คำนำ รายงานเลม่ นจ้ี ดั ทาโดย ขน้ึ เพ่ือเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา441-222 Welfare Management and Social Insurance สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีเพ่ือให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเร่ืองหลักการและทฤษฎีว่าด้วยเร่ืองความรกั ตอ่ เพอ่ื นมนษุ ย์ และได้ศึกษาอย่างเข้าใจเพ่ือเป็นประโยชน์แกก่ ารเรียน หวังว่ารายงานเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์กับผู้อ่านหรือนักเรียนนักศึกษา ท่ีกาลังหาข้อมูลเร่ืองนี้อยู่ หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่น้ีดว้ ย
สำรบญั- คำนำ- ทฤษฎคี วำมรักต่อเพ่อื นมนุษย์- ควำมหมำยสวัสดกิ ำรสังคม- แนวคิดทฤษฎพี ้นื ฐำนกำรจัดสวัสดกิ ำรในองคก์ ร - ทฤษฎีลำดบั ควำมตอ้ งกำรของมนษุ ย์ - ทฤษฎี ERG - ทฤษฎีปจั จัยจงู ใจ- อ้ำงองิ- สมำชิก
ทฤษฎวี ท่ำฤษดฎว้ ีวยา่ ดค้วยวคำวมามรรักกั ตตอ่ เ่อพ่ือเนพมื่นอษุ นยม์ นุษย์ ความเช่ือทางทฤษฎีนีม้ ีอย่วู ่า “มนษุ ย์ย่อมรักมนษุ ย์ด้วยกนั ต้องการชว่ ยเหลือซง่ึ กนั และกัน” ถ้าพบว่าเพ่ือนมนษุ ย์มีความทุกข์ จะขาดความสุขมากขึน้ รู้ว่ามนุษย์ด้วยมีความทุกข์Theและเดือดร้ อน ฉะนนั้ มนุษย์ด้วยกันก็มักจะมีความเมตตาสงสารเพื่อนมนุษย์ด้วยกันอย่างจริงใจ พร้อมที่จะเสียสละเม่ือมีโอกาสนายจ้างที่จดั สวสั ดิการด้วยทฤษฎีนีม้ กั จดัสวสัดิการในรูปแบบท่ีเก่ียวกบั การปรับปรุงสภาพการทางานและส่ิงแวดล้อมในการทางานสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ รวมทัง้ ให้ความสาคัญแก่การแบ่งเบาภาระงานละปัญหาส่วนตัวของลูกจ้างอย่างไรก็ตามการจดั สวสั ดิการบนพืน้ ฐานความเชื่อในเร่ืองนีย้ งั คงเป็นเรื่องของความรู้สึก ที่อาจจะแปรเปลี่ยนได้เสมอๆ ฉะนัน้ สวสั ดิการจึงอาจมีทงั้ ปริมาณและคณุ ภาพ มากหรือน้อยขนึ ้ อยกู่ บั ความเป็นคนดีและความเป็นคนรักของเพื่อนมนษุ ย์ของนายจ้างแตล่ ะคนทฤษฎีวำ่ ดว้ ยควำมรกั ตอ่ เพื่อนมนษุ ย์
ควำมหมำยของสวสั ดกิ ำรสังคม คาวา่ “สวสั ดิการสงั คม” เป็นคาท่ียากแก่การกาหนดความหมาย ให้ตรงกัน เนื่องด้วยความแตกต่างหลากหลายของปัจจัยต่างๆที่ เก่ียวข้อง อย่างไรก็ตาม นกั วิชาการที่ศึกษาเก่ียวกบั สวสั ดิการสงั คม ให้ความหมายไว้ตา่ งกนั หลายทศั นะ
Turner (1974, P .19) ให้ความหมายของสวสั ดิการสังคมว่า หมายถึง ความพยายามส่งเสริมให้ประชาชนมีมาตรฐานความเป็ นอยู่ข้นั พ้ืนฐานที่ม่ันคงด้วยครอบคลุมการบริการบุคคลและชุมชนในลกั ษณะการพฒั นาสงั คม ตลอดจนการเสริมสร้างบุคคลให้สามารถเผชิญกบั ปัญหาทางร่างกายจิตใจ เศรษฐกิจ สงั คม และการพยายามขจดั สภาวะการพ่ึงตนเองไม่ไดข้ องประชาชน
วนั ทนีย์ วำสิกะสิน (2536, น. 60-61) ให้ความหมายของสวสั ดิการสงั คมว่า หมายถึง การกินดีอย่ดู ี (Social Well –being) ของทุกคน ไม่เฉพาะผู้ยากไร้ เท่านนั้ ทงั้ นีต้ ามปฏิญญา สากลขององค์การสหประชาชาติเร่ืองสิทธิมนษุ ยชน กาหนดว่าทกุ คนจะต้อง ได้รับการตอบสนองในความต้องการขัน้ พืน้ ฐานอันเป็นสิทธิที่ทุกคนจะต้อง ได้รับ และเป็นหน้าท่ีของรัฐที่จะต้องจดั บริการต่างๆไว้ให้ และความต้องการ ขนั้ พืน้ ฐานก็เป็นสิ่งท่ีทกุ คนรู้ว่า หมายถึง อาหาร เสือ้ ผ้า ที่อยู่อาศยั และยา รักษาโรค ฉะนนั้ รัฐจึงต้องจดั หาที่อย่อู าศยั ให้แก่ประชาชน จดั ให้ประชาชนมี งานทาเพื่อมีเงินสาหรับซือ้ เสือ้ ผ้ า ท่ีอยู่อาศัย ยารักษาโรค จัดให้ มี สถานพยาบาลสาหรับประชาชนเม่ือเจ็บป่วยไมว่ า่ ประชาชนคนนนั้ จะอาศยั อยู่ ในเมืองใหญ่ หรือในชนบทท่หี า่ งไกล
สรปุส วั ส ดิ ก า ร สัง ค ม ห ม า ย ถึ งองค์ประกอบหนึ่งของนโยบายสงั คมที่มีรัฐเป็นผ้รู ับผิดชอบหลกัเ พ่ื อ ส่ง เ ส ริ ม ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น มีม า ต ร ฐ า น ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ขั้นพืน้ ฐานที่มน่ั คง มีความเท่าเทียมในสิทธิ และโอกาส สามารถเผชิญและพึ่งพาตนเองได้ เมื่อป ร ะ ส บ ปั ญ ห า ต่ า ง ๆ โ ด ย มีจุดมุ่งหมายสูงสุด คือ การกินดีอยดู่ ีของทกุ คนในสงั คม
ผลการวิจยั การศึกษาครัง้ นีม้ ีวตั ถุประสงค์เพ่ือศึกษา สวสั ดิการแรงงานนอกเหนือจากท่ีกฎหมายกาหนด ตลอดจนความพงึ พอใจในสวสั ดิการของแรงงานระดบั หน่วยผลิตในภาคอตุ สาหกรรมนิคมอตุ สาหกรรมภาคเหนือ จงั หวดั ลาพนู กลมุ่ ตวั อยา่ งท่ีใช้ในการศึกษา คือ แรงงานระดบั หน่วยผลิต จานวน 400 ราย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือในการศกึ ษา การวิเคราะห์ข้อมลู ใช้สถิติเชิงพรรณนา การให้น้าหนกั ความพอใจแบบลเิ คทิ
ผลการศึกษาพบว่าแรงงาน เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 38ปี มีภูมิลาเนาอยู่ในภาคเหนือสถานภาพโสดไม่มีบตุ ร จบ การศกึ ษาใ นระ ดบั ปริญ ญาต รี มีประสบการณ์ในการทางานเฉลี่ย5 ปี ลกั ษณะงานท่ีทาอย่ใู นปัจจบุ นั คือ ประกอบและตรวจสอบชิน้ สว่ นงานให้ได้มาตรฐาน ได้รับรายได้เฉล่ียเดือนละ 10,087บาท นอกจากนีแ้ รงงานยงั ได้รับสวสั ดิการในด้านต่างๆ6 ด้าน ได้แก่สวสั ดกิ ารด้านการมงุ่ พฒั นาลกู จ้างสวสั ดิการที่ช่วยเหลือในเร่ืองค่าครองชีพ สวสั ดิการท่ีช่วยเหลือดารออมขอลูกจ้าง สวสั ดิการที่พัฒนาสถาบันครอบครัวของลกู จ้าง สวสั ดิการท่ีส่งเสริมความม่ันคงในอนาคต และสวัสดิการนันทนาการและสุขภาพอนามัย โดยแรงงานมีความพอใจในสวสั ดกิ ารแรงงาน3 อนั ดบั แรก คือสวสั ดิการที่ช่วยเหลอื การออมของลกู จ้าง ในรูปของกองทนุ สารองเลีย้ งชีพ รองลงมาคือสวัสดิการนันทนาการและสุขภาพอนามัยในรูปของการจัดงานเลีย้ งสงั สรร ค์พนกั งาน และสวสั ดิการที่ชว่ ยเหลอื ในเรื่องคา่ ครองชีพ ในรูปของการจดั ชดุ ทางาน
เม่ือพิจารณาแรงงานกล่มุ ตวั อย่างจาแนกตามการลงทนุ พบว่าแรงงานในนิคมอตุ สาหกรรมภาคเหนือจงั หวดั ลาพนู ทงั้ 2 กล่มุ แรงงานระดบั หน่วยผลิตที่ทางานอย่ใู นบริษัทที่ได้รับการลงทนุภายโดยตรงจากต่างประเทศและแรงงานที่ทางานอย่ใู นบริษัทที่ได้รับการลงทุนภายในประเทศส่วนใหญ่ได้รับสวัสดิการแรงงานนอกเหนือจากท่ีกฎหมายกาหนด ทงั้ 6 ด้านใกล้เคียงกัน และสวัสดิการท่ีแรงงาน 2กลุ่มได้รับแตกต่างกัน คือ สวัสดิการด้านการออมของลูกจ้าง ในรูปของกองทนุ สารองเลยี ้ งชีพ โดยแรงงานทที่ างานในบริษัทท่ีได้รับการลงทนุ ภายโดยตรงจากต่างประเทศนนั้ ได้รับสวสั ดกิ ารนีจ้ านวน 198 ราย และแร ง ง า น ท่ีทา ง า น ใ น บ ริษัท ที่ไ ด้รับ ก า ร ล ง ทนุภายในประเทศได้รับสวสั ดิการนีเ้พียง 112 ราย ในสว่ นของความพงึ พอใจ แรงงานที่ทางานอย่ใู นบริษัทที่ได้รับการลงลงทนุ ภายโดยตรงจากต่างประเทศ มีความพงึ พอใจมากท่ีสดุ 3อนั ดบั แรก คือสวสั ดิการที่ช่วยเหลอื ในเรื่องคา่ ครองชีพ รองลงมาคือ สวสั ดิการที่ชว่ ย เหลือกา รออ มขอ งลกู จ้า งแ ละส วสั ดกิ า รนนั ทนาการและสขุ ภาพอนามยั สว่ นแรงงานท่ีทางานอยใู่ นบริษัทท่ีได้รับการลงทนุภายในประเทศ มีความพอใจมากท่ีสดุ 3อนั ดบั แรก คือ สวสั ดิการนนั ทนาการและสขุ ภาพอนามยัรองลงมาคือ สวสั ดกิ ารที่พฒั นาสถานบนั ครอบครัวของลกู จ้าง และสวสั ดกิ ารท่ีชว่ ยเหลอื การออมของลกู จ้าง
ฐานิกา บุษมงคล. (2558). ควำมหมำย และควำมสำคัญของเพอื่ นมนุษย.์ (ออนไลน)์ . แหลง่ ที่มา : http://thethanika.blogspot.com/2010/09/blog-post_24.html. 10 มีนาคม 2558.พรรณทิวา วรรณพฤกษ์. (2558). รักเพ่อื นของมนษุ ย.์ (ออนไลน)์ . แหลง่ ทมี่ า: https://www.l3nr.org/posts/376807. 10 มีนาคม 2558ลกั ขนา สริวัฒน์. (2556). มนษุ ยสัมพันธ.์ พิมพ์ครง้ั ที่1. กรุงเทพฯ: สานักพมิ พโ์ อ.เอส.พรน้ิ ติ้งส์ เฮ้าส.์เสรมิ ศกั ดิ์ วิศาลาภรณ.์ (2558).ควำมรักเพอื่ นมนษุ ย.์ (ออนไลน)์ . แหลง่ ทีม่ า: http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/HR_Self_Develop.htm. 10 มีนาคม 2558สมชาติ ปรกึ ไธสง. (2558). ทฤษฎวี ำ่ ด้วยเรอื่ งควำมรกั ต่อเพอ่ื นมนษุ ย์. (ออนไลน)์ . แหลง่ ท่ีมา: http://krusomchart05.blogspot.com/2011/03/blog-post_21.html. 10 มนี าคม 2558
นางสาวซนู ติ า้ หวังกา 6020710010 สมาชิกนายภัคพงษ์ ทองย่น 6020710074นางสาวสารีนา ขรดี าโอะ 6020710078นายอสั มนั แวนา 6020710099นางสาวสุบัยย๊ะ เตะ๊ หะ 6020710143นายมฮู าหมัด เจะ๊ แต 6020710150นายนที เจ๊ะมะ 6020710179
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: