Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore e-book e-dit 2

e-book e-dit 2

Published by maamsister24, 2021-07-30 16:00:43

Description: e-book e-dit 2

Search

Read the Text Version

เลี้ยงน้องหมาอย่างไร… ให้กายใจแข็งแรง การดูแลสุขภาพน้องหมาง่ายๆ ทำเองได้ที่บ้าน โดย หมอช้าง (สพ.บ. ม.เกษตรศาสตร์) Healthy dog appy Dog

เนื้อหา Chapter-1 เตรียมตัวเป็นคุณพ่อคุณแม่ให้น้องหมา Chapter -2 เลือกพันธุ์น้องหมา เหมือนเลือกคู่ชีวิต Chapter -3 รักแรกพบ ณ ฟาร์มน้องหมา Chapter -4 บ้านใหม่ชีวิตใหม่ Chapter -5 มื้ออร่อย ที่น้องหมาต้องการ Chapter -6 ไปพบลุงหมอใจดี Chapter -7 น้องหมางามเพราะขน... เรื่องเล็กที่โคตรใหญ่ Chapter -8 อึ...ดี มีชัยไปกว่าครึ่ง Chapter -9 ดูแลฟัน ให้แข็งแรงกันเถอะ Chapter -10 หน้าต่างของหัวใจ Chapter -11 จะทำหมันดี หรือไม่ทำดี Chapter -12 ถ้าน้องหมาจะเป็นคุณแม่ Chapter -13 พาน้องหมาไปเที่ยวกันเถอะ Chapter -14 เมื่อโรคถามหา Chapter -15 เตรียมตัวให้เป็นคุณตาคุณยายที่แข็งแรง

Chapter 1 เตรียมตัวเป็นคุณพ่อคุณแม่ให้น้องหมา การเตรียมตัวเพื่อเลี้ยงสุนัข ก่อนอื่นต้องสำรวจตัวเจ้าของเอง ก่อนว่าตัวเรามีความพร้อมในการดูแลสุนัข ได้ตลอดช่วงชีวิตสุนัขหรือไม่ (7-15 ปี) หรือเป็นเพียงความสนใจเพียงชั่วครั้งคราว การสำรวจตัวเองของเจ้าของ สามารถทำสิ่งที่เป็นกิจวัตร ได้สม่ำเสมอแค่ไหน เช่น o การให้อาหารวันละ 1-5 มื้อ (ขึ้นกับช่วงอายุสุนัข อายุน้องต้องให้อาหารบ่อย) o การเก็บกวาดทำความสะอาดสิ่งขับถ่ายทุกวัน o การอาบน้ำดูแลความสะอาดร่างกายสุนัข กำลังในการดูแลค่าใช้จ่ายที่จะตามมา o ค่าอาหาร o ค่าดูแลสุขภาพวัคซีน ค่ารักษาเมื่อเจ็บป่วย o ของใช้ที่จำเป็น เช่น สายจูง ให้เวลาเอาใจใส่ดูแล ชวนเล่น และพาออกกำลังกาย ให้สุนัขมีสุขภาพกาย และอารมณ ์ท่ดี ี พื้นที่เพียงพอ สำหรับการดูแล

การสำรวจตัวเองของเจ้าของ สขุ ภาพคนในบา้ น หากมีสัตวเ์ ลย้ี งเขา้ มาอยดู่ ้วย เช่น คนปว่ ย, ผแู้ พ้ขนสัตว์, แพ้น้ำลายเห็บหมัด, การวางแผนมีบุตรในอนาคต ผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ ม หรอื สงั คมทอี่ ยรู่ อบขา้ ง ในแง่ของ กฎขอ้ บงั คบั ในสถานทีน่ นั้ , กล่นิ และเสียง ต้องใชเ้ วลา และสังเกตความเป็นไปของสุนัข เพราะสุนัขพูดไม่ได้ จะแสดงอาการท่แี ตกต่างไป เมอ่ื มีความผดิ ปกตเิ กดิ ขน้ึ ถา้ เจา้ ของพบได้รวดเรว็ การรักษากจ็ ะทำได้ทันท่วงที กอ่ นท่ีจะเปน็ หนกั จนแก้ไขยาก

Chapter 2 เลือกพันธุ์น้องหมา เหมือนเลือกคู่ชีวิต การเลือกพันธุ์สุนัขเหมือนการเลือกคู่ชีวิต เพราะการใช้ชีวิต และนิสัย ของสุนัขต้องเหมาะกับอุปนิสัยของเจ้าของ ดังนี้ การใช้งาน สุนัขแตล่ ะพันธุ์ มกี ารพัฒนาสายพนั ธม์ุ าตา่ งกัน เราตอ้ งการเลี้ยงเพ่อื การใช้งาน หรือเพอ่ื ความสวยงาม ความละเอียดอ่อน วธิ ีการดูแลสนุ ขั พันธ์ใุ หญ่ กบั พนั ธ์เุ ลก็ มคี วามละเอียดออ่ นต่างกัน พนั ธุ์เล็กต้องละเอียดมากกวา่ ความซุกซน บางสายพนั ธซุ์ ุกซนมาก ชอบขดุ กัดส่งิ ของ เจ้าของตอ้ งรู้จักวธิ ีการฝกึ ฝน ความดุของสุนัข บางสายพนั ธุ์ดมุ าก ไมเ่ ป็นมิตรกบั บุคคล หรือสัตวอ์ ่ืน ต้องมกี ารควบคมุ ทดี่ ีพอ สุนัขพันธุ์ผสม จะไม่สามารถคาดเดาลกั ษณะอารมณแ์ ละนิสัยได้ชัดเจน ต้องค่อยๆ เรยี นร้นู สิ ยั ของเขา โรคทางพันธุกรรม สนุขพั นธั แ์ุท้จะมโีรคทางพนธั กรุ รม สนุ ัขพันธแ์ุ ท้ จะมีโรคทางพนั ธกุ รรม ทม่ี ักเกดิ ขึน้ ได้บ่อย ติดตวั มาด้วย เจ้าของควรทำความเข้าใจ และศึกษาวิธกี ารดูแลสนุ ขั ในระยะยาว

Chapter 3 รักแรกพบ ณ ฟาร์มน้องหมา วธิ ีการเลือกลกู สนุ ัข กอ่ นเขา้ มาเลี้ยงในบา้ น ก็เป็นอกี สิ่งท่ีสำคญั เพราะเป็นจุดเรม่ิ ต้นของความสุข หรืออาจจะเป็นจดุ เร่ิมตน้ ของปญั หากไ็ ด้ ให้ปฏิบัตดิ งั นี้ ความน่าเชอ่ื ถอื ของแหลง่ ทมี่ าของสุนขั อาจจะเป็นฟารม์ หรือร้านขายสัตว์เลี้ยง, บา้ นทีส่ นุ ขั เกิด หรอื แม้แตก่ ารเก็บสนุ ัขมาเล้ยี ง ท่ีนนั่ มีการดูแลสขุ ภาพสนุ ขั ดแี คไ่ หน เคยมปี ระวัติการระบาดของโรคหรือไม่ และไดจ้ ดั การความสะอาดดเี พยี งพอแค่ไหน เพราะทุกส่ิงที่ลูกสุนัขสมั ผสั สามารถ ถา่ ยทอดเช้อื โรค พยาธิภายนอก และ พยาธภิ ายใน ให้กบั ลกู สุนัขไดท้ ง้ั สน้ิ ถา้ แหลง่ ท่มี าไม่ได้มมี าตรฐานสุขอนามัยทด่ี พี อ ก็ตอ้ งใหก้ ารดแู ล และเตรียมตวั ที่ดกี ับลูกสนุ ัขมากขึ้น พ่อแมแ่ ละทีม่ าของสายพันธุ์ มีส่วนในการถ่ายทอดพนั ธุกรรม ทง้ั ส่ิงทีป่ รารถนา และไมป่ รารถนา ตอ้ งยอมรบั วา่ สนุ ขั พันธ์แุ ท้จะมโี อกาสการผสมในสายเลอื ดกันไดม้ ากกว่า ทำให้ยนี สด์ อ้ ยติดมาได้งา่ ย และอาจจะอ่อนแอกวา่ สุนขั ทีพ่ ่อแมไ่ มม่ สี ายเลือดใกล้ชิดกัน การได้รบั การดูแลจากแมส่ ุนัข ลกู สุนขั ท่อี ยกู่ บั แม่และได้กนิ นมแม่มาเกนิ 1 เดือน จะมภี มู ิค้มุ กันโรคดกี วา่ ลกู สุนขั ทีไ่ มไ่ ดก้ นิ นมแม่และทำให้ลูกสนุ ขั แขง็ แรงไดม้ ากกว่า วนั ที่รับลกู สนุ ขั มาดูแล ถา้ สุนขั แข็งแรงจะเล่น รา่ เริง กนิ อาหารไดม้ ีการตอบสนองต่อส่ิงแวดล้อมดีกว่าสุนัขปว่ ย ขนเงาสวยงาม ไม่มีขมี้ ูก หรอื ข้ตี าตดิ เกรอะกรงั ก้นไม่มีรอ่ งรอยของอเึ หลวเลอะเทอะ แตถ่ า้ น้องกำลังงว่ งก็อาจจะดเู ฉ่ือยๆ ได้เหมือนกนั นะ ก่อนเลอื กกล็ อง เฝ้าดูพฤติกรรมเค้านานๆ วา่ น้องแค่งว่ ง หรอื นอ้ งป่วย

Chapter 4 บ้านใหม่ชีวิตใหม่ ก่อนพาน้องเข้าบ้านใหม่ต้องมีสิ่งที่พิจารณาดังนี้ เพราะลูกสุนัข ซึ่งมีภูมิคุ้มกันยังไม่ดีพอ อาจเป็นทั้งผู้นำเชื้อโรคมาที่บ้าน หรืออาจจะมารับเชื้อโรคจากพี่ๆที่บ้านก็ได้ควรมีการแยกกักตัวสัก 7 วัน จะดีที่สุด เพราะโรคบางชนิดจะใช้เวลาฟักตัวสักช่วงหนึ่งก่อนแสดงอาการ แม้มองด้วยตาเปล่าว่าสุขภาพดีก็ตาม หากพื้นที่ไม่อำนวยอาจเป็นการแยกโซน ลดการรบกวนระหว่างกันสักช่วง ให้มั่นใจว่าไม่มีการนำโรคมาติดกัน ให้รีบพาพบสัตวแพทย์ทันทีเพราะลูกสุนัขยังอ่อนแอ มีอากาสที่จะแย่ลงได้ง่าย และอันตรายกว่าสุนัขโตถ้าไม่สามารถดูแลเองได้ควรฝากให้คุณ หมอดูแลไว้ก่อน จนสุขภาพดีขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันโรคไม่ให้มีการแพร่กระจาย

ทั้งบ้าน และเพื่อนใหม่น้องจะเกิดความเครียดขึ้นแม้น้องจะยังเล่น และกินได้ปกติแต่ภายในร่างกายจะต้องมีการปรับตัวใหม่กับความไม่คุ้นเคย ร่างกายจะอ่อนแอเป็นพิเศษ ควรให้น้องได้ชินกับบ้านใหม่สัก 1 สัปดาห์ ก่อนพาไปพบสัตวแพทย์เพื่อถ่ายพยาธิและฉีดวัคซีน จะได้ประสิทธิภาพ ของวัคซีนดีที่สุด

Chapter 5 มื้ออร่อย ที่น้องหมาต้องการ อาหารเป็นปัจจยั หลกั ทตี่ ้องพิจารณาในการเล้ยี งสนุ ัขให้สขุ ภาพดี สุนัข เดิมเปน็ สัตว์ปา่ กินเน้อื ระบบการยอ่ ยอาหาร และสารอาหารท่ตี ้องการมีความแตกต่างกบั มนษุ ย์ สนุ ขั ต้องการโปรตนี มากกวา่ มนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งลกู สุนขั และสนุ ขั ท้อง ควรต้องไดร้ ับอาหารท่มี กี ารคำนวณมาตาม ความเหมาะสม สำหรับลกู สนุ ัข เร่ิมกินอาหารเมด็ ได้เมอ่ื เร่ิมมีฟันข้ึน และแขง็ พอทจ่ี ะกดั ขบ เคี้ยวเองได้ โดยทั่วไปอยู่ท่ี 1 เดอื นข้ึนไป หากอาหารเมด็ มีความแข็ง สำหรับลกู สุนัข แนะนำใหใ้ ชน้ ำ้ อุ่น หรือนมแพะอุน่ หยอดลงบนอาหารเมด็ ใหน้ ิม่ ลงสกั ครู่ ก่อนให้ลูกสนุ ขั กนิ อาหารเม็ดจะมีขอ้ ดีในเรอ่ื งการช่วยขดั ฟันไปในตวั ลดการสะสมของหนิ ปนู และแบคทีเรีย มีนำ้ อยใู่ นอาหารนอ้ ย ความน่ากนิ จะน้อยกวา่ อาหารเปยี ก แตส่ ามารถชดเชยดว้ ยการทำให้อาหารมีกลิ่นหอมขึ้น จะชว่ ยกระตุ้นความอยากอาหารให้สนุ ขั ไดด้ กี วา่ อาหาร ที่มรี สชาติอรอ่ ย เพราะสนุ ขั จะมปี ระสาทดมกล่นิ ดกี วา่ ต่อมรบั รส อาหารทดี่ ีควรผลิตจากวัตถดุ ิบท่ีใกลเ้ คียงอาหารมนษุ ย์ เพราะสามารถยอ่ ย และดูดซมึ นำไปใช้ไดง้ า่ ย วัตถุดิบท่ผี สมลงในอาหารบางชนิดรา่ งกายสุนขั ยอ่ ยไมไ่ ด้ ก็จะไม่มปี ระโยชน์ อาหารบางชนดิ อาจก่อใหเ้ กิดการแพ้ ข้นึ อย่กู ับตวั สุนขั โดยหากมอี าการผ่ืนคนั ขนร่วง กระจายทัว่ ตวั ควรพาพบสตั วแพทย์ เพอ่ื หาสาเหตุท่ีแท้จริง อาจจะเกยี่ วกับอาหารหรอื ไม่เก่ยี วกับ อาหารกไ็ ด้ เจา้ ของควรสังเกตว่าสุนัขที่เลย้ี งตวั นี้ มอี าการแพอ้ าหารชนิดไหน หรอื สว่ นผสมอะไรทเี่ คา้ แพ้ และหลกี เลยี่ งสารที่กอ่ ภูมิแพน้ นั้

Chapter 6 ไปพบลุงหมอใจดี ที่ที่น่าตื่นเต้นที่สุดสำหรับน้องหมาก็น่าจะหนีไม่พ้น คลินิกสัตวแพทย์ หากตอ้ งการใหน้ ้องสขุ ภาพดี และอยู่กับเราไดน้ านๆ ก็ควรมีการจัดโปรแกรมการดูแลสุขภาพ ตามเวลาที่เหมาะสม ดังนี้ เมื่อลูกสุนัขอายุ 1-1.5 เดือน ควรพาลูกสุนัขไปพบสัตวแพทย์ เพื่อทำการวางแผนดูแลสุขภาพ ถ่ายพยาธิ และฉีดวัคซีน โดยคุณหมอ จะพิจารณาป้องกันให้จากโรคอันตรายที่พบได้บ่อย ในพื้นที่ก่อน ว่าควรต้องจัดลำดับป้องกันโรคอะไรก่อนหลัง หลังจากนั้นจะพิจารณาโรคติดเชื้อที่พบได้ทั่วไปให้ ทั้งนี้ต้องดู ความเหมาะสมของตัวลูกสุนัขด้วย โดยจะจัดทำเป็นตาราง และนัดวันที่เหมาะสมให้ โรคอนั ตรายทีอ่ าจะทำใหส้ นุ ขั เสียชวี ติ ได้ แตส่ ามารถปอ้ งกนั หรือลดความรุนแรงลงได้โดยการฉีดวัคซนี วัคซีนจะต้องมกี ารฉีดกระต้มุ ตามเวลาท่ีเหมาะสม เพ่อื คงระดับภมู คิ มุ้ กนั ใหป้ กปอ้ งโรคไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพวคั ซีนจะตอ้ งมีการฉีด กระตุม้ ตามเวลาท่ีเหมาะสม เพื่อคงระดับภมู ิค้มุ กัน ใหป้ กปอ้ งโรคไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

อายุ ชนิดวคั ซนี ครั้งที่ 6 สัปดาห์ วัคซีนป้องกันโรคหวัดสุนขั ( ครั้งที่ 1 ) ( ครงั้ ท่ี 1 ) 8 สัปดาห์ วคั ซนี ป้องกนั ไข้หดั สุนัข 11 สัปดาห์ , ลำไสอ้ ักเสบ ( คร้งั ท่ี 2 ) 14 สปั ดาห์ ,เลปโตสไปโรซิส ตบั อกั เสบ ( ครั้งท่ี 3 ) , พาราอินฟูลเอนซ่า ( คร้งั ท่ี 1 ) ( ครัง้ ที่ 2 ) วัคซนี ป้องกนั ไขห้ ัดสนุ ขั , ลำไสอ้ กั เสบ ,เลปโตสไปโรซสิ ตบั อกั เสบ , พาราอินฟลู เอนซ่า วคั ซนี ป้องกนั ไขห้ ัดสนุ ัข , ลำไส้อกั เสบ ,เลปโตสไปโรซิส ตับอกั เสบ , พาราอินฟลู เอนซ่า 17 สัปดาห์ วคั ซีนปอ้ งกนั โรคพษิ สุนัขบ้า 20 สัปดาห์ วัคซีนปอ้ งกนั โรคพษิ สนุ ขั บ้า 1 ปี กระตุ้นวคั ซีนสุนขั บ้า, ไข้หัดสนุ ัข, ลำไสอ้ กั เสบ, เลปโตสไปโรซิส, ตับอักเสบ, พาราอนิ ฟลู เอนซา่

Chapter 7 น้องหมางามเพราะขน... เรื่องเล็กที่โคตรใหญ่ ขนและผวิ หนงั เป็นสง่ิ ท่จี ะแสดงออกถงึ สุขภาพที่ซ่อน ไวไ้ ดอ้ ย่างชดั เจน และเป็นโรคท่เี กดิ ขน้ึ บ่อยมากสำหรับสุนัข ควรอาบนำ้ ทำความสะอาดประมาณ สปั ดาหล์ ะ 1 คร้ัง เอาสง่ิ สกปรก และขนทหี่ ลุดรว่ งแล้วออก หลังอาบน้ำควรเปา่ ไดร์ ให้ขนแห้ง ไมเ่ กิดความเปยี กชนื้ ซ่งึ เปน็ สาเหตุของเชอื้ รา รา่ งกายจะมกี ารผลัดเปลยี่ นขนอยู่เสมอในสนุ ขั ควรแปรงขนบ่อยๆ เพื่อไม่ใหเ้ กดิ สังกะตงั การผลัดขนจะเกิดขน้ึ ได้ ถอื วา่ เปน็ เรอ่ื งปกติ แตถ่ ้าขนรว่ งมากเกินไป เป็นหย่อมๆ หรอื รว่ งเยอะจนรู้สกึ ว่าขนบาง ใหพ้ าไปพบสัตวแพทย์ การเกาเฉพาะท่ีจนผิดสังเกต เกิดข้ึนเม่อื สนุ ัขมีความผิดปกติ ตรงบริเวณน้ัน และบางคร้ังสนุ ขั อาจจะเกาหรอื กัดบรเิ วณน้ันจน ลุกลามเปน็ แผลใหญ่ขนึ้ ควรพบสตั วแพทย์ และให้ใสป่ ลอกคอกนั เลยี เพ่อื ใหแ้ ผลหายเป็นปกติ ขนทสี่ วยงามบง่ บอกถึงสุขภาพทด่ี ีจากภายใน อาหารที่ดมี สี ารอาหารครบถว้ น จะชว่ ยใหส้ ุนัขขนเปน็ เงางาม ขนน่มิ นา่ กอดมากข้ึน

Chapter 8 อึ...ดี มีชัยไปกว่าครึ่ง! อึ เปน็ อีกตวั บ่งชีส้ ขุ ภาพของนอ้ งหมา ในเร่ืองกระบวนการทำงาน ของลำไส้ การยอ่ ยและการดูดซมึ อาหาร อทึ ีด่ ี จะเป็นกอ้ น จบั ตัวเป็นรปู ทรง สมั ผัสนม่ิ มีการถา่ ยอยา่ งสมำ่ เสมอทกุ วนั อทึ แ่ี ข็งเกนิ ไป หรือ เหลวเกินไปบง่ บอกถึงความผิดปกติ ของร่างกายอย่างใดอยา่ งหนึ่ง ในลกู สุนขั มักเกดิ การทอ้ งเสีย จากการตดิ เช้อื ซึง่ อนั ตรายมาก และอาจทำใหเ้ สียชีวิตไดอ้ ย่างรวดเรว็ บางคร้งั ลูกสุนัขอายุประมาณ 1 เดือน มพี ยาธิ ออกมากบั อึ เป็นพยาธิ ทตี่ ิดมาจากแมต่ ้ังแต่ชว่ งคลอด จึงจำเปน็ ตอ้ งมี การถา่ ยพยาธิก่อนฉดี วัคซนี อึแขง็ อาจบ่งบอกถงึ ความเครยี ด การด่ืมนำ้ นอ้ ย อึเหลว มักบง่ บอกถึงการติดเชื้อ ซง่ึ มาได้กับอาหาร หรอื การตดิ เชือ้ อน่ื การติดเชอื้ บางชนดิ สามารถใชย้ ารักษาฆา่ เชือ้ ได้ บางชนิดท่ีเกิดจากไวรัส ไมม่ ียาฆ่าไวรัสโดยตรง จะเป็นการรักษาตามอาการ ยาเขยี ว ไมม่ กี ารศกึ ษายืนยันวา่ ช่วยอาการท้องเสยี ได้ หากชะล่าใจอาจทำให้สนุ ขั เสียนำ้ จากท้องเสยี มากจนเสียชีวิตได้ อาการท้องเสีย หากไมเ่ หน็ อึ อาจสงั เกตจากอึทีต่ ิดขน หรือกน้ ได้

Chapter 9 ดูแลฟัน ให้แข็งแรงกันเถอะ ฟนั นอกจากจะใช้ขบ เคีย้ วอาหารแล้ว ควรมกี ารดแู ลตามสมควร เพอื่ ให้ไมเ่ กิดปัญหาช่องปากในอนาคตได้ ฟนั สนุ ขั มี 2 ชดุ เหมือนฟันของคน คอื ฟันนำ้ นม และฟนั แท้ ฝึกตง้ั แต่ในวยั ลกู สนุ ขั ใช้ผ้าพันนิว้ มอื ชบุ น้ำอนุ่ เชด็ ทำความสะอาดฟัน แม้ฟนั สนุ ขั จะแข็งแรงกวา่ ฟนั ของคน แตถ่ ้าคราบอาหารสะสมนานๆ ก็เกดิ หินปนู และฟันผไุ ด้เชน่ กัน ไมค่ วรใชย้ าสฟี นั ของคน เพราะมีฟลูออไรด์ ซ่ึงอาจจะเกดิ อันตรายต่อสุนัขได้ เมือ่ ายมุ ากข้นึ อาจจะมปี ญั หาช่องปาก สามารถทำการขดู หนิ ปนู หรือถอนฟันได้ แต่ตอ้ งมกี ารวางยาสลบซ่งึ ถอื ว่ามขี ัน้ ตอนพอสมควร ถา้ ดูแลก่อนท่จี ะมีปญั หา เป็นเรอ่ื งท่ดี กี วา่ อาหารเมด็ และของเคีย้ วเล่น ทช่ี ว่ ยขดั ฟนั เป็นอีกวิธนี ึง ทีช่ ่วยทำใหฟ้ ันสะอาด ลดโอกาสฟันผุ หนิ ปนู และกลนิ่ ปากได้ ช่องปากสุนขั มีแบคทีเรียหลายชนิด แมจ้ ะเลยี้ งดูดแี ค่ไหน กไ็ ม่ควรกินอาหารรว่ ม กันกบั มนุษย์ หรือปล่อยใหเ้ ลียปาก นอกจากฟนั ใชก้ ินอาหารแล้ว ฟนั ยังใช้ประมาณอายขุ องสุนัขได้ด้วย เป็นการตรวจสอบอายเุ มอ่ื ไมท่ ราบประวัติทีแ่ นน่ อนของสุนขั

Chapter 10 หน้าต่างของหัวใจ สำหรบั คน ดวงตา คอื หนา้ ตา่ งของหัวใจ แต่สำหรับสนุ ัข หางเป็นเครื่องแสดง อารมณ์ท่สี ำคัญ ไม่ว่าจะดใี จ ตกใจ กลัว พร้อมสู้ ประจบ จะแสดงออกมาท่ีหาง ซ่งึ ต้องทำความเข้าใจอารมณข์ องสุนัข สำหรับ ดวงตา ไม่ไดช้ ว่ ยแสดงอารมณ์มากนัก แต่สุนัขบางสายพนั ธุ์ ทมี่ ดี วงตาโปนโตออกมานอกเบา้ มกั จะมปี ัญหากระจกตาเม่อื อายุมากขึ้น เนือ่ งจากตาทีโ่ ปนโต จะไมส่ ามารถปดิ ได้สนิท และใหค้ วามช่มุ ช้ืนกบั กระจกตา ได้เพยี งพอ ในระยะยาวจงึ เกิดแผลกบั กระจกตา และเกิดรอยขาวขนุ่ จากแผล ที่เกดิ ขึน้ ได้ เจา้ ของจึงตอ้ งดแู ลเร่ืองการหยอดนำ้ ตาเทียม หรอื ขผี้ ึ้งท่ีช่วย ใหค้ วามชุ่มช้นื กบั ลกู ตาอยเู่ สมอ เพอ่ื ยดื เวลาการมองเห็นของสุนัข โรคตาในสุนัข มีมากมายหลายโรค เช่นเดียวกบั คน ท้ังจากกระจกตา ความดนั ในลกู ตา การเสื่อมของเลนสต์ า การรักษาในเชงิ ลึกต้องทำ อยา่ งละเอียดโดยผูเ้ ชย่ี วชาญ แต่เน่ืองจากสุนขั มีอายุขยั ไมย่ าวเท่ามนษุ ย์ การทำใหส้ ุนขั มีคณุ ภาพชวี ิตท่ีดีตามอตั ภาพในขณะทีย่ งั อยูก่ ็ถอื ว่าเหมาะสม

Chapter 11 จะทำหมันดี หรือไม่ทำดี เเไรดปแมป่อื ลแูน็ ใ่ลงหละกอ่อขม้ไาดยาอมีรจท้ทงคาเว่ัิง้กกกวถเาดิเบปกึงรปค็นนิทัญุมสไำปจนุ หหจำัขมานนจันจวไรนมนจตส่ สดั าอ้ ุนมงัขารถมกแาตบั ตหฝหอ้สรต่ าางนือก้อกมุขเใงทพนีกนแ่ีบศภาอน้ารเากใ่ดนทจยบยีมวำหา้ ว่าหีสลนกจมนุ ังะนัแนััขไลมตกอว้่แัวไ็าอเดอเจดบ้ ไามยีไหปจ่วลผำาเสนปมน็ นปใโมนออดรวแคีสเตกะางยรลชณรวัวจรต่ือะาา้านาอถงัวกางมกอ้บา้ขผเรคกขหเยกอสผฮู้ วตา้วเางุนอพลาวงัรฮสขัมรรอม่ิผเอำป์โแา้รกมอลหลวรำน็ ็อกีนเโ์รคว้ สรดมาฝจบั า่อืดักจุนะตญงูหงกจาเจวพัวกระรใะไงเหทะามดศมตถร้เำีตขส้ยีจุน้คนิ่หอม้าัวทใุมมขผงแหาำจันลอชสใู้้มหำยะิกงนุ าฉนเ้ ังกรัขแ่ีวมุมดดิสนผีลว้ดอ้ลยงม กซอสเาวงึ่ าารลมยมทาีทุ า4ำทรง้ั หี่เเถขหดมเอ้ มือรันดาิ่มนตะแี ทเสง้ั ปลำมแะน็ หขตใตนม้อ่อ้นกันเาสไาไยปดยี รุนใต้ทน้อำั้งยหแตม่นั

ทฮคำยออหวังรามาโ์ไจมมมนั จกนม่อะ้าเผีาไพมวยลรศเ่ ุนหเา้ตจ้อน็วะม็ ยแผยทบังลอี่ บไสชิทมตำัดธม่ หวั เพิ าจรผกลนับู้จขนตะอักวั งเมีย จทอใะฮนำไาปอหสจโรมจนุ ตโ์ ันะัขมเเตตนแถ็มบิตเา้พทโ่โทตดศีใ่ ำนชยหมขา้ ภมีผกนานั วาลพอดา่ ใรนตาไวลกยัวม่เุนาทลร้อ่ีย่ยี เยจงักรไันมญิ ไ่ ดเต้ บิ โต หแทนเแนากเี่ อลกกะิดนกะไิดลจมำจจาด่ไใาดหากโกกอ้ทต้รนพกะำอ้ บี้ยหาฤงังบสมกตลสกันากิ ดืบารรเกรพพเรพตาันมือ่ รางั้ ธละเแทกพุ์ดล้อิดนัปะงฮโธัญรอ์ุคหรทโ์ามี่ น โดยไมพ่ ึงประสงค์

Chapter 12 ถ้าน้องหมาจะเป็นคุณแม่ สนุ ัขสามารถเร่มิ ต้ังทอ้ งไดต้ ้ังแต่ 7-8 เดือน แตใ่ นระยะนี้ รา่ งกายของสุนขั ยงั วัยรุ่นมาก การให้ตงั้ ทอ้ งตง้ั แต่รอบ การเปน็ สัดครง้ั แรก ร่างกายยงั ไม่พัฒนาเต็มท่ี ไมพ่ รอ้ มสมบูรณ์มากนัก และทำใหแ้ มอ่ อ่ นแอในระยะยาวได้ หากต้องการให้สุนัขเป็นแม่พันธ์ุ ควรให้ตั้งท้องวงรอบการ เป็นสัด ท่ี 2 เป็นตน้ ไป เมอ่ื รา่ งกายของแม่พนั ธพุ์ รอ้ มสมบูรณ์ อาหารทมี่ ีสารอาหารครบถ้วน จะชว่ ยใหแ้ มพ่ ันธุ์ ตกไขไ่ ดด้ ี มีวงรอบทีช่ ัดเจน มีจำนวนลกู มาก และเมือ่ ตั้งท้องจะสง่ ตอ่ สารอาหารไปยงั ลกู ไดด้ ี แขง็ แรง อาหารท่ดี ยี อ่ ยงา่ ย คุณภาพสูง จะนำไปสะสมในตัวของแมด่ ้วย เพอื่ เตรียมใช้ในการสร้างนำ้ นมเล้ยี งลูกหลงั คลอด ในระหว่างตงั้ ท้องและหลงั คลอด ควรเสรมิ อาหารให้แม่ ในสูตรท่มี พี ลังงานสูงข้นึ สารอาหารครบถ้วน เสรมิ แคลเซี่ยม เพ่ือช่วยสรา้ งกระดูกและภมู ิคุ้มกนั ใหส้ ่งไปถึงลกู สนุ ขั หลงั คลอดช่วงท่ลี ูกสนุ ัขกินนมเก่ง และถา้ ยิง่ มจี ำนวน ลกู หลายตวั แมอ่ าจจะเสยี พลงั งานและแคลเซีย่ มมาก จนเกดิ ไข้นำ้ นมได้ โดยมีอาการไข้ ตวั เกร็งสน่ั ควรพาแมพ่ บสัตวแพทย์ และเปลยี่ นสูตรอาหารทีม่ พี ลงั งานและสารอาหารเขม้ ขน้ มากขน้ึ ลกู สนุ ัขควรไดอ้ ยู่กับแม่ 1 เดอื นข้นึ ไป เพื่อได้กินนมน้ำเหลอื งตง้ั แต่ แรกคลอด และรบั ภูมิคมุ้ กันผา่ นทางน้ำนมแม่ จนสามารถกนิ เองได้ และแขง็ แรงมากพอ

Chapter 13 พาน้องหมาไปเที่ยวกันเถอะ หากตอ้ งการพานอ้ งหมาออกไปเทีย่ วนอกบ้านดว้ ย สงิ่ ทตี่ อ้ ง คำนงึ เพื่อความปลอดภัยของน้องหมาและบรรยากาศการเท่ยี ว จะเปน็ ส่งิ ที่สำคญั น้องหมามีการฉดี วัคซีน ครบตามกำหนดแล้วหรอื ยัง เพราะหาก มโี รคระบาดท่อี ันตรายตอ่ สนุ ขั ในบริเวณน้ัน อาจจะรบั เชอื้ และอนั ตรายได้ สุนัขจะตื่นเต้นเสมอเม่ือไดน้ ่งั รถ จะชอบย่นื หน้าออกไปรบั ลม ใหร้ ะวงั ฝ่นุ แมลง หรอื วสั ดทุ ่ีจะเข้าตาไดร้ บั บาดเจบ็ ได้ ในพื้นทส่ี าธารณะ จำเปน็ อย่างยงิ่ ทีต่ อ้ งมีการควบคุมดูแลสุนัข เพ่อื เคารพสทิ ธิสว่ นบคุ คลของผู้อ่นื จำเปน็ ต้องมีสายจงู เปน็ การปอ้ งกันอนั ตรายใหก้ บั นอ้ งหมา และถ้าสุนัขของเราดุ ก็จะไม่ไปทำอนั ตรายคนและสัตวเ์ ล้ยี งของผู้อื่นด้วย

ในบางสถานที่จะจำกัดการใชพ้ ืน้ ที่ของสตั วเ์ ลยี้ ง จำเปน็ ต้องเคารพ สถานท่ี ให้จำไว้เสมอวา่ แม้เราจะดูแลสุนัขเราดีแค่ไหน ก็จะยงั มโี รคบางชนิดที่เปน็ โรคสัตวส์ ู่คน โดยบางโรคอาจ ไม่แสดงอาการในสัตว์แต่กอ่ โรคในคนได้ การรักษาความสะอาดในทุกทีท่ ี่ไปทัง้ เรอ่ื งอึ ฉข่ี องสนุ ขั เป็นการสร้างบรรยากาศทดี่ ีร่วมกันใหก้ ับท้ังผ้ทู ีเ่ ลีย้ งสตั ว์ และผทู้ ีไ่ มไ่ ดเ้ ลยี้ งสตั ว์

Chapter 14 เมื่อโรคถามหา สนุ ขั ไมส่ ามารถพดู กบั เราได้โดยตรง แตเ่ ราสามารถแสดงอาการ ทางกายให้เราร้ไู ดว้ ่าเกิดความผดิ ปกติเกิดข้ึน เจา้ ของจะเปน็ ผู้ท่อี ยู่ใกล้ชิดสุนัขทสี่ ุด และรจู้ กั พฤตกิ รรมใน ภาวะปกติของสนุ ัข และจะร้วู า่ อะไรคอื ส่ิงทไ่ี ม่ปกติทเี่ กดิ ขึ้น ควรสังเกตอาการของสุนขั บอ่ ยๆ เพื่อจะได้เห็นความผิดปกติ และรกั ษาไดท้ ันท่วงที พยายามเก็บรายละเอยี ดเพื่อแจง้ แก่สัตวแพทย์ให้ได้มากท่ีสุด เพราะการเล่าประวัตอิ ย่างละเอียดทีส่ ดุ จะช่วยให้คณุ หมอประตดิ ประต่ออาการ และลำดับการเกดิ โรค ช่วยในการวนิ จิ ฉยั ไดต้ รงจดุ มากข้ึน หากเจา้ ของไมม่ ีประวตั ใิ ดๆ สตั วแพทย์จะต้องค่อยๆ ไล่หาจดุ ทเี่ กดิ ความผิดปกติ เพราะสุนัขไมส่ ามารถบอกด้วย ตัวเองได้ ทำให้ตอ้ งใช้เวลา และบางคร้งั ตอ้ งทำการตรวจด้วย เครือ่ งมอื และตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ซ่ึงจะเป็นค่าใชจ้ ่ายที่เพมิ่ ขน้ึ การจดั โปรแกรมดแู ลสขุ ภาพให้กับสุนัขตามกำหนดเวลา จะมีข้อดใี นการเฝ้าระวังความผิดปกติท่เี กดิ ขึ้นเรอ้ื รังก่อน แสดงอาการภายนอกได้

เจ้าของควรสำรวจโรงพยาบาลสตั ว/์ คลินิกใกล้บ้าน เร่ืองเวลาเปิด/ปิด หากเกดิ เหตุการณฉ์ กุ เฉนิ จะสามารถพาน้องหมาเขา้ รบั การรกั ษา ทีไ่ หนไดเ้ ร็วที่สดุ นอกจากการรกั ษาทั่วไป โรงพยาบาลสตั วส์ ังกัดมหาวทิ ยาลยั จะมสี ัตวแพทยเ์ ฉพาะทางดว้ ย ซง่ึ จะมคี วามเชีย่ วชาญเฉพาะด้าน มากขนึ้ หากเจ้าของสงั เกตเห็นมีอาการเหลา่ น้ี ใหร้ บี พาน้องหมาพบ สตั วแพทย์ทนั ที หมดสติ ปลกุ ไมต่ น่ื หรอื ไม่มีเรยี่ วแรงตอบสนอง มเี ลือดออกปรมิ าณมาก อาจจะเห็น หรือไมเ่ หน็ แผล ท้องเสยี มากกว่า 3 ครงั้ ในหน่งึ วัน อาเจยี น มากกวา่ 3 ครั้ง ในหนึง่ วนั เบอ่ื อาหาร กินนอ้ ยลง ไมเ่ ล่นหรือไม่ร่าเรงิ เหมือนเดิม เกนิ กว่า 2 วัน มีการกระแทกรุนแรง หรอื พลดั ตกจากทีส่ งู แตะตวั แลว้ เจ็บ สะดงุ้ รอ้ ง ขนร่วงจนรูส้ ึกได้ว่าบนบางลง อาจจะรว่ งเป็นหยอ่ ม หรอื รว่ งทวั่ ทง้ั ตวั เกาจุดใดจุดหนึง่ มากผิดปกติ มกี ารบวมบริเวณใดจนผดิ ปกติ ลกู สตั วอ์ ายุยังน้อย หากมีอาการอาจส่งผลอนั ตรายได้มากกวา่ ควรดแู ลเป็นพเิ ศษ

Chapter 15 เตรียมตัวให้เป็นคุณตาคุณยายที่แข็งแรง เม่ือสุนขั อายุมากขนึ้ ย่อมมีการเสอ่ื มตามวยั เป็นปกติ สุนขั พันธใ์ุ หญ่จะแก่เรว็ กวา่ สนุ ขั พันธุเ์ ล็ก อายขุ ยั ของสนุ ัขพันธ์ใุ หญ่ จะอยูท่ ป่ี ระมาณ 10 ปี เมอื่ อายุถึง 7 ปี ก็ถือวา่ เรม่ิ แกแ่ ล้ว สุนัขพนั ธเุ์ ลก็ จะมีอายุขัยมากกว่า โดยเฉลี่ยอยู่ท่ี 15 ปี จะเริม่ เหน็ ความแกช่ ราเมื่ออายไุ ด้ 10 ปี เม่ือายุสุนขั เพมิ่ มากข้ึน สิง่ ทจ่ี ะตามมาคือความเสือ่ มของทุกอวัยวะ การทำงานไม่เป็นไปตามปกติ และไมส่ วยงามเทา่ เดิม เชน่ ขน ผวิ หนงั เป็นตน้ เมอื่ อายุมาก รา่ งกายจะออ่ นแอ ตดิ เชือ้ ได้ง่าย ระบบภูมคิ ุ้มกัน ทำงานไม่สมบูรณ์ จำเปน็ ตอ้ งได้รบั สารอาหารที่ดีใหร้ ่างกาย ซอ่ มแซมไดม้ ากทส่ี ดุ จำเปน็ ต้องคำนึงถึงความสามารถในการดูแลยามเมื่อสุนัข แกช่ ราดว้ ยว่าเราจะดูแลเขาได้มากแค่ไหน เพราะเม่อื เค้าแก่แล้ว จะไมไ่ ดน้ ่ารกั เหมือนตอนเดก็ ๆ หากมโี รคที่ตอ้ งทำการรกั ษาใหญ่ สตั วแพทย์จะทำการช่ังระหวา่ ง การรักษาจนถึงท่ีสดุ กบั การให้คณุ ภาพชีวติ ท่ีเหลอื อย่วู ่าอันไหน จะเปน็ สง่ิ ทเ่ี หมาะสมกว่ากัน โดยเจ้าของจะตอ้ งเป็นผู้ตัดสนิ ใจ เพราะในวยั ชราโรคบางโรคท่เี กิดการเส่ือมตามอายุ อาจไมส่ ามารถรักษาให้หายเปน็ ปกตไิ ดแ้ ลว้ ในขณะท่ีกระบวนการรกั ษา อาจสร้างความเจ็บปวดให้กับสุนัขมากกวา่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook