Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การทำฝาชีจากเส้นหวาย40ชั่วโมง

การทำฝาชีจากเส้นหวาย40ชั่วโมง

Published by Aun, 2020-09-15 11:49:27

Description: การทำฝาชีจากเส้นหวาย40ชั่วโมง

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดาเนนิ งาน โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน รูปแบบชั้นเรียนวชิ าชพี หลกั สตู รการทาฝาชจี ากเสน้ หวาย วนั ท่ี 13-17 และ 20-22 กรกฎาคม 2563 นายเอกยุทธ สง่ กลน่ิ กศน.ตาบลหน้าไม้ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา

1 บทที่ 1 บทนา เหตผุ ลและความจาเปน็ จากนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน. เรื่อง การจัดการศึกษาต่อเนื่อง จัดการศึกษา อาชพี เพื่อการมีงานทา และอาชีพท่ีสอดคล้องกบั ศักยภาพของคนแต่ละพน้ื ที่ ในส่วนของพ้ืนท่ีตาบลหน้าไม้ ส่วน ใหญ่เป็นพ้ืนที่ท่ีเหมาะในการประกอบอาชีพทานาข้าว แต่ประชาชนในกลุ่มวัยทางาน เลือกท่ีจะไปทางานใน โรงงานอตุ สาหกรรม ไม่มอี าชพี เสริมเมอ่ื ถกู ออกจากงาน จงึ ไม่มคี วามร้ใู นการสร้างอาชีพ ประกอบกับประชาชน ส่วนใหญ่มีความต้องการสร้างรายได้เสริมเป็นอาชีพ เพื่อเล้ียงครอบครัวจากรายได้หลัก การประกอบอาชีพท่ี งา่ ยต่อการบริโภคและสามารถนาไปค้าขายอกี ท้ังยังสามารถนามาสรา้ งรายได้ให้กบั ครอบครัวและชุมชนได้อีกทาง หนง่ึ ในการนี้ กศน.อาเภอบางไทร ร่วมกับ กศน.ตาบลหน้าไม้ ได้จัดวิชาชีพ หลกั สูตรการทาฝาชีจากเสน้ หวาย ข้ึนเพ่ือพัฒนาอาชีพและการมีงานทาให้สอดคล้องตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและศักยภาพของพนื้ ที่ และ ส่งเสรมิ ให้ประชาชนมคี วามรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพ เพื่อให้เหน็ ช่องทางในการประกอบอาชีพ วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อจัดการศึกษาอาชีพจากการปฏิบัติจริงท่ีบูรณการกับวิถีชีวิตให้กับบุคคลและชุมชน นาความรู้ ความสามารถที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพ ๒. เพือ่ ให้กลมุ่ เป้าหมายมีความรู้ และมีความสามารถในการประกอบอาชีพ การทาฝาชจี ากเสน้ หวาย เพ่ือเหน็ ช่องทางการประกอบอาชพี ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเี่ ข้าร่วม ร้อยละ 80 มคี วามพึงพอใจต่อการจดั กจิ กรรมในระดบั มากขึ้นไป ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และเกิดการเรยี นรใู้ นการพง่ึ พาตนเอง และครอบครัว

2 บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี กยี่ วข้อง ขนั้ ตอนการเตรียมวตั ถุดบิ การเตรียมวตั ถดุ ิบ วัตถุดิบในการจักสาน ที่ใช้กันท่ัวไปมีหลายอย่างได้แก่ ใบเตย ลาเจียกหรือปาหนันผักตบชวา ย่านลิเพา กระจูด กก ใบตาล ใบลาน หวาย ไม้ไผ่ แต่ที่นิยมนามาใช้ทางานจักสานมากท่ีสุดคือไม้ไผ่และหวาย เน่ืองจาก คงทน ราคาไมแ่ พง วัตถุดบิ หาได้ง่ายมีอยู่ทัว่ ไปการเตรยี มไม้ไผ่ เลือกลาต้นทีม่ ีความตรง ลาปล้องยาว ผิวเรียบเป็น มัน หลังจากตัดออกมาจากกอ นามาแช่น้าตลอดท้ัง ลาเพ่ือให้ไม้ไผ่มีความสดและป้องกันมด ปลวก มอด เจาะไช เม่ือจะนามาใช้งานจึงตัดเอาตามขนาดท่ีต้องการมาผ่าออกแล้วนาไป จักเป็นตอกแล้วตากแดดให้แห้งการเตรียม หวาย ต้องแช่น้าให้หวายอ่อนตัวเพ่ือความสะดวกในการทางาน หวายสามารถใช้ได้ท้ังเส้น นาไปเป็นก้นกระบุง ตะกร้า หรือเลยี ดใหเ้ ปน็ เสน้ เลก็ ๆใชผ้ กู มัด ตกแตง่ ลวดลาย ลวดลายในการจักสาน แบ่งตามลกั ษณะการใชง้ านได้ 3 ลกั ษณะคือ 1. ลวดลายพนื้ ฐาน ถือเปน็ ลายแมบ่ ท สาหรบั การสานท่ัวไป มี 6 ลาย คือ 1.1 ลายขัด 1.2 ลายสอง 1.3 ลายสาม 1.4 ลายตาหลวิ่ 1.5 ลายขอ 1.6 ลายบองหยอง 2. ลวดลายพฒั นา เปน็ ลายท่ชี ่างจกั สานในอดีตได้คิดค้นพัฒนาขนึ้ มา ทปี่ รากฏทั่ว ไป มี 5 ลาย คือ 2.1 ลายบา้ 2.2 ลายดีด้าน 2.3 ลายเฉลาเกล็ดเต่า 2.4 ลายดอกขิง 2.5 ลายดีหลม่ 3. ลวดลายประดษิ ฐ์ เป็นลวดลายทคี่ ิดคน้ ประดิษฐ์ขน้ึ เปน็ ลักษณะเฉพาะของชา่ ง การทาเครอื่ งจกั สานเป็นหัตถกรรมพืน้ บ้านโบราณอยา่ งหนง่ึ ที่ทาสืบทอดกนั มาชา้ นานแลว้ เครอื่ งมอื ที่ใช้ ทาเครื่องจกั สานกเ็ ป็นเคร่ืองมือพ้นื บา้ นเพียงไม่กชี่ ิ้นทช่ี าวบา้ นมักทาข้ึนใช้เอง เครื่องมือสาคัญท่ีใชท้ าเครอื่ งจักสาน ของไทย ไดแ้ ก่ มีด เหล็กหมาด คมี ไม้ มีด เครือ่ งมือสาหรบั แปรรูปวัตถดุ ิบจากธรรมชาติ มาเปน็ วัสดุสาหรับทาเคร่อื งจักสานมดี ที่ใช้กันทั่วไปเปน็ มดี เหลก็ กล้า เน้ือแกรง่ มี ๒ ชนิด คอื มดี สาหรบั ผ่าและตัด มักเป็นมีดขนาดใหญ่ สันหนา เช่น มีดโต้ หรือมดี อโี ตใ้ ชต้ ัดและผา่ ไมไ้ ผ่ หวาย หรือ ไม้อื่นๆ ที่จะใช้ทาเครื่องจักสานใหม้ ีขนาดตามต้องการ ก่อนท่ีจะนาไป เหลา จกั เปน็ ตอกหรอื เป็นเสน้ ต่อไป มีดตอก มีดชนดิ นีม้ ีประโยชนใ์ ชส้ อยตามชอ่ื คอื ใชส้ าหรับจกั ตอกหรือเหลาหวายเปน็ มดี ปลายเรียวแหลม ปลายและด้ามงอน สว่ นมากตัวมีดจะสนั้ กว่าด้าม เพราะในการจักหรอื เหลาตอก จะใช้ดา้ มสอดเข้าไประหว่างแขน

3 กบั ลาตวั เพื่อให้จักหรือเหลาตอกไดส้ ะดวก มีดชนิดนจี้ ะมสี ันบางเพื่อให้จักได้ดี ส่วนปลายท่งี อนแหลมน้ันจะใช้ เจาะหรอื คว้านได้ดว้ ย มดี ตอกท่ัวไปจะมรี ูปรา่ งคล้ายคลึงกันดังกล่าวแลว้ แต่อาจะมรี ูปร่างพิเศษแตกต่างกันบา้ ง ตามความนยิ มของแตล่ ะถ่ินและชา่ งจกั สานแต่ละคน เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการทาเคร่ืองจกั สาน เหล็กหมาด เหลก็ ปลายแหลม ใชส้ าหรบั เจาะ ไช งดั แงะ มี ๒ ชนดิ คอื เหล็กหมาดปลายแหลม เป็นเหลก็ ปลายกลมแหลมมดี า้ มทาดว้ ยไม้ ใชส้ าหรบั ไชหรอื แกะ มกั ทาด้วยเหล็ก ก้านรม่ หรือซลี่ วดรถจกั รยาน ฝนปลายใหแ้ หลม ใช้ไชหรือแงะเครื่องจกั สานเพื่อรอ้ ยหวายผกู โครงสร้าง ผกู ขอบ หรอื เจาะหูกระบุง ตะกร้า เปน็ ตน้ เหลก็ หมาดปลายหอก เปน็ เหลก็ แหลมปลายแบนอย่างปลายหอก ใชเ้ จาะหรือไชไม้ใหเ้ ปน็ รู มักใช้เจาะรู เครือ่ งจักสานเมื่อตอ้ งการผกู หวายเสริมโครงสรา้ งให้แขง็ แรง คมี ไม้ คมี ไม้ เปน็ เครอ่ื งมือจาเป็นในการทาเคร่อื งจักสาน รูปรา่ งคลา้ ยคีมท่ัวไปแต่มีขนาดใหญ่และทาดว้ ยไม้ เนื้อแข็ง เชน่ ไมช้ ิงชนั ไมม้ ะค่า แก่นไมม้ ะขาม คีมจะใช้หนบี ปากภาชนะจกั สานเพือ่ เข้าขอบ เช่น ใช้หนีบขอบ กระบงุ ตะกร้า กระจาด ขณะเข้าขอบปากเพ่ือผูกหวายทข่ี อบใหแ้ น่น คมี จะช่วยใหช้ า่ งจักสานเข้าขอบภาชนะจกั สานได้สะดวกโดยไม่ต้องใช้ผู้ช่วย นอกจากเครอื่ งมือสาคญั ในการทาเครื่องจักสานดังกลา่ วแล้ว การทาเครื่องจกั สานยังอาจจะมเี คร่ืองมือ อยา่ งอ่ืนอีก ท้ังนขี้ ้นึ อยกู่ ับวสั ดุท่ีนามาทาเคร่ืองจักสาน เช่น การเหลาหวายทจ่ี กั เปน็ เส้นแลว้ ใหเ้ รียบเสมอกัน ชา่ ง จักสานจะใชฝ้ ากระปอ๋ งหรือสังกะสี มาเจาะรูให้มขี นาดต่างกนั จากรใู หญ่ไปเลก็ แลว้ สอดเสน้ หวายเข้าไปในรแู ล้ว ชักผ่านออกไป ความคมของสงั กะสีจะครดู ให้ผวิ เสน้ หวายเรียบและมขี นาดเสมอกัน เรยี กว่า \"ชักเลยี ด\" การชัก เลยี ดน้นั จะต้องชักจากรูใหญไ่ ปหารูเล็ก การทาเครอ่ื งจักสานยา่ นลเิ ภากใ็ ชเ้ คร่อื งมอื ชนดิ เดยี วกนั นี้ แต่เรยี กว่า \"ชกั แปน้ \"นอกจากเครื่องมือเหลา่ นแี้ ล้ว ช่างจักสานบางทอ้ งถนิ่ อาจจะมีเคร่ืองมือพิเศษเฉพาะตัวแตกต่างกนั ไปอีกก็ได้ ในปจั จุบนั มีผ้ปู ระดิษฐเ์ คร่ืองจกั และเหลาตอกดว้ ยมอเตอร์ไฟฟ้าขึ้นใช้ ช่วยให้จักและเหลาตอกได้รวดเร็วขน้ึ แต่ กระนั้นก็ตาม ตอกท่ีจักและเหลาดว้ ยมอื จะเรยี บและประณีตกวา่ เม่ือไดต้ อกแลว้ จงึ นาตอกไป \"สาน\" เปน็ เครอ่ื งจัก สานให้มีรปู ทรงและลวดลายตามความต้องการการจกั หรือการทาไม้ไผเ่ ปน็ ตอก แล้วสานเปน็ ภาชนะเคร่อื งมอื เครือ่ งใช้ตา่ งๆ เปน็ ขัน้ ตอนสาคญั คนไทยจึงเรยี กหตั ถกรรมทท่ี าข้นึ ดว้ ยวิธีการนวี้ ่า \"เครอื่ งจักสาน\" การทาเครอ่ื งจักสานของไทยก็ทาขนึ้ ตามกระบวนการดังกล่าว เริม่ จากการ \"จัก\" คือการเอามดี ผา่ ไม้ไผ่ หวาย หรือวัตถุดบิ อ่ืนๆ ให้แตกแยกออกจากกนั เป็นเส้นบางๆ แลว้ \"สาน\" เปน็ เครอื่ งจกั สานประเภทตา่ งๆ ใหม้ ี รูปทรงสอดคล้องกับการใช้สอย และขนบนิยมของท้องถ่นิ การใชเ้ ส้นตอกหรือวสั ดุท่ีมลี ักษณะเปน็ เสน้ อืน่ ๆ มา ขดั กัน เริ่มจากการสานอยา่ ง่ายๆ ด้วย \"ยก\" ขน้ึ เสน้ หนงึ่ แลว้ \"ขม่ \" ลงเส้นหนึ่งสลบั กันไป เรยี กวา่ ลายขัด หรือลาย หนึง่ จนถงึ การสอดและขดั แปลกออกไปเป็นลายที่ยากขน้ึ เช่น ลายสอง ลายสาม จนถงึ ลายทม่ี ีลกั ษณะพเิ ศษ ออกไปอย่างลายเฉลว หรอื ลายตาเข่ง ลายดอกพิกลุ และลายอืน่ ๆ ทชี่ ่วยใหเ้ คร่ืองจกั สานมคี วามสวยงามควบคู่ กบั ประโยชน์ใชส้ อย

4 บทที่ 3 วธิ ีการดาเนินการ กศน.อาเภอบางไทร ได้ดาเนินการจดั วิชาชพี . กลมุ่ สนใจ หลกั สูตรการทาฝาชีจากเสน้ หวาย ศาลาเอนกประสงคห์ มู่ท่ี 3 ตาบลหนา้ ไม้ จานวน 13 คน ในวันที่ 13-17 และ 20-22 กรกฎาคม 2563 ใหก้ บั กลมุ่ เปา้ หมาย/ผรู้ ับบริการ ดังนี้ ขั้นตอนการดาเนนิ งาน 1. ขั้นวางแผน (Plan) ประกอบดว้ ย - สารวจและวเิ คราะหค์ วามต้องการ - รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมลู เพือ่ จัดกระบวนการเรียนรู้ - จดั ทาแผนการจัดกจิ กรรม - แต่งตัง้ คณะทางานและประชุมชี้แจงผูเ้ ก่ยี วขอ้ ง - เขียนโครงการ/ขออนมุ ัตโิ ครงการ 2. ขั้นดาเนินการ (Do) - ดาเนนิ การได้ดาเนินการจัดจัดวิชาชีพ หลักสตู รการทาฝาชีจากเสน้ หวาย ณ ตาบลหน้าไม้ จานวน 13 คน ในวันที่ 13-17 และ 20-22 กรกฎาคม 2563 โดยการจัดวิชาชีพ ถึงหลกั การและเหตผุ ล ของโครงการ และมอบหมายให้วทิ ยากรมีหนา้ ท่ีใหก้ ารสอน ฝกึ ภาคปฏิบตั ิให้แต่กลุ่มเป้าหมาย คนใน ตาบล 3. ขัน้ ตรวจสอบ ( Check) - แบบประเมินความพึงพอใจ 4. ขนั้ ปรบั ปรุงแก้ไข (Action) - รวบรวมและวเิ คราะห์ข้อมลู - ประชุมคณะทางานเพอื่ ทราบผลการดาเนินงาน

5 บทที่ 4 สรปุ ผลการดาเนินการ จากการสารวจความพึงพอในได้ดาเนินการจัดช้ันเรียนวิชาชีพ หลักสูตรการทาฝาชีจากเส้นหวาย ณ ตาบลหน้าไม้ จานวน 13 คน ในวันท่ี 13-17 และ 20-22 กรกฎาคม 2563 โดยใช้แบบประเมนิ ความพึงพอใจ จานวน 13 ฉบับ และไดร้ บั กลับคนื มา จานวน 13 ฉบบั วเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยใชโ้ ปรแกรม Excel ตามขนั้ ตอนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. วเิ คราะห์ขอ้ มลู จากแบบสอบถามตอนที่ 1 โดยแจกแจงความถแี่ ละคา่ ร้อยละ 2. วเิ คราะหข์ อ้ มูลจากแบบสอบถามตอนท่ี 2 โดยหาคา่ เฉลี่ย ( X ) แปลความหมายข้อมลู เชิง ปริมาณ ให้ระดับคะแนนในแบบสอบถามท่ีเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามเกณฑ์ประเมินความ คดิ เห็นของเบสท์ (Best. 1981 : 182) ดงั น้ี 4.51 – 5.00 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยู่ในระดับดมี าก 3.51 – 4.50 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยู่ในระดับดี 2.51 – 3.50 หมายถึงความพงึ พอใจอยูใ่ นระดบั ปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถงึ ความพึงพอใจอยใู่ นระดับพอใช้ 1.00 – 1.50 หมายถงึ ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั ปรบั ปรุง 3. วิเคราะห์ข้อมลู จากแบบสอบถามตอนที่ 3 ขอ้ มลู ที่เป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยหาค่าเฉล่ีย (X ) แปลความหมายข้อมูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลท่ีเป็นความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) จัดกลุ่มคาตอบ และ หาค่าความถ่ี สรุปผลการประเมินความพึงพอในการจัดชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรการทาฝาชีจากเส้นหวาย ตาบลหน้าไม้ จานวน 13 คน ในวันท่ี 13-17 และ 20-22 กรกฎาคม 2563 ดงั น้ี

6 ตอนท่ี 1 ข้อมลู ส่วนตัวของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม จาแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ ขอ้ มูลทั่วไป จานวน รอ้ ยละ เพศ ชาย 1 7.69 หญิง 12 92.30 อายุ ตา่ กว่า 15 ปี 00 15-39 ปี 2 15.18 40-59 ปี 6 46.15 60 ปขี ้นึ ไป 5 38.46 การศึกษา ประถมศึกษา 8 61.53 มัธยมศึกษาตอนตน้ 1 7.69 มธั ยมศึกษาตอนปลาย 1 7.69 ปรญิ ญาตรี 1 7.69 อืน่ ๆ 2 15.18 อาชพี รบั จา้ ง 5 38.46 คา้ ขาย 2 15.18 เกษตรกรรม 1 7.69 รบั ราชการ 00 อนื่ ๆ 5 38.46 จากตารางท่ี 1 แสดงจานวนผ้ตู อบแบบสอบถามทั้งหมด 13 คน เป็นเพศหญงิ จานวน 12 คน (รอ้ ย ละ92.30) เพศชาย 1 คน (ร้อยละ7.69) ด้านอายุ ผู้ตอบแบบสารวจอยู่ในช่วงอายุ 60 ปีข้ึนไป 5 คน (ร้อยละ 38.46) ด้านการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสารวจส่วนมากมีการศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษา 8 คน (ร้อยละ 61.53) ตามลาดบั ดา้ นอาชพี พบวา่ ผตู้ อบแบบสารวจสว่ นมากอาชพี รบั จา้ ง 5 คน (ร้อยละ 38.46) ตามลาดับ

7 การดาเนนิ การจดั วชิ าชีพ หลักสูตรการทาฝาชีจากเส้นหวาย ตาบลหนา้ ไม้ จานวน 13 คน ได้ ดงั น้ี ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจของผู้เรยี น/ผ้รู ับบริการ โดยรวมและแยกเป็นรายด้าน ตารางท่ี 2 ความพึงพอใจทม่ี ีต่อโครงการโดยรวมและแยกเป็นรายดา้ น รายการประเมิน ผลการประเมนิ 1. ดา้ นหลักสูตร ความหมาย X 3.79 ดี 2. ด้านวทิ ยากร 3.74 ดี 3. ดา้ นสถานท่ี ระยะเวลา และพึงพอใจ 3.82 ดี รวม 3.78 ดี จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการ โดยรวมและแยกเป็นรายด้าน อยู่ในระดับ ดี ทุกรายการ เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือ สถานที่ ระยะเวลา ความพึงพอใจ รองลงมา คอื ดา้ นหลักสตู ร และอันดับสุดทา้ ยคือ วทิ ยากร ตามลาดบั

8 ตารางที่ 3 ดา้ นหลกั สตู ร รายการประเมิน ผลการประเมิน ความหมาย 1. กจิ กรรมท่ีจัดสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลกั สูตร 2. เนอ้ื หาของหลักสตู รตรงกับความต้องการของผู้เรยี น/ผู้รับบรกิ าร X 3. การจดั กจิ กรรมทาให้ผู้เรยี น/ผูร้ ับบริการสามารถคดิ เปน็ ทาเปน็ 3.77 ดี แก้ปัญหาเปน็ 3.69 ดี 4.ผ้เู รยี น/ผ้รู บั บรกิ ารมสี ่วนรว่ มแสดงความคิดเหน็ ต่อการจัดทา หลักสูตร 3.85 ดี 5. ผู้เรียน/ผู้รบั บริการสามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในชวี ิตประจาวนั 3.69 ดี 6. สอื่ /เอกสารประกอบการจัดกจิ กรรม มีความเหมาะสม 3.85 ดี รวม ดี 3.92 3.79 ดี จากตารางที่ 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการด้านหลักสูตร โดยรวมและราย ด้านอยู่ในระดับ ดี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงคือส่ือ/เอกสารประกอบการจัดกิจกรรม มีความ เหมาะสม รองมาอันดับสองคือ การจัดกิจกรรมทาให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการสามารถคิดเป็น ทาเป็นแก้ปัญหาเป็น อันดับสุดทา้ ย คือ เน้อื หาของหลกั สูตรตรงกบั ความตอ้ งการของผเู้ รยี น/ผู้รับบรกิ าร

9 ตารางที่ 4 ดา้ นวิทยากร ผลการประเมนิ รายการประเมนิ ความหมาย 1.ครู/วทิ ยากร มคี วามรู้ ความสามารถในการจัดกจิ กรรม X 2.ครู/วทิ ยากร มีเทคนคิ กระบวนการจดั กจิ กรรม 3.คร/ู วทิ ยากร มีการใช้สอื่ ท่ีสอดคล้องและเหมาะสมกบั กิจกรรม 3.54 ดมี าก 4.คร/ู วิทยากร มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม 5.บุคลกิ ภาพของวทิ ยากร 3.69 ดี รวม ดี 3.69 3.85 ดี 3.92 ดี 3.74 ดี จากตารางที่ 4 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มตี อ่ โครงการด้านวิทยากร โดยรวมและรายดา้ นอยู่ใน ระดับ ดี เม่ือพิจารณาเป็นรายขอ้ พบว่า อันดับหนง่ึ คือ บุคลกิ ภาพของวทิ ยากร อนั ดับสองคือ มีคุณธรรม จริยธรรม อนั ดบั สามคือ วิทยากร มีเทคนิค กระบวนการจัดกิจกรรม มกี ารใชส้ ือ่ ทสี่ อดคล้องและเหมาะสมกับ กจิ กรรม อนั ดับสุดท้าย คือ วิทยากร มคี วามรู้ ความสามารถในการจดั กิจกรรม ตามลาดับ

ตารางท่ี 5 ดา้ นสถานท่ี ระยะเวลา ความพึงพอใจ 10 รายการประเมิน ผลการประเมนิ ความหมาย 1. สถานที่ในการจัดกจิ กรรม 2. ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม X 3. ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้รับบริการต่อการเขา้ ร่วม 3.69 ดี กจิ กรรม 3.92 ดี รวม 3.85 ดี ดี จากตารางที่ 5 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการด้านด้านสถานที่ ระยะเวลา ความพึงใจ โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับ ดี เม่ือพิจารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ อันดับหนง่ึ คือระยะเวลาในการ จัดกิจกรรมเหมาะสม อันดับสองคือ ความพงึ พอใจในภาพรวมของผรู้ บั บรกิ ารตอ่ การเขา้ ร่วมกิจกรรม และอนั ดับ สุดท้าย คือสถานท่ีในการจดั กจิ กรรมตามลาดับ

11 บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ผลการดาเนินงานสรุปผลการประเมินความพึงพอในจัดช้ันเรยี นวิชาชีพ หลักสตู รการทาฝาชีจาก เส้นหวาย ณ ตาบลหน้าไม้ จานวน 13 คน ในวันที่ 13-17 และ 20-22 กรกฎาคม 2563 คร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ เพ่ือประเมินผลความพึงพอใจของผู้เรียน/ผู้รับบริการที่มีต่อโครงการโดยรวมและแยกเป็นรายด้าน โดยใช้ แบบสอบถามจานวน 13 ฉบับ เคร่ืองมอื ที่ใช้เปน็ แบบสอบถามท่ีเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตาม เกณฑ์ประเมินความคิดเห็นของเบสท์ (Best. 1981 : 182) วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ( ) แปล ความหมายข้อมูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็น และ ข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) จัดกลุ่มคาตอบ และหาค่าความถี่ สรปุ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผู้เรยี น/ผูร้ บั บริการ จากแบบประเมินความพงึ พอใจสรุปผลได้ ดงั น้ี 1. ดา้ นหลกั สตู ร พบว่า อันดับหน่งึ คือส่ือ/เอกสารประกอบการจดั กจิ กรรม มีความเหมาะสม รองมา อันดับสองคอื การจัดกจิ กรรมทาให้ผเู้ รยี น/ผรู้ ับบรกิ ารสามารถคดิ เป็น ทาเปน็ แก้ปัญหาเป็น อันดับสุดทา้ ย คือ เนอ้ื หาของหลักสตู รตรงกบั ความตอ้ งการของผเู้ รยี น/ผู้รับบริการ 2. ด้านวทิ ยากร พบวา่ อันดับหนึง่ คือ บคุ ลิกภาพของวิทยากร อันดับสองคือ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม อันดับสามคือ วิทยากร มีเทคนิค กระบวนการจัดกจิ กรรม มกี ารใช้สื่อทีส่ อดคล้องและเหมาะสมกบั กจิ กรรม อนั ดับสดุ ท้าย คือ วิทยากร มีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรม ตามลาดบั 3. ด้านสถานท่ี ระยะเวลาและความพงึ พอใจ พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจทมี่ ีตอ่ โครงการ ดา้ นดา้ นสถานท่ี ระยะเวลา ความพงึ ใจ โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดบั ดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ อนั ดับหนง่ึ คือระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม อันดบั สองคือ ความพงึ พอใจในภาพรวมของผู้รบั บรกิ ารตอ่ การเข้ารว่ มกจิ กรรม และอันดับสุดท้าย คือสถานท่ีในการจัดกิจกรรมตามลาดับ

12 ผลการดาเนนิ งาน 1. ผู้เข้ารว่ มโครงการฯ /กลุ่มเปา้ หมาย สามารถอธิบายวิธกี ารละขน้ั ตอนในการทาฝาชีจากเสน้ หวายได้ 2. ผู้เขา้ ร่วมโครงการฯ/กลุ่มเปา้ หมาย รูจ้ กั การทางานเป็นกลมุ่ มีลาดบั ขั้นตอนในทางาน 3. ผเู้ ข้ารว่ มโครงการฯ/กลุ่มเป้าหมาย มีความพงึ พอใจในการจดั กจิ กรรม ในระดบั ดี ตามแบบประเมนิ ความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ท่แี นบมาน้ี ปัญหาและอปุ สรรคในการปฏิบัติงาน เนื่องจากสถานการณโ์ ควิด ทาใหต้ ้องเว้นระยะห่างในการปฏบิ ัติกจิ กรรม ข้อเสนอแนะ สวมหนา้ กากอนามยั เพื่อป้องกันและหยุดการแพร่กระจายเชอ้ื โควิด-19

13 รูปภาพการจดั กจิ กรรม โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน หลักสตู รการทาฝาชจี ากเสน้ หวาย วนั ท่ี 13-17 และ 20-22 กรกฎาคม 2563


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook