เฉลยแบบฝึกหดั ท้ายบท เฉลยแบบฝึกหดั ท้ายบทท่ี 1 1. ง 2. ง 3. ข 4. ค 5. ค 6. ข 7. ง 8. ค 9. ก 10. ข เฉลยแบบฝกึ หดั ท้ายบทที่ 2 1. ศลิ ปหตั ถกรรม หมายถึง ศิลปวัตถทุ เี่ ป็นผลงานศลิ ปประยุกต์มีจุดประสงค์และความตอ้ งการในดา้ น ประโยชนใ์ ช้สอย เช่น งานโลหะ งานเยบ็ ปักถักร้อย งานเครอื่ งปัน้ ดินเผา เป็นตน้ 2. ผลติ ภณั ฑผ์ ้าไทย เชน่ ผ้าไหมแพรวา จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ ผ้าทอลายน้ำไทย จงั หวดั นา่ น ผา้ ซิ่นตนี จก จังหวัดสโุ ขทยั โดยการนำผ้าทอเหล่านม้ี าออกแบบให้มีความสวยงามแบบไทย และเย็บเปน็ ผา้ มา่ น ติดตัง้ ในโรงแรม หรือเป็นเส้อื ผ้า ของใช้ภายในบา้ น ของทีร่ ะลกึ เนอ่ื งจากปจั จุบันมนี ักทอ่ งเท่ยี ว จำนวนมากทม่ี าเท่ียวประเทศไทย ในลกั ษณะกลุม่ ทัวร์ ผู้ประกอบการจงึ ควรใหค้ วามสำคัญในจุดน้ี ซ่ึงจะทำให้นักทอ่ งเทย่ี วเกิดความประทบั ใจในผลติ ภณั ฑผ์ า้ ไทย เฉลยแบบฝกึ หดั ทา้ ยบทท่ี 3 1. การวิจัยจำแนกตามลักษณะวิชา หรือศาสตร์ของการวจิ ยั ได้ 3 รูปแบบ ดงั น้ี 1) การวจิ ยั เชงิ วทิ ยาศาสตร์ (scientific research) 2) การวจิ ยั เชิงสงั คมศาสตร์ (social science research) 3) การวจิ ัยเชงิ บูรณาการ (integrative research) 2. ตวั แปรอสิ ระเป็นตวั แปรที่เป็นสาเหตุทีท่ ำใหเ้ กดิ สิง่ อนื่ ตามมา หรือมอี ทิ ธิพลตอ่ ตวั แปรตาม เชน่ การ ประเมนิ การอบรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ “วธิ ีการอบรม” ถือว่าเปน็ ตัวแปรตน้ ท่ที ำใหผ้ ้เู รียน “เกดิ การ เรยี นร”ู้ สำหรับตัวแปรตาม เปน็ ตัวแปรที่ขนึ้ อยกู่ ับหรือแปรผันตามตวั แปรอิสระ เช่น วธิ ีการอบรมการ พฒั นาผลติ ภัณฑ์ (ตัวแปรตน้ ) เป็นสาเหตหุ รอื มอี ทิ ธิพลทำใหผ้ ูอ้ บรมเกดิ การเรยี นรู้ (ตวั แปรตาม) 3. สมมตฐิ านทีด่ คี วรมลี ักษณะ ดงั น้ี 1) สอดคล้องกบั จุดม่งุ หมายของการวิจยั และตอบปัญหาการวิจัย 2) สามารถทดสอบไดด้ ้วยขอ้ มลู และหลกั ฐานตา่ ง ๆ 3) ใช้ภาษาท่ชี ัดเจน เข้าใจได้ง่าย และรัดกุม 4) สมเหตุสมผล โดยตั้งมาจากหลกั ของเหตผุ ล ตามทฤษฎี และผลการวิจยั ทผ่ี ่านมา
382 | เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยบท 4. นกั วิจัยใชป้ ระโยชนจ์ ากการกำหนดสมมติฐาน ดังนี้ 1) ช่วยจำกัดขอบเขตและมองเห็นปัญหาของการวิจัยชัดเจนข้ึน ทำให้ผู้วิจัยมีความคิดชัดเจน เกย่ี วกบั ตวั แปรที่ทำการศกึ ษา 2) สมมตฐิ านจะชว่ ยช้ีแบบการวจิ ยั ทำใหผ้ ู้วจิ ัยทราบวา่ ควรใชแ้ บบการวจิ ัยแบบใด จึงเหมาะสม กบั ปัญหาการวจิ ยั นั้น 3) ทำให้ประหยัดเวลาและแรงงาน กล่าวคือ สมมติฐานเป็นการคาดคะเน หรือสันนิฐานว่า ตัวแปรใดบ้างท่ีเก่ียวข้องกับปัญหา ผู้วิจัยจะทำการศึกษาหรือทดสอบเฉพาะตัวแปรนั้น ไม่ต้องศึกษา หรือทดสอบตวั แปรท้ังหมด 5. ในการวจิ ัยบางครั้งไมจ่ ำเป็นตอ้ งมสี มมติฐานกไ็ ด้ เช่น การสำรวจขอ้ เท็จจริงในรปู ของระดบั หรอื ความมากนอ้ ย ตวั อยา่ งเช่น การสำรวจปญั หาในการพฒั นาผลิตภัณฑ์ การศกึ ษาสาเหตุของความ ล้มเหลวในการพฒั นาผลิตภัณฑ์ เป็นตน้ 6. สมมติฐานแบบไม่มที ศิ ทางผู้วิจัยจะเขียนสมมติฐานแบบไม่แนใ่ จ วา่ จะกำหนดทิศทางของความ แตกต่าง หรอื ความสัมพนั ธ์ของตัวแปรสองกล่มุ อย่างไร การเขียนสมมติฐานแบบไมม่ ที ิศทางจะมีคำว่า “แตกต่างกนั ” หรอื “สมั พันธก์ ัน” อยใู่ นประโยคเสมอ สำหรับสมมตฐิ านแบบมที ศิ ทางผูว้ จิ ัยจะเขยี น สมมตฐิ านแบบนี้ เมอื่ มเี หตุผล และมีความม่นั ใจท่จี ะกำหนดทศิ ทางของความแตกต่างระหวา่ งตัวแปร การเขียนสมมตฐิ านแบบนจี้ ะมคี ำว่า “มากกวา่ ” หรอื “น้อยกวา่ ” หรือ “สูงกว่า” มีความสมั พันธก์ ันใน “ทางบวก” หรือ “ทางลบ” อยู่ในประโยคเสมอ 7. การตั้งสมมติฐานในการวจิ ยั แตล่ ะคร้ังผวู้ จิ ัยต้องมคี วามรู้ และประสบการณ์อย่างกว้างขวาง ต้อง พจิ ารณาอยา่ งรอบคอบจึงจะไดส้ มมตฐิ านในการวจิ ยั ท่ีเหมาะสม แม้วา่ ผู้วิจยั จะตงั้ สมมตฐิ านท่ี เหมาะสม แลว้ พบว่า ในบางครง้ั ผลการวจิ ัยท่ไี ด้อาจยืนยนั ยอมรับสมมติฐานทีต่ ้งั ไว้ หรอื อาจขัดแยง้ ไม่ยอมรับสมมตฐิ านที่ต้งั ไว้ ในกรณีท่ีผลการวิจัยที่ค้นพบขัดแย้งกับสมมตฐิ านกไ็ ม่ถอื ว่าสมมตฐิ านน้นั ไมด่ ี แต่อยา่ งไร แตถ่ อื วา่ เปน็ ขอ้ ความจริงท่ีได้ถูกคน้ พบใหม่ การพฒั นาผลิตภัณฑ์ภมู ปิ ญั ญาไทยด้วยวิธีวทิ ยาการวจิ ยั
อ ม ร รั ต น์ อ นั น ต์ ว ร า พ ง ษ์ | 383 เฉลยแบบฝกึ หดั ท้ายบทที่ 4 1. การกำหนดหวั ขอ้ ปญั หาในการวจิ ยั ควรที่จะตอ้ งพิจารณาจากหลาย ๆ ดา้ น ดังนี้ 1) พิจารณาจากปญั หาต่าง ๆ ทีม่ นษุ ยย์ งั ไมม่ ีความเขา้ ใจ จำเป็นจะตอ้ งทำการวิจยั เพือ่ เกดิ ความ เข้าใจในเรอื่ งนน้ั ๆ และสามารถนำไปใช้ในการแกไ้ ขปัญหาตา่ ง ๆ ท่เี กิดขึน้ ได้ 2) พิจารณาปรากฏการณ์ธรรมชาติ มีการทำการวิจัยเพื่อศึกษาตัวแปรท่ีเปลี่ยนแปลงไปตาม เวลา สถานที่ สภาพแวดล้อม ผลของการวิจัย ณ ท่ีใดท่ีหนึ่ง เวลาใดเวลาหน่ึงไม่สามารถอ้างอิงในอีก สถานท่ีหนงึ่ จำเป็นต้องทำวจิ ยั เพอื่ ตรวจสอบใหแ้ น่ชดั อีกคร้งั 3) พิจารณาจากการวจิ ัยซ่งึ ในการวิจัยทีผ่ ่านไปไมส่ ิ้นสดุ ในตัวเอง ซ่ึงอาจจะมีผู้สนใจที่จะทำวจิ ัย ใหม่ โดยใช้เทคนคิ ใหม่ หรือกลมุ่ ตวั อย่างใหม่ เพื่อให้เห็นผลสรุปภาพรวมที่เกิดข้นึ ใหม่ 2. การตรวจสอบเอกสารงานวิจยั ทเ่ี ก่ียวข้องเป็นการสบื ค้น หรอื คน้ ควา้ งานดา้ นวชิ าการ เชน่ ผลงาน วจิ ยั บทความวชิ าการ ทฤษฎี หนงั สอื หรือตำราทเ่ี กีย่ วข้องกบั งานวิจยั การตรวจสอบเอกสารงานวิจัย จะทำใหผ้ ูว้ ิจัยไดป้ ระเด็นทต่ี อ้ งการศกึ ษา มีนกั วจิ ยั รายอื่น ๆ ได้เขียนทฤษฎี หรือศึกษาประเดน็ ใดมา บ้างแล้ว ขอบเขต ระเบียบวิจัย ข้อสรปุ ที่ได้จากการวจิ ยั และข้อเสนอแนะงานวิจัย สิ่งเหล่าน้ีจะเกดิ ประโยชนแ์ กผ่ ู้วจิ ัย และทำใหเ้ กิดมมุ มองของงานวิจัยทก่ี ำลงั จะทำใหช้ ดั เจนมากขน้ึ และยังช่วยการ หลีกเล่ยี งการทำวจิ ยั ซำ้ ซอ้ น หรือสามารถดำเนนิ งานวิจัยตอ่ เน่ืองจากงานวิจยั ของผู้อ่นื 3. การตรวจสอบเอกสารงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วข้องมปี ระโยชน์ ดังนี้ 1) ชว่ ยใหผ้ ูว้ จิ ัยเกิดความชดั เจนในปัญหาท่จี ะทำวจิ ัย 2) ช่วยใหผ้ ้วู จิ ัยได้แนวทางในการทำวิจยั และได้หวั ข้อปัญหาในการทำวิจัย 3) ทำใหท้ ราบแนวทาง หรือผลการวิจัยของผู้อื่นวา่ มีการศกึ ษาค้นคว้ามากนอ้ ยเพียงใด ในแงม่ ุม ใด มีผลวิจัยเปน็ อยา่ งไร มขี อ้ ดีหรอื ข้อบกพรอ่ งเปน็ อย่างไร 4) ช่วยในทราบแนวคดิ ทฤษฎี หลกั การ วิธกี ารต่าง ๆ ที่เก่ียวขอ้ งกับการทำวจิ ยั 5) ช่วยในการเลือกตัวแปรในการวิจัย และสามารถกำหนดขอบเขตของกา รวิจัยได้อย่าง เหมาะสม 6) เป็นแนวทางในการตั้งสมมติฐานการวิจัย ทำให้ผู้วิจัยสามารถอธิบายเหตุผลเพ่ือสนับสนุน สมมติฐานการวจิ ยั ไดอ้ ย่างเหมาะสม 7) สามารถเลือกใชว้ ธิ กี ารสุม่ ตวั อยา่ ง และสามารถกำหนดกลุม่ ตัวอย่างได้อย่างเหมาะสม 8) สามารถเลอื กเครอ่ื งมอื และสร้างเคร่อื งมือในการวิจัยไดอ้ ย่างเหมาะสม 9) ชว่ ยในการวางแผนการเก็บรวบรวมข้อมลู ซ่ึงปอ้ งกันไม่ให้เกิดขอ้ ผดิ พลาด Thai Wisdom Product Development Using Research Methodology
384 | เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยบท 10) ชว่ ยในการเลอื กใชส้ ถติ ิ และวธิ กี ารวเิ คราะหข์ ้อมลู ไดอ้ ย่างถูกต้อง 11) เป็นแนวทางในการเขยี นรายงานวจิ ยั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง และมีความเหมาะสม 12) ช่วยประหยัดคา่ ใช้จ่ายในการวิจัยได้ ได้แก่ ประหยัดค่าใช้จ่าย แรงงาน และเวลา 13) ช่วยในการสร้างความเช่ือถือในการทำวิจัย เพราะผู้วิจัยได้ทำการศึกษาค้นคว้าเอกสาร ท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การวจิ ัยเปน็ อย่างดี 4. จงบอกแหล่งขอ้ มลู ทน่ี ักศกึ ษาจะไปสืบคน้ เอกสารงานวิจัยทเ่ี กีย่ วข้อง 1) รายงานการวจิ ยั และวทิ ยานิพนธ์ 2) เอกสารรวบรวมบทคดั ยอ่ งานวิจยั และวทิ ยานิพนธ์ 3) วารสาร 4) หนังสอื และตำรา 5) สารานุกรม 6) หนังสือรายปี 7) การสบื คน้ ดว้ ยคอมพวิ เตอร์ เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยบทที่ 5 1. ความหมายของคำ 1) ประชากร หมายถึง กลุ่มเป้าหมายท่ีต้องการศึกษาท้ังหมด ซ่ึงอาจจะเป็นมนุษย์ สัตว์ พืช สิง่ ของ ลกั ษณะทางจติ วิทยา หรือปรากฏการณต์ า่ ง ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ 2) กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง ตัวแทนท่ีเป็นส่วนหน่ึงของประชากรที่ทำวิจัย โดยตัวแทนนี้จะต้องมี คุณสมบตั ทิ ใ่ี กลเ้ คียงกบั ประชากรมากที่สุด 2. ประโยชน์ หรอื ขอ้ ดขี องการสุ่มตวั อยา่ ง 1) ชว่ ยประหยดั ค่าใช้จ่ายในการวิจัย ได้แก่ การประหยดั เงนิ แรงงาน และเวลา เน่ืองจากผู้วจิ ัย ใชก้ ลุ่มตัวอยา่ งทีม่ ีจำนวนนอ้ ย ค่าใชจ้ ่ายกจ็ ะน้อยลง 2) ผวู้ ิจัยสามารถทำวจิ ยั ได้รวดเร็วมากข้นึ และขอ้ มูลท่ไี ดจ้ ากการวจิ ัยทันต่อเหตุการณ์ 3) สามารถเก็บข้อมูลได้อย่างกว้างขวาง 4) ผลของการวิจัยมคี วามถูกต้อง และมคี วามเชื่อมั่นสงู เนอื่ งจากการศึกษาจากกลุ่มตวั อย่างทม่ี ี จำนวนนอ้ ย ทำให้สามารถควบคมุ และตรวจสอบความถูกตอ้ งไดม้ ากขึ้น การพัฒนาผลิตภณั ฑ์ภมู ิปญั ญาไทยด้วยวธิ ีวิทยาการวิจัย
อ ม ร รั ต น์ อ นั น ต์ ว ร า พ ง ษ์ | 385 3. ขั้นตอนในการสมุ่ ตัวอยา่ ง เพอื่ ใหไ้ ด้กลมุ่ ตัวอยา่ งที่เปน็ ตวั แทนของประชากรในการวิจัย 1) กำหนดลักษณะของขอ้ มูลในการวจิ ัย ผู้วิจัยต้องกำหนดไวก้ ่อนวา่ ต้องการทราบข้อมูลในดา้ น ใด เรยี งตามลำดบั ความสำคัญของจดุ มุ่งหมายในการวจิ ยั 2) ให้คำจำกัดความของประชากร ผวู้ ิจัยต้องรวบรวมรายชอื่ หรอื บญั ชหี นว่ ยตวั อย่างท้ังหมดของ ประชากร คอื ตอ้ งรู้วา่ ประชากรทั้งหมดมีจำนวนเท่าไร เพื่อทีจ่ ะได้นำไปใช้ในการสุ่มตวั อยา่ ง 3) กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยจะต้องคำนึงถึงขนาดของประชากร และระดับความ ถกู ต้องแมน่ ยำ ถา้ ประชากรมจี ำนวนมากใช้กลุ่มตวั อย่างทม่ี ขี นาดใหญ่ ความถกู ต้องแม่นยำก็จะสูง 4) กำหนดวิธีการสุ่มตัวอย่าง จะใช้วิธีใดผู้วิจัยจะต้องดูลักษณะของประชากร หัวข้อปัญหาใน การทำวิจัย และจุดมุ่งหมายของการวิจัย ท้ังนี้ผู้วิจัยจะต้องคำนึงถึงค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากกลุ่มตวั อยา่ งเหลา่ นนั้ ประกอบกันไปดว้ ย 5) ทำการสุ่มตวั อยา่ ง 4. การสุม่ ตัวอยา่ งจำแนกออกเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี ก. แบบไม่ใช้ความนา่ จะเป็น 1) การสุม่ ตัวอยา่ งแบบบงั เอิญ 2) การสุ่มตวั อยา่ งแบบกำหนดโควตา 3) การสุ่มตัวอยา่ งแบบเจาะจง 4. การสมุ่ ตัวอยา่ งแบบสะดวก ข. แบบใชค้ วามน่าจะเป็น 1) การสุ่มอยา่ งง่าย 2) การสมุ่ ตัวอยา่ งแบบเป็นระบบ 5. การคำนวณหาขนาดของกลุ่มตวั อย่าง 1) ถ้าสัดส่วนของประชากรเท่ากับ 0.30 ที่ระดับความเช่ือมั่น 95% และยอมให้มีความ คลาดเคลื่อนได้ 5% จากโจทย์ p = 0.30 ความตอ้ งการความเช่อื ม่นั 95% ดังนน้ั z = 1.96 ยอมให้มีความคลาดเคล่อื นได้ 5% ดังน้นั e = 0.05 Thai Wisdom Product Development Using Research Methodology
386 | เฉลยแบบฝึกหัดทา้ ยบท แทนคา่ ในสูตร ดังนี้ n = 0.30 (1-0.30) 1.962 0.052 = 0.9216 0.0025 = 322.69 (ประมาณจำนวนกลุม่ ตวั อยา่ ง 323 คน) 2) ประชากรหน่ึง จำนวน 500 คน ถ้ากำหนดสัดส่วนของประชากรเท่ากับ 0.20 ท่ีระดับความ เชอ่ื ม่นั 95% โดยยอมให้มีความคลาดเคลื่อนได้ 5% แทนค่าในสูตร ดังนี้ n = 0.20 (1-0.20) 0.052 + 0.20 (1-0.20) 1.962 500 = 0.16 0.00065 + 0.00032 = 164.94 (ประมาณจำนวนกล่มุ ตวั อย่าง 165 คน) เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยบทท่ี 6 1. ให้ร้อยละ 40 ของผ้สู ังเกตลงความเหน็ วา่ ข้อความชุดนีก้ ำกวม (ผสู้ ังเกตต่างคนต่างสังเกตอย่างอสิ ระ ไมไ่ ดป้ รกึ ษากนั ) ผสู้ ังเกตอีกรอ้ ยละ 30 ของผสู้ งั เกตลงความเหน็ วา่ ขอ้ ความชดุ เดียวกนั นไ้ี มก่ ำกวม และ ผูส้ ังเกตทเ่ี หลอื อกี ร้อยละ 30 ลงความเหน็ ว่าขอ้ มลู ชุดนี้อ่านแลว้ จบั ใจความไมไ่ ด้ (ถ้าค่า Po = 0.90) Pe = (0.40)2 + (0.30)2 + (0.30)2 = 0.16 + 0.09 + 0.09 = 0.34 ถ้าค่า Po = 0.90 นั่นคือ ผู้สังเกตลงความเห็นสอดคล้องกันร้อยละ 90 ของเวลาหรือคร้ังท่ีใช้ สงั เกตกจ็ ะได้ความเชื่อม่ัน ดงั นี้ = 0.90 - 0.34 / 1 - 0.34 = 0.848 การพฒั นาผลติ ภัณฑ์ภูมปิ ญั ญาไทยด้วยวธิ ีวทิ ยาการวิจยั
อ ม ร รั ต น์ อ นั น ต์ ว ร า พ ง ษ์ | 387 2. คะแนนของนกั ศึกษาจำนวน 7 คน ทส่ี อบวิชา “การวิจัยเพื่อพฒั นาผลิตภณั ฑ์” คนที่ คะแนน (X) คะแนน (Y) X2 Y2 XY 1 9 8 81 64 72 2 9 10 81 100 90 3 8 7 64 49 56 4 6 5 36 25 30 5 6 8 36 64 48 6 2 4 4 16 8 7 2 5 4 25 10 N = 7 ∑X = 42 ∑Y = 47 ∑X2 = 306 ∑Y2 = 343 ∑XY = 314 แทนค่าจากสูตรได้ r = 7(314) - (42) (47) [7(306) - (42)2] [7(343) - (47)2] = 2,198 - 1,974 (2,142 - 1,764) (2,401 - 2,209) = 0.83 คา่ สหสมั พันธ์เท่ากับ 0.83 (83.00 เปอร์เซน็ ต)์ แสดงใหเ้ ห็นว่ามีความสัมพนั ธ์กนั สูงมาก 3. คะแนนของการสัมภาษณท์ ี่มผี ู้ถูกสมั ภาษณ์ จำนวน 5 คน และมผี ูส้ มั ภาษณจ์ ำนวน 3 คน กรรมการ 1 2 3 ผลรวม D D2 ผตู้ อบ ของอนั ดับ 1 125 8 1 1 2 2 3 2 7 2 4 ค่าเฉลี่ย = 45/5 = 9 3 3 5 3 11 2 4 ∑D2 = S = 34 4 5 4 4 13 4 16 5 411 6 3 9 รวม ∑D = 10 ∑D2 = 34 Thai Wisdom Product Development Using Research Methodology
388 | เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยบท rw = 12 S K2n (n2 - 1) = 12 x 34 32 x 5 (25-1) = 0.37 ความเชอื่ ม่นั ของแบบสมั ภาษณท์ ่ีไดจ้ ากการใหค้ ะแนนของกรรมการ 5 คน เท่ากับ 0.37 (37%) เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยบทที่ 7 1. ค 2. ค 3. ข 4. ข 5. ง เฉลยแบบฝกึ หดั ท้ายบทท่ี 8 1. ก 2. ข 3. ข 4. ข 5. ข เฉลยแบบฝึกหดั ท้ายบทที่ 9 1. เป็นการชว่ ยชดเชยจดุ อ่อนและเพม่ิ จุดแข็งของงานวิจยั แต่ละวิธี และทำให้ใช้ประโยชนจ์ ากงานวิจัย แตล่ ะแนวได้อยา่ งเตม็ ท่ีมากขึน้ กล่าวคือ ทำให้ได้คำตอบทกี่ ารวจิ ัยเพียงวธิ ีเดียวไมส่ ามารถตอบได้อย่าง ครอบคลุม ซึ่งคำตอบท่ีได้จากการวิจัยเป็นข้อสรุปแบบมุมกว้าง แต่มีความลุ่มลึก สอดคล้องกับ ธรรมชาตขิ องศาสตร์ทางสงั คม 2. มี 2 รปู แบบ คือ 1) การออกแบบการวจิ ยั แบบผสานวิธีทเ่ี ร่มิ ด้วยวิธีเชงิ ปริมาณกอ่ น และ 2) การออกแบบการวิจยั แบบผสานวิธที ี่เรม่ิ ด้วยวธิ ีเชิงคุณภาพกอ่ น โดยการวิจัยแบบผสานวิธีที่เร่ิมต้นด้วยวิธีเชิงปริมาณจะให้ความสำคญั กบั ประชากรและการสุ่ม ตัวอย่าง เพราะต้องการเน้นในด้านการเป็นตัวแทนอย่างถูกต้องท่ีสุด และท่ีสำคัญอีกอย่างหนึ่ง คือ ขอ้ ตกลงเบื้องต้นของสถติ ทิ ีใ่ ช้ในการพยากรณ์ หรือสถิตทิ ี่ใช้อา้ งองิ ส่วนการวิจัยในเชิงคุณ ภาพจะเน้นหลัก grounded theory approach จึงไม่มีกรอบ แนวความคิด มีนิยามศัพทเ์ พอื่ ปฏิบตั ิการวจิ ยั เพียงครา่ ว ๆ และทีส่ ำคญั ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ งเปน็ แบบเฉพาะเจาะจง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ภมู ปิ ญั ญาไทยดว้ ยวธิ วี ิทยาการวิจยั
อ ม ร รั ต น์ อ นั น ต์ ว ร า พ ง ษ์ | 389 เฉลยแบบฝกึ หดั ท้ายบทท่ี 10 คำจำกดั ความของคา่ สถติ ิแต่ละอย่างท่นี ำมาใชว้ ิเคราะห์ผลการวิจยั 1. ร้อยละ เปน็ สถิติทน่ี ิยมใชก้ ันมาก เป็นการเทยี บความถี่ หรอื จำนวนท่ีต้องการกับความถ่ี หรือจำนวน ทง้ั หมดทเี่ ทยี บเป็น 100 2. ค่าเฉลีย่ เปน็ สถติ ิที่ใช้เปน็ ตวั แทนของขอ้ มลู ในกลุม่ เปน็ สถติ ทิ ่ีนิยมใชม้ ากทีส่ ดุ 3. มธั ยฐาน เป็นสถิตทิ ี่ใช้เป็นตัวแทนของข้อมลู ในกลมุ่ โดยเปน็ คะแนนตรงกลางท่ีแบ่งคะแนนอน่ื ๆ ใน กลุ่มออกเปน็ 2 ดา้ นเท่า ๆ กนั ดา้ นหนึ่งมคี ่าสงู กวา่ และอกี ดา้ นหนง่ึ มคี ่าต่ำกว่า 4. ฐานนยิ ม เป็นสถติ ทิ ่ีใชเ้ ปน็ ตวั แทนของขอ้ มูลในกลุ่ม โดยฐานนยิ มเป็นคา่ ที่ซ้ำกนั มากท่ีสุด หรือ มีความถ่ีมากทีส่ ดุ 5. พิสัย เป็นสถิตทิ ช่ี ่วยใหท้ ราบถึงความแตกต่าง หรือการผนั แปรของตัวแปร (คะแนน) ในกลมุ่ นั้น โดยพสิ ยั เป็นการกระจายที่ตรงที่สดุ และงา่ ยที่สดุ พสิ ัยเป็นชว่ งระหวา่ งคะแนนสูงสุดและคะแนนตำ่ สุด 6. ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน เปน็ สถติ ิท่ชี ่วยให้ทราบถึงความแตกต่าง หรอื การผนั แปรของตวั แปร (คะแนน) ในกลุม่ น้นั โดยส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานเปน็ การวดั การกระจายที่ไดร้ บั การนำไปใชอ้ ยา่ ง กวา้ งขวาง คือ รากท่สี องของคา่ เฉลี่ยของกำลงั สองของคา่ เบยี่ งเบน (เบ่ียงเบนออกจากค่าเฉล่ีย) 7. ความแปรปรวน เป็นสถิตทิ ่ีช่วยใหท้ ราบถึงความแตกตา่ ง หรอื การผันแปรของตัวแปร (คะแนน) ใน กลุม่ นน้ั โดยความแปรปรวนเปน็ คา่ ท่ีมคี วามสำคญั คอื ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานยกกำลังสอง เป็นการ วัดการกระจายในรปู พน้ื ที่ 8. สหสมั พันธอ์ ยา่ งงา่ ย สถิตทิ ี่ใชห้ าความสัมพันธเ์ รยี กวา่ สหสมั พันธ์ คือ ดรรชนที ่บี อกทิศทางและ ขนาดของความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรต่าง ๆ เป็นสถิตทิ ี่ชี้ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตัวแปรสองตัว (ขอ้ มลู สองชุด) ท่มี ีผลการวดั ในระดับมาตราอันตรภาค หรือมาตราอตั ราส่วน ค่าสถิตทิ ช่ี ี้ความสมั พนั ธ์ดงั กล่าว เรียกว่า “สัมประสิทธสิ์ หสมั พนั ธ์” 9. สหสัมพนั ธร์ ะหว่างอันดับ สถิติท่ใี ช้หาความสมั พันธเ์ รยี กวา่ สหสัมพนั ธ์ คอื ดรรชนีที่บอกทศิ ทางและ ขนาดของความสัมพนั ธร์ ะหว่างตัวแปรตา่ ง ๆ กรณีทขี่ ้อมูลเป็นการวดั ในมาตราเรียงลำดับ คือ อยใู่ นรูป ของอนั ดับที่ ลกั ษณะดงั กลา่ วไม่สามารถนำไปคำนวณหาสมั ประสทิ ธิ์สหสมั พนั ธ์อยา่ งงา่ ยได้ ในกรณีนี้ จะคำนวณหาคา่ สัมประสทิ ธิส์ หสมั พนั ธโ์ ดยวธิ ีของสเปียร์แมน Thai Wisdom Product Development Using Research Methodology
390 | เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยบท 10. t-test กรณีกลมุ่ ตวั อยา่ งไม่เป็นอิสระตอ่ กนั สถิติที่ใช้ทดสอบสมมตฐิ านเกย่ี วกบั ความแตกตา่ ง ระหว่างคา่ เฉล่ยี 2 กลุ่ม ท่นี ยิ มใช้ คอื t-test โดยการจัดกลมุ่ ตวั อยา่ งไม่เปน็ อสิ ระแกก่ นั เนื่องจาก ผลการวัดในสมาชิก 2 กลุ่ม หรือผลการวดั จากกลมุ่ เดมิ ออกมาเปน็ 2 ค่านั้นมคี วามสัมพันธ์กนั ดังน้ี 1) กลุ่มเดิมวัดออกมา 2 ค่า เช่น ผลความพึงพอใจกอ่ นและหลังทดสอบผลิตภัณฑ์ แต่ละบุคคล จะมผี ลวดั ออกมา 2 ค่า จึงถือวา่ ค่าทั้งสองไม่เปน็ อิสระตอ่ กัน 2) กรณีกล่มุ ตัวอย่างโดยใชว้ ิธีการจับคู่ บุคคลท่ีมลี กั ษณะคลา้ ยกัน จดั ไปอย่คู นละกลุ่มเปน็ คู่ ๆ 3) กรณีฝาแฝด แยกออกเป็น 2 กลุม่ (เป็นคู่ ๆ) 11. t-test กรณีกลมุ่ ตัวอยา่ งเปน็ อิสระต่อกัน สถติ ิทใี่ ช้ทดสอบสมมติฐานเกีย่ วกบั ความแตกตา่ งระหวา่ ง คา่ เฉลย่ี 2 กลมุ่ ท่ีนิยมใช้ คอื t-test โดยการจัดว่ากลมุ่ ตัวอย่างเป็นอสิ ระต่อกัน หรอื ไม่สมั พนั ธก์ ัน เนื่องจากค่าเฉลยี่ สองคา่ ไม่สมั พนั ธ์กัน ดงั นี้ 1) การสุ่มตวั อยา่ งหรอื ผลการวัดจากประชากรที่ต้องการศกึ ษา แลว้ จัดอยา่ งส่มุ ออกเปน็ 2 กลุ่ม คอื กลุ่มทดลอง และกลมุ่ ควบคมุ สองกลมุ่ น้จี ัดว่าเปน็ อสิ ระต่อกนั 2) กลมุ่ ตวั อยา่ ง 2 กลุม่ สมุ่ มาจากประชากร 2 กลุ่ม 12. ไคสแควร์ สถติ ิทใ่ี ชท้ ดสอบสมมติฐานท่เี ก่ยี วกบั ความแตกตา่ งและความสมั พนั ธ์ กรณีขอ้ มูลอยูใ่ น รูปความถน่ี ิยมใชไ้ คสแควร์ เฉลยแบบฝกึ หดั ทา้ ยบทท่ี 11 1. รายงานผลการวิจัยจะมสี ่วนประกอบหลกั อยู่ 3 ส่วน ไดแ้ ก่ 1.1 ส่วนหน้า ประกอบดว้ ย 1) ปกนอก 2) ปกใน 3) ประวตั ิคณะผวู้ ิจัย 4) กติ ติกรรมประกาศ 5) บทคดั ยอ่ 6) สารบญั ภาพ และสารบญั ตาราง การพฒั นาผลิตภัณฑ์ภมู ิปญั ญาไทยดว้ ยวธิ ีวิทยาการวจิ ัย
อ ม ร รั ต น์ อ นั น ต์ ว ร า พ ง ษ์ | 391 1.2 สว่ นตัวรายงาน ประกอบด้วย บทท่ี 1 บทนำ หัวขอ้ ประกอบด้วย - ความเปน็ มา และความสำคญั ของปัญหา - วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย - สมมติฐานการวิจยั - ขอบเขตการวจิ ัย - ขอ้ ตกลงเบ้อื งต้น - นยิ ามคำศัพทท์ ีใ่ ชใ้ นการวิจัย - ขอ้ จำกดั ของการวจิ ยั - ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั บทที่ 2 เอกสารและรายงานวจิ ัยท่ีเกยี่ วขอ้ ง บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย บทนี้รูปแบบและโครงสร้างจะแตกต่างกันตามประเภทของการ ทำวิจัย โดยเฉพาะการทำวิจัยเชิงสังเกต การวิจัยเชิงบรรยาย การวิจัยเชิงทดลอง หรือการวิจัย กึ่ง ทดลอง บทที่ 4 ผลการวจิ ัย บทนีส้ ่วนมากจะทำเป็นบทเดียว เน้อื หาจะทำตามวตั ถุประสงค์ของการ วจิ ัย ดังนี้ - ขอ้ มลู ทว่ั ไป - นำเสนอใหจ้ บเป็นเร่อื ง ๆ บทที่ 5 สรปุ อภปิ ราย และขอ้ เสนอแนะ ประกอบด้วย - ความนำ เป็นการเขียนบรรยายสรุปบทท่ี 1 และ 3 พอให้ผู้อ่านทราบความเป็นมา วิธกี าร และผลการวิจัย - อภิปรายผล - ขอ้ เสนอแนะ 1.3 สว่ นทา้ ย ประกอบดว้ ย 1) บรรณานกุ รม 2) ภาคผนวก Thai Wisdom Product Development Using Research Methodology
392 | เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยบท 2. หลกั การเขียนรายงานผลการวิจัยโดยท่ัวไป ดงั น้ี 1) การใชภ้ าษาในการเขียนรายงานผลการวจิ ัยตอ้ งเขา้ ใจง่าย มีความชดั เจน และกะทดั รัด 2) คำศัพท์ที่ใช้ต้องถูกต้องตามหลักการเขียนในพจนานุกรม ไม่ควรใช้อักษรย่อที่ไม่รู้จักกัน แพรห่ ลาย 3) ไม่ใช้สรรพนามบุรุษต่าง ๆ ถึงต้องการแทนตวั เองให้ใช้คำว่า “ผู้วจิ ยั ” หรือ “คณะผู้วจิ ัย” ถ้า ต้องการแทนบุคคลอ่นื ให้ระบุช่ือ-นามสกลุ น้ันเลย ไมต่ ้องใสค่ ำนำหน้าใด ๆ 4) การเขียนสูตรสถิติต่าง ๆ ถ้าเป็นสูตรมาตรฐานแพร่หลาย ไม่จำเป็นต้องนำเสนอในรายงาน ผลการวิจัยก็ได้ แต่ถ้าเป็นสูตรที่ไม่แพร่หลาย ควรเขียนไว้ในรายงานผลการวิจัย โดยจะต้องให้ ความหมายของสัญลักษณท์ ุกตัวในสตู ร 5) รายงานผลการวิจัยต้องจัดทำรูปแบบให้ถูกต้องตามหลักวิชาของแต่ละสาขาวิชา มีความ น่าสนใจ หรอื ชวนให้ติดตามในเรื่องทไ่ี ด้ทำการวจิ ัย 6) ต้องมีความเป็นเอกภาพ คือ เน้ือหาจะต้องมีความกลมกลืนกันโดยตลอด ต้ังแต่ต้นจนจบ สอดคล้องเป็นเร่ืองเดียวกัน ไม่ว่าจะแบ่งเป็นบทหรือเป็นหัวข้อจะต้องสอดคล้องต่อเนื่องกับบทหรือ หัวขอ้ อนื่ ๆ 7) เน้อื หาตอ้ งถูกตอ้ งตามหลกั วิชาการ และข้อความท่เี ขียนจะตอ้ งมีขอ้ เทจ็ จริงท่ียอมรบั ได้ 8) เน้ือหาที่เขียนจะต้องตรงประเด็นท่ีต้องการนำเสนอ ตรงตามช่ือเร่ือง ไม่เขียนวนไปเวียนมา หาข้อสรปุ ไม่ได้ 9) ข้อความ ประโยค หรือตัวอักษรที่เขียนในรายงานผลการวิจัยจะต้องพิจารณาอย่างละเอียด ว่าถูกตอ้ ง มีเหตผุ ลเพยี งพอ รวมทั้งไมข่ ัดแยง้ กนั เอง 10) การเขียนรายงานผลการวิจัย ถ้ามีการคัดลอกเนื้อหา และผลงานวิจัยของผู้อื่นมาจะต้องมี การเขียนอ้างอิง การอ้างอิงจะต้องทำให้ถูกต้องสมบูรณ์ตามสากลนิยม มีการอ้างอิงไว้ทั้งในส่วนของ เนื้อหา และส่วนทา้ ยทเี่ ป็นรายการอ้างอิงในเอกสารอ้างองิ หรือบรรณานุกรม การพฒั นาผลติ ภัณฑ์ภูมิปัญญาไทยด้วยวธิ วี ทิ ยาการวิจัย
อ ม ร รั ต น์ อ นั น ต์ ว ร า พ ง ษ์ | 393 เฉลยแบบฝกึ หดั ทา้ ยบทท่ี 12 1. จงให้ความหมายคำตอ่ ไปนี้ 1.1 ผลิตภณั ฑ์ หมายถงึ สินคา บรกิ าร หรือความคิดที่ผปู้ ระกอบการผลิตหรอื จัดหาเพื่อตอบสนอง ความตอ้ งการของตลาดหรือผ้บู ริโภคได้ 1.2 การพฒั นา (development) หมายถึง การเปล่ยี นแปลงทลี ะเลก็ ละนอ้ ย เป็นการเปลยี่ นแปลง จากสภาพหนงึ่ ไปสู่อกี สภาพหนึง่ อยา่ งเป็นระบบ ผา่ นลำดับขั้นตอนต่าง ๆ ไปสรู่ ะดบั ทส่ี ามารถขยายตัว เติบโตขนึ้ และเหมาะสมกว่าเดิม 1.3 การพัฒนาผลิตภณั ฑ์ (product development) หมายถงึ การปรับปรงุ เปลย่ี นแปลง หรอื ทำ ให้ไดผ้ ลติ ภัณฑ์ใหม่ หรือทำใหผ้ ลติ ภณั ฑ์ทีม่ อี ยดู่ ขี นึ้ กว่าเดมิ 1.4 ผลิตภัณฑใ์ หม่ (new product) หมายถงึ ผลิตภัณฑ์ใด ๆ ท่ีใช้สำหรบั กจิ การ อาจเป็น ผลิตภัณฑ์ท่ีมีแนวคิดใหม่ หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงบางอย่างในผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่แล้ว ซึ่งการ เปลยี่ นแปลงดังกลา่ ว จะตอ้ งมผี ลทำให้ผู้บรโิ ภคพงึ พอใจผลิตภณั ฑม์ ากข้นึ กวา่ การบรโิ ภคผลิตภัณฑ์เดิม 2. ผลิตภัณฑ์ใหม่จำแนกออกไดเ้ ปน็ 3 ลกั ษณะ ได้แก่ ลักษณะแรก ผลิตภัณฑ์นวัตกรรมใหม่ (innovative product) คือ ผลิตภัณฑ์ใหม่ท่ีไม่เคยมีใน ตลาดมาก่อน หรือเป็นแนวคิดใหม่ที่ผู้บริโภคอาจยังคาดไม่ถึง เรียกผลิตภัณฑ์แบบนี้อีกอย่างหนึ่งว่า นวตั กรรม (innovation) ลักษณะที่สอง คือ ผลิตภัณฑ์ปรับปรุงใหม่ (improvement product) หมายถึง ผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่พัฒนาเปล่ียนแปลงจากผลิตภัณฑ์เดิมที่มีอยู่แล้ว เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการ และสร้าง ความพึงพอใจแก่ผู้บรโิ ภคไดม้ ากข้นึ กวา่ เดิม และ ลกั ษณะสุดทา้ ย คือ ผลติ ภัณฑ์เลียนแบบ (imitative product หรือ me-too product) 3. การใช้การวิจัยและพฒั นา (R&D) มาชว่ ยพฒั นาผลิตภณั ฑ์ภมู ปิ ัญญาไทยควรมีจุดมงุ่ หมาย ดังนี้ 1) เพ่อื คน้ หาและขยายขอบเขตขององค์ความรู้ 2) เพ่ือพัฒนาสินค้าตัวใหม่ 3) เพ่อื พัฒนากระบวนการผลติ ของผลิตภัณฑ์ 4) เพอ่ื ปรับปรุงผลิตภณั ฑ์ และกระบวนการท่ีมีอยู่เดิม 5) เพ่ือหาหนทางทำประโยชน์เสริมจากผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาไทยท่ีมีอยู่ หรือทำประโยชน์จาก ผลิตภณั ฑ์ภมู ิปญั ญาไทย (สนิ ค้า) ทส่ี ญู เสยี ไป Thai Wisdom Product Development Using Research Methodology
394 | เฉลยแบบฝึกหัดทา้ ยบท 6) เพ่อื หาขอ้ มลู ทางเทคนิคใหห้ น่วยงานหลกั ในองค์กร 7) เพื่อวเิ คราะหผ์ ลิตภัณฑ์ (สนิ ค้า) ของคแู่ ขง่ ขัน เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยบทท่ี 13 1. ง 2. ง 3. ค 4. ข 5. ค 6. ง 7. ง 8. ง 9. ก 10. ง เฉลยแบบฝกึ หดั ทา้ ยบทที่ 14 1. กระบวนการวิจัย หมายถึง การวางแผนดำเนินงานและจัดลำดับการวิจัยท้ังหมด อย่างเป็นขั้นตอน และตอ่ เน่ือง ต้งั แตเ่ รมิ่ ตน้ จนกระท่ังสำเร็จ โดยกำหนดกิจกรรมและรายละเอียดของกิจกรรมตา่ ง ๆ ที่ต้องดำเนินการ เพ่ือให้ได้คำตอบตามโจทย์และวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ภายใต้การกำหนดประเด็น ปญั หาและเป้าหมายทตี่ ้องการหาคำตอบ 2. ตัวอยา่ งผงั การวิจัยตามแนวคดิ ของของเวียรส์ มา (Wiesma, 1986) การกำหนดปญั หาการวจิ ัย การทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กยี่ วขอ้ ง การเก็บรวบรวมข้อมลู การวิเคราะหข์ อ้ มูล การสรุปผล การพฒั นาผลิตภณั ฑ์ภูมปิ ัญญาไทยด้วยวิธวี ทิ ยาการวจิ ัย
อ ม ร รั ต น์ อ นั น ต์ ว ร า พ ง ษ์ | 395 3. ประกอบดว้ ย 9 ขัน้ ตอน ดังน้ี ขนั้ ที่ 1 การกำหนดหวั เร่อื ง ประเดน็ ปัญหา และวัตถุประสงคก์ ารวิจัย ขน้ั ที่ 2 การตรวจเอกสาร หรอื การทบทวนวรรณกรรม ขน้ั ท่ี 3 การกำหนดกรอบแนวคดิ การวจิ ยั และสมมตฐิ านการวจิ ยั ขน้ั ท่ี 4 การออกแบบการวิจยั 1) การกำหนดตัวแปร และการวดั ตวั แปร 2) การกำหนดประชากร และการคดั เลอื กกลมุ่ ตัวอยา่ ง 3) การวเิ คราะหข์ ้อมูล และการเลือกใชส้ ถติ ิ ขั้นท่ี 5 การเก็บรวมรวมขอ้ มลู ขั้นที่ 6 การวเิ คราะห์ข้อมลู ขน้ั ท่ี 7 การสรุปผล และแปลความหมาย ขน้ั ท่ี 8 การเขียนรายงานการวจิ ัย ข้ันที่ 9 การนำเสนอ และเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั เฉลยแบบฝกึ หดั ทา้ ยบทท่ี 15 1. คำว่าจริยธรรมหรือ ethics มาจากรากศพั ทภ์ าษากรีกวา่ ethos หมายถึง อปุ นสิ ยั หรอื ธรรมชาตขิ อง บคุ คลที่เกย่ี วข้องกับคณุ ธรรม อนั เป็นเรื่องเกี่ยวกับความถูกต้องผดิ ชอบช่ัวดี ในการกระทำด้วยความ สมคั รใจของตนเอง หรอื เป็นอปุ นสิ ยั ความเคยชิน ในการกระทำน้นั ๆ ส่วนคำวา่ คุณธรรมมาจากราก ศพั ท์ภาษาละตนิ molalis หมายถึง ขนบธรรมเนยี มประเพณี วิธีการ มารยาท อนั เป็นอปุ นสิ ัย ดงั นน้ั ความหมายของคณุ ธรรมและจริยธรรม หมายถึง ความประพฤติ การปฏบิ ตั ิซ่งึ เป็นปกตวิ ิสยั ของบคุ คล 2. จรรยาบรรณวชิ าชพี ท่ีสำคัญต่อวชิ าชพี มี 3 ข้อ ประกอบด้วย ดงั นี้ 1) จรรยาบรรณวชิ าชีพของนักวิจยั 2) จรรยาบรรณวชิ าชีพในการทำวิจัย 3) การประพฤติผิดจรรยาบรรณวชิ าชีพ 3. ข้อพึงปฏิบตั ิเชงิ จริยธรรมสำหรับการวิจยั เชงิ คุณภาพ มปี ระเดน็ ตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1) งานวิจยั เชิงคณุ ภาพกบั สทิ ธขิ องผใู้ ห้ขอ้ มูล (ตวั อยา่ ง)…………..... 2) การขอความยนิ ยอม Thai Wisdom Product Development Using Research Methodology
396 | เฉลยแบบฝึกหัดทา้ ยบท (ตัวอยา่ ง)………......... 3) ความรับผดิ ชอบต่อผ้ใู ห้ข้อมูล (ตัวอยา่ ง)................. 4) การปกปอ้ งผู้ใหข้ ้อมลู (ตวั อยา่ ง)…………..... เฉลยแบบฝกึ หดั ท้ายบทที่ 16 1. แนวทางในการตอบคำถาม 1.1 การพัฒนาผลิตภณั ฑ์ “กระบอกออมสนิ ไมไ้ ผล่ ายบ้านเชียง” 1.2 เพ่ือเพิ่มมูลค่าของไม้ไผ่ท่ีมีในท้องถิ่น ด้วยการสร้างผลิตภัณฑ์กระบอกออมสินด้วย ลวดลายเอกลกั ษณ์บ้านเชยี ง 1.3 ชุมชนได้ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากงานไม้ไผ่ และสามารถต่อยอดสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์จากไมไ้ ผ่ชนิดอน่ื ๆ ได้ 1.4 ทำการออกแบบลวดลายบ้านเชียง สำรวจความพึงพอใจ เมื่อได้ลวดลายที่พึงพอใจแล้ว จึงทำการเพ้นท์ลวดลาย หรือเผาไม้ไผ่ให้เป็นลวดลายเอกลักษณ์บ้านเชียง ตรวจสอบคุณภาพของ ผลติ ภณั ฑ์ และจดั จำหนา่ ยสทู่ ้องตลาด เปน็ ตน้ การพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ภูมิปญั ญาไทยดว้ ยวิธีวิทยาการวิจัย
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: