของรายการนั้นวาจะลงบัญชีใดทางดานเดบิต และบัญชีใดทางดานเครดิต การ บันทึกสมุดรายวันท่ัวไป จึงเปนการบันทึกเร่ืองราวเก่ียวกับรายการแตละรายการอยางครบถวน หรือบอกให ทราบวารายการนั้นเกดิ ขึ้นเมือ่ ใด และจะตอ งนาํ ไปลงบญั ชใี ดบา ง
ตวั อยาง สมดุ รายวนั ทั่วไป ข. - 30 วนั เดอื น ป รายการ เลขทบี่ ัญชี เดบิต เครดติ Date Debit Credit Account Titles and Explanation Ref. วิธีการบนั ทึกรายการในสมุดรายวันท่ัวไป 1. ชองวัน เดือน ป ใชบันทึกวันที่ที่เกิดรายการนั้นๆ โดยเขียน พ.ศ. ไวตอนบน เขียนชื่อเดือนไว บรรทดั แรกของทุกๆ หนา และตอ ดว ยวนั ที่ 2. ชองรายการ ใชแสดงช่ือบัญชีท่ีจะลงดานเดบิตและเครดิต โดยเขียนชื่อบัญชีท่ีจะเดบิตไวทางดาน ซายมือชิดเสนชองวันที่ 3. ชอ งเลขท่บี ญั ชี ใชส ําหรับอางถึงการผานบัญชี จากสมุดรายวันท่ัวไปไปยังบัญชีแยกประเภทโดยนํา เลขท่บี ญั ชีมาใสไว ภายหลังจากทีผ่ านบญั ชีไปแลว 4. ชอ งเดบติ และเครดิต ใชใ สจาํ นวนเงินท่ตี อ งการบนั ทึกบัญชี โดยใหอ ยบู รรทัดเดียวกับชอ่ื บญั ชี การลงรายการในสมุดรายวันท่ัวไป เม่ือลงรายการหนึ่งเสร็จแลว ควรขีดเสนค้ันเพื่อไมใหปนกับ รายการท่ีจะลงตอไป หรืออาจใชก ารเวน บรรทดั กไ็ ด 2. สมดุ รายวนั เฉพาะ (Special Journal) ใชบันทึกรายการใดรายการหน่ึงโดยเฉพาะ เนื่องจากมีรายการคาที่เกิดขึ้นซ้ํากันเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะอยางย่ิงในกิจการขนาดใหญ การผานรายการไปยังสมุดรายวันทั่วไปไปยังบัญชีแยกประเภทยอม เสียเวลาและคาใชจายในการลงบัญชีมาก ดังนั้นนักบัญชีจึงใช “สมุดรายวันเฉพาะ”แทน เพ่ือใหการลงบัญชี เปนไปดวยความรวดเรว็ ประหยดั แรงงานและคา ใชจาย สําหรับการบันทึกรายการที่มีลักษณะอยางเดียวกัน อาจ แบงไดดังนี้ - สมดุ รายวนั เงนิ สดรับ Cash Receipt Journal ใชบ ันทกึ รายการรับเงินสด - สมดุ รายวนั เงินสดจาย Cash Disbursement Journal ใชบันทกึ รายการจา ยเงินสด - สมดุ รายวันซื้อ Purchase Journal ใชบ นั ทึกรายการซ้อื สนิ คา เปน เงินเชื่อ - สมมดุ รายวันขาย Sale Journal ใชบันทกึ รายการขายสินคาเปนเงินเช่อื ในกรณีท่ีกิจการมีสมุดรายวันเฉพาะ รายการคาดังกลาวขางตนจะตองบันทึกลงในสมุดรายวันเฉพาะ เทานนั้ และรายการคาทีน่ อกเหนือไปจากน้ีใหบ นั ทึกลงในสมุดรายวนั ทว่ั ไปกอ นผา นบญั ชแี ยกประเภทตามปกติ
ข. - 31 ประโยชนของสมดุ รายวัน 1. ชวยใหการลงบัญชีมีความสะดวก รวดเร็ว เนื่องจากมีการวิเคราะหรายการคาที่เกิดข้ึนควรจะลงบัญชี อะไร ทางดานใด ทาํ ใหค วามผดิ พลาดนอยลง 2. สะดวกตอการอางอิงในภายหนา เน่ืองจากมีการนํารายการคาตางๆ ที่เกิดขึ้นในกิจการในแตละวันมา ลงไวตามลาํ ดับวนั ท่ี 3. ชว ยใหเขาใจรายการแตละรายการไดดีเนื่องจากมคี ําอธิบายรายการ ตวั อยา ง การบนั ทกึ รายการในสมดุ รายวันทัว่ ไป บริษัท พานิช จํากัดเริ่มจัดตั้งบริษัทเดือนมกราคม 25xx ไดกําหนดเลขที่บัญชีแยกประเภทตางๆ ของ บริษทั ดงั นี้ ชื่อบัญชี เลขที่ ช่ือบัญชี เลขท่ี บัญชีเงินสด 11 บญั ชกี ําไรสะสม 33 บัญชีลูกหน้ีการคา 12 บญั ชขี าย 41 บญั ชวี ัสดุสาํ นักงาน 13 บัญชีซอื้ 51 บัญชสี นิ คา คงเหลือ 14 บัญชคี าโฆษณา 52 บญั ชีรถยนต 17 บัญชีคา เชา 53 บัญชอี ุปกรณส าํ นกั งาน 18 บัญชคี าซอ มแซม 54 บัญชตี ั๋วเงินจาย 21 บัญชีคา นํา้ คาไฟ 55 บัญชเี จาหน้ี 22 บญั ชีเงนิ เดือนและคา แรง 56 บัญชที ุน-หุนสามัญ 31 บญั ชคี าโทรศัพท 57 บัญชีกาํ ไรขาดทุน 32 โดยมีรายการคาท่ีเกิดขึ้นในเดือนมกราคม ดังน้ี มกราคม 1 ไดร ับเงนิ สดจากการจาํ หนายหุน 8,000 บาท ในราคาหุนละ 100 บาท 2 ซอ้ื สนิ คาเปนเงินสด 90,000 บาท 4 ซ้อื อปุ กรณส าํ นักงานเปนเงินเชอ่ื 7 ขายสินคาราคา 50,000 บาท ไดเ งินสด 30,000 บาท ทเ่ี หลือลกู คา จะ นํามาชําระภายหลัง 10 ซอ้ื รถยนตมาไวใชในบริษทั 1 คัน ราคา 200,000 บาท โดยจา ยเงินสด 50,000 บาท ที่เหลือคา งชําระ 12 จายเงินสดซือ้ วสั ดสุ าํ นักงาน 500 บาท 15 จา ยคาเชาอาคารประจําเดือนมกราคม 5,000 บาท 17 ขายสินคา เปน เงินสด 90,000 บาท 18 จายคาซอ มแซมรถยนต 20 จายคาโฆษณา 1,200 บาท 25 จายชําระหนีค้ าซอื้ อปุ กรณสาํ นกั งานไปสวนหน่ึง เปนเงิน 15,000 บาท 29 จายคา นํา้ คาไฟ 300 บาท และคาโทรศพั ท 450 บาท 30 จายเงนิ เดอื นและคาแรง 28,000 บาท
ข. - 32 สมุดรายวันท่ัวไป วัน เดือน ป รายการ เลขที่ เดบิต เครดิต บญั ชี 25xx 11 800,000 - ม.ค. 1 บญั ชเี งนิ สด 31 800,000 บัญชที ุน-หุน สามัญ 51 จาํ หนายหนุ 8,000 หุน ๆละ 100 บาท 11 90,000 - 2 บญั ชซี ื้อ 18 90,000 - บญั ชีเงินสด 22 ซอื้ สินคา เปนเงินสด 25,000 - 4 บญั ชอี ปุ กรณส ํานกั งาน 11 12 25,000 - บญั ชีเจาหนี้ 41 ซือ้ อปุ กรณสาํ นักงานเปน เงินเช่ือ 30,000 - 7 บัญชีเงินสด 17 20,000 - บญั ชีลกู หนี้การคา 11 22 50,000 - บญั ชขี าย ขายสนิ คา ราคา 50,000 บาท ไดรบั เงนิ 13 200,000 - สด 30,000บาท 11 ที่เหลือคา งชาํ ระ 50,000 - 10 บัญชีรถยนต 53 150,000 - 11 บัญชีเงินสด 500 - 500 - บัญชีเจาหนก้ี ารคา 5,000 - 5,000 - ซ้ือรถยนต 200,000 บาท เปนเงนิ สด 50,000 บาท ทีเ่ หลอื คางชําระ 12 บัญชีวสั ดุสํานักงาน บัญชีเงนิ สด ซอ้ื วสั ดสุ ํานกั งานเปน เงินสด 15 บัญชคี า เชา บญั ชีเงนิ สด จา ยคา เชาอาคารประจําเดอื น
ข. - 33 วนั เดอื น ป รายการ เลขท่ี เดบติ เครดิต บญั ชี 25xx 90,000 - 90,000 - ม.ค. 17 บัญชเี งินสด 11 1,500 - 1,500 - 41 1,200 - 1,200 - บัญชขี าย 15,000 - 15,000 - ขายสนิ คา เปนเงินสด 54 300 - 18 บัญชีคา ซอ มแซม 11 450 - 750 - 28,000 - 28,000 - บัญชีเงนิ สด 25 จา ยคาซอ มแซมรถยนต 11 20 บัญชคี า โฆษณา 22 บัญชเี งนิ สด 11 จา ยคาโฆษณา 25 บัญชีเจาหนกี้ ารคา 55 57 บัญชีเงินสด 11 จายเงินสดชาํ ระหนคี้ า อุปกรณสํานกั งาน 29 บญั ชีคาน้าํ คาไฟ 56 บัญชีคา โทรศัพท 11 บัญชีเงินสด จายคาน้าํ คาไฟ และคา โทรศพั ท 30 บัญชีเงินเดอื นและคาแรง บัญชีเงนิ สด จายเงินเดือนและคาแรง เร่ืองที่ 11. การผานบัญชีรายวนั ไปยงั บญั ชแี ยกประเภท การผานรายการ (Posting) คือ การนํารายการท่ีลงไวในสมุดรายวันท่ัวไป ไปบันทึกลงในบัญชีตาง ๆ ตามที่ระบุไวในสมุดรายวันท่ัวไปในบัญชีแยกประเภท รายการที่มีการบันทึกไวดานเดบิตใหผานไปยังบัญชีแยก ประเภทดานเดบิต และรายการท่ีบันทึกดานเครดิตใหผานบัญชีแยกประเภทดานเครดิต โดยนําวันที่จากสมุด รายวันท่ัวไป มาลงในบัญชีแยกประเภทชองวันท่ีผานช่ือบัญชีไปยังบัญชีแยกประเภท โดยนําช่ือบัญชีเก่ียวของ แตอยูคนละดานมาใส เชนในบัญชีเงินสด ใหเขียนวา “บัญชีทุน” สวนในบัญชีทุนใหเขียนวา “บัญชีเงินสด” เพื่อใหทราบวาทุนที่นํามาลงเปนเงินสดนําเลขท่ีบัญชีของบัญชีแยกประเภทไปใสไวในชอง “เลขท่ีบัญชี” ของ สมุดรายวันท่ัวไป มาใสไวในชอง “อางถึง” ของบัญชีแยกประเภท เพ่ือใหทราบวารายการน้ีผานจากสมุด รายวันหนาใด โดยเขียนตัวยอ วา “รว.ตามดวยเลขหนา” ซ่ึงทําใหสะดวกในการติดตามหากมีขอผิดพลาดผาน ชอ งจาํ นวนเงินจากสมุดรายวันทัว่ ไปมายังบญั ชแี ยกประเภททางดา นเดบติ และเครดิต
ข. - 34 หมายเหตุ: การเปดบัญชีแยกประเภท มักนิยมเรียงตามลําดับ คือ สินทรัพย หนี้สิน สวนของผูเปน เจาของ รายได และคาใชจาย การผานบัญชีจะบันทึกรายการในสมุดรายวันท่ัวไปทันที หรืออาจบันทึกตอนส้ิน เดอื นกไ็ ดแ ลวแตป รมิ าณรายการ หากรายการคาที่บันทกึ ไวใ นสมุดรายวันท่ัวไป มีลักษณะเปน Compound Entry คือ มีการบันทึกบัญชี มากกวา 2 บัญชีข้ึนไป และมีผลรวมของจํานวนเงินดานเดบิตและเครดิตเทากัน เชน ขายสินคาเปนเงินสด แต ไดรับเงินสดสวนหน่ึง อีกสวนหนึ่งคางรับ เม่ือผานไปยังบัญชีแยกประเภทในชอง “รายการ” จะตองนําบัญชีที่ เกี่ยวขอ งแตอ ยูคนละดานมาใส แตเ นอ่ื งจากบญั ชีขายเก่ียวของกับบัญชีมากกวา 1 บัญชีขึ้นไป คือ ลูกหน้ีการคา และบัญชเี งินสด จึงใหใ ชคําวา “บัญชตี างๆ” (Sundry Account) แทน ตวั อยาง การผา นรายการจากสมุดรายวันทัว่ ไป ไปยงั บญั ชแี ยกประเภท จากตัวอยา งการลงบญั ชีในสมุดรายวนั ท่ัวไป ของ บรษิ ทั พานิช จํากัด ขา งตน สามารถผา นรายการ จากสมุดรายวันท่วั ไป ไปยังบัญชแี ยกประเภทไดด ังน้ี บัญชีเงินสด เลขที่ 11 วันที่ รายการ อางถึง เดบติ วันท่ี รายการ อางถึง เครดิต 25xx บัญชีทนุ -หนุ สามัญ รว.1 25xx บัญชซี ้อื รว.1 90,000 - ม.ค. 1 บัญชีขาย รว.1 บญั ชรี ถยนต รว.2 50,000 - 7 บัญชขี าย รว.2 800,000 - ม.ค. 2 บัญชีวสั ดุสาํ นกั งาน รว.2 500 - 17 บัญชีคาเชา รว.2 5,000 - 30,000 - 10 บัญชีคา ซอ มแซม รว.2 1,500 - บญั ชคี าโฆษณา รว.2 1,200 - 90,000 - 12 บญั ชเี จา หน้ี รว.2 15,000 - บญั ชตี างๆ รว.2 750 - 15 บญั ชีเงนิ เดอื นและ คา แรง รว.2 28,000 - 18 20 25 29 30
ข. - 35 บัญชีลูกหน้ีการคา เลขที่ 12 อางถึง เครดิต วันท่ี รายการ อางถึง เดบติ วนั ที่ รายการ 25xx รว.1 20,000 - ม.ค. 7 บัญชีขาย บัญชวี สั ดุสาํ นกั งาน เลขท่ี 13 อา งถึง เครดติ วันที่ รายการ อา งถงึ เดบิต วนั ที่ รายการ 25xx ม.ค. 12 บญั ชีเงินสด รว.2 500 - บญั ชีรถยนต เลขที่ 17 อา งถงึ เครดติ วนั ท่ี รายการ อา งถงึ เดบติ วันท่ี รายการ 25xx บญั ชีตา งๆ ม.ค. 10 รว.2 200,000 - บญั ชีอุปกรณสํานกั งาน เลขที่ 18 อางถึง เครดติ วนั ที่ รายการ อางถึง เดบติ วันท่ี รายการ 25xx บัญชเี จาหนี้ ม.ค. 5 รว.1 25,000 - บญั ชเี จาหนีก้ ารคา เลขท่ี 22 อา งถงึ เครดิต วนั ท่ี รายการ อางถึง เดบิต วันที่ รายการ 25xx บัญชีเงนิ สด รว.1 25,000 - ม.ค. 25 25xx รว.2 150,000 - รว.2 15,000 - ม.ค. 5 บญั ชีอุปกรณ 10 สํานักงาน บญั ชรี ถยนต
ข. - 36 บญั ชีทนุ -หนุ สามญั เลขท่ี 31 วนั ท่ี รายการ อางถึง เดบติ วันที่ รายการ อา งถึง เครดิต 25xx ม.ค. 1 บัญชเี งนิ สด รว.1 800,000 - บญั ชขี าย เลขท่ี 41 วนั ท่ี รายการ อา งถึง เดบติ วันท่ี รายการ อา งถึง เครดิต 25xx ม.ค. 7 บัญชีตา งๆ รว.1 50,000 - 17 บญั ชเี งินสด รว.2 90,000 - บญั ชีซื้อ เลขที่ 51 อางถงึ เครดิต วนั ที่ รายการ อางถงึ เดบติ วันที่ รายการ 25xx บญั ชเี งนิ สด ม.ค. 4 รว.2 90,000 - บญั ชคี า โฆษณา เลขท่ี 52 อา งถึง เครดติ วันที่ รายการ อางถึง เดบิต วันที่ รายการ 25xx ม.ค. 20 บญั ชีเงนิ สด รว.2 1,200 -
ข. - 37 บญั ชคี าเชา เลขที่ 53 อางถงึ เครดิต วันท่ี รายการ อางถงึ เดบิต วันท่ี รายการ 25xx ม.ค. 15 บัญชีเงนิ สด รว.2 5,000 - บัญชคี าซอ มแซม เลขที่ 54 อางถึง เครดติ วนั ที่ รายการ อา งถึง เดบติ วันท่ี รายการ 25xx ม.ค. 18 บัญชเี งินสด รว.2 1,500 - บัญชคี า นาํ้ คา ไฟ เลขที่ 55 อา งถงึ เครดติ วนั ที่ รายการ อา งถึง เดบิต วันที่ รายการ 25xx ม.ค. 29 บญั ชีเงินสด รว.2 300 - วนั ท่ี รายการ บัญชีเงินเดอื นและคา แรง รายการ เลขที่ 56 25xx บญั ชีเงินสด อา งถึง เดบติ วันท่ี อา งถงึ เครดติ ม.ค. 30 รว.2 28,000 - บัญชคี าโทรศัพท เลขที่ 57 อา งถึง เครดิต วนั ที่ รายการ อา งถึง เดบติ วันท่ี รายการ 25xx ม.ค. 29 บัญชีเงินสด รว.2 450 -
ข. - 38 เรอื่ งที่ 12. งบทดลอง (Trial Balance) คอื งบท่ีกิจการจัดทําขึ้นเพ่อื สรุปหายอดคงเหลือของบัญชีแยกประเภททกุ บัญชที ่กี ิจการมอี ยูและได บนั ทึกรายการตามหลกั บญั ชีคูและมีขอมูลเพยี งพอในอนั ท่จี ะนาํ มาทํางบการเงิน ดังน้ันงบทดลองเปน ตวั ตรวจสอบความถกู ตอ งในการบันทกึ รายการทางบญั ชี การหายอดดลุ / ยอดคงเหลือในบญั ชี เนื่องจากบัญชีแยกประเภทแบงเปน 2 ดาน คือ ดานเดบิตและดานเครดิต โดยลงจํานวนเงินที่เพิ่มขึ้น ไวดานหน่ึง และจํานวนเงินที่ลดลงไวอีกดานหน่ึง ในการบันทึกรายการคาจะตองบันทึกตามหลักบัญชีคูดังท่ีได กลาวมาขางตน ดังนั้นผลรวมดานเดบิตและเครดิตจะตองเทากันเสมอ เมื่อนํามาจัดทํางบทดลองเรียกวา “งบ ทดลองลงตัว” แสดงวาการบันทึกบญั ชีเปน ไปตามหลกั บญั ชีคู ถาจํานวนเงินที่ลงไวดานเดบิตและเครดิตไมเทากัน จํานวนท่ีตางกันเรียกวา “ยอดดุล:Balance/ยอด คงเหลือ” บัญชีใดมีจํานวนเงินทางดานเดบิตมากวาจํานวนเงินดานเครดิต ผลตางท่ีเกิดข้ึนเรียกวา “ยอดดุลเดบิต (Debit Balance)” ในทางตรงขามถาบัญชีใดมีจํานวนเงินดานเครดิตมากกวาดานเดบิต ผลตางที่เกิดข้ึนเรียกวา “ยอดดุลเครดติ (Credit Balance)” โดยปกติแลว บญั ชีแยกประเภทตางๆ มกั มยี อดดุลดังน้ี - บญั ชปี ระเภทสนิ ทรพั ย มียอดดุลเดบิต - บญั ชปี ระเภทหนีส้ ิน มียอดดุลเครดติ - บญั ชีประเภทรายได มยี อดดลุ เครดติ - บญั ชีประเภทรายได มยี อดดุลเครดิต - บญั ชปี ระเภทคาใชจาย มียอดดลุ เดบิต ข้ันตอนการหายอดดุล / ยอดคงเหลอื รวมจํานวนเงินทางดานเดบิตและเครดิตของบัญชี แลวเขียนผลรวมไวใตจํานวนเงินรายการสุดทาย โดยใหอ ยูเ หนือเสน ของบรรทดั ข้ึนไป เขียนผลรวมดวยดนิ สอไวใ ตจาํ นวนเงินรายการสดุ ทาย โดยใหอยูเหนอื เสน ของบรรทัดข้ึนไป หาผลตางระหวางจํานวนเงินรวมของดานเดบิตและเครดิต ถาผลตางเปนยอดดุลเดบิตใหเขียนดินสอไว ในชองรายการดานเดบิต ในแนวเดียวกับยอดรวมดานเดบิต ถาผลตางเปนยอดดุลเครดิต ใหเขียนผลตางน้ันลง ในชองรายการดานเครดติ ในเดยี วกบั ยอดรวมเครดิต บัญชใี ดมีรายการดานเดบิตหรือเครดติ ดานใดดา นเดยี วไมจ ําเปน ตอ งเขยี นยอดดุลไว
ข. - 39 ตัวอยาง การหายอดดลุ วนั ท่ี รายการ อา งถึง บัญชเี จาหนีก้ ารคา รายการ เลขท่ี 22 25xx บญั ชเี งนิ สด รว. 2 ม.ค. 25 เดบิต วันที่ บัญชีอุปกรณส ํานักงาน อา งถึง เครดิต 25xx บญั ชรี ถยนต รว.1 25,000 - 15,000 - ม.ค. 5 160,000 รว.2 150,000 - 25 175,000 วันท่ี รายการ บญั ชีซอ้ื รายการ เลขท่ี 51 25xx อา งถึง เดบิต วนั ท่ี อางถึง เครดติ ม.ค. 4 บัญชีเงินสด รว.2 90,000 - 90,000 90,000 - การจัดทาํ งบทดลอง จากท่ีไดกลาวมาในข้ันตนแลววารายการคาทุกรายการที่เกิดข้ึนของกิจการ ตองนําไปบันทึกรายการ เบื้องตนที่สมุดรายวันท่ัวไปตามหลักบัญชีคู แลวจึงผานรายการไปยังบัญชีแยกประเภท ดังนั้นยอดดุล / ยอด คงเหลือเดบิตในบัญชีตาง ๆ ยอมเทากับยอดดุล / ยอดคงเหลือเครดิต การจัดทํางบทดลองก็เพ่ือพิสูจนในขั้นแรก วาการลงบัญชีไดทําไปอยางถูกตองตามหลักบัญชีคู การจัดทํางบทดลองจะทําข้ึนเมื่อตองการพิสูจนวา ยอดดุล เดบิตของบัญชีตาง ๆ เทากับยอดดุลเดบิตหรือไม แตปกติแลวจะจัดทํางบทดลองกอนทํางบการเงิน เพ่ือชวยให การจัดทาํ งบการเงินจดั ทาํ ไดง า ย งบทดลองประกอบดวยชองตางๆดังนี้ - ชอ งชือ่ บัญชี สําหรบั ลงชอ่ื บัญชีแยกประเภทตา งๆ - ชอ งเลขที่บญั ชี สาํ หรับเขยี นเลขทบี่ ญั ชีแยกประเภท - ชอ งเดบิต สําหรับลงจํานวนเงนิ ของบญั ชที ี่มยี อดดลุ เดบิต - ชอ งเครดิต สาํ หรบั ลงจํานวนเงนิ ของบัญชที ี่มยี อดดุลเครดติ
ข. - 40 ข้ันตอนในการจัดทํางบทดลอง - หายอดคงเหลือของบญั ชีแยกประเภททุกบัญชี ตามวธิ ีทกี่ ลาวมาขา งตน - เขยี นชือ่ บญั ชใี นชอ งบญั ชี - เขยี นเลขที่บัญชีของแตละบัญชีในชอ งเลขท่บี ัญชี - เขยี นจํานวนเงนิ ทีเ่ ปนยอดคงเหลอื ของแตละบัญชี ถาบัญชีใดมยี อดดลุ เดบิต จะนาํ ลงในชอ งเดบิต บัญชีใดมียอดดุลเครดติ จะนาํ ลงในชอ งเครดิต - ภายหลังจากลงยอดดลุ ในงบทดลองครบถวนแลว จะรวมเงินชองเดบติ และเครดิตซ่งึ สดุ ทายแลว ผลรวมทั้งสองชองนจี้ ะตองเทากัน แสดงวา “งบทดลองลงตัว” อยางไรก็ตามการท่ีงบทดลองลงตัว ไมไดหมายความวาการลงบัญชีถูกตองท้ังหมด เพราะอาจมี ขอผิดพลาดอ่ืนท่ีไมอาจทราบได เชน รายการท่ีไมมีการลงบัญชี หรือลงบัญชีแตไมลงในสมุดรายวันหรือการ ลงบัญชีผิดพลาดทง้ั ดานเดบติ และดานเครดิตพรอ มกนั ทง้ั 2 ดา น เปน ตน บริษทั พานชิ จํากดั งบทดลอง ณ วันท่ี 31 มกราคม 25xx ชือ่ บัญชี เลขท่บี ญั ชี เดบติ เครดิต เงินสด 11 728,050 - ลกู หน้กี ารคา 12 20,000 - วสั ดุสาํ นักงาน 13 500 - รถยนต 17 200,000 - อปุ กรณสํานักงาน 18 25,000 - เจาหนก้ี ารคา 22 160,000 - ทนุ -หุนสามญั 31 800,000 - ขาย 41 140,000 - ซ้ือ 51 90,000 - คา โฆษณา 52 1,200 - คาเชา 53 5,000 - คา ซอมแซม 54 1,500 - คา น้าํ คา ไฟ 55 300 - เงนิ เดอื นและคาแรง 56 28,000 - คาโทรศัพท 57 450 - 1,100,000 - 1,100,000
ข. - 41 บทสรุป 1. รายการคา คือ รายการที่เกิดข้ึนแลวมีผลใหสินทรัพย หนี้สิน หรือสวนของเจาของ (ทุน) มีการ เปลีย่ นแปลง สาํ หรบั รายการอน่ื ๆ ทไ่ี มกระทบสมการบญั ชี ยอ มไมใชรายการคาจึงไมตองบันทึกบัญชี เชน การ นดั ประชุมกรรมการบรษิ ทั การออกไปเยย่ี มลกู คา การรบั พนักงานขายใหมก ารจัดเลีย้ งประจาํ ป เปน ตน 2. รายการบัญชีที่เกิดขึ้นแตละรายการ ยอมทําใหผลรวมสะสมของสินทรัพย เทากับผลรวมสะสม ของหน้ีสินกบั สว นของเจา ของเสมอ ตามหลกั ของสมการบญั ชี 3. รายการคาไมจําเปนตองใหเกิดการเปลี่ยนแปลงท้ังสองดานของสมการบัญชีพรอมกันแตอาจ กระทบเพียงดานใดดานหน่ึงของสมการบัญชีก็ได โดยผลกระทบมีท้ังเพิ่มข้ึนและลดลง จึงทําใหเกิดการหักลาง กนั ไป เชน การรบั ชาํ ระเงนิ จากลกู หน้ี 4. รายการท่ีเพ่ิมข้ึนจะทําใหสวนของผูเปนเจาของ (ทุน) เพิ่มข้ึน คาใชจายที่เพ่ิมขึ้นทําใหสวนของ (ทนุ ) เจา ของลดลงก็ได 5. รายการวิเคราะหรายการคาแตละรายการทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงอยางนอย 2 บัญชี ซึ่งในทาง บญั ชเี รียกวา “หลักการบัญชี” (Double-Entry Accounting) โดยรายการคาท่ีเกิดข้ึนตองนํามาบันทึกอยางนอย 2 รายการเสมอ ซ่ึงสามารถสรุปการเปล่ียนแปลงรายการคาท่ีสําคัญที่สงผลตอสมการบัญชีไดดังตารางที่แสดงไว ดงั น้ี รายการคา สมการบญั ชี สญั ลกั ษณทางการบัญชี สนิ ทรัพย = หนี้สิน + สวนของผถู ือหุน การรับชาํ ระหนี้การลกู หน้ี เงนิ สดเพม่ิ ลกู หนล้ี ด = หนสี้ ิน +สวนของผูถ อื หนุ เดบติ เงินสด การจา ยเงินซ้อื เคร่อื งจักร เครดิตลกู หนี้ การจายชําระเจาหน้ี เงนิ สดลด เคร่อื งจกั รเพ่ิม = หนีส้ นิ เดบิตเครอื่ งจกั ร +สวนของผถู ือหุน เครดติ เงนิ สด เดบติ เจา หน้ี เงินสดลด = หน้ีสนิ เพิ่ม + สว นของผูถือหนุ เครดิตเงินสด เดบิตเงินสด การกอหนี้ไดร ับเงินสด เงินสดลด = หนส้ี นิ เพมิ่ + สวนของผถู ือหุน เครดิตเจาหน้ี เดบติ เงินสด ออกจําหนายทุนเรือนหนุ เงินสดเพิม่ = หน้ีสิน + สวนของผูถือหุน เพิ่ม เครดติ ทุนเรือนหุน-หุนสามญั หุนสามัญไดรับเงินสด เดบิตทุนเรอื นหุน-หุน สามัญ เครดิตเงนิ สด เรยี กคืนทุนหนุ สามัญโดยคืนเงิน เงินสดลด = หนสี้ นิ + สวนของผูถอื หนุ ลด เดบติ เงนิ สด เครดิตรายไดค า บรกิ าร การเกิดข้ึนของรายได เงินสดเพม่ิ = หนี้สนิ + สว นของผถู ือหนุ เพม่ิ รบั เงินรายไดค า บรกิ าร ลกู หน้เี พิม่ = หนี้สิน + สวนของผถู ือหนุ เพิม่ เดบิตลูกหน้ี ใหบริการลกู คาแลว เงินสดลด = หน้สี ิน + สว นของผูถอื หุนลด เครดติ รายไดคาบรกิ าร แตยงั ไมไ ดร ับการชาํ ระเงิน (รายไดค า งรบั ) เดบติ เงินเดือน การเกิดขึ้นของคาใชจา ย เครดิตเงนิ สด จา ยเงนิ เดือน
Search
Read the Text Version
- 1 - 41
Pages: