Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานแก้

งานแก้

Published by ชุติมนต์ คําดุลย์, 2019-10-18 00:59:24

Description: งานแก้

Search

Read the Text Version

ทักษะชีวิตดา้ นที่ 2 เรอ่ื ง เด็กมวี ินัยในตนเอง การห่วงใยในตนเองและการควบคมุ อารมณ์ นายศิริพิพฒั น์ จัดทาโดย นางสาวณัฐวดี โพธพิ รม รหัสนกั ศึกษา 6110111252008 นาวสาวพรพิมล ห้อมลอ้ ม รหสั นักศึกษา 6110111252016 นางสาวชุติมนต์ เม็งเกตุ รหสั นักศึกษา 6110111252019 นางสาววรงคอ์ ร คาดุลย์ รหสั นกั ศกึ ษา 6110111252023 คณู ชัย รหสั นักศกึ ษา 6110111252025 เสนอ ว่าท่ี ร.ต.หญิง อาจารย์ ดร.ชชั ญาภา วัฒนธรรม รายงานเล่มน้ีเป็นส่วนหนึ่งของวชิ าการผลิตสอื่ การเรียนการสอน สาขาคอมพิวเตอรศ์ กึ ษา วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนคร

ก คานา รายงานเล่มน้ีเป็นส่วนหนึ่งของวิชาการผลิตสื่อการเรียนการสอน โดยมีจุดประสงค์ของการ จดั ทารายงานนีเ้ พ่อื ใชป้ ระกอบในการเรยี นการสอนและให้ผู้ศกึ ษามีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับทกั ษะ ชีวิตด้านท่ี 2 ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเก่ียวกับเด็กมีวินัยในตนเอง การห่วงใยในตนเองและการควบคุม อารมณ์ ตั้งแต่การมีวินัยในตนเอง ซ่ึงเป็นทักษะเกี่ยวกับเด็กประถมศึกษา ท่ีมีความหมายของทักษะ ชีวิต องค์ประกอบของทักษะชีวิต การประเมินทักษะชีวิต แนวคิดการพัฒนาทักษะชีวิต การพัฒนา ทักษะชีวิต ทฤษฎีการมีส่วนร่วม ทฤษฎีเก่ียวกับการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมและการสอน ซ่ึงผู้จัดทาได้รับหมอบหมายจากครูผู้สอนให้ไปศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมจากเอกสาร วารสาร วิจัยงานที่ เก่ียวขอ้ ง อนิ เตอรเ์ นต็ และแหล่งข้อมลู ต่างๆ โดยมีจุดประสงค์ฝกึ การคน้ คว้า การเขา้ ใจถึงเนื้อหาเพ่ือ พัฒนาทักษะชีวิต สามารถนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันรวมท้ังการศึกษาเรียนรู้ การสอน ตลอดจนการทางานประกอบอาชีพในอนาคต และสร้างเป็นช้ินงานเก็บไว้เป็นประโยชน์ต่อการเรียน การสอนของตนเองและครูตอ่ ไป ทั้งน้ีคณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ได้มาศึกษาเป็ น อย่างดี และทางคณะผู้จัดทาขอขอบคุณผู้ท่ีมีส่วนร่วมให้รายงานเล่มนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี หากมีข้อ เสนิแนะหรอื ขอ้ ผิดพลาดประการใด ผจู้ ัดทาขอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภัยมา ณ ทน่ี ีด้ ้วย คณะผ้จู ัดทา

สารบัญ ข เรื่อง หน้า 1. ทฤษฎที ักษะชีวิต 1 1 1.1 หลักการพฒั นาทกั ษะชีวติ 1 1.2 ความหมายของทักษะชีวิต 2 1.3 องค์ประกอบของทกั ษะชวี ติ 4 1.4 กิจกรรมและการสอนเพือ่ พัฒนาทักษะชีวติ 8 1.5 หลกั การสอนทีส่ ามารถนามาใช้สอนการพัฒนาทกั ษะชีวติ 10 1.6 การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต 11 1.7 การประเมินทกั ษะชีวติ 1.8 การพัฒนาทกั ษะชีวติ ในหลักสูตรแกนกลาง 11 14 การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 17 1.9 ทักษะชวี ิตของนกั เรยี นระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษา 17 18 2. ทฤษฎีการมีส่วนร่วม 19 19 2.1 แนวคดิ ทฤษฎีเกยี่ วกับการมีสว่ นรว่ ม 21 2.2 ความหมายของการเรยี นรู้แบบมีส่วนรว่ ม 22 2.3 แนวคดิ และหลักการเรยี นร้แู บบมสี ่วนรว่ ม 22 2.4 องคป์ ระกอบการเรียนรูเ้ ชงิ ประสบการณใ์ นการเรยี นรูแ้ บบมสี ว่ นรว่ ม 23 2.5 การเรยี นรู้ดว้ ยกระบวนการกลมุ่ 24 2.6 เทคนิคทใ่ี ชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบมสี ่วนรว่ ม 24 2.7 ข้นั ตอนการมีสว่ นร่วม 25 2.8 ความสาคญั ของการเรียนรูแ้ บบมีสว่ นรว่ ม 26 3. ทฤษฎีเก่ยี วกบั การพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม 3.1 ความหมายของคุณธรรมจรยิ ธรรม 3.2 ทฤษฎีพฒั นาการทางจรยิ ธรรมของเพียเจท์ 3.3 ทฤษฎพี ฒั นาการทางจรยิ ธรรมของโคลเบอรก์

สารบญั (ต่อ) ค เรือ่ ง หนา้ 4. ทักษะชวี ิตดา้ นท่ี 2 เด็กมวี นิ ยั ในตนเอง 27 27 การหว่ งใยในตนเองและการควบคุมอารมณ์ 27 27 4.1 เด็กมีวนิ ยั ในตนเอง 27 4.1.1 การทางานตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 27 4.1.2 ตรงต่อเวลา 27 4.1.3 มวี ินัยในตนเอง 27 4.1.4 ใฝ่เรยี นรู้ 28 28 4.2 การห่วงใยในตนเอง 28 4.2.1 ดูแลสุขภาพ 29 4.2.2 การฝึกสมาธิ 29 29 4.3 การควบคุมอารมณ์ 29 4.3.1 ความรู้สึกตัว 29 4.3.2 การหายใจ 29 4.3.3 การผ่อนคลายกล้ามเน้อื 30 4.3.4 การฝกึ ควบคมุ ประสาทอตั โนมตั ิ 31 4.3.5 การจินตนาการ 4.3.6 คิดในทางทถ่ี กู 32 4.3.7 คิดเชิงบวก 4.3.8 สรุป 5. เอกสารและส่งิ อา้ งอิง 6. หนังสืออเิ ลก็ ทรอนกิ สผ์ สานจรงิ ออนไลนท์ กั ษะชีวิตดา้ นที่ 2 เด็กมวี นิ ยั ในตนเอง การหว่ งใยในตนเองและการควบคุมอารมณ์

1 1. ทฤษฎีพัฒนาทักษะชีวติ 1.1 หลกั การพัฒนาทกั ษะชีวิต การพัฒนาทักษะชีวิตเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งให้นักเรียนพัฒนาตนเองในเรื่องความรู้ ทักษะและทัศนคติของการเห็นคุณค่าในตนเองและอื่น ๆ การคิดการวิเคราะห์การตัดสินใจและการ แก้ปัญหาการจัดการกับอารมณ์และความเครียดและ การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อ่ืนเพื่อการ ปรบั ตวั การปกป้องตนเองในสถานการณ์ต่าง ๆ จดั การชวี ิตของคณุ อยา่ งมีประสิทธิภาพ การวาดภาพ ให้สอดคล้องกับเป้าหมายของหลักสูตรของพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาขั้นพ้นื ฐานในปี 2551 ท่ีกาหนด ทักษะชีวิตเป็นความสามารถหลักท่ีนักเรียนทุกคนได้รับการศึกษาท่ีจาเป็นในการพัฒนานักเรียน การศกึ ษาผ้ใู หญ่เพื่อตอบสนอง 1.2 ความหมายของทกั ษะชวี ติ ความหมายของทักษะชีวิต นักการศึกษา นักจิตวิทยา และองค์กรต่าง ๆ ได้ให้ความหมาย ของทักษะชีวิตไว้ ดงั นข้ี องทักษะชวี ิต ทักษะชีวิตเป็นความสามารถทางจิตสังคมเป็นความสามารถของบุคคลในการเผชิญกับสิ่งท้า ทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพและยังเป็นสิ่งท่ีจะช่วยให้เกิดการดารงไว้ ซึ่งสภาวะสุขภาพจิตท่ีดีและสามารถท่ีจะปรับตัวและมีพฤติกรรมไปในทิศทางที่ถูกต้องในขณะที่ต้อง เผชิญกับแรงบีบแรงกดดันหรือแรงกระทบจากสภาวะแวดล้อมต่าง ๆ รอบตัว (World Health Organization. 1994: 1) ซงึ่ มผี กู้ ล่าวถึงความหมายของทกั ษะชวี ิตไวด้ ังน้ี องค์การอนามัยโลก (World Health Organization. 1993: Web Site) ได้ให้ความหมาย ของทักษะชีวิตไว้ว่าทักษะชีวิตหมายถึงความสามารถในการปรับเปลี่ยนและให้มีพฤติกรรมในทางที่ เหมาะสมที่จะสามารถให้บุคคลจัดการกับความต้องการและส่ิงต่างที่มากระตุ้นในชีวิตประจาวันได้ อยา่ งมีประสิทธิผล ยงยุทธวงค์ ภิรมย์ศานติ์ (2540: 8) ให้ความหมายทักษะชีวิตว่าหมายถึงทักษะชีวิตเป็น ความสามารถอันประกอบด้วยความรู้เจตคติและทักษะในอันท่ีจะจัดการกับปัญหารอบๆตัวในสภาพ สังคมปัจจุบันและเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวในอนาคตไม่ว่าจะเป็นเร่ืองเพศสารเสพติดบทบาท ชายหญงิ ชีวิตครอบครัวสุขภาพอทิ ธพิ ลส่อื อน่ื ๆ สิ่งแวดลอ้ มจรยิ ธรรมและปัญหาสงั คมในดา้ นต่างๆ สัมฤทธส์ิ นั เต (2547: 10) ให้ความหมายของทกั ษะชีวติ ไวว้ ่าทกั ษะชวี ติ หมายถงึ ความสามารถ ในการรวบรวมข้อมูลและประยุกต์ใช้ข้อมูลได้อย่างเหมาะสมสามารถตัดสินใจจัดการกับปัญหาและ แก้ไขปัญหาท่ีตนเผชิญในชีวิตประจาวันได้โดยแสดงพฤติกรรมที่จริงออกมาอย่างสร้างสรรค์และ ตรงไปตรงมาชว่ ยให้เนนิ ชวี ิตอยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสุข ธนพัชรแก้วปฏิมา (2647: 13) ให้ความหมายของทักษะชีวิตไว้ว่าเป็นความสามารถโดยรวม ของบุคคลซง่ึ ประกอบดว้ ยกระบวนการคดิ วเิ คราะหแ์ ละประเมินเหตุการณต์ ่างๆทีเ่ ก่ียวข้องกบั พิจารณาเพ่ือตัดสินใจและสามารถเลอื กใชท้ ักษะต่างๆเช่นการส่ือสารการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อนื่ ใน การแก้ปัญหาและปรับตัวให้สามารถเผชิญสถานการณ์หรือปญั หาทางด้านร่างกายจิตใจและสังคมจน สามารถดาเนินชีวติ ได้อย่างเหมาะสมและมคี วามสขุ

2 กล่าวโดยสรุปทักษะชีวิตเป็นทักษะหนึ่งท่ีมีความจาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมที่ ซับซ้อนในปัจจุบันและเป็นทักษะที่จะช่วยสนับสนุนและลดประเด็นปัญหาสาคัญที่เข้ามาคุกคามชีวิต ของแต่ละบุคคลอีกทั้งยังเป็นทักษะท่ีช่วยให้บุคคลสามารถปรับตนเองให้เข้ากับส ภาพแวดล้อมได้ อย่างมีประสิทธิผลตลอดจนช่วยเสริมสร้างการดาเนินชีวิตในด้านต่างๆไม่ว่าจะเป็นด้านส่วนตัวด้าน ครอบครวั ด้านสงั คมกลมุ่ เพอ่ื นใหม้ ีความสมบูรณม์ ากยิ่งขึ้น 1.3 องคป์ ระกอบของทักษะชีวติ แม็กซ์เวล (Maxwel. 1981: 7-8) ได้กล่าวถึงองค์ประกอบของทักษะช้ีมาว่าควรมีทักษะที่ จาเป็นใหญๆ่ ดังนี้ 1) ทักษะด้านความรู้ในตนเองและการตระหนักรู้ในตนเอง (Self-Knowledge or Self- Awareness Skils) เป็นส่ิงที่จาเป็นและมีประโยชน์อย่างมหาศาลโดยจะขาดเสียมิไดว้ อย่างเช่นทักษะ ประเมินตนเองหรือการค้นหาข้อดีเละข้อเสียของตนเองในขอบเขตของชีวิตทักษะของการเข้าใจ แรงจูงใจในตนเองความปรารถนาความชอบและการกาหนดเป้าหมายในชีวิตของตนเองอย่างชัดเจน เป็นตน้ 2) ทักษะการมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive Skills) มนุษย์เป็นสัตว์สังคมจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะอยู่ ร่วมกันและใช้ชีวิตร่วมกันดังนั้นทักษะที่จาเป็นในการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ได้แก่ ทักษะการ แสดงออกทางอารมณ์ของตนทักษะการสอ่ื สารอย่างมีประสทิ ธิภาพทักษะการเขา้ ใจอารมณ์ของบุคคล อ่ืนทักษะในการตีความในแรงจูงใจของบุคคลอ่ืนทักษะการกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสมทักษะการ ตอ่ ตา้ นความทตั ตันจากสงั คมและทกั ษะการฟังอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 3) ทักษะการแก้ปัญหา (Problem-Solving Skills) ชีวิตของมนุษย์ในแต่ละช่วงวัยจะต้อง เผชิญกับความซับซ้อนทางสังคมท่เี กิดข้ึนดังน้นั ทักษะการแก้ปญั หาจึงจาเปน็ และมีความสาคัญในการ ดารงชีวติ ไม่ว่าจะเป็นทักษะการค้นหาข้อมูลทักษะการตัดสินใจทักษะการคิดหาทางเลือกที่เหมาะสม ทักษะการวางแผนท้ังระยะสั้นและระยะยาวซ่ึงทักษะต่าง ๆ จะขึ้นอยู่กับการนาไปประยุกต์กับ ขอบข่ายของชีวิตในด้านแต่ละบุคคลเช่นชีวิตการทางานชีวิตการเรียนชีวิตครอบครัวและชีวิตส่วนตัว ของการใช้เวลาว่างเปน็ ตน้ กัสด้า, ชิลเดอร์และบรูค (Gazda, Chides; & Brooks. 1987: 212) ไดจ้ ัดประเภทต่างๆของ ทักษะชีวิตไว้มากกวา่ 300ทักษะโดยสามารถรวมเป็นองค์ประกอบใหญ่ๆได้แก่ 1 ) ทั ก ษ ะ ด้ า น ม นุ ษ ย์ สั ม พั น ธ์ แ ล ะ ก า ร ส่ื อ ส า ร ร ะ ห ว่ า ง บุ ค ค ล ( Interpersonal Communication and Human Relations Skis) ประกอบด้วยทักษะที่จาเป็นคือการส่ือสารที่มี ประสิทธิภาพท้ังภาษาพูดและภาษาท่าทางกับบุคคลอ่ืนการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคลอืน่ การที่มี ส่วนร่วมและเป็นส่วนหน่ึงของกลุ่มและชุมชนการจัดการในเรื่องความใกล้ชิดกับบุคคลอื่นการแสดง ความคิดเห็นและความคิดได้อย่างชัดเจน ยุวดี เฑียรฆประสิทธ์ิ (2548: 42-43) ได้กล่าวไว้ว่า พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่นจะเป็นวัยท่ีมีความเข้าใจในตนเองและผู้อื่นไดม้ ากขึ้นเข้าใจอากัปกิริยา และการแสดงออกของผู้อ่ืนได้อย่างรวดเร็วมีความสามารถในการตดิ ต่อส่ือสารให้ผู้อ่ืนรับรู้และเข้าใจ ความคิดของตนได้มีทักษะทางภาษาเพิ่มขึ้นรู้จักสรุปใจความสาคัญแสดงความคิดเห็นและความ เช่ือถือของตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจได้รู้จักส่วนร่วมมากข้ึนในการติดต่อกับผู้อื่นรู้จักรับฟังและมีสมาธิใน การฟงั มาก

3 2) ทักษะด้านการตัดสินใจและการแก้ปัญหา (Problem Solving and Decision Making Skills) ประกอบด้วยทักษะท่ีจาเป็นคือการค้นหาข้อมูลการวิเคราะห์และประเมินข้อมูลการประเมิน ปญั หาการจดั การปัญหาการระบุปญั หาและการแก้ปัญหาการกาหนดเป้าหมายการคาดการณ์และการ วางแผนอย่างเป็นระบบการบริหารเวลาการคิดอย่างมีวิจารณญาณและประการสุดท้ายคือการ แก้ปญั หาความขัดแย้ง 3) ทกั ษะการดแู ลรักษาสุขภาพและร่างกาย (Physical Fitness and Health Maintenance Skils) ประกอบด้วยทักษะที่จาเป็นคือการดูแลเร่ืองการรับประทานอาหารการควบคุมน้าหนักการ ออกกาลังกายการเล่นกีฬาการเข้าใจด้านจิตสังคมมุมมองเก่ียวกับเร่ืองเพศการบริหารความเครียด และการเลอื กปฏบิ ัติในกจิ กรรมเวลาวา่ ง 4) ทักษะด้านการพัฒนาเอกลักษณ์และจุดมุ่งหมายในชีวิต (lderetty Development and Purpose in Life Skills) ประกอบด้วยทักษะที่จาเป็นคือการพัฒนาเอกลักษณ์ส่วนตัวการตระหนักรู้ ในอารมณ์ตนเองการกากับดูแลตนเองการรักษาไว้ซึ่งความมีคุณค่าในตนเองการพัฒนาบทบาททาง เพศการพฒั นาความหมายของชวี ติ และการทาความกระจา่ งชัดในคา่ นิยมและคณุ ธรรม แมนกรูก้า, วีทแมนและโพสเนอร์ (Mangruiar, Whitman: 8 Posner. 2001: 22) ได้ศึกษา เกีย่ วกบั วธิ กี ารพฒั นาทกั ษะชวี ติ ในเดก็ และวัยรุ่น องคป์ ระกอบสาคัญของโปรแกรมการพัฒนาทกั ษะชวี ติ ไว้ง3องคป์ ระกอบคอื 1) องค์ประกอบทักษะทางสังคม (Soi Suk) ประกอบดว้ ยทักษะการส่ือสารทักษะการปฏิเสธ และเจรจาต่อรองทักษะการแสดงออกอย่างเหมาะสมทักษะระหว่างยุคล (การพัฒนาสัมพันธภาพท่ีดี ทกั ษะการให้ความรว่ มมีทกั ษะการเหน็ อกเห็นใจ 2) องค์ประกอบทักษะทางความคิด (Cognitive Skis) ประกอบดว้ ยทักษะการแก้ปัญหาและ การตดั สนิ ใจการเข้าใจผลท่จี ะเกิดข้ึนของการกระทาการกาหนดทางเลอื กในการแก้ปัญหา 3) องค์ประกอบทักษะการเผชญิ ทางอารมณ์ (Emotional Coping Skills) ประกอบด้วยการ จดั การความเครียดการจดั การกับความรู้สึกรวมถึงความโกรธทกั ษะสาหรบั การเพ่ิมการควบคมุ ภายใน ตนเองการบริหารจัดการและดูแลตนเองทักษะท้ังสามองค์ประกอบดังกล่าวเป็นทักษะท่ีมี ความสัมพนั ธก์ ันหรืออีกนัยหนึ่งคือแต่ละทักษะน้ันมิไดไ้ ม่ได้ออกจากกันเละเป็นส่วนท่ีรวมกันส่งเสริม ทาใหเ้ กิดทักษะชีวิตทส่ี มบูรณใ์ นการดารงชีวิต กรมสุขภาพจิต (2543: 1) ได้เสนอไว้ว่าความคิดวิเคราะห์วิจารณ์เป็นความสามารถท่ีจะ วิเคราะห์แยกแยะข้อมูลข่าวสารปญั หาและสถานการณ์ตา่ งๆรอบตัวท้ังน้ีอาจเป็นเพราะผู้ท่ีมีแรงจูงใจ ใฝ่สัมฤทธ์ิจะมีลักษณะที่ต้องการจะทางานให้ดีกว่าผู้อ่นื หรือดีกว่าเดมิ มีความตงั้ ใจและความพยายาม ทางานอย่างเต็มความสามารถโดยไม่ท้อถอยสามารถคิดวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลข่าวสารปัญหาและ สถานการณ์ต่างๆอย่างมีหลักเกณฑ์เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่สมเหตุสมผลตลอดจนสามารถคิดออกไปได้ อย่างกว้างขวางมีความคิดแปลกใหม่เพ่ือนาไปพิจารณาสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในการเชื่อมโยงข้อมูล ตา่ งๆโดยนามาใชใ้ นชีวิตประจาวันได้ องค์การอนามัยโลก (World Health Organization. 1993: Web Site) ได้กล่าวถึงทักษะ ชีวิตไว้ว่าทักษะชีวิตจะมีความแตกต่างกันไปข้ึนอย่กู ับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมซึ่งจาเป็นจะต้อง วเิ คราะห์ชดุ ของทักษะหลักตา่ ง ๆ ที่จะช่วยส่งเสริมสนบั สนนุ ชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดี (Well Being) และ การปฏิบัติหน้าที่ทางสังคม (Social Functioning) ดังนั้นชุดของทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็นต่อทักษะชีวิต ได้แก่การสร้างการตัดสินใจการแก้ปัญหาความคิดสร้างสรรค์การคิดอย่างมีวิจารณญาณการส่ือสาร

4 อยา่ งมีประสิทธภิ าพการสรา้ งความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคลการตระหนักรู้ในตนเองความสามารถในการ เห็นอกเห็นใจผู้อ่ืนการเผชญิ กับอารมณ์และการจัดการความเครยี ด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (2554: 2) ได้กาหนดองค์ประกอบทักษะชีวิต สาคัญที่จะเพิ่มภูมิคุ้มกันให้กับเด็กในสภาพสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงและเตรียมความพร้อมสาหรับ การปรบั ตัวของผู้เรียนในอนาคตไว้ 4 องค์ประกอบดงั น้ีคือ 1) การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่ืนหมายถึงการรู้ความถนัดความสามารถ จุดเด่นจุดด้อยของตนเองเข้าใจความแตกต่างของแต่ละบุคคลรู้จักตนเองยอมรับเห็นคุณค่าและ ภาคภูมิใจในตนเองและผู้อืน่ มีเปา้ หมายในชีวิตและมีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม 2) การคิดวิเคราะห์ตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์หมายถึงการแยกแยะข้อมูล ข่าวสารปัญหาและสถานการณ์รอบตัววิพากษ์วจิ ารณ์และประเมินสถานการณ์รอบตวั ด้วยหลักเหตุผล และข้อมูลที่ถูกต้องรับรู้ปัญหาสาเหตุของปัญหาหาทางเลือกและตัดสินใจในการแก้ปั ญหาใน สถานการณต์ ่าง ๆ อย่างสรา้ งสรรค์ 3) การจัดการกับอารมณ์และความเครียดหมายถึงความเข้าใจและรู้เท่าทันภาวะอารมณ์ของ บุคคลรู้สาเหตุของความเครียดรู้วิธีการควบคุมอารมณ์และความเครียดรู้วิธีผ่อนคลายหลีกเล่ียงและ ปรับเปล่ียนพฤติกรรมท่กี ่อให้เกดิ อารมณไ์ มพ่ ึงประสงคไ์ ปในทางท่ดี ี 4) การสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อ่ืนหมายถึงการเข้าใจมุมมองอารมณ์ความรู้สึกของผู้อื่นใช้ ภาษาพูดและภาษากายเพ่ือส่ือสารความรู้สึกนึกคิดของตนเองรับรู้ความรู้สึกนึกคิดและความต้องการ ของผู้อื่นวางตัวได้ถูกต้องเหมาะสมในสถานการณ์ต่าง ๆ ใช้การสื่อสารที่สร้างสัมพันธภาพที่ดีสร้าง ความร่วมมือและทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุขจากแนวความคิดเก่ียวกับองค์ประกอบของ ทักษะชีวิตท่ีกล่าวมาผู้วิจัยได้ใช้องค์ประกอบทักษะชีวิตตามแนวคิดของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 4 องค์ประกอบเนื่องจากเป็นภมู ิคุ้มกันชีวิตให้แก่เด็กและเยาวชนในสภาพสังคม ปัจจุบันและเตรยี มพรอ้ มสาหรบั การใช้ชีวิตในอนาคต 1.4 กจิ กรรมและการสอนเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวิต ความสามารถท่ีเป็นทักษะชีวิตเป็นสิ่งท่ีมนุษย์พัฒนาขึ้นจากประสบการณ์และการฝึกอบรม ซงึ่ เกดิ ข้ึนในวงจรของชวี ิตประจาวันในสังคมโดยการปะทะหรือมีปฏิสมั พันธ์กับพ่อแม่พนี่ อ้ งเพื่อนและ ผู้ใหญ่ในชุมชนดังนั้นแหล่งที่มาของทักษะชีวิตของเยาวชนเท่าที่เคยมีมาอาจจาแนกเป็น 3 แหล่ง ใหญ่ๆ คอื (เกรียงไกรลีลาพนาสวสั ดิ์ 2553) 1) บ้านหรือครอบครัว ได้จากการใช้ชีวิตประจาวันร่วมกับบุคคลในครอบครัวและได้รับการ ถ่ายทอดหล่อหลอมจากการฟังนิทานนิยายท่ีผู้ใหญ่เล่าให้ฟังได้แบบอย่างจากการสนทนาและ ปฏิบัตกิ ารงานอาชีพปกติของผู้ใหญ่ไดจ้ ากการชว่ ยทางานเช่นทางานบ้านดแู ลสัตวเ์ ล้ียงและเล้ียงน้อง เปน็ ต้น 2) ชุมชนได้จากการร่วมกิจกรรมในชุมชน ได้ความคิดและแบบอย่างจากการปฏิบัติของ ผู้ใหญ่ในชมุ ชนและดแู ลแบบอย่างจาก การละเล่นพนื้ เมือง เกม งานประเพณี เล่นกับเพื่อน ๆ พบปะ สนทนากบั บคุ คลตา่ งกลมุ่ ต่างวยั โดยไม่มีภาวะกดดันเปน็ ต้น

5 3) โรงเรียน ได้จากการฝึกอบรม จากกระบวนการเรียนการสอนทั้งในและนอก หลักสูตรโดย เฉพาะท่ีมีการสอดแทรกในวิชาวรรณคดี นิทาน บทเรียนวิชาภาษา การแนะแนว กิจกรรม เสริม หลักสูตร และการอบรมบ่มนิสัย สามารถนาไปพัฒนากิจกรรมพัฒนาทักษะชวี ิตให้กับ กลุ่มเป้าหมาย โดยแบง่ ได้เปน็ 2 ส่วน ดงั น้ี 3.1) ทักษะชีวิตทั่วไป คือ ความสามารถพื้นฐานท่ีใช้เผชิญปัญหาปกติใน ชีวิตประจาวันเช่น ความเครียด สขุ ภาพ การคบเพ่ือน การปรับตัว ครอบครวั แตกแยก การบริโภค อาหาร ฯลฯ 3.2) ทักษะชีวิตเฉพาะ คือ ความสามารถที่จาเป็นในการเผชิญปัญหาเฉพาะ เช่น ยาเสพติด โรคเอดส์ ไฟไหม้ นา้ ท่วม การถูกล่วงละเมดิ ทางเพศ ฯลฯ เม่ือพิจารณาจากแหล่งที่มาของทักษะชีวิตในเยาวชนน้ันเห็นได้ว่าการสอนทักษะชีวิต ก็เหมือนกับ ทักษะโดยทั่วไปที่มีอยู่ในชีวิตประจาวัน 2 และเป็นส่ิงท่ีสามารถฝึกให้เกิดเป็นทักษะได้ การพัฒนา ทักษะชีวิต เป็นส่ิงจาเป็นที่ต้องพัฒนาอย่างเป็นกระบวนการต่อเนื่อง และสํม่าเสมอจน ตลอดชีวิต เพ่ือให้เกิดความสามารถในการดารงชีวิตได้อย่างเป็นสุข และมีคุณค่าท้ังต่อตนเองผู้อื่นต่อชุมชนต่อ สงั คมท่เี รม่ิ ต้นจากครอบครวั จนตลอดถงึ สังคมโลก World Health Organization (1999) สรุปจากการประชุม กรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผู้มีส่วนร่วมในการ จัดการศึกษาเพื่อ พัฒนาทักษะชีวิต ว่าจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตมีลักษณะที่หลากหลาย เป็นลักษณะของ การศึกษาที่ควรจัดผ่านการดาเนินชีวิตประจาวันในโรงเรียนให้กับเด็ก ซึ่งทกั ษะชีวติ สามารถออกแบบ ให้สอดคล้องกับหลักสูตรต่างๆ ได้เป็นอย่างดี สามารถสอนแยกเป็นวชิ าหรือบูรณาการร่วมกับวิชาอ่ืน ก็ ได้ การพฒั นาทกั ษะชีวติ มีลักษณะความเป็นพลวัตและเป็นกระบวนการที่ต้องอาศยั ความรว่ มมือกัน ในการจัดการเรียนรู้จึงควรให้โรงเรียนได้มีส่วนร่วมกับเด็กหรือเยาวชน พ่อแม่ผู้ปกครอง และชุมชน ท้องถิ่นร่วมกันตัดสินใจ เนลสันโจน์ (Nelson-Jones. 1997) ได้กล่าวถึงปัจจัยท่ีช่วยส่งเสริมและ สนับสนุนทักษะชีวิตของบุคคลว่ามีปัจจัยที่มีอิทธิผลต่อการมีทักษะชีวิตที่เข้มแข็งและอ่อนแอหลาย ปัจจยั ดงั นี้ 1) สัมพันธภาพที่ให้การสนับสนุน (Supportive Relationships) ไม่ว่าบุคคลจะอยู่ในช่วง อายุใดก็ตามจะเกิดความสุขและสามารถดาเนินชีวิตได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ หากบุคคลนั้นรูส้ ึกว่ามีคน ไว้วางใจเขา โรเจอร์ (Nelson-Jones. 1997; citing Roger. 1959) ได้ให้ความสาคัญและเน้นเป็น อย่างย่ิงกับสัมพันธภาพที่ให้การสนับสนุนไม่ว่าจะเป็นการให้ความเคารพ ความจริงใจ ความเข้าใจ และเห็นอกเห็นใจต่างๆ ดังน้ันปัจจัยด้านสัมพันธภาพที่ให้การสนับสนุนจะช่วยพัฒนาทักษะชีวิตกับ บุคคลได้ทง้ั นี้สัมพันธภาพท่ีสนับสนุนจะกอ่ ให้บุคคลจะเกิดความรสู้ ึกปลอดภัยในการสารวจพฤติกรรม และการเรียนรู้ท่ีผิดพลาดต่าง ๆ ของตนอีกท้ังยังช่วยให้บุคคลรับฟังตัวเองมากขึ้นมีความรู้สึกภูมิใจมี ความเข้าใจในตน เองท่ีลึกซ่ึงสามารถเกิดการสัมผัสกับความต้องการที่แท้จริงของตนเอง ตลอดจน ความตอ้ งการของชวี ติ ตนเองได้ 2) การเรียนรู้จากตัวอย่าง (Learning from Example) การเรียนรู้จากตัวอย่างเป็นวิธีท่ี สาคัญวิธีหนึ่งในการช่วยให้บุคคลได้มาซึ่งทักษะชีวิต การเรียนรู้จากตัวอย่างอาจส่งผลกระทบต่อ ทักษะชีวิตท่ีดีและไม่ดีได้ เด็กและวัยรุ่นจะเรียนรู้ท่ีจะแสดงความคิด ความรู้สึกและพฤติกรรมจาก ตัวอย่างรอบๆ ตวั เช่น เด็กท่ีมีพ่อแม่ท่ีขาดการแสดงออกทางอารมณ์ จะทาให้เด็กขาดโอกาสสาหรับ การสังเกตวิธีการของการแสดงออกทางอารมณ์ได้ หรือถ้าพ่อแม่/บุคคลอื่นๆรอบๆตัวเด็ก มีการคิด รสู้ ึก และพฤติกรรมท่ีขาดประสิทธภิ าพ เช่น การตาหนิ ด ด่า หรือมีการแสดงออกท่ีเกนิ จริง จะทาให้ เด็กมี พฤติกรรมเช่นน้ันตามไปด้วย ในทางตรงกันข้ามถ้าเด็กได้เรียนรู้จากตัวแบบท่ีดีของพ่อแม่หรือ

6 บุคคลท่ี มีความสาคัญสาหรับเด็ก (กลุ่มเพื่อน ครู พี่น้อง ญาติ และสื่อ) ก็จะทาให้เด็กมีทักษะชีวิตที่ เข้มแข็งใน ด้านความคดิ ความรู้สกึ และพฤตกิ รรม 3) การเรียนรู้จากผลที่ตามมา (Learning from Consequences) การเรียนรู้ทักษะชีวิตจาก การสงั เกตตวั แบบเปน็ การผสมผสานของการเรียนรู้ผลที่ตามมาทงั้ ดีและไมด่ ี บคุ คลจะรับร้ผู ลที่เกดิ ข้ึน ตามมาด้วยวิธี 2 วิธี คือ การเรียนรู้แบบวางเง่ือนไข (Classical Conditioning) และการเรียนรู้จาก การปฏบิ ตั ิ (Operant Conditioning) ผลที่เกดิ ข้ึนท่ีดีจะช่วยให้บคุ คลไดม้ าซึ่งทกั ษะชีวติ 4) การสั่งสอน และการสอนตนเอง (Instruction and Self-Instruction) การส่ังสอนเป็น ปจั จัยหน่ึงท่ีช่วยให้บุคคลเกิดทักษะชีวิต การสอนทักษะชีวิตเกิดขึ้นอย่างไม่เป็นทางการในครอบครัว เช่น คาสั่งของทักษะชีวิตพื้นฐานที่เกิดขึ้นในครอบครัวได้แก่ การขอร้องให้ลูกหรือเด็กทาบางส่ิง บางอย่าง โดยมีการส่ือสารว่า “ได้โปรด” หรือ “ขอบคุณ” สิ่งเหล่าน้ีเป็นทักษะชีวิตพ้ืนฐานในด้าน การ สั่งสอนท่ีเริ่มต้นจากครอบครัว ทาให้เด็กเรียนรู้ที่จะสร้างสัมพันธ์กับบุคคลอ่ืน ๆ ภายนอก ครอบครวั ได้ การสงั่ สอนสามารถเป็นสิง่ ท่ดี แี ละเป็นสิ่งที่ไม่มีคุณคา่ ได้ เช่น เมื่อบุคคลเกดิ การตอ่ ต้านผู้ สั่งสอน หรอื ผู้ ส่งั สอนบางคนเนน้ ด้านการพดู คุยมากกวา่ การทจ่ี ะบอกบุคคลวา่ จะต้องทาอะไร 5) ข้อมูลข่าวสารและโอกาส (Information and Opportunity) บุคคลต้องการข้อมูล ข่าวสาร ท่ีพอเพียงต่อการที่จะพัฒนาทักษะชีวิตเช่น การให้ข้อมูลเกี่ยวกับการป้องกันโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ นอกจากน้ีเด็ก วัยรุ่น และผู้ใหญ่มีความต้องการเช่นเดียวกันในเร่ืองของโอกาสท่ีจะ ทดสอบและพฒั นา ทกั ษะชีวติ 6) ความวิตกกังวลและความเช่ือมั่น (Anxiety and Confidence) เด็กๆ จะเจริญเติบโต ภายใตป้ ระสบการณท์ ี่ดแี ละไม่ดสี าหรับการพัฒนาความภาคภมู ิใจในตนเองระดับความวิตกกังวลจะมี ความสัมพันธ์กับการป้องกันการต่อต้านจากอันตรายและแรงจูงใจของตนเองเก่ียวกับความสาเร็จท่ี เป็นจริง ผลของพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสมมีความสัมพันธ์กับความวิตกกังวล ซ่ึงความวิตกกังวลในที่นี้ รวมถึงความไม่เต็มใจ ความตึงเครียด ความตื่นเต้น การเรียนรู้โดยไม่ผ่อนคลายความตึงเครียด หรือ ท้ังการขาดความมุ่งม่ันพยายาม อย่างไรก็ตามบุคคลท่ีจะเรียนรู้ทักษะชีวิตหรือทักษะในการ เองได้ดี จะต้องมีทักษะของการจัดการความวติ กกังวล การฝึกทักษะชีวิตจะทาให้บุคคลมี ในตนเองและสังคม เพิ่มมากขึ้น เช่น การมีความเชื่อมั่นในตนเอง (Self Confidence) การรู้สึกมีคุณค่าแห่งตน (Self Esteem) การมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น ( Interpersonal Relationship) มี ความสามารถในตนเอง (Self Empowerment) และประการสาคัญ คือความสามารถในการพัฒนา ทักษะท่ีมีความซับซ้อน (Complex Skills) หลายๆทักษะ เช่น การต้านทานแรงกดดันจากกลุ่มเพ่ือน (Peer Pressure Rrsistance) การประเมินความเส่ียง ( Risk Assessment) การต่อรองแลกเปล่ียน (Negotiation) การยืนหยัดตั้งมั่น (Assertiveness) การแก้ปัญหาความคับข้องใจ (Confict Resolution) การสร้าง เครือข่ายสนับสนุนทางสงั คม ( Establishing Social Support Network) การจดั การกับ ความเครียด (StressManagement) ภาวะผู้นา (Leadership) การจัดการและเผชิญต่อความทุกข์ยาก (Coping with Adversity) (กนกวรรณ สินรัตน์, 2552; อ้างอิงจาก รัตนา ดอกแก้ว 2539) นอกจากนี้ ธีระชัย ยทุ ธยรรยง (2545) ไดก้ ล่าวถงึ วธิ ีการต่าง ๆ ในการฝกึ ทักษะชวี ติ ของเดก็ และเยาวชน ดังนี้ 1) การระดมสมอง เป็นเทคนิคท่สี ร้างสรรค์ท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ ความคิดและคาแนะนาจากบุคคล โดย มีการใช้คาถามเป็นตัวเราให้บุคคลในกลุ่มแนะแนวคาตอบ ทั้งนี้การระดมสมองเป็นการให้โอกาส สมาชกิ ทุกคนในกลุ่มคิดโดยปราศจากการวิพากษ์วิจารณ์

7 2) การแสดงบทบาทสมมติ เป็นการแสดงบทบาทตามสถานการณ์ตัวอย่างที่กาหนดขึ้น บทบาทสมมติจะมีรูปแบบสถานการณ์ที่หลากหลาย ซ่ึงทาให้ผู้เรียนได้แสดงบทบาทดว้ ยการใช้ทักษะ การดาเนินชีวิตตามที่ผู้ฝึกหรือผู้สอนดาเนินการจัดกิจกรรมโดยไม่มีการซ้อมล่วงหน้า เพ่ือให้ผู้เรียน เข้าใจลึกซึ้งในเรื่องท่ีเรียนเป็นจะต้องให้ผู้เรียนได้แสดงออกตามที่ตนคิดอย่างเป็นธรรมชาติ และ ถือเอา การแสดงออกทั้งความรู้สึกและพฤติกรรมของผู้แสดงมาเป็นข้ออภิปรายเพ่ือการเรียนรู้ เป็น การฝึกให้ผู้เรียนได้ประสบกับสถานการณ์จริงในสภาพของการสมมติข้ึนมาเพื่อฝึกให้ผู้เรียนไดท้ ดลอง เรียนรู้ปรับพฤติกรรมของตนอย่างมีประสิทธิภาพในสภาวะต่างๆ ตลอดจนนาประสบการณ์ท่ีมีมาใช้ ในสถานการณท์ ต่ี า่ งกนั 3) การเรียนรู้จากแม่แบบ เป็นวิธีการท่ีให้บุคคลเรียนรู้ จากแม่แบบไปใช้ในการปฏิบัติได้ อย่างมีประสิทธิภาพด้วยการกาหนดพฤติกรรมท่ีจะต้องสังเกตอย่างชัดเจนไม่ซับซ้อนแม่แบบต้องมี ลักษณะน่าสนใจเหมาะสมมีการให้แรงเสริมและสิ่งเร้าท่ีมีความแตกต่างควบคู่กันไปตลอดจนมีการ ฝึกฝนและให้ข้อมูลย้อนกลับแก่แม่แบบสาหรับการคัดเลือกแม่ แบบต้องคานึงถึงข้อคิดและข้อจากัด บางประการของวธิ ีการใหแ้ มแ่ บบ เพราะมิฉะน้ันจะทาให้เสยี เวลาในการทดลองโดยเปล่าประโยชน์ 4) การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เป็นเทคนิคที่บุคคลหาวิธีการจัดการกับปัญหาใน ชีวิตประจาวันเพื่อให้สามารถปรับตัวและดาเนินชีวิตให้เข้ากับสังคมได้ ด้วยการจัดประสบการณ์ใน แต่ละขนั้ ตอนของการแก้ปญั หา ซ่งึ มีข้ันตอนตา่ ง ๆ ตามกระบวนการต่อไปนี้ 4.1) ขน้ั ที่ 1 การระบุปัญหาและวางเปา้ หมายที่จะแกไ้ ข 4.2) ขน้ั ท่ี 2 การหาแนวทางสารองหลายๆ วธิ เี พอ่ื ดาเนินสูเ่ ป้าหมาย 4.3) ขน้ั ที่ 3 การประเมินและตดั สินทางเลือกทางท่ดี แี ละเหมาะสมที่สดุ 4.4) ขั้นท่ี 4 การดาเนินวิธแี ก้ปัญหาตามทางเลอื กท่เี ลือกไว้ 4.5) ขน้ั ท่ี 5 การตดิ ตามผลตามวิธกี ารท่ปี ฏบิ ัติ 5) การใช้เหตุผล เป็นการให้บุคคลใช้เหตุผลในการเลือกท่ีจะกระทาหรือเลือกท่ีจะไม่กระทา พฤติกรรม เหตุผลท่ีกล่าวถึงน้ีจะแสดงให้เห็นเหตุจูงใจหรือแรงจูงใจที่อยู่เบ้ืองหลังการกระทาต่าง ๆ ของบุคคล โดยเฉพาะถ้าเป็นการใชเ้ หตุผลเชงิ จรยิ ธรรม โดยสามารถแบ่งเหตผุ ลได้เปน็ 2 ประเภท คอื 5.1) เหตุผลแบบอุปนัยหรือปรนัย (Inductive Reasoning) หมายถึง ความสามารถสรุป ความคิดหรือหลักการจากส่ิงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน ทั้งที่เกิดขึ้นกับตนเองและเกิดขึ้นกับบุคคล อน่ื ๆ แลว้ นามาประพฤติปฏบิ ัติได้ เพอื่ ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ รูปความคิดในเชิงนามธรรม 5.2) เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning) หมายถึง ความสามารถท่ีจะดึงหลักการ ทั่วๆ ไป หรือกฏข้อบังคับท่ีมีหลักไว้สาหรับเป็นแนวในการประพฤติปฏิบัติ เช่น หลักปรัชญา คาส่ัง สอน สุภาษิต เปน็ ตน้ 6) การให้กาลังใจ เป็นวิธีหน่ึงท่ีช่วยให้บุคคลมีพลังในการกระทาส่ิงใดๆก็ตาม โดยผู้ฝึกหรือ ผู้สอนจะต้องพยายามให้กาลังใจ กระตุ้นให้บุคคลเกิดความเชื่อมั่น พงษ์พนั ธ์ พงษ์โสภา (2544 122) กล่าวถึงลักษณะของผู้มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิสูงจะทางานอย่างมีหลักเกณฑ์เป็นขั้นตอนและมีการ วางแผน ชอบยกเหตุผลมาประกอบคาพูดอยู่เสมอ มีการแสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์ต้องการทา งานให้ดีที่สุดโดยเน้นถึงมาตรฐานท่ีดเี ลิศของความสาเร็จอีกท้ังเป็นผู้ท่ีมีความพอใจ มีการยอมรับเข้า ไปมีส่วนร่วมในสภาพแวดล้อมของมหาวิทยาลัย ปฏิบัติตามกฏ ระเบียบ การเรียนการสอน สามารถ เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆรวมท้ังมีสัมพันธภาพท่ีดีระหว่างเพื่อนและอาจารย์ผู้สอนทาให้สามารถจัดการ กบั เหตุการณร์ อบตวั และเตรียมพรอ้ มสาหรบั อนาคตไม่วา่ จะเปน็ เร่อื งชวี ิตครอบครัว สิง่ แวดลอ้ ม ฯลฯ

8 7) การต้ังเป้าหมาย เป็นวิธีการท่ีช่วยให้บุคคลสามารถกาหนดเป้าหมายส่วนตัวที่ชัดเจน แนน่ อน รู้วธิ ีปฏิบัติเพอื่ ความเปลยี่ นแปลงทสี่ รา้ งสรรค์ 8) การพิจารณาสร้างค่านยิ ม คุณค่าตนเอง ความรัก ความเข้าใจ เปน็ เข้าใจในเร่ืองของความ เชื่อตา่ งๆในเหล่านน้ั เปน็ อย่างไร 9) การสร้างภาพตนเองในทางบวก เป็นวิธกี ารที่ชว่ ยใหบ้ ุคคลมองตนมองตนเองวา่ เปน็ คนเกง่ และมี มารถ โดยการคิดหรือจินตนาการว่าตนเองมีความสามารถในการกระทาหรือปฏิบัติกิจกรรม มันๆ ได้สาหรับหลักการจัดกิจกรรมและการสอนเพ่อื พัฒนาทักษะชีวิต ซ่ึง วนิดา ขาวมงคล เอกแสง ศรี (2546) ไดข้ ยายความไว้ดังน้ี อย่างชดั เจนทีส่ ามารถวดั และประเมนิ ผลได้ 1) กาหนดวัตถปุ ระสงค์และแนวการสอนรวมท้ังการจดั กจิ กรรมที่เนน้ ในด้านการปฏบิ ัติ 2) จัดกิจกรรมการสอนท่ีเหมาะสมกับวัยและวุฒิภาวะ ความสนใจ ความถนัด และ ความสามารถของผู้เรียนตามหลักจิตวิทยาการศึกษา และภูมิหลังหรือสภาพที่สอดคล้องกับความเป็น จรงิ ในชีวติ ของผู้เรียน 3) ใชก้ ระบวนกลุ่ม และกระบวนการเรียนรู้ ที่มีผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลางในการจัด ประสบการณ์ เพือ่ ให้เกดิ การเรยี นรู้และเกิดทกั ษะที่จะนาไปใช้ในการดาเนนิ ชวี ติ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและ ต่อเนื่อง 4) บูรณาการองค์ความรู้กับทักษะชีวิตเพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นคุณค่าของความสาคัญใน สาระ ความรู้ท่มี คี วามจาเปน็ ต่อการพฒั นาทกั ษะชวี ติ อยา่ งต่อเน่อื งตลอดชวี ิต 5) จัดโอกาสให้เกิดความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา พอ่ แม่ ผู้ปกครอง และชุมชน ต่าง ๆ ท่ี เก่ียวข้อง เช่น การจัดการประชุมในรูปแบบต่าง ๆ ท้ังท่ีเปน็ ทางการและไม่เป็นทางการระหว่าง บ้าน และโรงเรยี น การจดั งานหรือนิทรรศการเกีย่ วกบั ทกั ษะชีวติ ท่เี ป็นท่ีสนใจของบุคคลทวั่ ไป 6) จัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับเวลา สถานท่ี และสอดคล้องกับวิถีชีวิต วิสัยทัศน์ และ ความ เป็นจรงิ ของบคุ คลและเปา้ หมายของสถานศกึ ษานั้น ๆ 7) มกี ารประเมินผลอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเน่อื ง 8) นาผลท่ีประเมินได้จากการจัดการในข้างต้นมาวิเคราะห์วิจัยอย่างเป็นระบบ โดย กระบวนการทีเ่ หมาะสม เพอ่ื ใหเ้ กิดการพัฒนาทักษะชีวิตทอ่ี ยใู่ นระดบั สูงย่ิงขึน้ ตอ่ ไป 1.5 หลักการสอนที่สามารถนามาใช้สอนการพัฒนาทักษะชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไดแ้ ก่ 1) การเรียนการสอนที่เน้นการกระทา (Learning by doing) เป็นการสอนขึ้นพื้นฐานที่ใช้ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ที่ดึงความสนใจผู้เรียนมาในรูปของการเรียนรู้ที่เรียกว่า Active learning โดย ท่ีผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้จากการลงมือกระทาด้วยความสามารถของตนเอง การเรียนการสอนที่ เน้นการกระทาจะกระตุ้นให้ผู้เรียนได้เกิดการพัฒนาลักษณะนิสัยท่ีสาคัญและจาเป็นต่อการสร้าง ทักษะชีวิตเพื่อการพัฒนาต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การรู้จักตนเอง การรู้จักการทางานเป็น ทีมความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ เปน็ ตน้ 2) หลักการสอนเชิงประสบการณ์ (Experiential learning) เป็นการเรยี นรทู้ ่ีมจี ุดประสงคใ์ ห้ ผเู้ รยี นสร้างความรู้จากประสบการณ์เดิม อาศัยประสบการณเ์ ดิมของผเู้ รียนทาให้เกิดการเรียนรู้ใน ส่ิง ใหม่ที่ท้าทายอย่างต่อเนื่อง เป็นการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) คือ ผู้เรียนต้องทากิจกรรม ตลอดเวลามีการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนและผู้เรียนกับผู้เรียนทาให้เกิดการขยายองค์ ความรู้ที่ผู้เรียนทาให้เกิดการขยายองค์ความรู้ของผู้เรียนทุกคนกว้างขวางข้ึน เป็นการเรียนท่ีอาศัย

9 การส่ือสารในรูปแบบท่ีหลากหลาย เช่น การพูด อ่าน เขียน ดู ที่ทาให้ง่ายต่อการแลกเปล่ียนความรู้ และการนาไปวิเคราะห์วิจัย สอดคล้องกับงานวิจัยของ Junge, Manglallan and Raskauskas (2003) ท่ี ได้ศึกษาเร่ืองทักษะชีวิตผ่านการมีส่วนร่วมในโปรแกรมการสอนเชิงประสบการณ์และการ เรียนแบบร่วมมือหลังเลิกเรียน โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กตั้งแต่ชั้นอนุบาลถึงเกรด6 ที่ลงทะเบียนใน โปรแกรม 4-H หลังเลิกเรียน ซ่ึงเป็นโปรแกรมท่ีเน้นการสอนเชงิ ประสบการณ์และกิจกรรมการเรียนรู้ แบบร่วมมือและให้โอกาสเด็กได้ปฏิสัมพันธก์ ับผู้ใหญ่ที่มีศักยภาพ พบว่าเดก็ ท่ีลงทะเบยี นมีทักษะชีวติ เพม่ิ ขนึ้ 3) การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นการบูรณาการ (Integrated learning) เป็นการนาเอา สาระการเรียนรู้ต่างๆมาสัมพันธ์ เช่ือมโยงผสมกลมกลืนจนกลายเป็นเร่ืองเดียวกัน ผู้เรียนจะเกิด ความรู้ความเข้าใจในลักษณะท่ีเป็นองค์รวม และสามารถนาความรู้ความเข้าใจประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ หลักการสอนดังกล่าวสอดคล้องกับชบาพันธ์ุศักด์ิ (2550: 29) ที่ได้สรุปว่า หลักการสอนที่ สามารถนามาใช้สอนเพือ่ การพัฒนาทักษะชวี ติ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมลี กั ษณะร่วมกันคอื 1) เน้นการลงมือกระทา 2) ประสบการณ์ตรงในการเรยี นรู้ 3) เนน้ การปฏิสัมพันธท์ ่ีดคี วามร่วมมือระหว่างผู้เรยี นด้วยกันและผเู้ รียนกบั ผสู้ อน 4) เปน็ การบรู ณาการทงั้ เนือ้ หาและกระบวนการ 5) เน้นการวิเคราะห์วิจารณ์ตัดสินใจหาข้อสรุปท่ีเหมาะสมกับการประยุกต์ใช้ใน ชวี ิตประจาวันของเด็ก ทั้งนี้ยังสอดคล้องกับองค์การอนามัยโลก (WHO. 1993) ที่ได้เสนอไวว้ ่าทักษะ ชีวิตจะเกิดการเรียนรู้ท่ีดีที่สุดในการเรียนรู้เชิงปฏิบัติ (Active Learning) วิธีการเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง (Learn Centered Methods) การจะได้ทักษะชีวิตข้ึนมาน้ันข้ึนอยู่กับกระบวนการเรียนรู้ ทางสงั คมโดยใช้กระบวนการกลุ่มจากการสงั เกตการฝึกการใชว้ ิธกี ารในช้ันเรียนอาจรวมทั้งการทางาน กลุ่มย่อยการทางานคู่การระดมพลังสมองการทาบทบาทสมมติการได้วาที่และการอภิปรายและ นอกจากน้ียังสอดคล้องกับคากล่าวของเบญจวรรณกิจควรดี (2552) ที่กล่าวว่ากระบวนการเรียนการ สอนทักษะชีวิตที่อยู่บนฐานการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participation / Learning) สามารถเชอ่ื มโยง ระหว่างสถานการณ์ที่ฝึกและเมื่อเผชิญกับสถานการณ์จริงโดยมหี ลากหลายรูปแบบวิธีการ / กิจกรรม ท้ังฝึกปฏิบัติด้วยตนเองเช่นการระดมสมอง (Brainstorming) การอภิปรายกลุ่ม (Group Disussion) การโตว้ าที (Debate) และการเรียนรู้จากประสบการณ์เชน่ เกม (Garnes) การสาธติ (Demonstrate) การแสดงบทบาทสมมติ (Role Play) การนาทักษะชีวิตมาใช้กับกิจกรรมการเรียนการสอนมี วตั ถปุ ระสงคด์ ังนี้ 1) เพื่อให้รู้จักตนเองเข้าใจตนเองเก่ียวกับความชอบ/ไม่ชอบความสนใจความถนัด ความสามารถคณุ ลกั ษณะสว่ นตัวคา่ นิยมและอารมณ์ 2) เพื่อให้รู้จักผู้อ่ืนเข้าใจผู้อื่นสามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นได้มีความเห็นใจผู้อ่ืน และมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม 3) เพื่อพัฒนาทักษะต่างๆ ที่จาเป็นในการดาเนินชีวิตเช่นทักษะการส่ือสารการตัดสินใจการ แกป้ ัญหาการจัดการเกี่ยวกบั ภาวะอารมณก์ ารจัดการกบั ความเครยี ดเปน็ ต้น

10 ทักษะชีวิตมีความสาคัญต่อความสามารถในการคิดการปรับตัวและการตัดสินใจมี ความสัมพันธ์กับจิตของมนุษย์ 3 ด้านคือด้านการฝึกฝนด้านสติปัญญา (IQ) ด้านอารมณ์ (EQ) และ แรงจงู ใจดา้ นการหล่อหลอมบุคลกิ ภาพในด้านมโนธรรมและคณุ ธรรม (MO) ซึง่ สามารถจาแนกผลของ การฝกึ ฝนทกั ษะชีวติ ได้ดงั นี้ (แววดาวดวงจันทร์, 255) 1) มีความเป็นเลิศทางปญั ญาหรือความเก่งพัฒนาสตปิ ัญญาในดา้ นความจาการคิดหาเหตผุ ล การตัดสนิ ใจการแก้ปญั หาการวเิ คราะห์ปัญหามีความคดิ สรา้ งสรรคเ์ ปน็ ต้น 2) ดารงตนเป็นคนดีมีเจตคติท่ีดีท่ีเกิดจากการเรียนรู้ทางด้านอารมณ์และความรู้สึกของ ตนเองในการอยู่ร่วมกับผูอ้ ่ืนในสงั คม 3) มีความสุขในการดาเนินชีวติ มีความมั่นคงทางจิตใจมีบุคลิกภาพดีมีการปรับตัวมีทักษะใน การส่ือสารกบั ผู้อน่ื เป็นต้น 1.6 การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนเพอ่ื พัฒนาทกั ษะชีวิต กิจกรรมที่เสริมสร้างทักษะชีวิต เปน็ กิจกรรมท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนเป็นผู้ไดร้ ับ ประโยชน์สูงสุดจากการเรียนรู้ซึ่งลักษณะของกิจกรรมที่ผู้เรียนเป็นสาคัญและมีประสิทธิภาพในการ เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ิตผเู้ รียนมลี กั ษณะดังนี้ 1) กิจกรรมท่ีผู้เรียนมีส่วนร่วมค้นพบความรู้หรือสร้างความรู้ด้วยตนเอง ซ่ึงจะทาให้ เกิด ทักษะชีวิต ในด้านการคิดวิเคราะห์ การคิดตัดสินใจและแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เช่น กิจกรรม การเรียนรู้ท่ีให้โอกาสผู้เรียนแสดงความคิดเห็น วิพากษ์วิจารณ์ข่าวสาร เหตุการณ์ สถานการณ์หรือ ประสบการณ์ของผู้เรียน และกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนได้สืบค้นหรือศึกษาค้นคว้า คิดวิเคราะห์ สังเคราะหค์ วามรจู้ ากสื่อต่าง ๆ และแหลง่ เรยี นรู้ทง้ั ภายในและภายนอกสถานศึกษาได้ สะทอ้ นตนเอง เชื่อมโยงกบั ชวี ิตและการดาเนนิ ชวี ติ ในอนาคต 2) กิจกรรมท่ีผู้เรียนได้ทากิจกรรมร่วมกัน ได้ลงมือกระทากิจกรรมลักษณะต่าง ๆ ได้ ประยุกต์ใช้ความรู้ เช่น กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมค่าย กิจกรรมวันสาคัญ กิจกรรมชมรม/ชุมนุม กิจกรรมโครงงาน/โครงการ กจิ กรรมจิตอาสา เป็นต้น กจิ กรรมเหลา่ นี้เป็นกิจกรรม ที่จะทาให้เกดิ การ พัฒนาทักษะชวี ติ ดงั น้ี 2.1) ได้เสริมสร้างสัมพันธภาพและใช้ทักษะการส่ือสาร ได้ฝึกการจัดการกับอารมณ์ และ ความเครยี ดของตนเอง 2.2) ได้รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นทาให้เข้าใจผู้อ่ืน นาไปสู่การยอมรับความคิดเห็น ของ ผู้อื่น ร้จู ักไตรต่ รองทาความเขา้ ใจและตรวจสอบตนเองทาใหเ้ ขา้ ใจตนเองและเห็นใจผูอ้ น่ื 2.3) ได้รับการยอมรับจากกลุ่มได้แสดงออกด้านความคิด การพูดและการทางานมี ความสาเร็จ ทาให้ได้รับคาชม เกิดเป็นความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าตนเองนาไปสู่ความรับผิดชอบ ทง้ั ตอ่ ตนเองและสงั คม 3) กิจกรรมท่ีกาหนดให้มีการอภปิ รายแสดงความรู้สึกนึกคิดและการประยุกต์ ความคิดอย่าง มีประสิทธิภาพหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แตล่ ะคร้ัง ด้วยประเด็นคาถามสะท้อน เช่ือมโยงปรับใช้ เพ่ือให้ผู้เรียนได้เรียนรู้บทเรียนสาคัญ ที่จะพัฒนาและเสริมสร้างทักษะชีวิตให้กับตัว ผู้เรียนได้ ตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น รู้จักการจัดการกับอารมณ์และความเครียด อย่าง เหมาะสมและรู้จักสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อ่ืน รู้จักคิดวิเคราะห์ ตัดสินใจและแก้ปัญหา อย่าง สร้างสรรค์ โดยวิธีการสะท้อน (Reflect) ความรู้สึกและความคิดที่ได้รับจากการปฏิบัติกิจกรรม

11 เชื่อมโยง (Connect) กับประสบการณ์ในชีวิตที่ผ่านมาหรือท่ีตนเองได้เรียนรู้มาแล้ว เป็นองค์ความรู้ ใหม่ แล้วนามาปรบั ใช้ (Apply) ในชีวติ ประจาวนั ของตนเองทัง้ ในปัจจุบันและอนาคต ดังน้ัน การเสริมสร้างทักษะชีวิตให้กับผู้เรียนในช่วงวัยการศึกษาข้ันพื้นฐานเป็นการสร้างคน ใหม้ ีประสทิ ธิภาพทง้ั ด้านความสามารถภายในและความสามารถภายนอก ความสามารถภายใน หมายถึง ความสามารถท่ีจะจัดการกับปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้น ภายใน ตนเองและระหว่างตนเองกบั ผอู้ ื่น เช่น การตดั สนิ ใจ การแก้ปญั หา การจดั การกับความขดั แยง้ ความสามารถภายนอก หมายถึง ทักษะความชานาญในด้านต่างๆ ซ่ึงเปน็ สิ่งที่เสริมให้บุคคล ดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข และมีความสนุกสนานมากขึ้น เช่น การเรียนร่วมกับเพ่ือน การเล่นเกม การทางาน การแสดงความสามารถพิเศษ อาทิ การขับร้อง การเล่นดนตรี การแสดง นาฏศิลป์ การ สรา้ งงานศิลปะการเลน่ กีฬา การประดิษฐ์ประดอย เป็นตน้ 1.7 การประเมินทกั ษะชวี ติ สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (ม.ป.ป.: 22) กล่าวถึงการประเมินทักษะชีวิตไว้ว่า การประเมินทักษะชีวิต เป็นการประเมินพฤติกรรมรายบุคคล เพ่ือพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนให้มี พัฒนาการที่ดี ตรงความต้องการ ของท้องถ่ินและสังคม โดยการประเมินความสามารถและแนวทาง ในการเผชิญสถานการณ์ต่างๆของผู้เรียนด้วยวิธีการสังเกต การแก้ปัญหาในสถานการณ์ท่ีกาหนดให้ และวิเคราะห์การ เปล่ียนแปลง ความคิด ความเชื่อ การรู้คิด และภูมิคุ้มกันทางปัญญาจากการ สะท้อนความคิด และการ แสดงพฤติกรรมต่อเนื่องหลังการเรียนรู้ ฯลฯ ซ่ึงผู้ประเมินอาจเป็นครู เพ่ือ ผูป้ กครองหรอื ผเู้ รียนเป็นผู้ประเมนิ ตนเอง แนวคดิ การพฒั นาทกั ษะชีวิตในระบบการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐานพทุ ธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานการเรียนรู้ ที่จะชว่ ยให้ผเู้ รียนเกิดสมรรถนะสาคญั 5 ประการ คอื 1) ความสามารถในการส่ือสาร 2) ความสามารถในการคดิ 3) ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ 5) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ เป็นความสามารถในการนากระบวนการตา่ งๆ ไปใชใ้ นการ ดาเนินชีวิตประจาวันการเรียนรู้ด้วยตนเองการเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองการทางานและการอยู่ร่วมกันใน สังคมด้วยการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคลการจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆอย่าง เหมาะสมการปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกเล่ียง พฤติกรรมไม่พงึ ประสงคท์ ีส่ ่งผลกระทบต่อตนเองและผ้อู ่ืน สานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพื้นฐานมีนโยบายและเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในด้านความสามารถและทักษะตลอดจนคุณลักษณะท่ีจะช่วยเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีคุณภาพตาม เป้าหมายของหลักสูตรและมีภูมิคุ้มกันการดาเนินชีวิตผู้เรียนจะต้องมีความสามารถในการปรับตัวต่อ สภาพแวดล้อมทางสังคมที่เปล่ียนแปลงและท้าทายซ่ึงต้องใช้กระบวนการคิดและการตัดสินใจที่ เหมาะสมจึงจะสามารถอย่ใู นสังคมไดอ้ ยา่ งปลอดภัยและมคี วามสุข

12 1.8 การพัฒนาทักษะชีวิตในหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานพทุ ธศักราช 2551 การพัฒนาทักษะชีวิตเป็นกระบวนการเรียนรู้ท่มี ุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองในดา้ นความรู้ทักษะ และเจตคติในการเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่นการคิดวิเคราะห์ตัดสินใจและแก้ไขปัญหาการจัดการ กบั อารมณ์และความเครียดและการสร้างสมั พันธภาพที่ดกี ับผู้อื่นเพ่ือการปรับตัวการปอ้ งกันตนเองใน สถานการณต์ า่ งๆ จดั การกับชีวติ ตนเองไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพซ่งึ สอดคลอ้ งกับเปา้ หมายของหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานพุทธศกั ราช 2551 ทก่ี าหนดใหท้ ักษะชีวิตเปน็ สมรรถนะสาคัญท่ีผ้เู รียน ทุกคนพึงได้รับการพัฒนาโดยสถานศึกษาต้องจัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามตัวชี้วัดมาตรฐาน การเรียนรู้ท้งั 8 สาระการเรียนร้แู ละคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคต์ ามเจตนารมณข์ องหลกั สตู ร ทักษะชีวติ ในสาระการเรียนรู้จาแนกไดเ้ ป็น 2 กลุม่ คือ 1) ทักษะชีวิตท่ัวไป เป็นทักษะพื้นฐานของผู้เรียนในการเผชิญปัญหาปกติในชีวิตประจาวัน เช่นความขัดแย้งทางความคิดการทะเลาะเบาะแว้งการส่ือสารที่ไม่มีประสิทธิภาพการวิพากษ์วิจารณ์ การจาแนกแยกแยะข้อมูลข่าวสารการตัดสินใจเลือกกระทาสิ่งต่าง ๆ การแก้ปัญหาในการดารงชีวิต ประจาวันการคิดวางแผนในการดารงชีวิตประจาวัน ฯลฯ ซึ่งผู้ที่ได้รับการพัฒนาทักษะชีวิตทั่วไปจะ เป็นผู้ท่ีมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์คิดตัดสินใจและแก้ปัญหาไดอ้ ย่างเหมาะสมหรือท่ีเรียกว่ามี ความสามารถในการคิดและการสื่อความหมายทักษะชีวิตท่ัวไปถือเป็นทักษะท่ีเป็นแกนของทักษะ ต่างๆ และเป็นทักษะพื้นฐานของการเกิดทักษะชีวิตองค์ประกอบอ่ืนๆ รวมทั้งความรู้ในเน้ือหาสาระ ต่างๆ อย่างกวา้ งขวางครูผูส้ อนสามารถจดั การเรียนรู้ทส่ี ร้างทกั ษะชีวิตทั่วไปด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่ ผู้เรยี นเป็นสาคัญจากการสอนปกตใิ นชัน้ เรยี นด้วยกระบวนการเรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณ์การเรยี นรู้แบบ มีส่วนร่วมหรือกระบวนการกลุ่มและเทคนิคเกมการศึกษาท่ีให้ผู้เรยี นได้มีการอภปิ รายแสดงความรู้สึก นึกคิดอย่างมีประสิทธิภาพหลังการเสร็จสิ้นจัดกิจกรรมตามจุดประสงค์แตล่ ะคร้ังด้วยประเด็นคาถาม ให้เกิดการสะท้อน (Reflect) การเชื่อมโยง (Connect) การปรับประยุกต์ความคิดและนาไปใช้ (Apply) หลงั จากเสรจ็ สิ้นกิจกรรมการเรยี นรู้ในชว่ั โมงการเรียนปกติเปน็ การบูรณาการหรอื สอดแทรก ทักษะชีวิตในกระบวนการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีอิงมาตรฐานและตัวชีวัดหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 นอกจากนี้ยังพัฒนาทักษะชีวิตทั่วไปผ่านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเช่นกิจกรรมชมรมกิจกรรม การแสดงความสามารถพเิ ศษตา่ ง ๆ การศกึ ษาแหลง่ เรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษาเป็นต้น 2) ทักษะชีวิตเฉพาะเป็นทักษะที่จาเป็นสาหรับใช้ในการเผชิญกับปัญหาในชีวิตท่ี เฉพาะเจาะจงเช่นปัญหายาเสพติดปัญหาเอดส์ปญั หาเพศการต้ังครรภ์ท่ีไม่พร้อมปัญหาการปรับตัวตอ่ ส ภ า ว ะ วิ ก ฤ ต ปั ญ ห า สั ม พั น ธ ภ า พ ท่ี ไ ม่ ดี กั บ เ พื่ อ น แ ล ะ ผู้ อื่ น ผู้ ท่ี มี ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ใ น ก า ร เ ผ ชิ ญ ปั ญ ห า เฉพาะเจาะจงจะเป็นผู้ที่มีความเข้มแข็งทางใจ หรือมีพลังสุขภาพจิต ซึ่งจะช่วยให้สามารถเอาชนะ ปัญหาอุปสรรค ไปส่คู วามสาเรจ็ ท่ตี ้องการ สามารถปรับตัวในสถานการณ์วิกฤตและผ่านพน้ เหตกุ ารณ์ วิกฤตไปได้โดย ไม่เกิดผลกระทบตามมา หรือสามารถฟื้นตัวกลับมาดาเนินชีวิตต่อไปได้อย่างรวดเร็ว ทักษะชีวิตเฉพาะถือว่าเป็นทักษะข้ันสูงที่มีความสาคัญต่อการจัดการกับชีวิตตนเองของผู้เรียน ได้แก่ ทักษะการรู้จัก ตนเอง เหน็ คุณค่าในตนเองและผ้อู ่ืน เช่น การรู้ความแตกต่างระหว่างชายหญิง คุณค่า และศกั ด์ิศรขี องชายหญิง ทักษะการจดั การกับอารมณ์และความเครียด เช่นการคิดท่ีไม่เครียด การคิด เชิงบวก ทักษะการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อ่ืน เช่น ทักษะการปฏิเสธการชวนไปมีพฤติกรรมเสี่ยง ทักษะการใชภ้ าษากายท่สี รา้ งความเขา้ ใจอนั ดตี อ่ กันการพดู สื่อสารทส่ี รา้ งมิตร

13 ทักษะชีวิตเฉพาะสามารถพัฒนาได้ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม กระบวนการ เรียนรู้จากประสบการณ์และการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนเป็นสาคัญท่ีผู้เรียนได้เรียนรู้และสร้างความรู้ด้วย ตนเองร่วมกับกลุ่ม ได้เรียนรู้จากเหตุการณ์สถานการณ์จริงในชีวิตจากส่ือ และแหล่งเรียนรู้ท่ีมี ความหมายกับชีวิตของตนเอง เช่ือมโยงชีวิตและการดาเนินชีวิตของผู้เรียนในปัจจุบันและอนาคต สาระ การเรียนรู้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ที่มีสาระการเรียนรู้ เฉพาะเจาะจงทั้งมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชี้วัดไดแ้ ก่ 1) ทกั ษะชีวิตในสาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ 1.1) สาระการเรยี นร้สู ุขศึกษาและพลศึกษา สาระท่ี 1 การเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย์ มาตรฐาน พ 1.1 เขา้ ใจธรรมชาติของการเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย์ สาระท่ี 2 ชีวติ และครอบครวั มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษาและมีทักษะใน การดาเนนิ ชีวิต สาระท่ี 5 ความปลอดภยั ในชวี ติ มาตรฐาน พ 5.1 ป้องกันและหลีกเล่ียงปัจจัยเส่ียง พฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพ อบุ ัติเหตุ การใชย้ า สารเสพติด และความรนุ แรง 1.2) สาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สาระท่ี 2 หน้าที่พลเมอื ง วฒั นธรรมและการดาเนินชีวติ ในสงั คม มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจและปฏิบัตติ นตามหน้าท่ขี องการเป็นพลเมอื งดี มี ค่านยิ มท่ีดี งามและธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคม โลกอย่าง สนั ตสิ ขุ 1.3) สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย สาระท่ี 3 การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดง ความคิด ความรู้สึกในโอกาสตา่ งๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ 2) ทกั ษะชวี ติ ในกจิ กรรมระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น 2.1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยหลักสูตรกิจกรรมแนะแนวหรือโฮมรูมเกี่ยวกับกิจกรรม เพศศกึ ษา กิจกรรมทักษะชีวติ สารเสพติด เอดส์ ความรนุ แรง การรจู้ ักเข้าใจตนเอง และกิจกรรมตาม องคป์ ระกอบทกั ษะชีวิตในชั่วโมงกจิ กรรมแนะแนว การจดั ค่ายทักษะชวี ิต เป็นตน้ 2.2) สร้างทักษะชีวิตเฉพาะปัญหา เพื่อปรับเปล่ียนพฤติกรรมด้วยการช่วยเหลือ แนะนา (advisory) โดยครทู ่ีปรกึ ษาหรือครปู ระจาชนั้ เป็นผ้ใู ห้คาปรกึ ษาผเู้ รียนเป็นรายบคุ คลตามสภาพปญั หา และความรนุ แรงของปัญหา 2 คน 2.3) การสร้างทักษะชีวิตในเด็กท่ีอยู่ในสภาวะวิกฤต ด้วยการใช้จิตวิทยาการแนะแนวหรือ การให้คาปรึกษา (Counseling) หรืออาจส่งต่อ (refer) กรณีต้องการบาบัดรักษาจากสถานบริการ ทางสาธารณสขุ หรือหนว่ ยงานต่างๆ เชน่ ภาวะวกิ ฤตชวี ติ ติดยาบ้าหรอื การมีพฤติกรรมทางจติ ดังนั้นสถานศึกษาจึงต้องพัฒนาและเสริมสร้างทักษะชีวิตให้ผู้เรียนเกิดการตระหนักรู้ และ เห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่นื คิดวิเคราะห์ตดั สินใจและแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ มีทักษะการจัดการ กับอารมณ์และความเครียด รู้จกั สร้างสัมพนั ธภาพทด่ี ีกบั ผู้อ่ืน

14 ทักษะชีวิตเปน็ ความสามารถทเ่ี กดิ ในตวั ผเู้ รียนได้ด้วยวิธกี ารสาคัญ 2 วธิ ี คือ 1) เกิดเองตามธรรมชาติ เปน็ การเรยี นรู้ทีข่ ึ้นอยู่กับประสบการณ์ และการมีแบบอย่างที่ ดแี ต่ การเรียนรูต้ ามธรรมชาตจิ ะไมม่ ีทิศทางและเวลาท่ีแน่นอน บางครง้ั กว่าจะเรยี นรู้ ก็อาจสายเกนิ ไป 2) การสร้างและพัฒนาโดยกระบวนการเรียนการสอน เป็นการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้ ร่วมกันในกลุ่ม ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่างๆ ได้ลงมือปฏิบัติ ได้ร่วมคิดอภิปรายแสดงความคิดเห็น ได้ แลกเปลย่ี นความคิดและประสบการณซ์ ่ึงกันและกนั ไดส้ ะทอ้ นความรู้สกึ นึกคิดมมุ มอง เชื่อมโยงสู่ วิถี ชวี ิตของตนเอง เพ่อื สรา้ งองค์ความรู้ใหมแ่ ละปรบั ใช้กับชีวิต 1.9 ทักษะชวี ติ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (2554 : 1 - 5) ได้กาหนดองค์ประกอบทักษะ ชีวิตที่สาคัญที่จะสร้างและพัฒนาเป็นภูมิคุ้มกันชวี ิตให้กับเดก็ และเยาวชนในสภาพสังคมปจั จุบัน และ เตรียมพร้อมสาหรับอนาคตไว้ 4 ด้าน พร้อมทั้งพฤติกรรมท่ีคาดหวังและตัวช้ีวัดทักษะชีวิตในแต่ละ ด้าน ดงั นี้ 1) การตระหนักรแู้ ละเหน็ คณุ ค่าในตนเองและผอู้ ืน่ การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น หมายถึง การรู้ความถนัด ความสามารถ รู้ จุดเด่นจุดด้อยของตนเอง เข้าใจความแตกต่างของแต่ละบุคคล รู้จักตนเอง ยอมรับ เห็นคุณค่าและ ภาคภูมใิ จในตนเองและผอู้ นื่ มีเป้าหมายในชีวติ และมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ สังคม พฤติกรรมทกั ษะชวี ติ ท่คี าดหวัง ตัวชวี้ ัด 1) รู้ความชอบ ความถนัด และความสามารถ 1.1) บอกส่ิงที่ตนเองชื่นชอบและภาคภูมิใจ ของ ตนเอง 1.2) แสดงความสามารถของตนเองใหผ้ อู้ นื่ รับรู้ 2) ค้นพบจุดเดน่ จดุ ดอ้ ยของตนเอง 2.1) บอกจดุ เด่นจดุ ด้อยของตนเอง 2.2) เลอื กทากจิ กรรมตามความสนใจของตนเอง 3) ยอมรับความแตกต่างระหว่างตนเองและ 3.1) ยอมรับในความแตกต่างทางกาย ทาง ผู้อื่น ความคิด ความรู้สึก และพฤติกรรมของตนเอง และผอู้ นื่ 4) มองตนเองและผ้อู ่ืนในแง่บวก 4.1) แสดงความรู้สกึ ท่ดี ีตอ่ ตนเองและผอู้ ่นื 5) เคารพสิทธขิ องตนเองและผู้อ่นื 5.1) ใช้สทิ ธขิ องตนเองในโอกาสตา่ ง ๆ 5.2) ไม่ละเมดิ สิทธผิ ู้อนื่ 6) รักและเหน็ คุณคา่ ในตนเองและผอู้ ืน่ 6.1) ช่ืนชมในความสาเร็จของตนเองและผ้อู น่ื 6.2) แสดงความร้สู กึ รกั ตนเองและผอู้ น่ื และสังคม 6.3) ปฏิบัติตนเป็นประโยชน์ต่อครอบครัวและ สงั คม 7) มคี วามภาคภมู ิใจในตนเอง และผูอ้ นื่ 7.1) แสดงออกในสิ่งที่ตนเองภาคภูมิใจอย่าง เหมาะสม 7.2) บอก/บรรยาย/เล่าความดีหรือความ ภาคภมู ิใจของเพื่อนใหผ้ ู้อนื่ รับรู้

15 พฤตกิ รรมทักษะชวี ิตทค่ี าดหวงั ตัวชีว้ ดั 8) มคี วามเชื่อมั่นในตนเองและผู้อนื่ 8.1) กล้าแสดงออกทางความคิด ความรสู้ กึ และ การกระทาของตนเองด้วยความมั่นใจ 8.2) ยอมรับในความคิด ความรู้สึกและการ กระทาทดี่ ีของผอู้ ืน่ 2) การคิดวิเคราะห์ ตดั สินใจ และแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ ตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ หมายถึง การแยกแยะข้อมูล ข่าวสาร ปัญหาและสถานการณ์รอบตัว วิพากษ์วิจารณ์และประเมินสถานการณ์รอบตัวด้วยหลัก เหตุผลและข้อมูลท่ีถูกต้อง รับรู้ปัญหา สาเหตุของปัญหา หาทางเลือกและตัดสินใจในการแก้ปัญหา ในสถานการณ์ต่างๆ อยา่ งสร้างสรรค์ พฤติกรรมทักษะชวี ติ ทีค่ าดหวงั ตัวชีว้ ัด 1) รู้จกั สังเกต ตงั้ คาถาม และแสวงหาคาตอบ 1.1) ต้งั คาถามท่ีนาไปสู่คาตอบทีเ่ ป็นแนวทางใน การแกไ้ ขปญั หาในสถานการณ์ต่าง ๆ 1.2) มีทักษะในการสังเกต และมีแนวทางหา คาตอบ 2) วิเคราะห์ความน่าเช่ือถือของข้อมูลข่าวสาร 2.1) วิเคราะห์จาแนกแยกแยะข้อมูลข่าวสาร ได้ และ สมเหตุสมผล สถานการณ์ต่างๆ รอบตัว ดว้ ยเหตุผลทเ่ี ชอื่ ถือได้ 3) ประเมนิ สถานการณแ์ ละนาไปประยุกตใ์ ช้ 3.1) คาดคะเนความเสี่ยงจากสถานการณ์ท่ี เผชิญใน ในชีวติ ประจาวันอยา่ งมเี หตผุ ล 4) มจี นิ ตนาการและมคี วามสามารถในการคิด 4.1) สรา้ งผลงานและแสดงผลงานที่เกดิ จากการ คิด เชือ่ มโยงและจินตนาการ 5) รู้จักวิพากษว์ ิจารณ์บนพ้นื ฐานของขอ้ มลู 5.1) วิพากษ์วิจารณ์ตามหลักการเหตุผลและใช้ ขอ้ มูล สารสนเทศที่ถกู ต้องสนบั สนุน 6) รู้จักวิธีการและข้ันตอนการตัดสินใจและ 6.1) หลากหลายวิธแี ละตัดสินใจเลือกแก้ปัญหา วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา เลือกแก้ไขปญั หาได้ ด้วย วิธกี ารทถ่ี กู ต้อง เหมาะสมและสร้างสรรค์ แกไ้ ขปญั หาทถ่ี ูกต้อง

16 3) การจดั การกบั อารมณแ์ ละความเครยี ด การจัดการกับอารมณ์และความเครียด หมายถึง ความเข้าใจและรู้เท่าทันภาวะอารมณ์ ของ บุคคล รู้สาเหตุของความเครียด รู้วิธีการควบคุมอารมณ์และความเครียด รู้วิธีผ่อนคลายหลีกเล่ียง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมท่ีก่อให้เกิดอารมณ์ไม่พึงประสงค์ไปในทางที่ดี พฤติกรรมทักษะชีวิตที่ คาดหวงั พฤติกรรมทักษะชีวติ ทค่ี าดหวัง ตวั ชี้วัด 1) รเู้ ทา่ ทนั อารมณ์ตนเอง 1.1) จาแนกอารมณ์ต่างๆ ที่เกิดขน้ึ กบั ตนเองได้ 1.2) แสดงอารมณ์ ความรสู้ กึ ของตนเองได้ เหมาะสมกบั สถานการณ์ตา่ งๆ 2) ควบคุมอารมณข์ องตนเองได้ 2.1) ควบคุมอารมณ์ ความรู้สึกของตนเองใน สถานการณ์ตา่ งๆได้ 3) จัดการกับอารมณต์ นเองไดอ้ ย่างเหมาะสม 3.1) จัดการกับอารมณ์ตนเองที่เกิดขึ้นอย่าง ฉับพลันที่อาจก่อให้เกิดปัญหาด้วยวิธีการท่ี เหมาะสมและสร้างสรรค์ 4) มวี ธิ ผี ่อนคลายอารมณ์และความเครยี ดให้กบั 4.1) ตนเองผ่อนคลายอารมณ์และความเครียด ด้วยวธิ กี ารทเ่ี หมาะสมและสรา้ งสรรค์ 5) สร้างแรงจงู ใจให้ตนเอง 5.1) กาหนดแนวทางหรือวิธีการสร้างกาลังใจ ให้กบั ตนเอง 6) ยตุ ิข้อขัดแย้งในกล่มุ เพอ่ื นด้วยสันติวิธี 6.1) เสนอทางออกของข้อขัดแย้งในกลุ่มเพ่ือน ด้วย 10 เหตุผลและข้อเท็จจริงท่ีถูกต้องและใช้ วธิ เี ชงิ บวก 7) ร้จู ักสรา้ งความสุขใหก้ บั ตนเอง 7.1) วิเคราะห์และเลือกวิธีการ/กิจกรรม ที่ทา ใหต้ นเองมคี วามสขุ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 7.2) มีอารมณข์ นั 4) การสรา้ งสมั พนั ธภาพท่ดี ีกบั ผอู้ ื่น การสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น หมายถึง การเข้าใจมุมมอง อารมณ์ ความรู้สึกของผู้อ่ืน ใช้ ภาษาพูดและภาษากายเพื่อสื่อสารความรู้ สึกนึกคิดของตนเอง รับรู้ความรู้สึกนึกคิดและ ความ ตอ้ งการของผู้อน่ื พฤติกรรมทักษะชีวิตท่ีคาดหวงั ตัวชวี้ ัด 1) เปน็ ผ้ฟู ังท่ดี ี 1.1) ฟังผู้อื่นอย่างต้ังใจและรับรู้ถึงความรู้สึก 2) ใชภ้ าษาและกริ ยิ าท่ีเหมาะสมในการส่ือสาร และความตอ้ งการของผพู้ ดู 1.2) รักษาความลบั ของเพื่อน 2.1) ใช้ภาษาพูด ภาษากายท่ีทาให้ผู้อ่ืนผ่อน คลายสบายใจ ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งหรือ ความรุนแรงได้

17 พฤติกรรมทกั ษะชีวติ ท่ีคาดหวงั ตัวชวี้ ดั 3) รู้จกั เอาใจเขามาใสใ่ จเรา 3.1) แสดงออกหรือสะท้อนความรู้สึกหรือการ กระทาของตนเองทแ่ี สดงวา่ เขา้ ใจและใสใ่ จผอู้ ่ืน 4) รู้จกั แสดงความคดิ ความร้สู กึ ความชน่ื ชม 4.1) ชื่นชมความสาเร็จ ความสามารถและการ กระทา ท่ีดีงามให้ผู้อื่นรับรู้การกระทาที่ดีของ เพ่ือนด้วยคาพูด ภาษากาย หรอื สัญลกั ษณไ์ ด้ 4.2) กล้ายืนยันความคิด ความรู้สึก และเหตุผล ทร่ี บั ที่ให้ผ้อู ื่นรบั รไู้ ด้ 5) รู้จักปฏิเสธ ต่อรอง และร้องขอความ 5.1) หลีกเล่ียงสถานการณ์ท่ีเสี่ยงต่อความไม่ ใน ช่วยเหลอื สถานการณเ์ สี่ยงปลอดภัยของตนเอง 5.2) ปฏิเสธในส่ิงที่ควรปฏิเสธได้โดยไม่เสีย สมั พันธภาพ หรือเสยี นา้ ใจ 5.3 ขอความชว่ ยเหลือเม่อื อยใู่ นภาวะวิกฤตได้ 6) ให้ความร่วมมือและทางานร่วมกับผู้อื่นได้ 6.1) ทางานร่วมกับผู้อ่ืนบนพ้ืนฐานความเป็น ร่วมกนั อยา่ งสร้างสรรค์ประชาธิปไตย 6.2) ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ราบร่ืนและมี ความสาเร็จหรอื มผี ลงานจากการสรา้ งสรรค์ 7) ปฏิบตั ิตามกฏ กตกิ า และระเบยี บของสังคม 7.1) ปฏิบตั ิตามกฎ ข้อตกลงของกลุ่ม/ชนั้ เรียน/ สังคม ดงั น้ัน การพัฒนาและเสริมสร้างทักษะชีวิตเป็นภูมิคุ้มกันชีวิตให้แก่เด็กและเยาวชนในสภาพ สังคมท่ีเปล่ียนแปลงและเตรียมพร้อมสาหรับการดาเนินชีวิตในอนาคต จึงเป็นภารกิจสาคัญของ สถานศึกษาท่ีจะต้องจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 โดยเสริมสร้างทักษะชีวิตให้มากที่สุด ท้ังใน 8 สาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน อัน ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมโฮมรูม กิจกรรมนักเรียน (กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารียุวกาชาด ผู้ บาเพ็ญ ประโยชน์ กิจกรรมชมรม/ชุมนุม) กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ และกิจกรรมที่ เสริมสร้าง คุณลักษณะตามนโยบายของสถานศึกษา ซ่ึงเป็นกิจกรรมที่สามารถพฒั นา และเสริมสร้าง ทักษะชีวิต ไดท้ ุกองคป์ ระกอบของทักษะชวี ติ 2. ทฤษฎเี กยี่ วกับการมสี ่วนร่วม 2.1 แนวคดิ ทฤษฎเี กย่ี วกับการมีสว่ นร่วม แนวคิดทฤษฎกี ารมีสว่ นร่วมในการบรหิ ารงานของบคุ ลากรทนี ามาใช้ในการศกึ ษาวจิ ยั ครง้ั น้ี เป็นทฤษฎีทีมีส่วนเกี่ยวข้องและเช่ือมโยงกับการมีส่วนร่วม(อดินันท์ บัวภักดี )ทฤษฎีสองปัจจัยของ เฮอร์เบิร์ก ( Hertzberg) เป็นทฤษฎีการจูงใจทีเก่ียวข้องและสามารถโยงไปสู่กระบวนการมีส่วนร่วม ได้เป็นแนวคิดเก่ียวกับการจูงใจให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความพึงพอใจ ทฤษฎีน้ีเชื่อว่าผู้ปฏิบัติงานจะ ปฏิบัติงานได้ผลดีมีประสิทธิภาพย่อมข้ึนอยู่กับความพึงพอใจของผู้ปฏิบัติงานเพราะเขาจะเพิ่มความ สนใจในงานและมีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นทีจะทางานซึ่งเป็นการเพ่ิมผลผลิตของงานให้มากข้ึน

18 ในทางตรงกนขา้ มหากผปู้ ฏบิ ัติงานไม่พงึ พอใจในการทางานก็จะเกิดความทอ้ ถอยในการทางานและทา ให้ผลงานออกมาไม่มีประสิทธิภาพ ทฤษฎีดังกล่าวสอดคล้องกบการเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมของ บุคลากรในองค์กร กล่าวคือถ้าบุคลากรได้เข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินงานได้ร่วมคิดตัดสินใจจะ ส่งผลให้บุคลากรในองค์กรเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของในกิจกรรมมากขึ้นทาให้ประสบผลสาเร็จในการ พัฒนาได้ นอกจากนีทฤษฎีการสร้างผู้นาก็มีความสาคัญคือ ผู้มีอานาจทีดี(Positive Leader) มักจะ นาการเคล่ือนไหวในการทางานอย่เู สมอ ในขณะที่ผู้มีอานาจท่ไี ม่ดี(Negative Leader) จะไม่มีผลงาน ทีสร้างสรรค์เลยการสร้างผู้มีอานาจหรือผู้นาจะช่วยจูงใจให้บุคลากรเต็มใจท่ีจะทางานเพื่อให้งาน บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันเนื่องจากผู้นาเป็นผู้ที่มีความสาคัญในการจูงใจและรวมกลุ่มคนดงั น้ันทฤษฎี สองปัจจัยนี้จึงมีส่วนเก่ียวข้องกับการมีส่วนร่วมของบคุ ลากรในองค์กร เพราะทาให้เกิดการมีส่วนร่วม ในการช่วยเหลือร่วมมือร่วมแรงกันในการทางานอย่างมีคุณภาพ แสดงให้เห็นถึงการมีความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ของบุคลากรและผู้นาร่วมกันซ่ึงกระบวนการมีส่วนร่วมจะต้องมีผู้นาท่ีดีอันจะนาไปสู่ ความสาเร็จขององคก์ รได้ 2.2 ความหมายของการมสี ่วนร่วม ณัฐพร แสงประดับ (2527) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมว่า การมีส่วนร่วมหมายถึง การเก่ียวข้องทางด้านจิตใจและอารมณ์ของบุคคลหนึ่งในสถานการณ์กลุ่มซ่ึงผลของการเกี่ยวข้อง ดังกล่าวเป็นเหตุเร้าใจให้การกระทาบรรลุจุดมุ่งหมายของกลุ่มน้ันทาให้เกิดความรู้สึกร่วมรับผิดชอบ กับกํลุ่มดังกล่าว นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วม ได้แก่ ความศรัทธาที่มีต่อ ความเชื่อถือตัวบุคคลความเกรงใจท่ีมีต่อตัวบุคคลทีเคารพนับถือหรือมีเกียรติยศตาแหน่งทาให้การมี สว่ นรว่ มเป็นไปด้วยความเต็มใจ สุจินต์ ดาววรี ะกุล (2527) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมว่า กระบวนการท่ีทาให้บุคคล สมัครใจเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจเพื่อตนเองและมีส่วนดาเนินการเพื่อให้บรรลุถึงวตั ถุประสงค์ ตามทีตงั้ เอาไว้ ทง้ั น้ีตอ้ งไม่ใชก่ ารกาหนดกรอบความคิด จากบุคคลภายนอกหรอื องคก์ รทีบุคคลไดเ้ ข้า มามีส่วนร่วมในการดาเนินงานกิจกรรมในขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งหรือทุกขั้นตอนรูปแบบการตัดสินใจ ของบุคคลในการจัดการเกี่ยวกับทรัพยากรและปัจจัยการผลิตทีมีอยู่จะต้องทาเพ่ือประโยชน์ต่อการ พฒั นาชวี ิตในทุกๆดา้ นของตนเองทเี ป็นอยใู่ หด้ ีข้ึนกวา่ เดมิ สุมณฑา พรหมบุญ และคณะ (2541) ได้ให้ความหมายของการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมไว้ว่า เป็นการเรียนรู้เต็ม 100% ของเวลาของผู้เรียน โดยมีครูเป็นผู้จัดการให้เกิดการเรียนรู้ให้เต็มร้อย ศูนย์กลางของการเรียนรู้จึงอยู่ท่ีผู้เรียนมิใช่ผู้สอน โดยเด็กแต่ละคนจะมีส่วนร่วม และการมีส่วนร่วมก็ คอื การทีเ่ ดก็ เอาจติ ใจร่วมทาใหต้ วั เองเกดิ การเรียนรใู้ นส่งิ ทคี่ รอู ยากจะให้รู้ ไมโ่ ดยทางตรงกท็ างอ้อม บุญเลิศ จิตตังวัฒนา (2548) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมว่า การท่ีปัจเจกบุคคลหรือ กลุ่มคนเข้ามามีส่วนร่วมเก่ียวข้องร่วมมือ ร่วมรับผิดชอบในกิจกรรมการพัฒนาทีเป็นประโยชน์ต่อ สังคม ในขันตอนตางๆของการดาเนินกิจกรรมนั้นๆโดยมีกลุ่มหรือองค์กรรองรับ บคุ คลที่เข้ามามีส่วน ร่วมการพัฒนาภูมิปัญญา การรับรู้สามารถคิดวิเคราะห์ และตัดสินใจ เพ่ือกาหนดการดาเนินชีวิตได้ ดว้ ยตนเอง

19 ประพันธ์พงศ์ ชิณพงษ์ (2551) ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมไว้วา การมีส่วนร่วมเป็น ผลมาจากการเห็นพ้องต้องกันในเรืองของความต้องการและทิศทางการ ัเปล่ียนแปลงความเห็นพ้อง ต้องกันน้ันจะมีมากพอจนเกิดความคิดริเริมโครงการเพ่ือการปฏิบัติการ กล่าวคือ ต้องเป็นการเห็น พ้องต้องกันของคนส่วนใหญ่ทีจะเข้าร่วมปฏิบัติการนั้นและเหตุผลทีคนมาร่วมปฏิบัติการได้จะต้อง ตระหนักว่าการปฏิบัติการทังหมดโดยกลุ่มหรือในนามของกลุ่มหรือกระทาการผ่ านองค์กรดังน้ัน องค์กรจะต้องเป็นเสมอื นตวั ท่ที าใหก้ ารปฏบิ ตั ิการบรรลุถงึ ความเปลีย่ นแปลงทตี อ้ งการ สันติชัย เอ้ือจงประสิทธิ์ (2551) ได้กล่าวถึงสาระสาคัญของการมีส่วนร่วมของบุคลากรว่า หมายถึง การเปิดโอกาสให้บคุ ลากรเข้ามามีส่วนร่วมในการคิดริเร่ิมตัดสินใจในการปฏิบัติงานและการ ร่วมรับผิดชอบในเรื่องต่างๆอันมีผลกระทบมาถึงตัวของบุคลากรเอง การที่จะสามารถทาให้บุคลากร เข้ามามีส่วนรว่ มในการพฒั นาเพื่อแก้ไขปัญหาและนามาซ่ึงสภาพความเป็นอยู่ของบุคลากรให้ดขี ึ้นน้ัน ผู้นาจะต้องยอมรับในปรัชญาการพัฒนาว่า มนุษย์ทุกคนมีความปรารถนาที่จะอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมี ความสุขได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นธรรม เป็นท่ียอมรับของผู้อื่นและพร้อมท่ีจะอุทิศตนเพื่อกิจกรรม ของส่วนรวมในองค์กร Pretty และLabs (1998) ไดใ้ ห้ความหมายของการเรียนรู้แบบมสี ่วนร่วมไว้ว่าเป็นการเรียนรู้ ที่อาศัยกระบวนการกลุ่มเข้ามาช่วยทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ โดยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ผ่านประสบการณ์และใช้ทักษะการส่ือสารเพื่อสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน เน้นการทางานเป็นกลุ่ม ซ่ึง การทางานในแต่ละกิจกรรมสมาชิกทุกคนจะมีส่วนร่วมในการทางานดงั นั้น ผลงานท่ีได้จึงเป็นผลงาน ของกล่มุ มใิ ช่ของสมาชกิ คนใดคนหนง่ึ เทา่ นัน้ Jacqueline (2002) ได้ให้ความหมายของการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมไวว้ ่า เป็นกระบวนการท่ี ส่งเสริมความมีอิสระในการแลกเปลี่ยนทางความคิดแก่ผู้เรียนภายใต้ข้อมูลและความรู้ที่แต่ละคนมี หรือหามา นอกจากนี้ผู้เรียนทุกคนยังมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันและมีส่วนร่วมในการทางานโดยแบ่งหน้าท่ี รับผิดชอบงานตามความสามารถของแตล่ ะบคุ คล โดยสรุปแล้วการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เป็นการจัดการเรียนรู้โดยผู้สอนเป็นผู้เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้สร้างความรู้ โดยดึงประสบการณ์ และแลกเปล่ียนความคิดเห็น ซ่ึงกันและกัน มีปฏิสัมพันธ์ ร่วมกันทั้งระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองและผู้เรียนกับผู้สอนทาให้เกิดการเรียนรู้ใหม่ๆ อีกทั้งยังช่วยให้ ผู้สอนสามารถร้ถู ึงความคิด ความรู้ ความเข้าใจ และความต้องการของผู้เรยี นแต่ละคน เพือ่ นามาปรบั ใชใ้ ห้ผเู้ รยี นเกิดความรู้ ความเขา้ ใจ และความคดิ ท่ถี กู ตอ้ งตอ่ ไป 2.3 แนวคดิ และหลักการเรียนรแู้ บบมีสว่ นร่วม การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) เป็นการเรียนรู้ที่ยึด ผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง ประกอบด้วยหลักการเรียนรู้พนื้ ฐาน 2 อยา่ ง (กรมสุขภาพจิต, 2543) ไดแ้ ก่ การเรียนรู้เชิง ประสบการณ์(Experiential learning) และกระบวนการกลุ่ม (Group process) การเรียนรู้เชิง ประสบการณ์ (Experiential learning) เป็นการเรียนรู้ท่ีผู้สอน มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสร้างความรู้จาก ประสบการณ์เดมิ มีลักษณะทีส่ าคญั 5 ประการ ดังน้ี 1) เป็นการเรียนรทู้ ่อี าศยั ประสบการณข์ องผเู้ รียน 2) ทาให้เกิดการเรียนรู้ใหม่ๆที่ท้าทายอย่างต่อเน่ืองและเป็นการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) คือ ผเู้ รยี นตอ้ งทากจิ กรรมตลอดเวลาไมไ่ ด้นั่งฟงั การบรรยายอย่างเดียว 3) มีปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างผเู้ รียนดว้ ยกนั เองและระหว่างผู้เรยี นกับผ้สู อน

20 4) ปฏิสัมพันธ์ที่มีทาให้เกิดการขยายตัวของเครือข่ายความรู้ที่ทุกคนมีอยู่ออกไปอย่าง กว้างขวาง 5) อาศยั การสอ่ื สารรปู แบบ เช่น การพดู หรือการเขียน การวาดรูป การแสดงบทบาททสี่ มมุติ ซึง่ เอ้อื อานวยให้เกิดการแลกเปลย่ี น การวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหก์ ารเรียนรู้ 2.4 องคป์ ระกอบการเรยี นรเู้ ชิงประสบการณ์ในการเรียนรู้แบบมีสว่ นรว่ ม Kolb (1984 อ้างถึงในกรมสุขภาพจิต ,2543)ได้กล่าววงจรการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ ประกอบด้วย องค์ประกอบท่ีสาคัญ 4 องค์ประกอบ คือ ประสบการณ์การสะท้อนและอภิปราย ความคิดรวบยอด และการทดลองหรือประยุกต์แนวคิด ซึ่งการเรียนรู้ผู้เรียนควรมีทักษะในการเรียนรู้ 4 องค์ประกอบ แม้บางคนจะชอบ ถนัดหรือมีบางองค์ประกอบมากกว่า เช่น เคยมีประสบการณ์จริง แตถ่ ้าไม่ชอบแสดงวามคิดเห็นหรือไม่นาประสบการณ์มาร่วมอภิปราย ผู้เรียนน้ันก็จะขาดการมีทักษะ ในองค์ประกอบอื่น ฉะน้ันผู้เขียนจึงควรมีทิศทางทางการเรียนทุกด้านและควรมีพัฒนาการทางการ เรียนรู้ใหค้ บท้งั วงจรหรือ 4 องค์ประกอบ 1) ประสบการณ์ (Experience) ในการเรียนเน้ือหาท่ีใช้ในการให้ความรู้หรือนาไปสู่การสอน ทักษะตา่ งๆ ส่วนใหญจ่ ะเปน็ เรือ่ งทผ่ี ู้เรียนมีประสบการณ์มากอ่ นแล้ว โดยผูส้ อนจะพยายามกระตุ้นให้ ผู้เรียนดึงประสบการณ์ของตนเองออกมาใช้ในการเรียนรู้ และสามารถแบ่งปันประสบการณ์ของ ตนเองที่มีให้แก่เพื่อนๆ ท่ีอาจมีประสบการณ์ที่เหมือนหรือต่างไปกับตนเองได้ขึ้นอยู่กับการใช้ กระบวนการกลุ่มของผู้สอน การที่ผู้สอนพยายามให้ผู้เรียนได้ดงึ ประสบการณ์มาใช้ในการเรียนจะทา ให้เกดิ ประโยชนท์ ง้ั ผสู้ อนและผู้เรียนดงั นี้ ผู้เรียน การที่ผู้เรียนได้ดึงประสบการณ์ของตนเองออกมานาเสนอร่วมกับเพ่ือนๆจะทาให้ ผู้เรียนรู้สึกว่าตนเองได้มีส่วนร่วมในฐานะสมาชิกคนหนึ่ง มีความสาคัญที่มีคนฟังเร่ืองราวของตนเอง และได้มีโอกาสรับรู้เรื่องของคนอ่ืน ซึ่งจะทาให้มีความรู้เพิ่มข้ึนทาให้สัมพันธภาพในกลุ่มเรียนเป็นไป ดว้ ยดี ผู้สอน ไม่ต้องเสียเวลาในการอธิบายหรือยกตัวอย่างให้ผู้เรียนฟังเพียงแต่ใช้เวลาเล็กน้อย กระตุ้นให้ผู้เรียนได้เล่าประสบการณ์ของตนเอง ผู้สอนอาจใช้ใบช้ีแจ้งกาหนดกิจกรรมของผู้เรียนใน การนาเสนอประสบการณ์ ในกรณที ่ผี ูเ้ รียนไมม่ ปี ระสบการณ์ในเรือ่ งท่ีจะสอนหรือมนี ้อย ผสู้ อนอาจจะ ยกกรณีตัวอยา่ งหรอื สถานการณ์กไ็ ด้ 2) การสะท้อนและอภิปราย (Reflection and Discussion) เป็นองค์ประกอบที่สาคัญที่ ผู้เรียนจะได้แสดงความคิดเห็น และความรู้สึกของตนเองแลกเปล่ียนกับสมาชิกในกลุ่ม ซึ่งผู้สอนจะ เป็นผู้กาหนดประเด็นการวิเคราะห์ วิจารณ์ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ถึงความคิดความรู้สึกของคนอ่ืนท่ีต่าง ไปจากตนเอง จะช่วยให้การเรียนรู้กวา้ งขึ้น และผลของการสะท้อนความคิดเห็นหรือการอภิปราย จะ ทาให้ข้อสรุปที่หลากหลายหรือมีน้าหนักมากย่ิงขึ้น นอกจากน้ี ขณะทากลุ่มผู้เรียนจะได้เรียนรู้ถึงการ ทางานเป็นทีม บทบาทของสมาชิกท่ีดีที่จะทาให้งานสาเร็จการควบคุมตนเองและการยอมรับความ คิดเห็นของผู้อื่น องค์ประกอบจะช่วยทาให้ผู้เรียนได้พัฒนาทั้งด้าน ความรู้ และเจตคติในเรื่องท่ี อภิปราย การที่ผู้เรียนจะอภิปรายหรือแสดงความคิดเห็นได้มากน้อยแค่ไหนเป็นไปตามเน้ือหาที่จะ สอนหรือไม่นั้นข้ึนอยู่กับใบงานท่ีผู้สอนจัดเตรียม ซ่ึงประกอบไปด้วยประเด็นอภิปรายหรือตารางการ วเิ คราะห์เพอื่ ให้ผเู้ รยี นทาไดส้ าเรจ็

21 3) ความคิดรวบยอด (Concept) เป็นองค์ประกอบที่ผู้เรียนได้เรียนรู้เก่ียวกับเนื้อหาวิชา หรือเป็นการพัฒนาด้านพุทธพิสัย (Knowledge) เกิดได้ หลายทาง เช่น จากการบรรยายของผู้สอน ก า ร ม อ บ ห ม า ย ใ ห้ อ่ า น จ า ก เ อ ก ส า ร ต า ร า ห รื อ ไ ด้ จ า ก ก า ร ส ะ ท้ อ น ค ว า ม คิ ด เ ห็ น แ ล ะ อ ภิ ป ร า ย ใ น องค์ประกอบที่ 2 โดยผู้สอนอาจจะสรุปความคิดรวบยอดให้จากการอภิปรายและการนาเสนอของ ผู้เรียนแต่ละกลุ่ม ผู้เรียนจะเข้าใจและเกิดความคิดรวบยอด ซ่ึงความคิดรวบยอด นี้จะส่งผลไปถึงการ เปลี่ยนแปลงจากเจตคติ หรือความเข้าใจในเนอื้ หา ขน้ั ตอนของการฝึกทักษะตา่ งๆ ที่ชว่ ยทาให้ผู้เรียน ปฏบิ ัติได้งา่ ยขน้ึ 4) การทดลอง/การประยุกต์แนวคิด (Experimentation/Application) เป็นองค์ประกอบที่ ผู้เรียนได้ทดลองใช้ความคิดรวบยอดหรือผลิตข้ันความคิดรวบยอดในรูปแบบต่างๆ เช่น การสนทนา สร้างคาขวัญ ทาแผนภูมิ แผนภาพ เล่นบทบาทสมมุติ ฯลฯ หรือเป็นการแสดงถึงผลของความสาเร็จ ของการเรียนรู้ในองค์ประกอบท่ี 1 ถึง 3 ผู้สอนสามารถใช้กิจกรรมในองค์ประกอบนี้ ในการ ประเมินผลการเรียนการสอนได้ เช่น ถ้าวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนต้ังไว้ว่าให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้โทษของสารเสพติด กิจกรรมในการเรียนรู้ขององค์ประกอบนี้ผู้สอนก็ต้องเตรียมใบงานให้ ผู้เรียนได้ทดลองทาแผนความรู้เรื่องโทษของสารเสพติด ซ่ึงผู้เรียนจะต้องนาความรู้เกี่ยวกับโทษของ สารเสพติด จากการเรียนรู้ในองคป์ ระกอบความคดิ รวบยอดมาใช้ การเรียนการสอนส่วนใหญ่มักจะขาดในองค์ประกอบการทดลอง/ประยุกต์แนวคิด ซ่ึงถ้า พิจารณาให้ดีจะเห็นว่าเป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญที่ผู้สอนจะได้เปิดโอกาสให้ผู้เรียน ได้รู้จักการ ประยุกต์ใช้ความรู้ไม่ใชเ้ รียนแค่รู้ แตค่ วรจะนาไปใช้ได้จริงในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมจาเป็นต้องจัดกิจกรรมให้ครบทั้ง 4 องค์ประกอบ องค์ประกอบท้ัง 4 มี ความสัมพันธ์เป็นไปอย่างพลวัต(Dynamic) เกี่ยวข้องมีผลถึงกัน ผู้สอนจะเร่ิมตอนจากประสบการณ์ (Experience) หรือ ความคดิ รวบยอด (Concept) ซ่งึ ทั้ง 2 องค์ประกอบจะชว่ ยใหผ้ ้เู รียนดึงข้อมูลเก่า หรือรับข้อมูลใหม่บางส่วนก่อนเพื่อนาไปสู่การอภิปราย และการประยุกต์ระยะเวลาของแต่ละ องค์ประกอบไม่จาเป็นต้องเท่ากัน ผู้สอนจัดได้ตามความเหมาะสมของกิจกรรมในแต่ละองค์ประกอบ เช่น ถ้าเนอ้ื หาทีส่ าคญั มากก็จะใชเ่ วลามาก หรอื ถ้าผสู้ อนจะมปี ระเด็นในการอภปิ รายท่ีสาคัญและมาก ก็อาจใช้เวลาในการอภิปรายมากกวา่ สว่ นขององค์ประกอบความคิดรวบยอด 2.5 การเรยี นรดู้ ว้ ยกระบวนการกล่มุ (Group Process) การเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม (Group Process) เป็นการเรียนรู้พ้ืนฐานที่สาคัญอีกอย่าง หนึ่ง ซ่ึงประกอบไปกับการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning) กระบวนการกลุ่มจะ ชว่ ยทาให้ผ้เู รยี นได้มสี ว่ นร่วมสูงสดุ และทาให้บรรลุงานสูงสุด การมีส่วนร่วมสูงสุด (Maximum participation) ของผู้เรียนขึ้นอยู่กับการออกแบบกลุ่ม ซึ่ง มีตั้งแต่กลุ่มเล็กคือ 2 คน จนกระทั่งกลุ่มใหญ่ กลุ่มแต่ละประเภทมีข้อดี และข้อจากัดต่างกัน ผู้เรียน ทุกคนควรมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรมของแต่ละองค์ประกอบ ฉะนั้นผู้สอนจึงต้องพิจารณาตามจานวน ผู้เรียน การบรรลุงานสูงสุด (Maximum performance) ถึงแม้ผู้สอนจะออกแบบกลุ่มให้ผู้เรียนทุก คนมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมแล้วก็ตาม แต่สิ่งสาคัญอีกอย่างหนึ่งที่จะทาให้กลุ่มผู้เรียนบรรลุงาน สูงสุดได้ คือ การออกแบบงาน ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ผ้สู อนจะต้องจัดทาเป็นใบงานที่กาหนดใหก้ ลุม่ ผู้เรียน ทากิจกรรมให้บรรลุตามวตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้ในแผนการเรยี นรู้

22 2.6 เทคนิคท่ีใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ บบมีส่วนรว่ ม เทคนิคทใ่ี ชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบมสี ่วนร่วมนัน้ มีด้วยกนั หลายวิธีซึ่งผสู้ อนสามารถ เลือกและนามาใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนได้ตามความเหมาะสมดังตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้ 1) การระดมสมอง เปน็ การใช้คาถามให้ทกุ คนในกลมุ่ ร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นโดยปราศจาก การประเมนิ หรอื วพิ ากษว์ จิ ารณค์ วามคิดนนั้ (FAO, 1994) 2) การแสดงละคร เป็นการให้ผู้เรียนแสดงละครซ่ึงเป็นเรื่องราวท่ีผู้สอนต้องการให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้ตามเน้ือหาและบทละครท่ีได้กาหนดไว้ตัง้ แต่ตน้ จนจบเร่ือง ทาให้เร่ืองราวนั้นมีชวี ิตข้ึนมา และ สามารถทาให้ท้ังผแู้ สดง และผู้ชมเกดิ ความเข้าใจ และจดจาเรื่องน้ันไดน้ าน (ทิศนา แขมมณี, 2544) 3) กรณตี ัวอย่าง เปน็ การให้ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับเร่ืองท่ีสมมตุ ิข้ึนหรือเร่ืองท่ีเกดิ ขึ้น จากสถานการณ์จรงิ ในชมุ ชน (FAO, 1994) 4) บทบาทสมมุติ เป็นการสร้างสถานการณ์และบทบาทสมมุติข้ึนจากความเป็นจริงมาให้ ผู้เรียนได้แสดงออกตามท่ีผู้เรียนคิดว่าควรจะเป็น ผู้สอนจะใช้การแสดงออกท้ังทางด้านความรู้ ความคดิ และพฤติกรรมของผแู้ สดงมาเปน็ พน้ื ฐานในการใหค้ วามรู้ และสร้างความเข้าใจแกผ่ ู้เรียนอัน จะทาให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาสาระของบทเรียนอย่างลึกซึ้ง และรู้จักปรับหรือเปล่ียนพฤติกรรม และ การแก้ไขปัญหาตา่ งๆ ได้อยา่ งเหมาะสม (อาภรณ์ ใจเทย่ี ง, 2546) 5) สถานการณ์จาลอง เปน็ การให้ผู้เรียนลงไปเล่นในสถานการณ์ที่มีบทบาทข้อมูลและกติกา การเล่นท่ีสะท้อนความเปน็ จริง และมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงต่างๆ ที่อยู่ในสถานการณ์นั้น โดยใช้ข้อมูลท่ีมี สภาพคล้ายกับข้อมูลในความเป็นจริงในการตัดสินใจ และแก้ปญั หาต่างๆ ซงึ่ การตัดสินใจนั้นจะส่งผล ถึงผู้เลน่ ในลักษณะเดียวกับท่ีเกิดขึน้ ในสถานการณจ์ ริง (ทศิ นา แขมมณี, 2544) 6) เกม เป็นการให้ผู้เรียนเล่นตามกติกา และนาเน้ือหา และข้อมูลของเกมพฤตกิ รรมการเล่น วิธีการเล่น และผลการเล่นเกมของผู้เรียนมาใช้ในการอภิปรายเพื่อสรุปการเรียนรู้ (ทิศนา แขมมณี, 2544) อาจกล่าวได้ว่าเทคนิคต่างๆ มีส่วนสาคัญท่ีช่วยให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนบรรลุ จดุ มงุ่ หมาย แต่มิใช่ว่าทุกเทคนคิ จะสามารถใชไ้ ดก้ บั ทุกกจิ กรรม แตล่ ะเทคนิคตา่ งมขี ้อดี และขอ้ จากัด ในตัวเอง ดังน้ันผู้สอนจึงควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับบทเรียนและจุดมุ่งหมายซึ่งจะส่งผลให้การจัด กิจกรรมในบทเรียนนน้ั มีความนา่ สนใจ และดงึ ดูดใหผ้ เู้ รียนสนใจเรยี นรู้มากยงิ่ ขึน้ 2.7 ขน้ั ตอนการมีสว่ นร่วม อคนิ รพพี ัฒน์ (2547) ไดแ้ บง่ ข้นั ตอนการมสี ว่ นร่วมออกเปน็ 4 ขน้ั ตอน คือ 1) การกาหนดปญั หา สาเหตุของปญั หา ตลอดจนแนวทางแกไ้ ข 2) การตดั สนิ ใจเลอื กแนวทางและวางแผนพฒั นา แก้ไขปัญหา 3) การปฏิบัติงานในกจิ กรรมการพัฒนาตามแผน 4) การประเมนิ ผลงานกจิ กรรมการพฒั นา ทรงวฒุ ิ เรืองวาทศิลป์ (2550) ไดท้ าวจิ ัยเร่ืองการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของนักเรียน ระดับช้ันประถมศึกษา ได้ใช้หลักการที่อิงไปในแนวทางของนโยบาย และได้พบว่า แท้จริงแล้ว กระบวนการมีส่วนร่วมมีลักษณะที่คล้ายกับการกาหนดนโยบาย เพราะท้ายที่สุดของการกาหนด นโยบาย คอื การตัดสินใจและการตัดสินใจน้ีเอง จึงเปน็ เหตุเบ้ืองตน้ ของการกาหนดนโยบาย และเป็น การเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เข้ามาแสดงความคิดเห็นเสมือนหน่ึงเป็นการขัดเกลานโยบายให้มีความ

23 เหมาะสมกบั ความต้องการของนักเรียน ตามแนวคิดของ ทรงวุฒิ เรืองวาทศิลปแ์ ล้ว กระบวนการการ มีสว่ นร่วมนา่ จะเร่มิ จาก 1) การมีส่วนรว่ มในการตดั สินใจ 2) การมีสว่ นรว่ มในการดาเนินกิจกรรม 3) การมสี ่วนรว่ มในการตดิ ตามตรวจสอบการประเมินผล เมตต์ เมตตก์ ารณุ จ์ ิต(2553) ได้กลา่ วถึงกระบวนการการมสี ่วนรว่ มของนกั เรียน โดยท่ีมคี วาม สอดคลอ้ งกับ ทรงวฒุ ิ เรืองวาทศิลป์ แต่ไดเ้ พิ่มบางประเด็นท่ีเห็นว่า ยังมีข้อบกพรอ่ งและอาจจะเสริม ประเดน็ ดังกล่าวให้มคี วามชดั เจนขน้ึ โดยเริ่มจาก 1) การมีส่วนรว่ มในการคน้ หาสาเหตุ และความต้องการ 2) มีสว่ นร่วมในการวางแผน 3) มสี ่วนรว่ มในการตัดสนิ ใจ 4) มสี ว่ นร่วมในการปฏบิ ตั กิ าร 5) มีสว่ นรว่ มในการตดิ ตามประเมนิ ผล 6) มสี ว่ นร่วมในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 2.8 ความสาคญั ของการเรยี นรู้แบบมีส่วนร่วม สุมณฑา พรหมบุญ และคณะ (2541) ได้กล่าวว่าการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ในสังคมปัจจุบันท่ี เป็นไปอย่างรวดเร็ว ทาให้การเรียนการสอนที่มุ่งเน้นเน้ือหาวิชาเป็นหลักย่อมไม่เพียงพอสาหรับการ ดารงชีวิตอย่างมีคุณภาพได้ ผู้สอนจึงตอ้ งสอนให้ ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ไดด้ ้วยตนเอง ผู้เรียน ได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมที่หลากหลาย และยืดหยุ่น ได้เรียนรู้จากครู ผู้ปกครอง ชุมชน และสิ่งต่างๆ รอบตัว ผู้เรียนเป็นผู้รับผิดชอบต่อการเรียนของตนเอง ดังน้ันการสนับสนุนให้โรงเรียนนาวิธีการ เรยี นร้แู บบมีสว่ นร่วมมาใชจ้ ึงมีความสาคญั มาก ดงั นี้ 1) ความรู้ และความจริงเกี่ยวกับส่ิงต่างๆ ในโลกถูกค้นพบใหม่เสมอๆ ความเปล่ียนแปลง เก่ียวกับสิ่งต่างๆ ในสังคมเกิดขึ้นอย่างต่อเน่ืองตลอดเวลา ผู้เรียนจึงต้องเรียนรู้วิธีท่ีจะแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง 2) การเรียนร้แู บบมีสว่ นร่วม ชว่ ยเตรียมผ้เู รียนให้พร้อมท่ีจะเผชญิ กบั ชีวิตจริง เพราะลกั ษณะ ของการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง ได้ลงมือ ปฏบิ ัตไิ ด้ทากิจกรรมกลุ่ม ไดฝ้ ึกฝนทักษะการเรียนรู้ ทักษะการบริหาร การจัดการ การเป็นผู้นาผู้ตาม และที่สาคัญเป็นการเรียนรูท้ ม่ี คี วามสมั พันธ์สอดคลอ้ งกบั ชวี ติ จรงิ ของผู้เรียนมากทสี่ ุดวิธหี นึ่ง 3) การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ช่วยเสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่ดี ช่วยให้นักเรียนได้ ฝึกฝนความเป็นประชาธิปไตย ฝึกการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ฝึกการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุข ช่วยให้ ผู้เรยี นเกดิ เจตคติทีด่ ีตอ่ การเรยี น ตอ่ ครู ต่อสถานศกึ ษา และตอ่ สังคม 4) การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมช่วยลดปัญหาทางวินัยในชั้นเรียน เพราะนักเรียนทุกคนจะได้ ฝึกฝนจนกระท่ังเกิดวินัยในตนเอง ผู้เรียนแต่ละคนจะได้รับการยอมรับจากครูจากเพ่ือนได้มีส่วนร่วม ในกิจกรรมตา่ งๆทาให้เกิดการยอมรับตนเอง เกิดความสุขในการอยู่ร่วมกับเพ่ือนๆ ปัญหาทางวินัยจึง ลดนอ้ ยลง และหมดไปในทส่ี ดุ 5) การเรยี นรู้แบบมีส่วนร่วม ช่วยให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นโดยเฉลย่ี ของ ผเู้ รยี นท้ังชัน้ สงู ขึ้น การช่วยเหลือกนั ในกลุ่มเพอื่ นทาใหผ้ เู้ รียนเกิดความเขา้ ใจในสง่ิ ที่เรยี นไดด้ ยี งิ่ ข้นึ

24 3. ทฤษฎีเก่ยี วกบั การพัฒนาคณุ ธรรมจริยธรรม 3.1 ความหมายของคุณธรรมจรยิ ธรรม คาว่า”คุณธรรมจริยธรรม” น้ี เปน็ คาทค่ี นสว่ นใหญ่จะกล่าวควบค่กู ันเสมอ จนทาใหเ้ ขา้ ใจผิด ได้ว่า คาทั้งสองคามีความหมายอย่างเดียวกันหรือมีความหมายเหมือนกัน แท้ท่ีจริงแล้วคาว่า “คุณธรรม” กับคาว่า”จริยธรรม” เป็นคาแยกออกได้ 2 คา และมีความหมายแตกต่างกันคาว่า “ คุณ” แปลว่า ความดี เป็นคาท่ีมีความหมายเป็นทางนามธรรม ส่วนคาว่า “จริย” แปลว่า ความ ประพฤติกริยาที่ควรประพฤติเป็นคาท่ีมีความหมายทางรูปธรรม ดังน้ัน จึงควรที่ผู้บริหารจะต้องทา ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ความหมายของคาสองคาน้ใี หถ้ ่องแทก้ อ่ น พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 (2538 : 189) ให้ความหมายว่า” คุณธรรม หมายถึงสภาพคณุ งามความด”ี พระธรรมปิฎก (ป.อ.ยุตโต ) (2540: 14) ได้กล่าวว่าคุณธรรมเป็น ภาพของจิตใจกล่าวคือ คณุ สมบัตทิ เี่ สรมิ สรา้ งจิตใจใหด้ ีงาม ให้เป็นจิตใจท่สี ูง ประณีตและประเสริฐ เชน่ เมตตา คือ ความรักปรารถนาดี เปน็ มิตร อยากให้ผอู้ นื่ มีความสุข กรณุ า คอื ความสงสารอยากชว่ ยเหลือผู้อ่นื มคี วามสขุ มุทิตา คือ ความพลอยยินดีพร้อมท่ีจะส่งเสริมสนับสนุนผู้ท่ีประสบความสาเร็จให้มีความสุข หรอื กา้ วหนา้ ในการทาสิง่ ที่ดีงาม อเุ บกขา คือ การวางตวั วางใจเปน็ กลาง เพอื่ รกั ษาธรรมเมื่อผูอ้ น่ื ควรจะต้องรับผดิ ชอบตอ่ การ กระทาของเขาตามเหตแุ ละผล จาคะ คอื ความมนี า้ ใจเสยี สละ เอ้ือเฟื้อเผ่อื แผ่ ไม่เห็นแก่ตวั วศิน อินทสระ (2541: 106,113) กล่าวตามหลักจริยศาสตร์ว่า คุณธรรม คือ อุปนิสัยอันดี งามซ่ึงสั่งสมอยู่ในดวงจิต อุปนิสัยอันน้ีได้มาจากความพยายามและความประพฤติติดต่อกันมาเป็น เวลานาน... คุณธรรมสมั พนั ธก์ ับหนา้ ที่อยา่ งมาก เพราะการทาหน้าท่จี นเป็นนสิ ยั จะกลายเปํนอปุ นิสัย อันดีงามที่สั่งสมในดวงจิตเป็นบารมี มีลักษณะอย่างเดียวกันน้ี ถ้าเป็นฝ่ายชั่ว เรียกว่า “อาสวะ” คือ กิเลสที่หมักหมมในดวงจิต ย้อมจิตให้เศร้าหมองเกรอะกรังด้วยความช่ัวนานาประการกลายเป็น สันดานช่วั ทาใหแ้ ก้ไขยากสอนยาก กล่าวโดยสรุป คณุ ธรรมคือความล้าเลิศแหง่ อปุ นิสยั ซงึ่ เปน็ ผลของ การการะทาหน้าท่จี นกลายเป็นนิสัยน่ันเอง พระเมธี ธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมมจิตโต) (2538: 15-16) กล่าววา่ คุณธรรมคือคุณสมบตั ิที่ดี ของจิตใจ ถ้าปลูกฝงั เร่ืองคุณธรรมได้จะเป็นพนื้ ฐานจรรยาบรรณ... จรรยาบรรณนเี้ ป็นเร่ืองพฤติกรรม ในการที่จะพัฒนาต้องตีความออกไปว่า พฤติกรรมเหล่านี้มีพ้ืนฐานจากคุณธรรมข้อใด เช่น เบญจศีล เป็นจรยิ ธรรม เบญจธรรมเป็นคุณธรรมคือ ความเมตตากรุณา ถ้ามคี วามเมตตากรุณาจะมีฐานของศีล ข้อท่ี 1 เป็นต้น ส่วนจริยธรรม พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 (2538 : 216 ) ให้ ความหมายวา่ “จรยิ ธรรมหมายถึง ธรรมที่เปน็ ขอ้ ประพฤติปฏิบตั ิ ศีลธรรม กฎศลี ธรรม” จากทัศนะของพระเมธธี รรมภรณ์ดงั กล่าวข้างต้นน้ี จะเห็นได้ว่าจริยธรรมไม่แยกเด็ดขาดจาก ศีลธรรม แต่มีความหมายกว้างกว่าศีลธรรม ศีลธรรมเป็นหลักคาสอนที่ว่าด้วยความประพฤติชอบ สว่ นจริยธรรม หมายถงึ หลักแห่งความประพฤติดปี ระพฤติชอบอันวางรากฐานอยู่บนหลักคาสอนของ ศาสนา ปรัชญาและขนบธรรมเนียมประเพณี ท่านผู้นีม้ องจริยธรรมในฐานะท่ีเป็นระบบ อันมศี ีลธรรม

25 เป็นส่วนประกอบสาคัญ แต่ก็มีแนวคิดปรัชญา ค่านิยม ตลอดจนธรรมเนียมประเพณีเข้ามาเกี่ยวข้อง ด้วยจากท่ีกล่าวมาทั้งหมดพอสรุปได้ว่า คาว่า คุณธรรม จริยธรรม สองคานี้เป็นคาที่มีความหมาย เกี่ยวข้องกันในด้านคุณงามความดี กล่าวคือ จริยธรรมคือความประพฤติที่ถูกต้องดีงามทั้งกายและ วาจา สมควรท่ีบุคคลจะประพฤติปฏิบัติ เพ่ือให้ตนเองและคนในสังคมรอบข้างมีความสุข สงบ เยือก เย็น จริยธรรมเป็นเร่ืองของการฝึกนิสัยที่ดี โดยกระทาอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอจนเป็นนิสัย ผู้มีความ ประพฤตดิ ีงามอย่างแท้จริงจะต้องเปน็ ผู้มีความรู้สึกในด้านดีอยู่ตลอดเวลา คือ มี “คุณธรรม “ อยู๋ใน จิตใจหรืออาจกล่าวได้ว่าจริยธรรมเป็นเรื่องของการประพฤติปฏิบัติเป็นพฤติกรรมภายนอก ส่วน คุณธรรมเป็นสภาพคุณงามความดีภายในจติ ใจ ซ่ึงทั้งสองส่วนต้องเก่ียวข้องสัมพนั ธ์กัน พฤติกรรมของ คนที่แสดงออกมาท้ังทางกายและวาจานน้ั ย่อมเกี่ยวเน่อื งสัมพันธ์และเปน็ ไปตามความรู้สึกนึกคดิ ทาง จติ ใจและสติปัญญา การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของบุคคลจึงต้องพฒั นาท้ัง 3 ด้าน ควบคู่กันไป คือ การพฒั นาด้านสติปญั ญา ด้านจิตใจและด้านพฤติกรรม 3.2 ทฤษฎีพัฒนาการทางจรยิ ธรรมของเพยี เจท์ เพียเจท์ เป็นผู้ริเร่ิมความคิดที่ว่า พัฒนาการทางจริยธรรมของมนุษย์ย่อมข้ึนอยู่กับความ ฉลาดท่ีจะทาให้รับรู้กฎเกณฑ์และลักษณะต่างๆ ทางสังคม พัฒนาการทางจริยธรรมของบุคคลจึง ข้ึนอยู่กับพัฒนาการทางสติปัญญาของบุคคลน้ันๆ เขาเช่ือว่าจริยธรรมเป็นกระบานการท่ีซับซ้อน (Complex Process) ระหว่างความรู้ ความรุ้สึก และการสร้าง ในการศึกษาค้นคว้าเขาพบว่าเด็กจะ พัฒนาการทางสติปัญญาได้ถึงข้ันสูงสุดเมื่ออายุประมาณ 8 – 10 ปี ดังนั้นพัฒนาการทางจริยธรรม ของเด็กจะบรรลุถึงข้ันสูงสุดเม่ืออายุประมาณ 8 – 10 ปี เช่นกัน เพียเจท์ได้แบ่งข้ันการพัฒนา จรยิ ธรรมของมนุษยเ์ ป็น 3 ข้ัน คอื ข้ันท่ี 1 ขนั้ กอ่ นจรยิ ธรรม เริ่มต้งั แตเ่ ด็กแรกเกดิ จนถึง 2 ขวบ ในขนั้ น้ีเด็กยังไมม่ คี วามสามารถ ในการรับรู้ส่ิงแวดล้อมอย่างละเอียด มีแต่ความต้องการทางกาย ซึ่งต้องการที่จะได้รับบาบัดโดยไม่ คานึงถึงกาลเทศะ เม่ือเด็กมีความสามารถในการพูดก็จะเร่ิมเรียนรู้สภาพแวดล้อมและบทบาทของ ตนเองตอ่ บคุ คลอืน่ ข้ันที่ 2 ข้ันปฏิบัติตามคาส่ัง เร่ิมตั้งแต่อายุ 2 ถึง 8 ปี เด็กจะมีพัฒนาการในขั้นปฏิบัติตาม คาส่ัง มีความเกรงกลัวผู้ใหญ่ และเหน็ วา่ คาสัง่ ของผู้ใหญค่ ือสิง่ ทตี่ นต้องการทาตาม ขนั้ ท่ี 3 ขัน้ ยึดหลักแห่งตน เกิดจากการพฒั นาทางสติปญั ญาและประสบการณ์ในการมใี นกลุ่ม เพ่ือนเด็กด้วยกัน ความเกรงกลัวอานาจภายนอกกลายเป็นหลักภายในจิตใจของเด็กเกี่ยวกับความ ยตุ ธิ รรม เม่ือเด็กพบว่ากฎเกณฑท์ างศีลธรรมทางบ้าน ทางโรงเรียน และทางสังคมแตกตา่ งกนั เดก็ จะ ตดั สนิ ใจเลอื กเกณฑ์เองโดยปรบั เกณฑ์ท้ังหลายเข้าดว้ ยกัน (อา้ งในดวงเดอื น พนั ธมุ นาวนิ , 2524) 3.3 ทฤษฎีพฒั นาการทางจริยธรรมของโคลเบอรก์ โคลเบอร์ก (อ้างในอาร์บัทโนต์, แจ็ก, สุดใจ บุญอารีย์ แปล, 2541) ได้ศึกษาพัฒนาการทาง จริยธรรมโดยศึกษาตามแนวทฤษฎีของเพยี เจท์แล้วพบว่าพฒั นาการทางจริยธรรมของมนุษยส์ ่วนมาก ไม่ได้บรรลุถงึ ข้นั สูงสดุ เมื่ออายุ 10 ปี แต่จะมีพัฒนาการอีกหลายขน้ั ตอนจากอายุ 11 ปี ถึง 25 ปี โคล เบอร์เชอ่ื วา่ การบรรลุนติ ิภาวะเชิงจริยธรรมของบุคคลน้ันจะแสดงออกทางการให้เหตุผลทางจริยธรรม ซึ่งไมข่ ้นึ อยู่กบั เกณฑ์ของสงั คมใดสังคมหน่ึง เป็นเหตุผลทีล่ กึ ซ้งึ บรสิ ทุ ธ์ิ มลี กั ษณะเป็นสากล กว้างขวาง มีหลกั การไมข่ ัดแยง้ ไมเ่ ข้าขา้ งตนเอง และเปน็ อดุ มคติ

26 โคลเบอร์กไดแ้ บง่ พฒั นาการทางจรยิ ธรรมเปน็ 3 ระดบั 1) ระดับก่อนกฏเกณฑ์ (Preconventional Level) เป็นระดับท่ีบุคคลดาเนินตามบทบาท ถูกต้องและไม่ถูกต้อง บุคคลจะสนองตอบกฎเกณฑ์โดยกระทาตามท่ีมีอานาจเหนือตน และพจิ ารณา สง่ิ ต่างๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการถูกลงโทษหรอื การไดร้ ับรางวัล พัฒนาการระดบั นแ้ี บ่งออกเป็น 2 ขัน้ คอื ข้ันท่ี 1 ขั้นหลบหลีกการลงโทษ (The Punishment and Obedience Orientation) ช่วง อายุ 2 – 7 ปี ในข้ันนี้จะใช้หลักการหลีกเลี่ยงมิให้ได้รับโทษในการกระทา เด็กจะทาดีตามกฎเกณฑ์ ของผู้มีอานาจเหนือตน และอยู่ใต้อานาจของผู้ใหญ่เพราะกลัวการถูกลงโทษ ถ้าถูกลงโทษในส่ิงที่ กระทาเดก็ จะไม่กระทาอีก แตถ่ า้ ไม่ได้รับการลงโทษในสิ่งที่จะกระทาเขาจะกระทาอกี ขั้นท่ี 2 ข้นั แสวงหารางวลั (The Instrumental Relativist Orientation) ชว่ ง 7 – 10 ปี ใน ขั้นนี้เด็กไม่ได้คิดว่ากฎระเบียบเป็นสิ่งท่ีแน่นอนตายตัว ถือความพอใจของตนเองเป็นหลักในการ ตัดสินการกระทาตามใจตนเอง จะเห็นความสาคัญของการไดร้ างวัลหรือคาชมเชยซึ่งเปน็ แรงจูงใจใน การกระทาความดี 2) ระดับกฎเกณฑ์ (Conventional Level) เป็นระดับท่ีเด็กจะเห็นความสาคัญของหน้าท่ี ความรับผิดชอบของกลุ่มท่ีตนเป็นสมาชิกอยู่ เช่น ครอบครัว กลุ่มชนหรือชาติ เด็กจะสนับสนุนการ กระทาและอา้ งเหตผุ ลสนับสนุนตามสังคม รู้จกั รกั ษากฎเกณฑ์ จะไม่กระทาความผิดเพราะตอ้ งการให้ ผู้อนื่ ยอมรบั พฒั นาการระดบั นี้แบง่ เปน็ 2 ข้นั คือ ข้ันที่ 1 ขั้นทาตามสิ่งท่ีคนอ่ืนเห็นว่าดี (The Interpersonal Concordance Orientation) ชว่ งอายุ 10 – 13 ปี ในข้ันนี้เด็กเร่ิมเข้าสู่วยั รุน่ ซ่งึ เข้าใจว่าส่ิงใดเป็นส่ิงท่คี นดีควรกระทาเด็กจะกระทา ในสิ่งท่ีตนเองคิดว่าคนอื่นจะเห็นด้วยและพอใจเพื่อให้เป็นท่ีชื่นชอบของเพื่อนฝูงเพราะต้องการ ยอมรบั จากผูอ้ น่ื ข้นั ที่ 2 ข้นั การกระทาตามหน้าท่ีและระเบียบทางสังคม (The law and order Orientation) ช่วงอายุ 13 – 16 ปี ขั้นนคี้ วามคิดขยายกว้างขน้ึ ครอบคลุมถงึ ระเบียบสงั คมทวั่ ๆ ไปบคุ คลจะเขา้ ใจใน กฎเกณฑ์ บรรทดั ฐานของสังคม ตลอดจนบทบาทและหน้าท่ที ี่พงึ ปฏบิ ัตติ ามกฎเกณฑข์ องกล่มุ สังคมท่ี ตนเป็นสมาชกิ อยู่ เพือ่ ประโยชน์ต่อกลมุ่ สังคมของตน 3) ระดับเหนือกฎเกณฑ์หรือระดับหลักการ (Postconventional Level) ระดับน้ีบุคคลจะ เข้าใจถึงค่านิยม คุณค่าทางจริยธรรม หลักเกณฑ์ท่ีนาไปใช้โดยพิจารณาถึงสภาพการณ์ท่ีแตกต่างกัน ออกไป พยายามเลียนแบบคา่ นิยมทางศีลธรรมจรรยาสากล ซึ่งเปน็ ที่ยอมรับอย่างกวา้ งขวางเหมาะสม และเที่ยงธรรม ระดบั นแี้ บง่ ออกเปน็ 2 ขน้ั คือ ขน้ั ท่ี 1 ขนั้ การมีเหตผุ ลและการเคารพตนเอง หรือขน้ั ทาตามสัญญา (The Social Contract Legalistic Orientation) ช่วงอายุ 16 ปีขึ้นไป ในช่วงน้ีจะเห็นความสาคัญของคนหมู่มากความ ถูกต้องเป็นส่ิงท่ีต้องพิจารณาถึงค่านิยมเฉพาะตัวบุคคล โดยคานึงถึงสภาพการณ์และกฎเกณฑ์ท่ีมี เหตุผลซึ่งไดร้ ับการยอมรับจากคนส่วนใหญ่ มีทัศนะต่อกฎเกณฑ์ในลักษณะทีย่ ืดหยุ่นได้ ถ้ามเี หตผุ ลที่ เหมาะสมกว่า เคารพมติท่ีมาจากการลงความเห็นอย่างเป็นประชาธิปไตย และมีข้อตกลงท่ียอมรับ ร่วมกัน บุคคลจะทาตามสัญญาท่ีให้กับผู้อื่น คานึงถึงสิทธิเสรีภาพ และเห็นค่าแก่ประโยชน์ส่วนรวม เป็นสาคญั

27 ขนั้ ท่ี 2 ข้นั ทาตามหลกั อุดมคติสากล (The Universal Ethical Principle orientation) เปน็ ข้ันในวัยผู้ใหญ่ บุคคลมีความคิดรวบยอดทางนามธรรมเกี่ยวกับการสากล ความถูกต้อง คือ ความ สานึกถึงคุณค่าของความถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่บุคคลนั้นได้พิจารณาโดยคานึงถึงเหตุผลอย่าง กว้างขวางตามหลักสากลของผู้ท่ีเจริญแล้ว คานึงถึงประโยชน์ของมนุษยชน มีความเช่ือว่าทุกคนมี สิทธิเท่าเทียมกัน คณุ ธรรมในขั้นน้ีจะเกิดข้ึนได้ในบคุ คลท่ีมีความเจริญทางสตปิ ัญญาในขั้นสูงมีความรู้ และประสบการณก์ ว้างขวาน โคลเบอร์กเชื่อว่าพัฒนาการทางจริยธรรมของบุคคลจะเป็นไปตามลาดับขั้นจากข้ันท่ี 1 ไป จนถึงข้ันที่ 6 จะพัฒนาข้ามขั้นไม่ได้ เพราะการให้เหตุผลในขั้นที่สูงข้ึนได้นั้นจะต้องการความสามารถ จากขั้นท่ีตา่ กวา่ และต่อมาเม่ือได้รับประสบการณ์ทางสังคมใหม่ๆ หรือเข้าใจประสบการณ์เก่าได้ดีข้ึน จึงเกิดการเปล่ียนแปลงทางความคิดและเหตุผล ทาให้การให้เหตุผลในขั้นสูงมีมากขึ้นเหตุผลข้ันท่ีต่า กวา่ กจ็ ะถกู ใช้น้อยลงและละทงิ้ ไปในที่สดุ พฒั นาการทางจริยธรรมของแตล่ ะคนไม่จาเปน็ ต้องไปถงึ ข้ัน สูงสดุ อาจจะหยดุ ชะงักอยูใ่ นขัน้ หนง่ึ กไ็ ด้ ท้งั น้ขี ้นึ อยู่กบั ความสามารถทางสติปญั ญาและประสบการณ์ ทางสังคมของบุคคลนั้นๆ สรปุ โดยสรุปว่า จริยธรรม เป็นหลักการ (Principle) ที่บุคคลยึดถืออยู่ในใจในการตัดสิน ความถูก-ผิด ดี-เลว ควร-ไม่ควรทาของพฤติกรรมต่าง ๆ จริยธรรมของบุคคล อาจกาหนดตามหลัก กฎหมาย ความเชื่อ และค่านิยมของบุคคลนั้นๆ จรรยาความประพฤติและการปฏิบัติ ท่ีถือว่ามีความ ถูกต้อง ดีงาม ควรทาตามหลัก จริยธรรมของกลุ่มบุคคลในอาชีพหนึ่ง ๆ เช่น จรรยาแพทย์ จรรยา ข้าราชการ ฯลฯ และอาจกาหนดอยา่ ง ชดั เจนเปน็ ข้อ ๆ เรยี กว่า จรรยาบรรณ (Code of Ethics) 4. ทักษะชวี ิตดา้ นที่ 2 เด็กมีวินัยในตนเอง การหว่ งใยในตนเองและการควบคมุ อารมณ์ 4.1 เดก็ มีวินัยในตนเอง 4.1.1 การทางานตามท่ีได้รับมอบหมาย มีความรับผิดชอบต่องานท่ีได้รับมอบหมายตามคาสง่ั ทางานที่ได้ด้วยความตงั้ ใจ ทางานให้เรียบร้อยตามเวลาที่กาหนด 4.1.2 ตรงต่อเวลา การเข้าเรียนหรือทากิจกรรมต่างๆ ให้ตรงเวลา ส่งงานให้ตรงเวลา หรือ ก่อนเวลาไดย้ ิง่ ดี มีความรับผดิ ชอบตอ่ หน้าที่ 4.1.3 มีวินัยในการกิน กินเป็นเวลาไม่จุบจิบ กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ไม่กินทิ้งกินขว้าง กิน อาหารทีส่ ุกและมปี ระโยชน์ กินรอ้ น ชอ้ นกลาง ลา้ งมือ 4.1.4 ใฝ่เรียนรู้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง มีทักษะการคิดข้ันพื้นฐาน ทักษะการ สอื่ สารอยา่ งสร้างสรรค์ตามช่วงวยั 4.2 การหว่ งใยในตนเอง 2.2.1 ดแู ลสขุ ภาพ 1) อาหารและโภชนาการ (Food and nutrition) การรับประทานอาหารที่มีคุณค่าและ เพียงพอจะช่วยให้ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ไม่ควรเลือกรับประทาน อาหารเฉพาะบางชนิดเทา่ น้ัน

28 2) การออกกาลังกาย (exercise) ควรจัดกิจกรรมที่เล่นเป็นกลุ่มเพ่ือส่งเสริมทักษะการ เคลื่อนไหวเบ้ืองต้นเช่น ว่ายน้า เกมเบ็ดเตล็ดและยิมนาสติกเพ่ือจะได้ช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายมี สุขภาพท่แี ขง็ แรง 3) การป้องกันอุบัติเหตุ (Accident prevention) ระมัดระวังและป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุ ในขณะเล่นหรือออกกาลังกาย อุบัติเหตุจากของมีคมหรือน้าร้อนลวกการลื่นหกล้มบนพนื้ บ้านการตก บนั ได 4) การรักษาตนเอง (Self-defense) เรียนรู้ถึงสาเหตุของการเกิดโรคอาการการติดต่อและ การป้องกนั การเกดิ โรคตลอดจนให้การพยาบาลเม่อื ไม่สบายมคี วามร้ถู ึงวิธปี อ้ งกนั 4.2.2 การฝกึ สมาธิ 1) ฝึกสมาธิเวลาว่าง จากสิ่งของใกล้ตัว อย่าง การอ่านหนังสือพิมพ์ สอนลูกป่ันจักรยานให้ ตรงตามเส้น อา่ นนิทานให้คุณพอ่ คุณแมฟ่ ัง หรือการทอ่ งบทสวดมนตก์ ่อนนอน นอกจากจะช่วยให้ลูก สงบนง่ิ มีจิตใจจดจอ่ กับกจิ กรรมทท่ี าแลว้ ยังเปน็ การเสริมสร้างความมน่ั ใจใหล้ ูกไดอ้ กี ดว้ ย 2) ฟัง-เล่นดนตรีดีต่อสมาธิ เพื่อเป็นการช่วยให้จิตใจของลูกสงบ ลดความตึงเครียดก่อนเข้า เรียนและหลังเลิกเรียน อาจเปิดเพลงท่ีทานองเบา ๆ สบาย ๆ เช่น เพลงคลาสสิก เพลงบรรเลง จะ ชว่ ยเสริมสร้างความจาและการเรียนรู้ของเด็กให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน ดีกว่าดทู วี ี หรือเล่นเกมบน หนา้ จอหลายเทา่ เลยล่ะ 3) เรียนรู้ศิลปะ เพราะศิลปะคือหน่ึงในกิจกรรมท่ีช่วยทาให้เกิดสมาธิ และการฝึกทักษะการ ใช้มือและสายตาทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบ ไม่ว่าจะเป็นการวาดภาพ ป้ันดินน้ามัน หรือการพับ กระดาษ และงานฝีมือต่าง ๆ เพ่ือให้ลูกได้ใช้ศิลปะในการฝึกสมาธิ สร้างความเพลิดเพลินไปกับ จินตนาการของตวั เอง ทส่ี าคญั คณุ พ่อคณุ แม่สามารถสรา้ งงานศิลปะไปพรอ้ ม ๆ กบั ลกู ไดอ้ กี ดว้ ย 4) เล่นของเล่น หรือเกมท่ีต้องใช้สมาธิ สิ่งสาคัญคือการเลือกของเล่นที่ช่วยฝึกสมาธิให้เด็กมี ความตง้ั ใจจดจ่อและมีพัฒนาการด้านสมอง เช่น เกมจับคู่ ตอ่ จิ๊กซอว์ เลโก้ บล็อกไม้ หมากฮอส โดย การฝึกใหล้ ูกเล่นของเล่นทลี ะอยา่ งจะชว่ ยใหล้ กู มสี มาธกิ บั การเล่นไดน้ านขึ้น 5) ช่วยทางานบ้าน โดยการร่างทาตารางเวลาทางานบ้านท่ีลูกต้องรับผิดชอบ (แบบไม่ เคร่งครัดมากจนเกินไป) เพอื่ ช่วยกาหนดกิจวัตรประจาวันของลูก อาจเริ่มตั้งแต่การตื่นนอนจนถึงเข้า นอน เช่น การรดน้าต้นไม้ ซักถุงเท้า เก็บที่นอน เป็นต้น วิธีน้ีจะช่วยสร้างการเรียนรู้จดจา และทาให้ เด็กมสี มาธทิ าอะไรเปน็ ระบบระเบียบมากยิ่งขน้ึ 6) ธรรมชาติสร้างสมาธิ ไม่วา่ จะเป็นตน้ ไม้ ใบไม้ ดอกไม้ที่อยู่ในสวนหลังบ้าน หรือแม้กระท่ัง ตามสวนสาธารณะ เหล่าน้ลี ้วนเปน็ สิง่ ท่คี ุณพอ่ คณุ แม่สามารถเสริมสรา้ งการเรียนรู้ให้ลูกได้ตลอดเวลา อาจเร่ิมต้นจากเรียนรู้ขั้นตอนการปลูกต้นไม้ รดน้า ใส่ปุ๋ย จวบจนกระท่ังรอจนถึงวันท่ีต้นไม้ผลิดอก ออกผล เป็นการฝกึ สมาธิในการเฝ้าสงั เกต และการตดิ ตามการเจริญเตบิ โตของตน้ ไม้ในแต่ละวัน 4.3 การควบคุมอารมณ์ 4.3.1 ความรู้สึกตัว เมื่อไรก็ตามท่ีเกิดความรู้ตัวด้านอารมณ์ขึ้น จะส่งผลให้อารมณ์ดังกล่าว ลดความรุนแรงลง ดังเช่น คนท่ีรู้ว่า “ฉันกาลังโกรธ” จะลดความโกรธลงได้ คนท่ีรู้ตัวว่า “ฉันกาลัง หงุดหงดิ ” จะลดความหงุดหงดิ ลงได้ ทาให้สามารถใชเ้ หตุผลตัดสินใจได้ดขี ้ึน

29 4.3.2 การหายใจ การมีสติรับรู้ลมหายใจเข้าออกถือว่าเป็นการทาสมาธิให้อารมณ์และจิตใจ กลับเข้าสู่ภาวะสงบ ซ่ึงควรเร่ิมทาในท่านอนจนทาได้แล้ว ค่อยขยับมาทาท่าน่ังและยืน จนเป็นนิสัย การหายใจที่ผอ่ นคลาย เทคนคิ การหายใจมีหลากหลายแตกต่างกนั ออกไป สาหรับวธิ ีง่ายๆ ข้ันพนื้ ฐาน ไดแ้ ก่ คณนา (counting) ที่นับควบคู่ไปกับการกาหนดลมหายใจเขา้ ออก และใช้คาภาวนา เช่น “พทุ - เข้า โธ-ออก” หรือ “พองหนอ-ยุบหนอ” เป็นต้น ซึ่งเป็นรากฐานเดียวกับการทาโยคะ หรือการนั่ง สมาธนิ ัน่ เอง 4.3.3 การผ่อนคลายกล้ามเน้ือ สามารถทาไดก้ ับกล้ามเนือ้ ทุกส่วนท่ีรู้สึกเครียด โดยเริ่มจาก อริ ยิ าบถท่ีอวัยวะทุกส่วนผ่อนคลายและสบายมากที่สุด แลว้ คอ่ ยๆ ผ่อนกล้ามเนอ้ื ส่วนดงั กล่าวจนรู้สึก ผ่อนคลายมากท่ีสุด โดยวิธีนี้จะช่วยกาจัดอาการปวดหัว อาการปวดทว่ั ไป และอาการนอนไม่หลับ ได้ เป็นอยา่ งดดี ้วย 4.3.4 การฝึกควบคุมประสาทอตั โนมัติ วธิ ีง่ายที่สดุ คือการฝกึ ฝา่ มือรอ้ น ดว้ ยการต้ังฝา่ มือใน ระดับทรวงอก หันฝ่ามือเข้าหากันโดยเว้นช่วงห่างประมาณ 2-3 น้ิวฟุต หลังจากน้ันขยับฝ่ามือออก จากกันช้าๆ จนห่างพอควรแล้วขยับเข้ามาใกล้กันอีก ทาอย่างน้ีเป็นจังหวะช้าๆ จับความรู้สึกของฝ่า มือทั้ง 2 ข้างด้วยสมาธิจะทาให้เกิดความร้อนขึ้นบนฝ่ามือ ซ่ึงเกิดจากหลอดเลือดบนฝ่ามือขยายตัว ทาตดิ ตอ่ กันอย่างนอ้ ย 5-10 นาที 4.3.5 การจินตนาการ นอกจากเราสามารถจินตนาการถึงส่ิงสวยงามเพ่ือคลายเครียด เรา อาจประยุกต์ใช้วธิ ีการของจิตบาบัดซ่ึงจะชว่ ยให้เกิดผลดีมากขึ้นอกี ดว้ ย น่ันคือให้คิดถึงสิ่งที่ทาให้เกิด การกลัวในขณะท่ีกาลังอยู่ในสภาพผ่อนคลาย วิธีนี้เร่ิมต้นจากการทาให้กล้ามเน้ือผ่อนคลายก่อน จากน้ันค่อยนึกภาพสิ่งเร้า (สิ่งท่ีทาให้เกิดความกลัว) เป็นลาดับข้ัน จากระดับท่ีก่อให้เกิดความกลัว น้อยที่สุดไปจนถึงมากที่สุด ทั้งน้ีการเผชิญหน้ากับความทุกข์ในสภาพผ่อนคลายช่วยทาให้เกิดอารมณ์ ทางบวกและความสงบในท่สี ุด 4.3.6 คิดในทางท่ีถูก ในทางวิทยาศาสตร์พบว่าความคิดสัมพันธ์กับสมอง เมื่อคิดอย่างหนึ่ง สมองก็จะตอบสนองไปตามนั้น เช่น เม่ือคิดถึงสุขภาพภายใต้ความเครียด ความกดดัน หรือความ ซมึ เศรา้ อาการปวดจะรุนแรงทส่ี ุด เมื่อผ่อนคลายหรอื กาลังมีความสขุ ความเจ็บปวดกจ็ ะลดลง ดังนั้น ความคดิ สามารถกากบั กายใหเ้ ปน็ สุขหรือเป็นทุกขไ์ ด้ในทานองเดยี วกนั ด้วยวิธีคิดและการดาเนินชวี ิต ท่ีถูกตอ้ ง ก็สามารถกากับใจให้มีความสุขและผ่านพน้ ทุกข์ได้ ดังเช่นคนท่ีเข้าใจความเป็นจรงิ ว่ามนุษย์ มีโอกาสและฐานะไม่เท่าเทียมกัน แต่เราทุกคนมีโอกาสเผชิญภาวะของความทุกข์เท่าเทียมกัน ก็ย่อม มีภูมิต้านทานในการเผชิญความทุกข์ได้ดีกว่า หรือคนท่ีสามารถปรับเปล่ียนการแสวงหาความสุขบน ปจั จัยภายนอกมาเป็นการหาความสุขจากปจั จัยภายในที่ยั่งยืนกว่าด้วยการพึงพอใจในตัวเองและสิ่งที่ มีอยู่ในปัจจุบนั กย็ ่อมเป็นสุขได้ง่ายกว่า และเปน็ ทุกข์ได้ยากกวา่ คนทฝี่ ากความสขุ ไว้กบั สง่ิ เรา้ ภายนอก อกี ทั้งยังนา่ จะป้องกนั ตวั จากความทุกขต์ า่ งๆ ได้ดีอกี ดว้ ย 4.3.7 คิดเชิงบวก ความคิดทางลบของเราเอง เช่น คิดแต่สิ่งที่สูญเสีย จมอยู่กับภาพอดีต มองโลกในร้าย กลัวการเปล่ียนแปลง ฯลฯ ย่อมเปน็ บ่อเกิดของความเครียด ย่ิงต้องเผชิญความกดดัน ต่างๆ รอบตัว ความเครียดที่เกิดข้ึนนั้นก็จะกลายเปน็ สาเหตุของความทุกข์ใจร่วมดว้ ย เมื่อสองแรงมา ผสานกัน ความเครียดกับความคิดทางลบจะสะสมกลายเป็นความวิตกกังวล หรือนานไปก็กลายเป็น ความท้อแท้สน้ิ หวงั และซึมเศรา้ ในท่สี ุด

30 4.3.8 สรุป ทักษะชีวิตนับเป็นพื้นฐานสาคัญของการพัฒนาบุคคลทุกช่วงวัย ในยุคท่ีต้อง เผชิญกับ สิ่งแวดล้อม สังคม วิทยาศาสตร์ สูงส่งผลกระทบต่อการดารงชีวิตของผู้คนในสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กในช่วงประถมศึกษา ซึ่งชีวิตมีความอ่อนแอ และเปราะบางต่อสภาพแวดล้อม รอบๆ ตัว ซ่ึงอาจนาสู่ความบกพร่องของพัฒนาการด้านต่างๆ ได้ หากเด็กได้รับ การเสริมสร้าง เกี่ยวกับทักษะชีวิตโดยการปูพ้ืนฐานมาจากครอบครัวให้เข้มแข็งและม่ันคง เด็กจะมีต้นทุนชีวิต มี ความพร้อมท่ีจะปรับตัว หรือเผชิญกับปัญหารอบตัวได้อย่างเหมาะสมกับวัย สมบูรณ์พร้อมท้ังด้าน รา่ งกาย อารมณ์ การคิด และการแสดงพฤติกรรมอย่างเหมาะสม อันเกื้อกูลให้เกิดการดาเนิน ชีวิตใน สังคมได้อย่างมีความสุข ปัจจัยในการดาเนินชีวิตอย่างเหมาะสม ก็จะทาให้เด็กมีคุณภาพชีวิตที่ดี ใน ทุกๆ ดา้ นท้งั ดา้ น ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คมและสติปัญญา

31 เอกสารและส่ิงอา้ งองิ กมลวรรณ จีนหน่อ.(2553).การศึกษาผลการพัฒนาทักษะชวี ติ ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://ir.swu.ac.th. วนั ที่สบื ค้น2562, กันยายน 15. กลั ยา ศรีสมบตั .ิ (2544).การศึกษาผลการพฒั นาทักษะชีวิตของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก http://ir.swu.ac.th. :วันท่ีสบื ค้น2562, กนั ยายน 8. กัสด้า, ซิลเดอร์ และปร้คู .(2544).การศึกษาผลการพฒั นาทักษะชวี ิตของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก: http://ir.swu.ac.th. :วนั ทีส่ บื คน้ 2562, กนั ยายน 22. กรมวิชาการ..(2544). ปจั จยั ท่สี ัมพันธ์กับทกั ษะชีวิตของนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://bit.ly/2neNnX. :วันทีส่ ืบคน้ 2562, สงิ หาคม 28. กรมสุขภาพจติ .(2544). ปจั จัยทส่ี ัมพนั ธ์กับทักษะชวี ิตของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://bit.ly/2neNnXh. :วันท่สี บื คน้ 2562, กันยายน 11. กรมสุขภาพจิต.(2544). การศกึ ษาผลการพัฒนาทกั ษะชวี ติ ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก http://ir.swu.ac.th. :วนั ท่สี บื ค้น2562, กันยายน 5. กรมสุขภาพจิต.(2544). การพัฒนาทักษะชีวิตในการปฏบิ ัตติ นใหร้ อดพน้ จากปัญหาสังคม. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก https://www.Chula.ac.th/research-and- innovation/implemented-research/Noppawan.pdf. :วันทีส่ ืบคน้ 2562, กนั ยายน 15.



หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ผสานจริงเล่มน้ีเป็น ส่วนหนึ่งของวิชาการพัฒนาสื่อการเรียนร่วมสมัย ด้านที่ 2 โดยมีจุดประสงค์ของการจัดทาเพ่ือให้ ผู้ศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะชีวิต ซึ่งมีเน้ือหาเก่ียวกับเด็กมีวินัยในตนเอง การห่วงใย ในตนเองและการควบคุมอารมณ์ ตั้งแต่การมีวินัย ในตนเอง รู้จักโลกของอาชีพ รู้จักโลกของการศึกษา ซ่ึงเป็นทักษะเก่ียวกับเด็กประถมศึกษา ที่มีความหมาย ข อ ง ทั ก ษ ะ ชี วิ ต อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ทั ก ษ ะ ชี วิ ต การประเมินทักษะชีวิต แนวคิดการพัฒนาทักษะชีวิต การพัฒนาทักษะชีวิต ทฤษฎีการมีส่วนร่วมทฤษฎี เก่ียวกับการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม กิจกรรมและ การสอนเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต สามารถ นามา ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันรวมทั้งการศึกษาเรียนรู้ การสอน ตลอดจนการทางานประกอบอาชีพใน อนาคตไดอ้ ีกด้วย

เรอ่ื ง หนา้ คู่มือการใช้ Zappar 1 ทักษะชวี ติ ด้านท่ี 2 2 เด็กมีวินยั ในตนเอง 2 - การทางานตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย 2 - ตรงตอ่ เวลา 3 - มวี ินยั ในตนเอง 3 - ใฝเ่ รยี นรู้ 4 5 การห่วงใยในตนเอง 6-7 - ดแู ลสขุ ภาพ 8 - การฝกึ สมาธิ 8 8 การควบคมุ อารมณ์ 9 - ความร้สู กึ ตวั 9 - การหายใจ 10 - การผอ่ นคลายกล้ามเนื้อ 10 - การฝกึ ควบคมุ ประสาทอตั โนมัติ 10 - การจนิ ตนาการ 11 - คิดในทางที่ถกู - คดิ เชิงบวก สรปุ



มีความรบั ผิดชอบตอ่ งานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ตามคาสั่งดว้ ยความตงั้ ใจ การเขา้ เรยี น ทากิจกรรมตา่ งๆหรือ สง่ งานใหต้ รงเวลา

กนิ เป็นเวลาไมจ่ บุ จบิ กนิ อาหารใหค้ รบ 5 หมู่ กนิ ร้อน ชอ้ นกลาง ล้างมอื อ่านคลอ่ ง เขียนคลอ่ ง คดิ เลขคลอ่ ง มที กั ษะการคดิ ขน้ั พนื้ ฐาน

อาหารและโภชนาการ (Food and nutrition) การออกกาลังกาย (exercise)

การป้องกนั อุบตั เิ หตุ (Accident prevention) การรักษาตนเอง (Self-defense)

การอ่านหนังสอื พมิ พ์ ปั่นจักรยาน ใหต้ รงตามเสน้ อ่านนิทานใหค้ ณุ พอ่ คณุ แม่ฟงั หรอื การทอ่ งบทสวดมนต์กอ่ นนอน ลดความตงึ เครยี ดกอ่ นเขา้ เรียนและหลงั เลกิ เรยี น เปดิ เพลงทที่ านองเบาๆ สบายๆ เชน่ เพลงคลาสสกิ เพลงบรรเลง การวาดภาพ ป้นั ดนิ น้ามนั หรือการพบั กระดาษ และงาน ฝมี ือตา่ ง ๆ ได้ใช้ศลิ ปะในการฝกึ สมาธิ สร้างความ เพลิดเพลนิ

การเลือกของเล่นทช่ี ่วยฝกึ สมาธใิ หเ้ ด็กมคี วามตัง้ ใจ จดจอ่ และมีพัฒนาการดา้ นสมอง เช่น เกมจบั คู่ ต่อจิก๊ ซอว์ เลโก้ กาหนดกิจวัตรประจาวันของลูก อาจเรมิ่ ตง้ั แตก่ ารตนื่ นอนจนถึงเข้านอน เช่น การรดน้าตน้ ไม้ ซกั ถงุ เทา้ เก็บท่ีนอน การปลูกตน้ ไม้ รดนา้ ใสป่ ยุ๋ จวบจนกระทั่งรอ จนถึงวันทต่ี น้ ไมผ้ ลิดอกออกผล เปน็ การฝกึ สมาธิ ในการเฝา้ สงั เกต และการติดตาม การเจรญิ เตบิ โตของต้นไม้







ทักษะชีวิตนับเป็นพื้นฐานสาคัญของการพัฒนาบุคคลทุกช่วง วัย ในยุคที่ต้องเผชิญกับ สิ่งแวดล้อม สังคม วิทยาศาสตร์ สูงส่งผลกระทบต่อการดารงชีวิตของผู้คนในสังคม โดยเฉพาะอย่างย่ิง เด็กในช่วงประถมศึกษา ซ่ึงชีวิตมีความอ่อนแอ และเปราะบางต่อ สภาพแวดล้อมรอบๆ ตัว ซึ่งอาจนาสู่ความบกพร่องของพัฒนาการ ดา้ นตา่ งๆ ได้ หากเด็กได้รบั การเสริมสร้างเก่ียวกบั ทักษะชีวติ โดยการ ปูพ้ืนฐานมาจากครอบครัวให้เข้มแข็งและม่ันคง เด็กจะมีต้นทุนชีวิต มีความพร้อมที่จะปรับตัว หรือเผชิญกับปัญหารอบตัวได้อย่างเหมาะสม กับวัย สมบูรณ์พร้อมท้ังด้านร่างกาย อารมณ์ การคิด และการแสดง พฤติกรรมอย่างเหมาะสม อันเก้ือกูลให้เกิดการดาเนิน ชีวิตในสังคมได้ อย่างมีความสุข ปัจจัยในการดาเนินชีวิตอย่างเหมาะสม ก็จะทาให้เด็กมี คุณภาพชีวิตท่ีดี ในทุกๆ ด้านท้ังด้าน ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสตปิ ญั ญา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook