Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักการพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

หลักการพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Published by วิภาดา บุญสง่า, 2019-09-05 22:45:29

Description: หลักการพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

การเขียนผังงาน (Flowchart) ผงั งาน (Flowchart) เปน็ ผังงานรปู ภาพทีใ่ ช้แสดงแนวคิด หรอื ขัน้ ตอนการทางาน ของโปรแกรม และเป็นเครื่องมอื ที่ชว่ ยให้มองเหน็ ภาพรวมของโปรแกรมทท่ี าใหเ้ ราเขียน โปรแกรมไดง้ ่ายยงิ่ ข้ึน เนอื่ งจากเราสามารถมองเห็นแนวคดิ และทศิ ทางการทางานของ โปรแกรมนั้นเอง

การเขยี นผงั งาน หรอื ท่รี จู้ ักกนั ในชอื่ ของ Flowchart Flowchart คือ ผงั งานท่ีใช้รปู ภาพมาแสดงขนั้ ตอนการทางานของโปรแกรม โดยจะใช้สญั ลักษณ์ต่างๆ เพอ่ื ใชแ้ ทนรูปแบบหรือการทางานของคาส่ังโปรแกรม สญั ลกั ษณ์ของผังงาน มหี นา้ ท่กี ารทางานแตกตา่ งกัน ซ่ึง เราต้องทาความเข้าใจข้อมลู การใช้ของแต่ละอันดว้ ยครับ ทาไมจึงตอ้ งเขยี น flowchart – ช่วยลาดบั ขั้นตอนการทางานของโปรแกรม และสามารถนาไปเขียนโปรแกรมไดโ้ ดยไม่สับสน – ชว่ ยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมอ่ื เกิดขอ้ ผิดพลาด – ช่วยใหก้ ารดดั แปลง แก้ไข ทาไดอ้ ยา่ งสะดวกและรวดเร็ว – ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศกึ ษาการทางานของโปรแกรมไดอ้ ย่างงา่ ย และรวดเร็วมากข้นึ

หลักการนาสญั ลกั ษณต์ า่ งๆ มาเขยี นเปน็ ผงั งาน (Flowchart) เมื่อเรารู้และเข้าใจความหมายต่างๆ ของสญั ลกั ษณ์แล้ว รูปต่อไปนี้คอื การนาสญั ลักษณต์ า่ งๆ ไปใช้เขียน เป็นผังงาน (Flowchart) ครับ

หลกั การใชส้ ญั ลกั ษณข์ องผงั งาน (Flowchart) คอื • 1) ผังงาน (Flowchart) ที่เขียนขึน้ ต้องมจี ดุ เร่ิมต้น และ จุดสน้ิ สุด (Start and Stop) • 2) สญั ลักษณ์แต่ละรูปจะมกี ารเชื่อมต่อด้วย ทศิ ทางการทางาน (Direction of Flow) • 3) ทศิ ทางการทางานจะต้องเริม่ ตน้ จากจุดเริม่ ต้น และจบทจ่ี ุดสิ้นสุดเทา่ นั้น

การ เขยี น flowchart ประโยชนข์ องผงั งาน ชว่ ยลาดบั ขัน้ ตอนการทางานของโปรแกรม และสามารถนาไปเขยี นโปรแกรมได้ โดยไมส่ ับสนชว่ ยในการตรวจสอบ และแกไ้ ขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกดิ ขอ้ ผิดพลาดชว่ ยใหก้ ารดดั แปลง แกไ้ ข ทาไดอ้ ย่างสะดวกและรวดเร็วช่วยให้ ผูอ้ ื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเรว็ มากขึน้ วิธีการเขยี นผงั งานที่ดี ใช้สัญลักษณต์ ามท่ีกาหนดไว้ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของขอ้ มูลจากบนลง ล่าง หรือจากซ้ายไปขวาคาอธบิ ายในภาพควรสน้ั กระทัดรดั และเข้าใจงา่ ย ทกุ แผนภาพตอ้ งมีลกู ศรแสดงทิศทางเข้า - ออกมค่ วรโยงเสน้ เชือ่ มผังงานท่อี ยู่ ไกลมาก ๆ ควรใช้สญั ลกั ษณ์จดุ เช่ือมตอ่ แทนผังงานควรมกี ารทดสอบความ ถกู ตอ้ งของการทางานก่อนนาไปเขยี นโปรแกรม

การเขยี นผังโปรแกรมจะประกอบไปด้วยการใชส้ ญั ลักษณ์มาตรฐานตา่ ง ๆ ทเี่ รยี กว่า สัญลักษณ์ ANSI ( American National Standards Institute ) ในการสรา้ งผงั งาน ดังตัวอย่างท่ีแสดงในรปู ตอ่ ไปน้ี • จุดเริ่มตน้ / สนิ้ สดุ ของโปรแกรม • ลกู ศรแสดงทศิ ทางการทางานของโปรแกรมและการไหลของข้อมลู • ใชแ้ สดงคาสง่ั ในการประมวลผล หรอื การกาหนดค่าขอ้ มูลให้กับตวั แปร • แสดงการอา่ นขอ้ มลู จากหนว่ ยเกบ็ ข้อมลู สารองเข้าสู่หนว่ ยความจาหลกั ภายในเครอื่ งหรอื การแสดงผลลพั ธจ์ าก การประมวลผลออกมา • การตรวจสอบเงอ่ื นไขเพ่อื ตดั สนิ ใจ โดยจะมีเส้นออกจารรูปเพือ่ แสดงทศิ ทางการทางานตอ่ ไป เงื่อนไขเปน็ จริงหรือ เปน็ เทจ็ • แสดงผลหรือรายงานทถ่ี ูกสรา้ งออกมา • แสดงจุดเชอื่ มต่อของผังงานภายใน หรอื เป็นทบี่ รรจบของเสน้ หลายเส้นทมี่ าจากหลายทิศทางเพ่อื จะไปสกู่ าร ทางานอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ทเ่ี หมอื นกนั • การข้ึนหน้าใหม่ ในกรณที ่ผี ังงานมีความยาวเกนิ กวา่ ท่จี ะแสดงพอในหนึ่งหนา้ • Flowchart อยา่ งแรกเลยทีเ่ ราตอ้ งร้จู กั คือ Algorithm กอ่ นทจ่ี ะเขยี นผงั งาน (Flowchart) ผู้อ่านจาเป็นตอ้ งทาความ เขา้ ใจกับ Algorithm กนั กอ่ น • Algorithm คือ กระบวนการแก้ปัญหาท่สี ามารถเข้าใจได้ มลี าดับหรอื วธิ ีการในการแก้ไขปญั หาใดปัญหา หนึง่ อย่างเปน็ ขั้นเปน็ ตอนและ ชดั เจน เมอ่ื นาเข้าอะไร แลว้ จะตอ้ งได้ผลลพั ธเ์ ช่นไร เชน่ เวลาเราจะเดินทางไป มหาลัย(เปรียบเสมือนปัญหา คือตอ้ งการไปมหาลัย) ต้องทาอยา่ งไรบา้ ง เพ่อื จะไปถึงมหาลัย(ผลลัพธ์ ที่ ตอ้ งการ) ยกตวั อย่าง

การเขยี นผงั โปรแกรมจะประกอบไปดว้ ยการใชส้ ญั ลกั ษณม์ าตรฐานตา่ ง ๆ ที่เรียกว่า สัญลักษณ์ ANSI ( American National Standards Institute ) ในการสร้างผังงาน ดัง ตัวอยา่ งทแ่ี สดงในรปู ตอ่ ไปน้ี จดุ เร่ิมตน้ / ส้นิ สดุ ของโปรแกรม ลกู ศรแสดงทิศทางการทางานของโปรแกรมและการไหลของขอ้ มูลใช้แสดงคาส่งั ในการประมวลผล หรือ การกาหนดค่าขอ้ มลู ให้กับตัวแปร แสดงการอ่านข้อมลู จากหน่วยเกบ็ ขอ้ มูลสารองเขา้ สู่หน่วยความจาหลัก ภายในเครื่องหรือการแสดงผลลพั ธจ์ ากการประมวลผลออกมาการตรวจสอบเง่อื นไขเพ่อื ตดั สินใจ โดยจะมี เสน้ ออกจารรปู เพื่อแสดงทศิ ทางการทางานต่อไป เงอ่ื นไขเปน็ จรงิ หรือเป็นเท็จแสดงผลหรอื รายงานท่ถี ูก สรา้ งออกมาแสดงจุดเชอ่ื มต่อของผังงานภายใน หรอื เป็นทีบ่ รรจบของเสน้ หลายเสน้ ท่มี าจากหลายทศิ ทาง เพ่อื จะไปสู่การทางานอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ที่เหมือนกนั การข้ึนหนา้ ใหม่ ในกรณที ่ผี งั งานมคี วามยาวเกินกวา่ ที่จะ แสดงพอในหนึ่งหนา้ Flowchartอย่างแรกเลยท่เี ราต้องรจู้ ัก คือ Algorithm กอ่ นทจ่ี ะเขยี นผงั งาน (Flowchart) ผูอ้ ่านจาเป็นตอ้ งทาความเข้าใจกบั Algorithm กันกอ่ นAlgorithm คอื กระบวนการแกป้ ญั หาที่ สามารถเข้าใจได้ มลี าดบั หรือวิธีการในการแก้ไขปัญหาใดปญั หาหนึง่ อย่างเป็นขั้นเปน็ ตอนและ ชดั เจน เมือ่ นาเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เชน่ ไร เช่น เวลาเราจะเดินทางไปมหาลัย(เปรยี บเสมือนปญั หา คือ ตอ้ งการไปมหาลัย) ตอ้ งทาอย่างไรบ้าง เพ่อื จะไปถงึ มหาลัย(ผลลัพธ์ ทต่ี อ้ งการ) ยกตัวอย่าง

สัญลกั ษณ์(Symbol) การเขียน Flowchart เบื้องตน้ เราจะใช้สญั ลักษณด์ งั ตอ่ ไปนี้ (ท่จี รงิ มีเยอะค่ะแตใ่ ช้จรงิ ๆ เบ้อื งตน้ มีแคน่ ีแ้ หละ)

รปู แบบการเขยี น Flowchart การเขยี นเราจะเขยี นในลักษณะ Top-Down คอื จากบนลงล่าง(Flow คอื การไหล,Flowchart ก็คือ ผงั งานการไหลของขอ้ มลู ) การเขยี นมี 3 ลกั ษณะ คอื sequence(ตามลาดับ) selection(ทางเลือก/เง่อื นไข) iteration(ทาซ้า) Sqquence(ตามลาดบั ) ตามช่ือเลยคะ่ เป็นการเขยี นแบบไลท่ าไปทลี ะลาดับ ไม่มีแยก (เปรียบเสมือน ขับรถไป ไม่มีทางแยก ใหเ้ ลย้ี วไปไหน)

Selection(ทางเลอื ก/เงอ่ื นไข) แล้วถ้ามเี งอ่ื นไข หรอื ทางเลือก ละ ประมาณว่า (สมมตุ ินะ) ถ้านงั่ รถไปมีนบุรีแลว้ รถ ต้เู ต็ม คนต่อแถวเยอะมากเลยไปเรียนไมท่ นั แนๆ่ ก็ให้นั่ง Taxi (เหน็ มัย้ ว่ามันมีทางเลอื กและ หรอื เง่อื นไขน่ันเอง) เรามาดูแบบมเี งอ่ื นไขกัน