ealthy dog Happy Dog เลี้ยงน้องหมาอย่างไร… ให้กายใจแข็งแรง การดูแลสุขภาพน้องหมาง่ายๆ ทำเองได้ที่บ้าน โดย หมอช้าง (สพ.บ. ม.เกษตรศาสตร์)
เนื้อหา Chapter-1 เตรียมตัวเป็นคุณพ่อคุณแม่ให้น้องหมา Chapter -2 เลือกพันธุ์น้องหมา เหมือนเลือกคู่ชีวิต Chapter -3 รักแรกพบ ณ ฟาร์มน้องหมา Chapter -4 บ้านใหม่ชีวิตใหม่ Chapter -5 มื้ออร่อย ที่น้องหมาต้องการ Chapter -6 ไปพบลุงหมอใจดี Chapter -7 น้องหมางามเพราะขน... เรื่องเล็กที่โคตรใหญ่ Chapter -8 อึ...ดี มีชัยไปกว่าครึ่ง Chapter -9 ดูแลฟัน ให้แข็งแรงกันเถอะ Chapter -10 หน้าต่างของหัวใจ Chapter -11 จะทำหมันดี หรือไม่ทำดี Chapter -12 ถ้าน้องหมาจะเป็นคุณแม่ Chapter -13 พาน้องหมาไปเที่ยวกันเถอะ Chapter -14 เมื่อโรคถามหา Chapter -15 เตรียมตัวให้เป็นคุณตาคุณยายที่แข็งแรง
Chapter 1 เตรียมตัวเป็นคุณพ่อคุณแม่ให้น้องหมา การเตรียมตัวเพื่อเลี้ยงสุนัข ก่อนอื่นต้องสำรวจตัวเจ้าของเอง ก่อนว่าตัวเรามีความพร้อมในการดูแลสุนัข ได้ตลอดช่วงชีวิตสุนัขหรือไม่ (7-15 ปี) หรือเป็นเพียงความสนใจเพียงชั่วครั้งคราว การสำรวจตัวเองของเจ้าของ สามารถทำสิ่งที่เป็นกิจวัตร ได้สม่ำเสมอแค่ไหน เช่น o การให้อาหารวันละ 1-5 มื้อ (ขึ้นกับช่วงอายุสุนัข อายุน้องต้องให้อาหารบ่อย) o การเก็บกวาดทำความสะอาดสิ่งขับถ่ายทุกวัน o การอาบน้ำดูแลความสะอาดร่างกายสุนัข กำลังในการดูแลค่าใช้จ่ายที่จะตามมา o ค่าอาหาร o ค่าดูแลสุขภาพวัคซีน ค่ารักษาเมื่อเจ็บป่วย o ของใช้ที่จำเป็น เช่น สายจูง ให้เวลาเอาใจใส่ดูแล ชวนเล่น และพาออกกำลังกาย ให้สุนัขมีสุขภาพกาย และอารมณ ์ทด่ี ี พื้นที่เพียงพอ สำหรับการดูแล
การสำรวจตัวเองของเจ้าของ สขุ ภาพคนในบา้ น หากมีสัตวเ์ ลย้ี งเขา้ มาอยดู่ ้วย เช่น คนปว่ ย, ผแู้ พ้ขนสัตว์, แพ้น้ำลายเห็บหมัด, การวางแผนมีบุตรในอนาคต ผลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ ม หรอื สงั คมทอี่ ยรู่ อบขา้ ง ในแง่ของ กฎขอ้ บงั คบั ในสถานทีน่ นั้ , กล่นิ และเสียง ต้องใชเ้ วลา และสังเกตความเป็นไปของสุนัข เพราะสุนัขพูดไม่ได้ จะแสดงอาการท่แี ตกต่างไป เมอ่ื มีความผดิ ปกตเิ กดิ ขน้ึ ถา้ เจา้ ของพบได้รวดเรว็ การรักษากจ็ ะทำได้ทันท่วงที กอ่ นท่ีจะเปน็ หนกั จนแก้ไขยาก
Chapter 2 เลือกพันธุ์น้องหมา เหมือนเลือกคู่ชีวิต การเลือกพันธุ์สุนัขเหมือนการเลือกคู่ชีวิต เพราะการใช้ชีวิต และนิสัย ของสุนัขต้องเหมาะกับอุปนิสัยของเจ้าของ ดังนี้ การใช้งาน สุนัขแต่ละพันธุ์ มีการพฒั นาสายพันธม์ุ าต่างกัน เราตอ้ งการเลย้ี งเพือ่ การใชง้ าน หรอื เพอื่ ความสวยงาม ความละเอียดอ่อน วธิ ีการดแู ลสุนัขพันธ์ใุ หญ่ กับพนั ธเุ์ ล็ก มคี วามละเอยี ดออ่ นตา่ งกนั พันธุ์เล็กตอ้ งละเอยี ดมากกวา่ ความซุกซน บางสายพนั ธ์ุซกุ ซนมาก ชอบขุด กัดส่งิ ของ เจ้าของตอ้ งรจู้ กั วธิ ีการฝึกฝน ความดุของสุนัข บางสายพนั ธุ์ดมุ าก ไมเ่ ป็นมิตรกับบุคคล หรอื สตั ว์อื่น ต้องมกี ารควบคมุ ท่ดี ีพอ สุนัขพันธุ์ผสม จะไม่สามารถคาดเดาลกั ษณะอารมณแ์ ละนสิ ัยไดช้ ดั เจน ตอ้ งคอ่ ยๆ เรียนรู้นสิ ัยของเขา โรคทางพันธุกรรม สนุขัพนัธแุท์ ้จะมโรี คทางพนัธกรุ รม สนุ ัขพนั ธุแ์ ท้ จะมีโรคทางพนั ธกุ รรม ทมี่ กั เกดิ ข้ึนไดบ้ ่อย ติดตัวมาด้วย เจ้าของควรทำความเขา้ ใจ และศึกษาวิธกี ารดแู ลสนุ ัขในระยะยาว
Chapter 3 รักแรกพบ ณ ฟาร์มน้องหมา วธิ กี ารเลอื กลกู สุนขั กอ่ นเข้ามาเล้ยี งในบา้ น ก็เป็นอกี ส่งิ ทสี่ ำคัญ เพราะเป็นจดุ เรม่ิ ตน้ ของความสขุ หรืออาจจะเปน็ จดุ เรมิ่ ต้นของปัญ หากไ็ ด้ ให้ปฏิบัติดังนี้ ความนา่ เช่อื ถือของแหล่งท่มี าของสุนขั อาจจะเปน็ ฟาร์ม หรอื ร้านขายสัตวเ์ ลยี้ ง, บ้านที่สุนขั เกดิ หรอื แม้แตก่ ารเกบ็ สนุ ัขมาเล้ยี ง ที่น่ันมีการดูแลสขุ ภาพสุนัขดีแคไ่ หน เคยมีประวัติการระบาดของโรคหรือไม่ และได้จดั การความสะอาดดเี พยี งพอแค่ไหน เพราะทกุ สงิ่ ที่ลกู สนุ ขั สัมผัสสามารถ ถ่ายทอดเชื้อโรค พยาธภิ ายนอก และ พยาธภิ ายใน ให้กบั ลกู สนุ ัขได้ท้ังสนิ้ ถ้าแหล่งทีม่ าไม่ไดม้ มี าตรฐานสุขอนามยั ทด่ี พี อ ก็ต้องให้การดูแล และเตรียมตัวทีด่ กี บั ลูกสุนขั มากขน้ึ พอ่ แมแ่ ละทม่ี าของสายพนั ธ์ุ มีส่วนในการถ่ายทอดพันธกุ รรม ทง้ั สง่ิ ทป่ี รารถนา และไม่ปรารถนา ตอ้ งยอมรบั ว่า สนุ ัขพันธุ์แทจ้ ะมีโอกาสการผสมในสายเลอื ดกนั ไดม้ ากกว่า ทำให้ยีนส์ดอ้ ยติดมาไดง้ า่ ย และอาจจะอ่อนแอกว่าสุนขั ที่พอ่ แม่ไม่มสี ายเลือดใกล้ชิดกนั
การได้รับการดแู ลจากแมส่ ุนัข ลูกสนุ ขั ทีอ่ ยกู่ ับแมแ่ ละไดก้ นิ นมแมม่ าเกิน 1 เดือน จะมีภูมิคมุ้ กันโรคดกี วา่ ลูกสนุ ขั ที่ไม่ได้กินนมแม่และทำใหล้ กู สุนขั แข็งแรงไดม้ ากกวา่ วันทีร่ ับลูกสนุ ขั มาดแู ล ถา้ สนุ ขั แข็งแรงจะเล่น รา่ เริง กนิ อาหารไดม้ กี ารตอบสนองตอ่ สิ่งแวดล้อมดีกว่าสุนขั ป่วย ขนเงาสวยงาม ไม่มีขม้ี กู หรอื ขี้ตาตดิ เกรอะกรัง ก้นไมม่ รี อ่ งรอยของอึเหลวเลอะเทอะ แต่ถ้าน้องกำลงั ง่วงกอ็ าจจะดูเฉ่ือยๆ ไดเ้ หมอื นกันนะ ก่อนเลือกกล็ อง เฝา้ ดพู ฤตกิ รรมเค้านานๆ ว่าน้องแค่ง่วง หรือนอ้ งปว่ ย
Chapter 4 บ้านใหม่ชีวิตใหม่ ก่อนพาน้องเข้าบ้านใหม่ต้องมีสิ่งที่พิจารณาดังนี้ ที่บ้านมีสุนัขหรือสัตว์อื่นอยู่ก่อนหรือไม่ เพราะลูกสุนัข ซึ่งมีภูมิคุ้มกันยังไม่ดีพอ อาจเป็นทั้งผู้นำเชื้อโรคมาที่บ้าน หรืออาจจะมารับเชื้อโรคจากพี่ๆที่บ้านก็ได้ควรมีการแยกกักตัวสัก 7 วัน จะดีที่สุด เพราะโรคบางชนิดจะใช้เวลาฟักตัวสักช่วงหนึ่งก่อนแสดงอาการ แม้มองด้วยตาเปล่าว่าสุขภาพดีก็ตาม หากพื้นที่ไม่อำนวยอาจเป็นการแยกโซน ลดการรบกวนระหว่างกันสักช่วง ให้มั่นใจว่าไม่มีการนำโรคมาติดกัน ถ้าน้องมาจากแหล่งที่ไม่เหมาะกับสุขอนามัย หรือกำลังเจ็บป่วยขณ ะรับมา ให้รีบพาพบสัตวแพทย์ทันทีเพราะลูกสุนัขยังอ่อนแอ มีอากาสที่จะแย่ลงได้ง่าย และอันตรายกว่าสุนัขโตถ้าไม่สามารถดูแลเองได้ควรฝากให้คุณ หมอดูแลไว้ก่อน จนสุขภาพดีขึ้น สนุ ขั หรอื สตั ว์เลยี้ งที่บ้านควรไดร้ ับวัคซนี ครบถ้วนแล้ว ก่อนนำตัวใหม่เข้าบ้าน เพื่อเป็นการป้องกันโรคไม่ให้มีการแพร่กระจาย
ระยะปรับตัวกับบ้านใหมเมื่อน้องมาถึงบ้านใหม่ สิ่งที่เกิดขึ้นคือ ความเครียดจากการเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม ทั้งบ้าน และเพื่อนใหม่น้องจะเกิดความเครียดขึ้นแม้น้องจะยังเล่น และกินได้ปกติแต่ภายในร่างกายจะต้องมีการปรับตัวใหม่กับความไม่คุ้นเคย ร่างกายจะอ่อนแอเป็นพิเศษ ควรให้น้องได้ชินกับบ้านใหม่สัก 1 สัปดาห์ ก่อนพาไปพบสัตวแพทย์เพื่อถ่ายพยาธิและฉีดวัคซีน จะได้ประสิทธิภาพ ของวัคซีนดีที่สุด
Chapter 5 มื้ออร่อย ที่น้องหมาต้องการ อาหารเป็นปจั จยั หลกั ทต่ี ้องพจิ ารณาในการเลี้ยงสนุ ัขให้สขุ ภาพดี สุนัข เดิมเปน็ สัตวป์ ่า กนิ เน้อื ระบบการยอ่ ยอาหาร และสารอาหารท่ตี อ้ งการมีความแตกตา่ งกบั มนุษย์ สนุ ขั ตอ้ งการโปรตนี มากกว่ามนษุ ย์ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งลกู สนุ ัข และสนุ ขั ทอ้ ง ควรต้องได้รับอาหารท่มี กี ารคำนวณมาตาม ความเหมาะสม สำหรับลกู สนุ ัข เรม่ิ กินอาหารเมด็ ได้เมอ่ื เร่มิ มีฟนั ข้นึ และแข็งพอทจ่ี ะกัด ขบ เคี้ยวเองได้ โดยทั่วไปอยู่ท่ี 1 เดอื นข้ึนไป หากอาหารเม็ดมีความแขง็ สำหรับลูกสนุ ัข แนะนำให้ใช้นำ้ อุ่น หรอื นมแพะอนุ่ หยอดลงบนอาหารเมด็ ใหน้ ิ่มลงสกั ครู่ ก่อนใหล้ ูกสนุ ขั กิน
อาหารเม็ดจะมขี ้อดใี นเรือ่ งการชว่ ยขดั ฟนั ไปในตวั ลดการสะสมของหนิ ปนู และแบคทเี รยี มนี ำ้ อยู่ในอาหารนอ้ ย ความนา่ กินจะน้อยกว่า อาหารเปยี ก แต่สามารถชดเชยด้วยการทำให้อาหารมีกลนิ่ หอมขึ้น จะช่วยกระต้นุ ความอยากอาหารใหส้ นุ ัขไดด้ กี วา่ อาหาร ทีม่ ีรสชาตอิ รอ่ ย เพราะสุนัขจะมีประสาทดมกล่ิน ดกี ว่าตอ่ มรบั รส อาหารท่ดี ีควรผลติ จากวตั ถุดิบท่ีใกล้เคียงอาหารมนุษย์ เพราะสามารถยอ่ ย และดูดซึมนำไปใช้ไดง้ า่ ย วตั ถุดิบทีผ่ สมลงในอาหารบางชนิดรา่ งกายสนุ ขั ยอ่ ยไม่ได้ ก็จะไมม่ ีประโยชน์ อาหารบางชนดิ อาจกอ่ ให้เกดิ การแพ้ ขนึ้ อยูก่ บั ตวั สนุ ัข โดยหากมอี าการผน่ื คัน ขนรว่ ง กระจายทว่ั ตวั ควรพาพบสตั วแพทย์ เพ่ือหาสาเหตทุ ี่แทจ้ ริง อาจจะเกี่ยวกบั อาหารหรือไม่เกีย่ วกบั อาหารกไ็ ด้ เจา้ ของควรสังเกตว่าสุนขั ท่เี ลี้ยงตัวน้ี มีอาการแพ้อาหารชนดิ ไหน หรอื ส่วนผสมอะไรท่ีเคา้ แพ้ และหลกี เลยี่ งสารทก่ี ่อภูมิแพน้ ้นั
Chapter 6 ไปพบลุงหมอใจดี ที่ที่น่าตื่นเต้นที่สุดสำหรับน้องหมาก็น่าจะหนีไม่พ้น คลินิกสัตวแพทย์ หากตอ้ งการใหน้ ้องสขุ ภาพดี และอยู่กับเราไดน้ านๆ ก็ควรมีการจัดโปรแกรมการดูแลสุขภาพ ตามเวลาที่เหมาะสม ดังนี้ เมื่อลูกสุนัขอายุ 1-1.5 เดือน ควรพาลูกสุนัขไปพบสัตวแพทย์ เพื่อทำการวางแผนดูแลสุขภาพ ถ่ายพยาธิ และฉีดวัคซีน โดยคุณหมอ จะพิจารณาป้องกันให้จากโรคอันตรายที่พบได้บ่อย ในพื้นที่ก่อน ว่าควรต้องจัดลำดับป้องกันโรคอะไรก่อนหลัง หลังจากนั้นจะพิจารณาโรคติดเชื้อที่พบได้ทั่วไปให้ ทั้งนี้ต้องดู ความเหมาะสมของตัวลูกสุนัขด้วย โดยจะจัดทำเป็นตาราง และนัดวันที่เหมาะสมให้ โรคอนั ตรายทีอ่ าจะทำใหส้ นุ ขั เสียชวี ติ ได้ แตส่ ามารถปอ้ งกัน หรอื ลดความรุนแรงลงได้โดยการฉีดวัคซนี วัคซีนจะต้องมกี ารฉีดกระต้มุ ตามเวลาท่ีเหมาะสม เพือ่ คงระดับภมู คิ มุ้ กนั ใหป้ กปอ้ งโรคไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพวคั ซีนจะต้องมีการฉีด กระตุม้ ตามเวลาท่ีเหมาะสม เพื่อคงระดับภมู ิค้มุ กัน ใหป้ กปอ้ งโรคไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
อายุ ชนิดวคั ซนี ครั้งที่ 6 สัปดาห์ วัคซีนป้องกันโรคหวัดสุนขั ( ครั้งที่ 1 ) ( ครงั้ ท่ี 1 ) 8 สัปดาห์ วคั ซนี ป้องกนั ไขห้ ดั สุนัข 11 สัปดาห์ , ลำไสอ้ ักเสบ ( คร้งั ท่ี 2 ) 14 สปั ดาห์ ,เลปโตสไปโรซิส ตบั อกั เสบ ( ครั้งท่ี 3 ) , พาราอินฟูลเอนซ่า ( คร้งั ท่ี 1 ) ( ครัง้ ที่ 2 ) วัคซนี ป้องกนั ไข้หัดสนุ ขั , ลำไสอ้ กั เสบ ,เลปโตสไปโรซสิ ตบั อกั เสบ , พาราอินฟลู เอนซ่า วคั ซนี ป้องกนั ไขห้ ัดสนุ ัข , ลำไส้อกั เสบ ,เลปโตสไปโรซิส ตับอกั เสบ , พาราอินฟลู เอนซ่า 17 สัปดาห์ วคั ซีนปอ้ งกนั โรคพษิ สุนัขบ้า 20 สัปดาห์ วัคซีนปอ้ งกนั โรคพษิ สนุ ขั บ้า 1 ปี กระตุ้นวคั ซีนสุนขั บ้า, ไข้หัดสนุ ัข, ลำไสอ้ กั เสบ, เลปโตสไปโรซิส, ตับอักเสบ, พาราอนิ ฟลู เอนซา่
Chapter 7 น้องหมางามเพราะขน... เรื่องเล็กที่โคตรใหญ่ ขนและผวิ หนงั เป็นสง่ิ ท่จี ะแสดงออกถงึ สุขภาพที่ซ่อน ไวไ้ ดอ้ ย่างชดั เจน และเป็นโรคท่เี กดิ ขน้ึ บ่อยมากสำหรับสุนัข ควรอาบนำ้ ทำความสะอาดประมาณ สปั ดาหล์ ะ 1 คร้ัง เอาสง่ิ สกปรก และขนทหี่ ลุดรว่ งแล้วออก หลังอาบน้ำควรเปา่ ไดร์ ให้ขนแห้ง ไมเ่ กิดความเปยี กชนื้ ซ่งึ เปน็ สาเหตุของเชอื้ รา รา่ งกายจะมกี ารผลัดเปลยี่ นขนอยู่เสมอในสนุ ขั ควรแปรงขนบ่อยๆ เพื่อไม่ใหเ้ กดิ สังกะตงั การผลัดขนจะเกิดขน้ึ ได้ ถอื วา่ เปน็ เรอ่ื งปกติ แตถ่ ้าขนรว่ งมากเกินไป เป็นหย่อมๆ หรอื รว่ งเยอะจนรู้สกึ ว่าขนบาง ใหพ้ าไปพบสัตวแพทย์ การเกาเฉพาะท่ีจนผิดสังเกต เกิดข้ึนเม่อื สนุ ัขมีความผิดปกติ ตรงบริเวณน้ัน และบางคร้ังสนุ ขั อาจจะเกาหรอื กัดบรเิ วณน้ันจน ลุกลามเปน็ แผลใหญ่ขนึ้ ควรพบสตั วแพทย์ และให้ใสป่ ลอกคอกนั เลยี เพ่อื ใหแ้ ผลหายเป็นปกติ ขนทสี่ วยงามบง่ บอกถึงสุขภาพทด่ี ีจากภายใน อาหารที่ดมี สี ารอาหารครบถว้ น จะชว่ ยใหส้ ุนัขขนเปน็ เงางาม ขนน่มิ นา่ กอดมากข้ึน
Chapter 8 อึ...ดี มีชัยไปกว่าครึ่ง! อึ เปน็ อีกตวั บ่งชีส้ ขุ ภาพของนอ้ งหมา ในเร่ืองกระบวนการทำงาน ของลำไส้ การยอ่ ยและการดูดซมึ อาหาร อทึ ีด่ ี จะเป็นกอ้ น จบั ตัวเป็นรปู ทรง สมั ผัสนม่ิ มีการถา่ ยอยา่ งสมำ่ เสมอทกุ วนั อทึ แ่ี ข็งเกนิ ไป หรือ เหลวเกินไปบง่ บอกถึงความผิดปกติ ของร่างกายอย่างใดอยา่ งหนึ่ง ในลกู สุนขั มักเกดิ การทอ้ งเสีย จากการตดิ เช้อื ซึง่ อนั ตรายมาก และอาจทำใหเ้ สียชีวิตไดอ้ ย่างรวดเรว็ บางคร้งั ลูกสุนัขอายุประมาณ 1 เดือน มพี ยาธิ ออกมากบั อึ เป็นพยาธิ ทตี่ ิดมาจากแมต่ ้ังแต่ชว่ งคลอด จึงจำเปน็ ตอ้ งมี การถา่ ยพยาธิก่อนฉดี วัคซนี อึแขง็ อาจบ่งบอกถงึ ความเครยี ด การด่ืมนำ้ นอ้ ย อึเหลว มักบง่ บอกถึงการติดเชื้อ ซง่ึ มาได้กับอาหาร หรอื การตดิ เชือ้ อน่ื การติดเชอื้ บางชนดิ สามารถใชย้ ารักษาฆา่ เชือ้ ได้ บางชนิดท่ีเกิดจากไวรัส ไมม่ ียาฆ่าไวรัสโดยตรง จะเป็นการรักษาตามอาการ ยาเขยี ว ไมม่ กี ารศกึ ษายืนยันวา่ ช่วยอาการท้องเสยี ได้ หากชะล่าใจอาจทำให้สนุ ขั เสียนำ้ จากท้องเสยี มากจนเสียชีวิตได้ อาการท้องเสีย หากไมเ่ หน็ อึ อาจสงั เกตจากอึทีต่ ิดขน หรือกน้ ได้
Chapter 9 ดูแลฟัน ให้แข็งแรงกันเถอะ ฟนั นอกจากจะใชข้ บ เคย้ี วอาหารแล้ว ควรมกี ารดูแลตามสมควร เพอื่ ใหไ้ ม่เกดิ ปญั หาชอ่ งปากในอนาคตได้ ฟนั สุนขั มี 2 ชุด เหมือนฟันของคน คอื ฟนั นำ้ นม และฟันแท้ ฝกึ ต้ังแต่ในวยั ลกู สุนขั ใช้ผา้ พันนิ้วมอื ชบุ นำ้ อุ่น เช็ดทำความสะอาดฟนั แม้ฟนั สนุ ขั จะแขง็ แรงกวา่ ฟันของคน แต่ถา้ คราบอาหารสะสมนานๆ ก็เกิดหินปนู และฟนั ผไุ ดเ้ ช่นกัน ไม่ควรใชย้ าสฟี นั ของคน เพราะมีฟลูออไรด์ ซ่ึงอาจจะเกดิ อันตรายตอ่ สุนขั ได้ เมอื่ ายมุ ากขนึ้ อาจจะมปี ญั หาชอ่ งปาก สามารถทำการขดู หนิ ปูน หรือถอนฟันได้ แตต่ อ้ งมกี ารวางยาสลบซ่งึ ถือวา่ มขี น้ั ตอนพอสมควร ถ้าดูแลก่อนที่จะมีปญั หา เปน็ เรอ่ื งท่ีดีกวา่ อาหารเมด็ และของเค้ียวเล่น ท่ชี ่วยขัดฟนั เป็นอีกวิธีนึง ทชี่ ่วยทำใหฟ้ ันสะอาด ลดโอกาสฟนั ผุ หนิ ปูน และกลน่ิ ปากได้ ช่องปากสุนขั มแี บคทีเรียหลายชนิด แม้จะเลยี้ งดูดีแคไ่ หน กไ็ มค่ วรกนิ อาหารร่วม กนั กบั มนษุ ย์ หรอื ปลอ่ ยใหเ้ ลยี ปาก นอกจากฟนั ใชก้ นิ อาหารแล้ว ฟนั ยงั ใชป้ ระมาณอายุของสุนขั ไดด้ ว้ ย เป็นการตรวจสอบอายเุ มอ่ื ไม่ทราบประวตั ิท่ีแน่นอนของสนุ ขั
Chapter 10 หน้าต่างของหัวใจ สำหรบั คน ดวงตา คอื หนา้ ตา่ งของหัวใจ แต่สำหรับสนุ ัข หางเป็นเครื่องแสดง อารมณ์ท่สี ำคัญ ไม่ว่าจะดใี จ ตกใจ กลัว พร้อมสู้ ประจบ จะแสดงออกมาท่ีหาง ซ่งึ ต้องทำความเข้าใจอารมณข์ องสุนัข สำหรับ ดวงตา ไม่ไดช้ ว่ ยแสดงอารมณ์มากนัก แต่สุนัขบางสายพนั ธุ์ ทมี่ ดี วงตาโปนโตออกมานอกเบา้ มกั จะมปี ัญหากระจกตาเม่อื อายุมากขึ้น เนือ่ งจากตาทีโ่ ปนโต จะไมส่ ามารถปดิ ได้สนิท และใหค้ วามช่มุ ช้ืนกบั กระจกตา ได้เพยี งพอ ในระยะยาวจงึ เกิดแผลกบั กระจกตา และเกิดรอยขาวขนุ่ จากแผล ที่เกดิ ขึน้ ได้ เจา้ ของจึงตอ้ งดแู ลเร่ืองการหยอดนำ้ ตาเทียม หรอื ขผี้ ึ้งท่ีช่วย ใหค้ วามชุ่มช้นื กบั ลกู ตาอยเู่ สมอ เพอ่ื ยดื เวลาการมองเห็นของสุนัข โรคตาในสุนัข มีมากมายหลายโรค เช่นเดียวกบั คน ท้ังจากกระจกตา ความดนั ในลกู ตา การเสื่อมของเลนสต์ า การรักษาในเชงิ ลึกต้องทำ อยา่ งละเอียดโดยผูเ้ ชย่ี วชาญ แต่เน่ืองจากสุนขั มีอายุขยั ไมย่ าวเท่ามนษุ ย์ การทำใหส้ ุนขั มีคณุ ภาพชวี ิตท่ีดีตามอตั ภาพในขณะทีย่ งั อยูก่ ็ถอื ว่าเหมาะสม
Chapter 11 จะทำหมันดี หรือไม่ทำดี เเไรดปแมปื่อลน็ูแ่ใลงหละกอ่อขม้ไาดยาอมีรจท้ทงคาเว่ัิง้กกกวถเาดิเบปกึงรปค็นนิทัญุมสไำปจนุ หหจำัขมานนจันจวไรนมนจตส่ สดั าอ้ ุนมงัขารถมกแาตบั ตหฝห้อสรต่ าางนือกอ้กมุขเใงทพนีกนแบี่ ศภาอนา้รเากใ่ดนทจยบยีมวำห้าว่าหีสลนกจมุนงั ะนัแันัขไลมตกอว้่แัว็ไาอเดอเจดบ้ ไามียไหปจ่วลผำาเสนปม็น นปใโมนออดรวแคีสเตกะางยรลชณรวัวจรต่ือะา้าานาอถงัวกางมกอ้บ้าขผเรคกขหเยกอสฮู้ผวตา้วเางุนอพลาวงัรฮสขัมรรอม่ิผเอำป์โแา้รกมอลหลวรำน็ ็อกีนเโ์รคว้ สรดมาฝจบั า่อืดักจุนะตญงูหงกจาเจวพัวกระรใะไงเหทะามศดมตถร้เำีตขส้ยีจุน้คนิ่หอม้าัวทใุมมขผงแหาำจันลอชสใู้้มหำยะิกงนุ าฉนเ้ ังกรขั แี่วมุมดิดสนีผล้วดอ้ลยงมกซอสเาว่งึ าารลมยมทาทีุ า4ำทรัง้ หี่เเถขหดมเ้อมอืรันดา่ิมนตะีแทเสงั้ ปลำมแะน็ หขตใตนม้ออ่ ้นกันเาสไาไยปดยี รนุ ใ้ตทนอ้ ำั้งยหแตม่นั
ทฮคำยออหวังราามโ์ไจมมมนั จกนม่อะ้าเผีาไพมวยลรศเ่ ุนหเา้ตจ้อน็วะม็ ยแผยทบังลอี่ บไสชิทมตำัดธม่ หวั เพิ าจรผกลนับู้จขนตะอักวั งเมีย จทอใะฮนำไาปอหสจโรมจนุ ตโ์ ันะัขมเเตตนแถ็มบิตเา้พทโ่โทตดศีใ่ ำนชยหมขา้ ภมีผกนานั วาลพอดา่ ใรนตาไวลกยัวม่เุนาทลร้อ่ีย่ยี เยจงักรไันมญิ ไ่ ดเต้ บิ โต หแทนเแนากเี่ อลกกะิดนกะไิดลจมำจจาด่ไใาดหากโกกอ้ทต้รนพกะำอ้ บี้ยหาฤงังบสมกตลสกันากิ ดืบารรเกรพพเรพตาันมือ่ รางั้ ธละเแทกพุ์ดล้อิดนัปะงฮโธัญรอ์ุคหรทโ์ามี่ น โดยไมพ่ ึงประสงค์
Chapter 12 ถ้าน้องหมาจะเป็นคุณแม่ สนุ ขั สามารถเรม่ิ ต้งั ท้องได้ต้ังแต่ 7-8 เดอื น แต่ในระยะน้ี ร่างกายของสนุ ัขยังวยั รุ่นมาก การใหต้ ้งั ทอ้ งต้งั แตร่ อบ การเป็นสัดครั้งแรก รา่ งกายยังไม่พัฒนาเตม็ ที่ ไมพ่ ร้อมสมบูรณ์มากนกั และทำใหแ้ ม่อ่อนแอในระยะยาวได้ หากต้องการใหส้ นุ ัขเป็นแม่พันธ์ุ ควรให้ตง้ั ท้องวงรอบการ เปน็ สัด ที่ 2 เปน็ ต้นไป เม่อื รา่ งกายของแมพ่ ันธพ์ุ รอ้ มสมบูรณ์ อาหารท่ีมสี ารอาหารครบถว้ น จะช่วยให้แมพ่ ันธุ์ ตกไข่ไดด้ ี มวี งรอบทช่ี ดั เจน มีจำนวนลกู มาก และเมือ่ ต้ังท้องจะส่ง ต่อสารอาหารไปยังลกู ไดด้ ี แข็งแรง อาหารทีด่ ีย่อยงา่ ย คณุ ภาพสูง จะนำไปสะสมในตวั ของแมด่ ว้ ย เพือ่ เตรียมใช้ในการสรา้ งน้ำนมเลีย้ งลกู หลังคลอด ในระหว่างตัง้ ท้องและหลงั คลอด ควรเสรมิ อาหารใหแ้ ม่ ในสตู รทมี่ ีพลังงานสงู ขนึ้ สารอาหารครบถว้ น เสรมิ แคลเซย่ี ม เพ่ือช่วยสรา้ งกระดกู และภมู ิคุม้ กันใหส้ ่งไปถงึ ลูกสนุ ขั หลงั คลอดชว่ งทล่ี กู สุนขั กินนมเก่ง และถ้าย่ิงมจี ำนวน ลูกหลายตัว แม่อาจจะเสยี พลงั งานและแคลเซยี่ มมาก จนเกิดไข้น้ำนมได้ โดยมีอาการไข้ ตวั เกร็งสั่น ควรพาแมพ่ บสัตวแพทย์ และเปล่ียนสูตรอาหารท่มี ีพลงั งานและสารอาหารเขม้ ข้นมากขึ้น ลูกสุนขั ควรไดอ้ ยกู่ บั แม่ 1 เดอื นขึน้ ไป เพื่อได้กนิ นมน้ำเหลอื งต้ังแต่ แรกคลอด และรบั ภูมคิ ุ้มกันผ่านทางน้ำนมแม่ จนสามารถกินเองได้ และแข็งแรงมากพอ
Chapter 13 พาน้องหมาไปเที่ยวกันเถอะ หากตอ้ งการพานอ้ งหมาออกไปเทีย่ วนอกบ้านดว้ ย สงิ่ ทตี่ อ้ ง คำนงึ เพื่อความปลอดภัยของน้องหมาและบรรยากาศการเท่ยี ว จะเปน็ ส่งิ ที่สำคญั น้องหมามีการฉดี วัคซีน ครบตามกำหนดแล้วหรอื ยัง เพราะหาก มโี รคระบาดท่อี ันตรายตอ่ สนุ ขั ในบริเวณน้ัน อาจจะรบั เชอื้ และอนั ตรายได้ สุนัขจะตื่นเต้นเสมอเม่ือไดน้ ่งั รถ จะชอบย่นื หน้าออกไปรบั ลม ใหร้ ะวงั ฝ่นุ แมลง หรอื วสั ดทุ ่ีจะเข้าตาไดร้ บั บาดเจบ็ ได้ ในพื้นทส่ี าธารณะ จำเปน็ อย่างยงิ่ ทีต่ อ้ งมีการควบคุมดูแลสุนัข เพ่อื เคารพสทิ ธิสว่ นบคุ คลของผู้อ่นื จำเปน็ ต้องมีสายจงู เปน็ การปอ้ งกันอนั ตรายใหก้ บั นอ้ งหมา และถ้าสุนัขของเราดุ ก็จะไม่ไปทำอนั ตรายคนและสัตวเ์ ล้ยี งของผู้อื่นด้วย
ในบางสถานที่จะจำกัดการใชพ้ ืน้ ที่ของสตั วเ์ ลยี้ ง จำเปน็ ต้องเคารพ สถานท่ี ให้จำไว้เสมอวา่ แม้เราจะดูแลสุนัขเราดีแค่ไหน ก็จะยงั มโี รคบางชนิดที่เปน็ โรคสัตวส์ ู่คน โดยบางโรคอาจ ไม่แสดงอาการในสัตว์แต่กอ่ โรคในคนได้ การรักษาความสะอาดในทุกทีท่ ี่ไปทัง้ เรอ่ื งอึ ฉข่ี องสนุ ขั เป็นการสร้างบรรยากาศทดี่ ีร่วมกันใหก้ ับท้ังผ้ทู ีเ่ ลีย้ งสตั ว์ และผทู้ ีไ่ มไ่ ดเ้ ลยี้ งสตั ว์
Chapter 14 เมื่อโรคถามหา สนุ ขั ไมส่ ามารถพดู กบั เราได้โดยตรง แตเ่ ราสามารถแสดงอาการ ทางกายให้เราร้ไู ดว้ ่าเกิดความผดิ ปกติเกิดข้ึน เจา้ ของจะเปน็ ผู้ท่อี ยู่ใกล้ชิดสุนัขทสี่ ุด และรจู้ กั พฤตกิ รรมใน ภาวะปกติของสนุ ัข และจะร้วู า่ อะไรคอื ส่ิงทไ่ี ม่ปกติทเี่ กดิ ขึ้น ควรสังเกตอาการของสุนขั บอ่ ยๆ เพื่อจะได้เห็นความผิดปกติ และรกั ษาไดท้ ันท่วงที พยายามเก็บรายละเอยี ดเพื่อแจง้ แก่สัตวแพทย์ให้ได้มากท่ีสุด เพราะการเล่าประวัตอิ ย่างละเอียดทสี่ ุดจะช่วยให้คณุ หมอประตดิ ประต่ออาการ และลำดับการเกดิ โรค ช่วยในการวนิ จิ ฉยั ไดต้ รงจดุ มากข้ึน หากเจา้ ของไมม่ ีประวตั ใิ ดๆ สัตวแพทย์จะต้องค่อยๆ ไล่หาจดุ ทเี่ กดิ ความผิดปกติ เพราะสุนัขไมส่ ามารถบอกด้วย ตัวเองได้ ทำให้ตอ้ งใช้เวลา และบางคร้งั ตอ้ งทำการตรวจด้วย เครือ่ งมอื และตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ซ่ึงจะเป็นค่าใชจ้ ่ายที่เพมิ่ ขน้ึ การจดั โปรแกรมดแู ลสขุ ภาพให้กบั สุนัขตามกำหนดเวลา จะมีข้อดใี นการเฝ้าระวังความผิดปกติท่เี กดิ ขึ้นเรอ้ื รังก่อน แสดงอาการภายนอกได้
เจ้าของควรสำรวจโรงพยาบาลสตั ว/์ คลินิกใกล้บ้าน เร่ืองเวลาเปิด/ปิด หากเกดิ เหตุการณฉ์ กุ เฉนิ จะสามารถพานอ้ งหมาเข้ารบั การรกั ษา ทีไ่ หนไดเ้ ร็วที่สดุ นอกจากการรกั ษาทั่วไป โรงพยาบาลสัตวส์ ังกัดมหาวทิ ยาลยั จะมสี ัตวแพทยเ์ ฉพาะทางดว้ ย ซง่ึ จะมีความเชีย่ วชาญเฉพาะด้าน มากข้ึน หากเจ้าของสงั เกตเห็นมีอาการเหลา่ น้ี ให้รบี พาน้องหมาพบ สตั วแพทย์ทนั ที หมดสติ ปลกุ ไมต่ น่ื หรอื ไม่มีเรยี่ วแรงตอบสนอง มเี ลือดออกปรมิ าณมาก อาจจะเห็น หรือไม่เหน็ แผล ท้องเสยี มากกว่า 3 ครงั้ ในหน่งึ วัน อาเจยี น มากกวา่ 3 ครั้ง ในหนึง่ วนั เบอ่ื อาหาร กินนอ้ ยลง ไมเ่ ล่นหรือไม่ร่าเรงิ เหมือนเดิม เกนิ กว่า 2 วัน มีการกระแทกรุนแรง หรอื พลดั ตกจากท่ีสงู แตะตวั แลว้ เจ็บ สะดงุ้ รอ้ ง ขนร่วงจนรูส้ ึกได้ว่าบนบางลง อาจจะร่วงเป็นหยอ่ ม หรอื ร่วงทวั่ ทง้ั ตวั เกาจุดใดจุดหนึง่ มากผิดปกติ มกี ารบวมบริเวณใดจนผดิ ปกติ ลกู สตั วอ์ ายุยังน้อย หากมีอาการอาจสง่ ผลอนั ตรายไดม้ ากกวา่ ควรดแู ลเป็นพเิ ศษ
Chapter 15 เตรียมตัวให้เป็นคุณตาคุณยายที่แข็งแรง เม่ือสุนขั อายุมากขนึ้ ย่อมมีการเสอื่ มตามวยั เป็นปกติ สุนขั พันธใ์ุ หญ่จะแก่เร็วกวา่ สุนัขพันธุ์เลก็ อายขุ ยั ของสนุ ัขพันธ์ใุ หญ่ จะอย่ทู ปี่ ระมาณ 10 ปี เมอื่ อายุถึง 7 ปี ก็ถือวา่ เรม่ิ แกแ่ ล้ว สุนัขพนั ธเุ์ ลก็ จะมีอายุขัยมากกวา่ โดยเฉลี่ยอยู่ท่ี 15 ปี จะเริม่ เหน็ ความแกช่ ราเมื่ออายุได้ 10 ปี เม่ือายุสุนขั เพมิ่ มากข้นึ ส่งิ ทจ่ี ะตามมาคือความเสือ่ มของทุกอวัยวะ การทำงานไม่เป็นไปตามปกติ และไมส่ วยงามเทา่ เดิม เชน่ ขน ผวิ หนงั เป็นตน้ เมอื่ อายุมาก รา่ งกายจะอ่อนแอ ตดิ เช้ือไดง้ ่าย ระบบภูมคิ ุ้มกัน ทำงานไม่สมบูรณ์ จำเปน็ ตอ้ งได้รบั สารอาหารที่ดีใหร้ ่างกาย ซอ่ มแซมไดม้ ากทส่ี ดุ จำเปน็ ต้องคำนึงถึงความสามารถในการดูแลยามเมื่อสุนัข แกช่ ราดว้ ยว่าเราจะดูแลเขาได้มากแค่ไหน เพราะเม่อื เค้าแก่แล้ว จะไมไ่ ดน้ ่ารกั เหมือนตอนเด็กๆ หากมโี รคที่ตอ้ งทำการรักษาใหญ่ สตั วแพทย์จะทำการช่ังระหวา่ ง การรักษาจนถึงท่ีสดุ กบั การให้คณุ ภาพชีวติ ท่ีเหลอื อย่วู ่าอันไหน จะเปน็ สง่ิ ทเ่ี หมาะสมกว่ากนั โดยเจ้าของจะตอ้ งเป็นผู้ตดั สนิ ใจ เพราะในวยั ชราโรคบางโรคทเ่ี กิดการเสอ่ื มตามอายุ อาจไมส่ ามารถรักษาใหห้ ายเปน็ ปกติไดแ้ ล้ว ในขณะท่ีกระบวนการรกั ษา อาจสร้างความเจ็บปวดใหก้ ับสนุ ขั มากกว่า
Search
Read the Text Version
- 1 - 26
Pages: