Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore CBL กลุ่ม-1 สสอ.เมืองยะลา

CBL กลุ่ม-1 สสอ.เมืองยะลา

Published by สุทธิพร คงเพ็ง, 2021-06-28 11:51:24

Description: รายงานการศึกษาการฝึกปฏิบัติงานภาคสนาม
โดยการเรียนรู้แบบ Community Based Learning (CBL)
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองยะลา
หลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง ประจำปี 2564 รุ่นที่ 34
วันที่ 31 พฤษภาคม 2564 – 25 มิถุนายน 2564

Keywords: Community Based Learning (CBL)

Search

Read the Text Version

i ปกหนา

รายงานการศกึ ษาการฝกปฏบิ ัติงานภาคสนาม โดยการเรียนรูแบบ Community Based Learning (CBL) กลุมที่ 1 สำนกั งานสาธารณสุขอำเภอเมอื งยะลา รายงานนเี้ ปน สว นหนึ่งของการฝกอบรม หลักสตู รผบู รหิ ารการสาธารณสุขระดบั กลาง ประจำป 2564 รนุ ท่ี 34 วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2564 – 25 มถิ นุ ายน 2564 จัดโดย วิทยาลัยการสาธารณสขุ สริ ินธร จงั หวดั ยะลา

รายงานการศึกษาการฝก ปฏิบตั ิงานภาคสนาม (CBL) กลมุ ที่ 1 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมอื งยะลา อาจารยทปี่ รึกษาประจำ 1. เภสชั กรอวิรุทธ สงิ หกุล วิทยากรพ่เี ลีย้ ง 2. ดร.อัญชลี พงศเกษตร วทิ ยากรพีเ่ ลย้ี ง 3. อาจารยก นกกร มอหะหมัด วิทยากรพีเ่ ล้ยี ง 4. อาจารยเจตนวิชยตุ ม บรริ กั ษ วิทยากรพ่เี ลย้ี ง 5. คณุ ศภุ ชยั ตาเยะ ผูควบคุมระบบประชมุ ออนไลน 1. นายกติ ติพชิ ช เชาวดี สมาชกิ กลุม 2. นางฉวีวรรณ ทองสาร นายชางเทคนคิ ชำนาญงาน โทร 0816119295 3. นายชัยวัฒน แพทยพ งศ ศนู ยส นบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพท่ี 4 จงั หวัดนนทบรุ ี พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการ โทร 0945964154 4. นายซาอูดี เจะดอเลาะ โรงพยาบาลบานนาสาร จงั หวัดสรุ าษฎรธานี 5. นายบำรงุ หนูอนิ ทร นักวิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการพิเศษ 6. นางสาวบญุ ญาพร ตนั วโรภาส โทร 0895983683 7. นางสาวมนสิชา ชมุ แกว โรงพยาบาลสงขลา จังหวดั สงขลา 8. นายสนธยา แกวคำแสน นกั วชิ าการสาธารณสุขชำนาญการ โทร 0819579893 9. นายสุทธพิ ร คงเพง็ สำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั จังหวัดยะลา จังหวดั ยะลา 10. นางสาวอภดิ า พนั สิทธิ์ นกั วชิ าการสาธารณสขุ การ โทร 0951039900 สำนกั งานสาธารณสุขอำเภอสุไหงโกลก จงั หวดั นราธิวาส พยาบาลวชิ าชพี ชำนาญการ โทร 0946879988 วิทยาลยั การสาธารณสุขสริ ินธร จงั หวัดตรัง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โทร 0842148613 โรงพยาบาลปาพะยอม จังหวัดพทั ลุง นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำนาญการ โทร 0636235649 สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัดอดุ รธานี จังหวดั อดุ รธานี นักเทคนิคการแพทยช ำนาญการ โทร 0954214904 รพ.มหาราชนครศรธี รรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช หัวหนา งาน โทร 0614204718 สำนักงานหลักประกันสขุ ภาพแหง ชาติ กรงุ เทพมหานคร

I คำนำ การเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจ สังคม ของประชาคมโลกและสังคมไทยสงผลใหระบบสุขภาพ และ องคกรดานสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข จำเปนตองปรับเปลี่ยนใหทันตอสภาพการณที่เปลี่ยนไป โดยเฉพาะอยางยิ่งผูบริหารทุกระดับตองมีการปรับตัวและพัฒนาอยางตอเนื่อง พรอมรับการเปล่ียนแปลง สามารถทำงานเชิงรุก แตมคี วามยดื หยุน สามารถปรับตวั และตอบสนองปญหาไดรวดเรว็ และมีประสิทธภิ าพสงู หลักสูตรผูบริหารการสาธารณสุขระดับกลางประจำปงบประมาณ 2564 เปนหลักสูตรที่กระทรวง สาธารณสุข โดยวิทยาลัยนักบริหารการสาธารณสุข ไดดำเนินการพัฒนาหลักสูตรตามสมรรถนะที่ผูบริหาร จะตองมี โดยเปนไปตามสมรรถนะที่พึงประสงคสำหรับผูบริหารสาธารณสุข (Core Competency) ผูบริหาร สาธารณสุข ผูเขารับการอบรมหลักสูตรผูบริหารการสาธารณสุขระดับกลาง กลุมที่ 1 ไดดำเนินการอบรม หลักสูตรผูบริหารการสาธารณสุขระดับกลาง รุนที่ 34 ในระหวางวันที่ 31 พฤษภาคม - 25 มิถุนายน 2564 คณะผูจัดทำไดเขารวมประชุมสัมมนาเสร็จสิ้นเรียบรอยแลว ทั้งนี้ไดดำเนินการจัดทำรายงานการฝกอบรม หลักสูตรผูบริหารการสาธารณสุขระดับกลางฉบับนี้ขึ้น ซึ่งประกอบดวยบทบาทหนาที่ของผูบริหารที่มีตอการ พัฒนาองคกร เคร่ืองมือการพัฒนาองคกร ความสามารถในการเลือกเครื่องมือใหเหมาะสมกับขอที่ตองการ พัฒนา การวางแผนกลยุทธ และกำหนดแผนงานโครงการเพื่อพัฒนาการบริหารงานสาธารณสุขในสำนักงาน สาธารณสุขอำเภอเมืองยะลา ผูผานการฝก อบรมไดม ีการนำความรู และทักษะไปปรับใชในการทำงาน ทั้งงาน ที่รับผิดชอบโดยตรงในหนาที่หรืองานอื่นที่เกี่ยวของ รวมทั้งผูผานการอบรมสามารถที่จะนำเอาความรูและ ทักษะไปใชในการแกปญหาที่เกี่ยวของในงาน อันจะสงผลดีตอองคกรในอนาคต หากมีขอคิดเห็นประการใด โปรดใหคำแนะนำเพอื่ จะไดน ำไปพัฒนาตอไป คณะผจู ัดทำ หลกั สูตรผูบริหารการสาธารณสขุ ระดับกลาง รุนท่ี 34

สารบญั II คำนำ หนา สารบัญ I ขอมูลท่วั ไป II-III 1 ประวัติความเปน มา 1 สภาพทัว่ ไป 2 สภาพภมู ิอากาศ 2 ทตี่ ั้งและอาณาเขต 2 เขตการปกครอง 3 ประชากร 4 ขอมูลดา นเศรษฐกิจ 4 สถานศึกษา 5 ดานการคมนาคม 5 ดา นการเกษตรและอตุ สาหกรรม 5 การไฟฟา 5 การสื่อสารและโทรคมนาคม 6 สภาพเศรษฐกิจ 6 สถานทที่ องเท่ยี วที่สำคัญ 6 สภาพสงั คม ศาสนาและศิลปวฒั นธรรม 6 ดานทรพั ยากรธรรมชาตสิ ำคัญ 7 ขอมลู พ้นื ฐานและขอ มลู สถานะสขุ ภาพ 7 ขอ มลู ประชากร 8 ประชากรจำแนกตามกลมุ อายุ 8 อัตราสว นวัยพ่งึ พิง 9 พรี ะมิดประชากร 9 อายุขยั เฉลยี่ 10 สถิติชีพของประชากรและสภาวะสขุ ภาพอนามยั 11 สาเหตุการปว ยของผูปวยนอก 12 สาเหตุการปว ยของผปู วยใน 13 อตั ราตายดว ยโรคท่เี ปนสาเหตขุ องการตาย 14 อตั ราปว ยดว ยโรคทีเ่ ฝาระวงั ทางระบาดวิทยา

สารบัญ III (ตอ) หนา ทรัพยากรดานสาธารณสขุ และกำลงั คนดานสุขภาพ 15 บริบทพนื้ ที่ 17 การวิเคราะหปญหาดา นสขุ ภาพโรคภยั ในพื้นที่ 19-20 การจัดลำดับความสำคญั ของปญหาสาธารณสขุ 21 การวเิ คราะหองคกร 23 กราฟสรุปตำแหนงการวิเคราะหภ ายในและภายนอก SWOT Analysis 27 ผลการการประเมนิ สถานการณจ ากการประเมินสภาพแวดลอ ม 27 แผนยทุ ธศาสตรด า นสขุ ภาพ สาธารณสขุ อำเภอเมอื งยะลา จังหวัดยะลา ป 2563 -2566 28 วสิ ยั ทศั น 28 พันธกจิ 28 คา นิยม (Core Value) 28 เปาประสงค (Goal) 28 เปา หมายการใหบ ริการ 28 ประเด็นยทุ ธศาสตร 28 แผนงานโครงการตามประเด็นยุทธศาสตร 30 การจดั ทำแผนงานโครงการแกปญหาพื้นท่แี ละสอดคลองกับประเดน็ 32 ยุทธศาสตร 32 ขน้ั ตอนในการจัดทำแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปง บประมาณ 35 ขอเสนอแนะ 36 เอกสารอา งองิ

1 บทท่ี 1 ขอ มลู ทว่ั ไป 1.ประวัติความเปน มา อำเภอเมือง เปน อำเภอหน่ึงซึ่งตงั้ อยูในจังหวัดยะลา มฐี านะเปนเมืองเรียกวา “เมอื งยะลา” เหตทุ ่ีเรยี กวา “เมอื งยะลา” เพราะพระยาเมืองคนแรกไดตั้งทีท่ ำการขึน้ ท่ีบานยะลา คำวา “ยะลา” เปนชอื่ เรียกสำเนยี งภาษา มาลายูพ้ืนเมือง มาจากคำวา “ยาลอ” แปลวา “แห” แตตามประวตั ิศาสตรซ งึ่ ไดเขียนไวในสมัยเจ็ดหวั เมอื ง โดยเจาผูค รองเมืองเดิม ไดเ ขยี นไวเ ปนประวตั ิศาสตรเปน ภาษามาลายูวา “เมอื งยะลา” เปน สำเนยี งภาษา อาหรบั โดยชาวอินโดนเี ซยี ทเี่ ขามาเผยแพรศ าสนาอสิ ลามในบรเิ วณเจ็ดหวั เมอื ง ซง่ึ อยใู นแหลมมลายเู ปนผูตัง้ ชื่อเมอื งไว อำเภอเมืองยะลา เดิมต้งั อยูใกลภ เู ขายาลอ หา งจากท่ีวาการอำเภอเมืองยะลาปจจุบนั ไปทาง ทิศตะวนั ตก ประมาณ 12 กิโลเมตร ตอมาเมืองยะลาไดย กฐานะเปน เมืองๆหนึ่งของบริเวณเจ็ดหัวเมอื ง คำวา “เมอื งยะลา” หรือ “ยาลอ” ยังคงเรียกกนั จนถึงปจจุบนั นี้ เม่อื ป พ.ศ. 2459 เมืองยะลา ไดแยกตัง้ เปนอำเภอ ท่ีตั้งทวี่ าการไดยายท่ีทำการอำเภอหลาย ครั้ง นับต้ังแตแ ยกจากเมอื งยะลา มาเปน อำเภอเมืองยะลา ไดยายทตี่ ้ังเปนลำดับ ดังนี้ 1. ต้ังอยทู บี่ า นทุเรยี น ในทอ งที่หมูที่ 5 ตำบลทา สาป 2. ตั้งอยูทีบ่ านลิมดุ ในทองท่ีหมทู ่ี 3 ตำบลทา สาป 3. ตัง้ อยทู ี่บานทาสาป ในทองท่ีหมูที่ 1 ตำบลทา สาป 4. ตัง้ อยูรมิ หวั หาดแมน ้ำปต ตานี ในทองทีต่ ำบลสะเตง (ใกลเรือนจำกลางจงั หวัดยะลา)การยายทที่ ำการ อำเภอเมืองยะลา มาต้ังที่ตำบลสะเตง ไดเปลย่ี นช่ือใหม เรยี กวา “อำเภอสะเตง” 5. เมือ่ ป พ.ศ. 2482 ไดยายท่ีทำการอำเภอสะเตง ไปตัง้ อยูในทอ งท่หี มูท ่ี 6 ตำบลสะเตง ซึ่งอยูห า งจากท่ี ทำการอำเภอเดิม ประมาณ 1 กโิ ลเมตรและเปล่ยี นช่อื จากอำเภอสะเตงมาเปน อำเภอเมืองยะลา และไดเรียกชอื่ อำเภอเมืองยะลา มาจนถงึ ปจ จบุ นั เมือ่ ป พ.ศ. 2486 ไดย ายที่ทำการอำเภอเมอื งยะลา ไปตง้ั ท่ีบา นนิบง ในทองทตี่ ำบลสะเตง อยูหางจากที่ทำการอำเภอเดิม ประมาณ 4 กิโลเมตรโดยอาศยั อาคารของโรงเรยี นยะลาบำรุง เปน ที่ทำการอำเภอช่วั คราวเมอ่ื วนั ท่ี 26 มนี าคม 2495 อำเภอเมือง ยะลา ไดย ายท่ีทำการอำเภอมาตงั้ ณ บรเิ วณผงั เมืองใหม อยใู กลศาลากลางจงั หวดั ยะลา และไดทำ การกอสรา งอาคารทีว่ า การอำเภอเมอื งยะลา ขึ้นเปนอาคารตึก 2 ชน้ั มาจนปจ จบุ ัน 2. สภาพทว่ั ไป ทต่ี ง้ั อำเภอเมืองยะลา ต้งั อยูทางทิศเหนอื ของศาลากลางจงั หวดั ยะลา อยหู างจากศาลากลาง ประมาณ 100 เมตร อยูหางจากกรุงเทพมหานคร โดยทางรถไฟ ประมาณ 1,039 กโิ ลเมตร หรอื ทางรถยนต ตามเสนทางถนนเพชรเกษม (สายเกา ) ประมาณ 1,395 กโิ ลเมตร เนอื้ ที่ อำเภอเมืองยะลา มีเนื้อที่ประมาณ 264.24 ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ 165,222 ไร ความหนาแนน ของประชากร 615.08 คน/ตร.กม. (พ้นื ท่เี ทศบาลนครยะลา)

2 3. สภาพภมู ิอากาศ โดยทั่วไป อยใู นเขตมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนือ และ มรสุมตะวันตกเฉยี งใต อากาศเปนแบบรอนชน้ื มี 2 ฤดู คอื ฤดรู อน และ ฤดฝู น 4. ทีต่ ั้งและอาณาเขต อำเภอเมืองยะลาตั้งอยูทางตอนบนของจังหวัด มีอาณาเขตตดิ ตอ กบั อำเภอขา งเคยี ง ดงั นี้ ทศิ เหนอื ตดิ ตอกับอำเภอโคกโพธิ์และอำเภอแมลาน (จงั หวดั ปต ตานี) ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ กับอำเภอยะรงั (จังหวัดปต ตานี) และอำเภอรามนั ทิศใต ติดตอ กับอำเภอรามัน อำเภอกรงปนัง และอำเภอยะหา ทิศตะวนั ตก ติดตอ กับอำเภอยะหา และอำเภอสะบายอย (จงั หวดั สงขลา) 5. เขตการปกครอง แบงเขตการปกครอง ตำบลและหมบู าน คอื 14 ตำบล 80 หมูบา น ดงั นี้ 1. ตำบลลำพะยา มี 7 หมบู าน 2. ตำบลลำใหม มี 7 หมูบ า น 3. ตำบลพรอน มี 6 หมูบาน 4. ตำบลลลิดล มี 5 หมูบา น 5. ตำบลยะลา มี 3 หมูบา น 6. ตำบลเปาะเสง มี 4 หมูบ า น 7. ตำบลหนา ถ้ำ มี 4 หมูบา น 8. ตำบลทาสาป มี 6 หมูบ า น

3 9. ตำบลบนั นังสาเรง มี 6 หมูบา น 10. ตำบลบุดี มี 8 หมบู าน 11. ตำบลสะเตงนอก มี 13 หมูบาน 12. ตำบลยโุ ป มี 6 หมูบา น 13. ตำบลตาเซะ มี 5 หมูบาน 14. ตำบลสะเตง (เขตเทศบาลนครยะลา) เทศบาล จำนวน 5 แหง คือ 1. เทศบาลนครยะลา 2. เทศบาลเมืองสะเตงนอก 3. เทศบาลตำบลลำใหม 4. เทศบาลตำบลบุดี 5. เทศบาลตำบลทา สาป องคการบรหิ ารสวนตำบล จำนวน 10 แหง คือ 1. องคการบรหิ ารสวนตำบลลำพะยา 2. องคการบริหารสวนตำบลพรอน 3. องคการบรหิ ารสวนตำบลยะลา 4. องคการบริหารสว นตำบลยโุ ป 5. องคการบริหารสว นตำบลลิดล 6. องคการบริหารสวนตำบลบนั นังสาเรง 7. องคการบรหิ ารสว นตำบลลำใหม 8. องคการบริหารสว นตำบลตาเซะ 9. องคการบรหิ ารสวนตำบลเปาะเสง 10. องคการบรหิ ารสว นตำบลหนา ถำ้ 6. ประชากร อำเภอเมืองยะลา มีประชากรตามสถิติทะเบียนราษฎร ป 2563 รวมทง้ั สิน้ 142,191 คน แยกเปน ชาย จำนวน 68,270 คน หญงิ จำนวน 73,921 คน จำนวนครัวเรือน 47,677 ครัวเรือน ประชากร สวนใหญนับถอื ศาสนาพุทธประมาณ 23 % ศาสนาอสิ ลาม 76 % คริสต 0.75 % และอ่ืนๆ 0.25 % ศาสนสถาน จำนวน 126 แหง ศลิ ปวฒั นธรรม (หอจดหมายเหตแุ หง ชาติ) จำนวน 1 แหง โบราณสถาน จำนวน 4 แหง

4 7. ขอ มลู ดานเศรษฐกิจ 1. อาชีพหลกั ไดแก การทำสวนยาง การทำสวนผลไม 2. อาชีพเสรมิ ไดแ ก คา ขาย รบั จา ง 3. จำนวนธนาคาร มี 12 แหง 4. จำนวนหา งสรรพสนิ คา มี 2 แหง รายไดเ ฉลย่ี ของอำเภอเมืองยะลา พบวา รายไดเฉลีย่ ครวั เรือนอยูที่ 239,067 บาทตอครัวเรอื นและ รายไดบุคคลเฉล่ียอยูที่ 80,955 บาท ซึง่ เปน อันดบั 1 ของจังหวัด สูงกวารายไดเ ฉล่ยี รวมท้งั จังหวัด ตารางที่ 1 รายไดเฉลยี่ ครวั เรือนและรายไดบุคคลจำแนกตามแหลง รายได รายอำเภอ จงั หวดั ยะลา ป 2562 แหลงทีม่ า ขอมูล จปฐ ป 2562 47 แหง 8. สถานศกึ ษา 5 แหง 3 แหง สถานศึกษาของรัฐ 3 แหง 1. ระดับประถมศึกษา 14 แหง 2. ระดับมธั ยมศึกษา 29 แหง 3. ระดับอาชีวศึกษา 3 แหง 4. ระดบั อุดมศึกษา 2 แหง 25 แหง สถานศกึ ษาของเอกชน 1. ระดบั กอนประถมศกึ ษา 2. ระดับมัธยมศึกษา 3. ระดับอดุ มศึกษา 4. ระดบั อาชวี ศึกษา 5. การศกึ ษาปอเนาะ

5 9. ดา นการคมนาคม การตดิ ตอคมนาคมสว นใหญจะใชท างบก คือ ทางรถยนต การเดินทางโดยรถยนตโ ดยเสนทาง ทางหลวงแผน ดินสายเพชรเกษมจากกรุงเทพมหานครถึงอำเภอ เมอื งยะลา ระยะทาง 1,039 กโิ ลเมตร ซึ่งมีเสนทางสำคญั ทใ่ี ชติดตอ ระหวา งจังหวัดและอำเภอ รวมทั้งการคมนาคมภายในตำบล และหมูบาน มีรายละเอียด ดังน้ี ทางหลวงแผนดนิ หมายเลข 410 ปตตานี - เบตง ทางหลวงแผนดนิ หมายเลข 418 ยะลา – ปตตานี ทางหลวงแผนดิน หมายเลข 409 ปต ตานี - ยะลา ทางหลวงแผน ดนิ หมายเลข 4065 บา นเนยี ง - ยะลา ทางหลวงแผนดนิ หมายเลข 4063 อำเภอเมืองยะลา - อำเภอรามัน สถานขี นสง สถานีรถไฟ 10. ดา นการเกษตรและอุตสาหกรรม 1. ผลผลิตทางการเกษตรทส่ี ำคัญ ไดแก ยางพารา ทุเรียน ลองกอง 2. ช่ือแหลง น้ำทีส่ ำคัญไดแ ก (แมน ำ้ /บึง/คลอง) ไดแก แมน ้ำปต ตานี 3. โรงงานอุตสาหกรรม โรงงานขนาดเลก็ 189 แหง โรงงานขนาดกลาง 60 แหง โรงงานขนาดใหญ 11 แหง 11. การไฟฟา ประชาชนในทกุ ตำบลมีไฟฟา ใช โดยมีหนว ยบรกิ าร คือ (1) การไฟฟาสวนภมู ิภาคจงั หวดั ยะลา (2) โรงไฟฟา บรษิ ัท กลั ฟ ยะลา กรนี จำกัด หมูที่ 1 บานพรอน ตำบลพรอ น 12. การส่อื สารและโทรคมนาคม (1) ท่ีทำการไปรษณยี โ ทรเลข จำนวน 2 แหง (2) สถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี ง 12 สถานี คือ สถานีวทิ ยกุ ระจายเสยี งแหงประเทศไทย สถานี วปถ.16 สถานี กวส.7 ยะลา สถานีวิทยุ อสมท. ยะลา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา วทิ ยาลยั เทคนิคยะลา วิทยชุ มุ ชนคนรกั ถน่ิ วทิ ยุชมุ ชนทอ งถนิ่ ไทย สกายเรดโิ อ วทิ ยชุ มุ ชนรว มใจพัฒนา วทิ ยชุ ุมชนคนยาลอ วทิ ยุชมุ ชนวัดนโิ รธสงั ฆาราม

6 13. สภาพเศรษฐกจิ ประชากรในเขตเทศบาลสว นใหญจ ะประกอบอาชพี คาขาย ประชากรนอกเขตเทศบาล มอี าชพี ทำสวน ยางพาราและสวนผลไม 1. มโี รงแรม จำนวน 20 แหง 2. มีโรงภาพยนตร จำนวน 1 แหง 3. มีสถานบริการ จำนวน 12 แหง 14. สถานท่ที องเที่ยวท่สี ำคัญ ตำบลหนา ถำ้ 1. วดั คูหาภมิ ุข ตำบลหนาถ้ำ 2. ถำ้ ศิลป ตำบลหนา ถ้ำ 3. ถำ้ มณโฑ ตำบลตาเซะ 4. อางเก็บน้ำชลประทาน ตำบลสะเตง 5. สนามโรงพิธชี า งเผือก ตำบลสะเตง 6. สวนขวัญเมือง 15. สภาพสังคม ศาสนาและศิลปวฒั นธรรม สังคม วฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณที สี่ ำคญั ในอำเภอเมืองยะลา มีสังคมแบงออกไดต ามภาษาและ ศาสนา เปน 3 รปู แบบ คือ 1. สังคมชมุ ชนทีพ่ ูดภาษามลายูถิ่น และนับถือศาสนาอสิ ลาม 2. สังคมชมุ ชนทีพ่ ูดภาษาไทยและนบั ถือศาสนาพทุ ธ 3. สงั คมชุมชนท่พี ูดภาษาจนี และนบั ถือศาสนาอืน่ เชน พทุ ธ และครสิ ต สงั คมชนุ ทพี่ ูดภาษามลายูถิน่ และนบั ถือศาสนาอิสลามนนั้ มักต้งั บานเรือนอยเู ปน กลุม ไมป ะปนกบั ชุมชน ทน่ี ับถอื ศาสนาอืน่ อยเู ปนหมบู านๆ ประกอบอาชพี ดว ยกันในชุมชนเดียวกัน สวนนอยท่ีปะปนกนั ถา จำเปนกอ็ ยูป ะปนกันบา ง การนบั ถอื ศาสนา ตา งคนตางปฏิบัตศิ าสนกจิ ของตนไป ไมเ บียดเบยี นกนั อยดู ว ยกัน โดยสันติ มบี างท่ีไมล งรอยกนั ในเรือ่ งศาสนา แตเปน เรื่องเล็กนอ ย ปจจุบันผูท ีพ่ ดู ภาษามลายถู ิ่น กส็ ามารถพดู ภาษาไทยไดเปนสว นใหญ เพราะการศกึ ษาสงู ข้นึ กวางออกไปตามความเจรญิ ของทองถิ่นและความจ าเปนที่ ตองประกอบอาชีพสัมพันธกัน สำหรบั ชาวพุทธท่ีพูดภาษาไทย ก็สามารถพูดภาษามลายถู ิ่นได นบั เปน วิวฒั นาการดานวัฒนธรรมแหงยุคโลกภิวฒั นร ปู แบบของชมุ ชนมักเกดิ ขึ้นโดยถอื ศาสนาสถานเปน จุดศนู ยกลาง เชน วดั มสั ยดิ หรือสเุ หรา เพราะตองอาศยั คนทีร่ วมกนั เขาเปน ชุมชนทีส่ นบั สนนุ ค าจุนชาวไทยที่นับถือศาสนา พทุ ธ มวี ฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มและประเพณี มลี ักษณะท่ีคลายคลงึ กนั และไมแตกตางไปจากจังหวดั อ่ืนๆ เชน การแตง กาย การข้ึนบานใหม วันสงกรานต การบวชนาค วันออกพรรษา ประเพณีเดือนสบิ (วนั สารทไทย) และประเพณวี นั ลอย กระทง ชาวไทยทนี่ บั ถอื ศาสนาครสิ ต ก็จะมวี ัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมและประเพณี มี ลกั ษณะท่คี ลายคลงึ กันกับจงั หวัดอน่ื ๆ สำหรับชาวไทยทีน่ ับถือศาสนาอสิ ลาม จะมีความแตกตางไปบาง

7 16. ดา นทรพั ยากรธรรมชาตสิ ำคัญ ไดแก แมน้ำปตตานี, ปาสงวนแหง ชาต,ิ ปาเขาใหญ, แรหนิ ออน บทที่ 2 ขอมูลพ้นื ฐานและขอมลู สถานะสขุ ภาพ ขอ มูลประชากร ตารางที่ 2 จำนวนประชากร จำแนกเครือขายบริการสขุ ภาพอำเภอเมืองยะลา ป 2563 จํานวน จาํ นวน จาํ นวนประชากร ตาํ บล สถานบริการ จํานวนหมูบาน หลงั คาเรือน ครอบครวั ชาย หญิง รวม 1 ตําบลสะเตงนอก 5,490 6,609 12,099 1 รพ.สต.สะเตงนอก 5 3,994 4,271 3,389 3,580 6,969 2 ตาํ บลบดุ ี 2 รพ.สต.บาโงบาแด 5 2,407 2,631 3,488 4,165 7,653 3 ตาํ บลบันนังสาเรง 3 หนว ยบรกิ ารปฐมภูมินิบงบารู 3 2,221 2,458 2,832 3,060 5,892 4 ตําบลพรอ น 4 รพ.สต.บดุ ี 5 1,246 1,522 1,638 1,650 3,288 5 ตาํ บลทา สาป 5 รพ.สต.บา นบุดี 3 802 957 3,589 3,729 7,318 6 ตาํ บลหนาถ้าํ 6 รพ.สต.บนั นงั สาเรง 6 1,446 1,544 2,337 2,375 4,712 7 ตาํ บลเปาะเสง 7 รพ.สต.พรอ น 6 1,101 1,290 3,999 3,972 7,971 8 ตาํ บลบานยะลา 8 รพ.สต.ทา สาป 6 1,505 1,467 1,606 1,568 3,174 9 ตําบลลดิ ล 9 รพ.สต.หนาถ้ํา 4 750 978 2,438 2,531 4,969 10 ตําบลลาํ ใหม 10 รพ.สต.เปาะเสง 4 1,155 1,244 1,595 1,705 3,300 11 ตาํ บลลําพะยา 11 รพ.สต.บานยะลา 3 774 932 2,447 2,554 5,001 12 ตาํ บลยุโป 12 รพ.สต.ลดิ ล 5 1,324 1,676 2,854 3,005 5,859 13 ตาํ บลตาเซะ 13 รพ.สต.ลาํ ใหม 7 1,642 1,829 1,973 2,154 4,127 14 รพ.สต.ลําพะยา 7 1,230 1,572 1,745 1,962 3,707 รวมเขตสสอ.อาํ เภอเมืองยะลา 15 รพ.สต.ยโุ ป 3 969 1,110 1,225 1,258 2,483 16 รพ.สต.ทงุ ยามู 3 579 841 1,671 1,633 3,304 17 รพ.สต.ตาเซะ 3 632 707 1,453 1,405 2,858 18 รพ.สต.วังกระ 2 685 677 45,769 48,915 94,684 80 หม/ู 3 ชมุ ชน 24,462 27,706 ขอมูลพ้นื ฐานดา นประชากรเครือขายบรกิ ารสขุ ภาพอําเภอเมอื งยะลา จาํ นวนประชากร ชาย หญิง รวม ตาํ บล สถานบริการ จํานวนชุมชน จาํ นวน จาํ นวน 2,088 2,534 4,622 14 ตําบลสะเตง หลงั คาเรือน ครอบครัว 3,340 4,465 7,805 19 ศสม.เวชกรรม 2 2,852 2,860 2,554 3,209 5,763 รวมเขตเทศบาล 20 ศสม.สํานกั การเทศบาลนครยะลา 4 3,693 2,489 3,225 3,949 7,174 รวมทง้ั เครือขายอ.เมอื งยะลา 21 ศสม.ธนวิถี 6 2,782 2,782 3,975 4,598 8,573 22 ศสม.ผังเมือง4 7 4,806 3,989 5,416 6,102 11,518 23 ศสม. บา นสะเตง 9 3,661 3,895 1,903 149 2,052 24 ศสม. ตลาดเกา 12 4,316 3,956 22,501 25,006 47,507 25 สถานพยาบาลเรอื นจํากลางยะลา - -- 68,270 73,921 142,191 40 ชมุ ชน 22,110 19,971 80 หมู /43 ชมุ ชน 46,572 47,677 แหลง ขอมูล : ศนู ยข อมูลเครือขาย โรงพยาบาลยะลา

8 ประชากรจำแนกตามกลมุ อายุ จากขอมูลประชากรของอำเภอเมืองยะลา ป 2563 จำนวนประชากรในอำเภอเมืองยะลา จำนวน 142,191 คน เปนเพศชาย จำนวน 68,270 คิดเปนรอยละ 48.01 และเพศหญิง จำนวน 73,921 รอยละ 51.99 แยกเปนกลุมเด็ก 0-14 ป จำนวน 30,524 คิดเปน รอยละ 21.47 วัยทำงาน (15-59 ป) จำนวน 91,406 คน คิดเปนรอยละ64.28 และเปนผูที่มีอายุ 60 ปขึ้นไป 20,261 คน หรือ คิดเปนรอยละ 14.25 ของประชากรทั้งหมด หมายถึงอำเภอเมืองยะลา กาวเขาสูสังคมผูสูงอายุ (Aging Society) และคาดการณวา ภายในป 2570 อำเภอเมืองยะลาจะเขาสูสังคมประชากรสงู วัยแบบสมบูรณ หรือ \"สังคมผูสูงอายุเต็มรูปแบบ\" (Aged Society) โดยมผี ทู ่ีอายมุ ากกวา 60 ป เกิน รอยละ 20 ของจำนวนประชากรทั้งหมด ตารางที่ 3 จำนวนและรอยละของประชากร อำเภอเมืองยะลา จำแนกตามกลมุ อายแุ ละเพศ ป 2563 จำนวน รอยละ กลมุ อายุ ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม 0-4 5,251 4,874 10,125 3.69 3.43 7.12 5-9 4,987 4,703 9,690 3.51 3.31 6.81 10-14 5,555 5,154 10,709 3.91 3.62 7.53 15-19 6,112 5,634 11,746 4.30 3.96 8.26 20-24 6,174 6,408 12,582 4.34 4.51 8.85 25-29 5,606 5,669 11,275 3.94 3.99 7.93 30-34 5,176 5,565 10,741 3.64 3.91 7.55 35-39 4,673 5,262 9,935 3.29 3.70 6.99 40-44 4,073 4,887 8,960 2.86 3.44 6.30 45-49 4,133 4,922 9,055 2.91 3.46 6.37 50-54 4,027 4,745 8,772 2.83 3.34 6.17 55-59 3,797 4,543 8,340 2.67 3.19 5.87 60-64 2,720 3,333 6,053 1.91 2.34 4.26 65-69 2,140 2,731 4,871 1.51 1.92 3.43 70-74 1,434 1,983 3,417 1.01 1.39 2.40 75-79 1,160 1,438 2,598 0.82 1.01 1.83 80+ 1,252 2,070 3,322 0.88 1.46 2.34 รวม 68,270 73,921 142,191 48.01 51.99 100.00 อตั ราสวนวัยพ่ึงพงิ ประชากรวยั แรงงานในอำเภอเมอื งยะลา 100 คน ตองรบั ภาระดแู ลเด็กและผูส ูงอายุประมาณ 56 คน

9 พรี ะมดิ ประชากร พีระมิดประชากรของอำเภอเมอื งยะลา ป 2563 ปีรามิดแบบคงท่ี (Stationary Pyramid) มลี กั ษณะ คลา ยทรงกรวยปากแคบ ดงั ภาพ แสดงวาจำนวนคนเกิดและจำนวนคนตายนอย พีระมิดประชากรอำเภอเมืองยะลา จ.ยะลา ป 2563 อายขุ ัยเฉลย่ี ประชากรอำเภอเมืองยะลา ป 2563 มีอายุขัยเฉลี่ย เพศชาย ประมาณ 75.30 ป และเพศหญิง ประมาณ 82.99 ป ซึง่ สูงกวา คาของประเทศท้ังเพศหญิงและเพศชาย โดยอายขุ ยั เฉลี่ยของประเทศ เพศชายมี คา 73.2 ปและ เพศหญิงมีคา 80.4 ป

10 สถติ ิชพี ของประชากรและสภาวะสขุ ภาพอนามัย สภาพการณของสุขภาพอนามัยของประชาชน เปนเครอื่ งบงชด้ี า นสขุ ภาวะท่ีสำคัญของประชาชน และ เปน ตัวชีว้ ัดงานอนามยั แมและเดก็ ของประเทศตา งๆทวั่ โลก ทบ่ี ง บอกถึงความเปนอยูของสตรี การเขา ถงึ บริการ ดา นสขุ ภาพ ตลอดจนความเพียงพอดา นสถานบรกิ ารสขุ ภาพ อำเภอเมืองยะลา ป 2563 พบวา อัตราสว น มารดาตาย อตั ราทารกแรกเกดิ น้ำหนักตำ่ กวา 2,500 กรัม , อัตราความครอบคลุมหญิงมคี รรภไ ดรบั การ ดแู ลกอ นคลอดตามเกณฑ , อัตราหญงิ มีครรภท ี่มีภาวะโลหติ จางขาดธาตเุ หลก็ (ครั้ง2) , อตั ราการตดิ เชื้อ HIV ในหญิงตัง้ ครรภ อตั ราการคลอดโดยเจา หนาทีส่ าธารณสุข , อัตราความครอบคลุมการดูแลทารกหลังคลอด , อัตราเด็ก 0 - 5 ป เจริญเตบิ โตตามเกณฑมาตรฐานอายุน้ำหนกั ตำ่ กวาเกณฑซ่ึงถือวาเปนปญ หา ตารางที่ 4 สถติ ิชีพของประชากรอำเภอเมืองยะลา ป 2563 ป 2563 สถติ ชิ พี เกณฑ ขอ มลู ผลงาน อัตรา พนื้ ฐาน 1. อัตราเกิด (ตอ พันประชากร) N/A 142,191 2,359 16.59 2. อัตราตาย (ตอ พนั ประชากร) N/A 142,191 1,137 7.99 3. อัตราเพ่มิ ตามธรรมชาติ (%) N/A 0.86 4. อตั ราตายทารก (ตอ การเกดิ มชี พี พนั คน) < 15 2,350 9 3.83 5. อัตราตายปรกิ ำเนดิ (ตอ พันการเกิดท้ังหมด) < 9 2,359 9 3.82 6. อตั ราสว นมารดาตาย (ตอแสนการเกิดมชี พี ) < 18 2,350 2 85.11 7. อตั ราทารกแรกเกดิ นำ้ หนักต่ำกวา 2,500 กรัม (%) < 7 2,359 229 9.71 8. อตั ราการมบี ตุ รในหญงิ อายุต่ำกวา 20 ป (%) < 10 2,340 166 7.09 9. อตั ราความครอบคลุมหญิงมีครรภไดร บั การดูแลกอ นคลอด 90 2,536 1,527 60.21 ตามเกณฑ (%) 10. อัตราหญงิ มคี รรภท ี่มภี าวะโลหิตจางขาดธาตเุ หลก็ (%) < 10 1,592 495 31.09 (ครัง้ 2) 11. อตั ราหญิงต้งั ครรภไ ดร ับการตรวจเลือดเพ่ือคดั กรอง N/A 2,340 2,340 100.00 ธาลัสซเี มยี เบอ้ื งตน (%) 12. อตั ราหญงิ ตัง้ ครรภและสามมี ผี ลเลอื ดธาลสั ซเี มยี ผดิ ปกติ N/A 2,340 0.00 อยา งใดอยางหนง่ึ (%) 13. อัตราการตดิ เช้ือ HIV ในหญงิ ตั้งครรภ (%) < 1 2,340 47 2.01 14. อตั ราทารกแรกเกดิ ขาดออกซเิ จนระหวา งคลอด < 30 2,359 14 5.93 (ตอ พันการเกิดทง้ั หมด) (ร.พ.) 15. อตั ราการคลอดโดยเจาหนา ท่ีสาธารณสขุ (%) 100 2,426 2,406 99.18 16. อัตราการคลอดโดยผดงุ ครรภโ บราณ (%) 0 2,426 20 0.82 17. อตั ราความครอบคลุมหญิงมีครรภไ ดร ับการดแู ลหลงั คลอด 90 1,419 1,340 94.43 ตามเกณฑ (%) 18. อตั ราความครอบคลมุ การดูแลทารกหลังคลอด (%) 100 1,457 1,245 85.45 19. อัตราเด็ก 0 - 5 ป เจริญเตบิ โตตามเกณฑม าตรฐานอายุ > 93 11,069 8,522 76.99 นำ้ หนัก (%) 20. อตั ราเดก็ 0 - 5 ป มพี ฒั นาการสมวยั (%) > 80 9,181 8,421 91.72 กลุมเปาหมาย (เด็กอายุ 9 ,18,30,42 เดือน)

11 แหลง ขอมูล ศูนยขอมูลเครือขาย โรงพยาบาลยะลา สาเหตกุ ารปว ยของผปู วยนอก กลมุ โรคท่เี ปนสาเหตุการปวยของผปู วยนอก 10 อนั ดบั แรกของอำเภอเมืองยะลา ป 2563 ไดแก 1. ความดนั โลหติ สูงที่ไมมีสาเหตุนำ 2.เบาหวาน 3.ฟน ผุ 4.การติดเชือ้ ของทางเดนิ หายใจสว นบนแบบเฉียบพลนั อน่ื ๆ และ 5.ความผิดปกติอื่นๆ ของฟน และโครงสราง ตามลำดบั รายละเอียด ดงั ตารางที่ 5 ตารางที่ 5 สาเหตกุ ารปว ยของผูปวยนอก ตามกลมุ โรค 10 อนั ดับแรก อำเภอเมืองยะลา ป 2563 ลาํ ดบั ช่อื กลุม (298โรค) ชาย หญงิ รวม 1 ความดนั โลหติ สงู ทีไ่ มมีสาเหตุนาํ 22,725 41,816 64,541 2 เบาหวาน 11,982 19,947 31,929 3 ฟน ผุ 12,060 13,733 25,793 4 การตดิ เชื้อของทางเดนิ หายใจสวนบนแบบเฉยี บพลันอื่น ๆ 11,064 14,722 25,786 5 ความผิดปกตอิ ่นื ๆ ของฟนและโครงสราง 10,101 14,579 24,680 6 เนอื้ เยือ่ ผิดปกติ 6,445 14,329 20,774 7 โรคอื่น ๆ ของผิวหนังและเนื้อเยือ่ ใตผ วิ หนัง 4,590 5,981 10,571 8 โรคอ่นื ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดูโอเดนมั 3,196 6,380 9,576 9 การบาดเจ็บระบเุ ฉพาะอนื่ ๆ , ไมร ะบุเฉพาะและหลายบริเวณในรา งกาย 5,131 3,886 9,017 10 พยาธสิ ภาพของหลังสว นอน่ื ๆ 3,596 5,303 8,899 อน่ื ๆ 9,150 12,113 21,263 รวม 100,040 152,789 252,829 แหลง ขอมลู : กลมุ รายงานมาตรฐาน สาเหตกุ ารปวย/ตาย สาเหตุการปวยของผปู วยนอกตามกลุมโรค 10 อันดบั แรก ระบบ HDC จงั หวัดยะลา หมายเหตุ : การคำนวน คดิ ตาม 298 กลุม โรคนับเปนครง้ั ตามการวนิ จิ ฉัย

12 สาเหตุการปวยของผปู ว ยใน กลมุ โรคท่ีเปน สาเหตกุ ารปว ยของผูปว ยใน 10 อันดบั แรกของ อำเภอเมืองยะลา ปงบประมาณ 2563 ไดแก 1. การดูแลมารดาอื่น ๆ ที่มีปญหาเกี่ยวกับทารกในครรภ และถุงน้ำคร่ำ และปญหาที่อาจจะเกิดไดใน ระยะคลอด 2.ปอดบวม 3 ภาวะแทรกซอนอื่น ๆของการตั้งครรภ และการคลอด 4 การคลอดติดขัด 5 โลหิตจางอื่น ๆ 6.การบาดเจ็บภายในกะโหลกศีรษะ 7.กลามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน 8.เนื้อสมองตาย 9. ทารกในครรภโ ตชา ทารกในครรภข าดสารอาหาร และความผดิ ปกตเิ กย่ี วกับการต้ังครรภร ะยะสั้น และนำ้ หนัก ทารกแรกเกดิ นอ ย 10.หวั ใจลมเหลว ตามลำดับ รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 6 ตารางที่ 6 สาเหตกุ ารปว ยของผปู วยใน ตามกลุมโรค 10 อันดบั แรก อำเภอเมอื งยะลา ป 2563 ลำดับ สาเหตกุ ารปวย (กลมุ โรค) จำนวน อตั รา ตอ ประชากรแสน คน 1 การดแู ลมารดาอน่ื ๆ ที่มปี ญหาเกย่ี วกบั ทารกในครรภ และ 2,432 1,710.38 ถุงน้ำครำ่ และปญหาท่ีอาจจะเกดิ ไดในระยะคลอด 2 ปอดบวม 1,445 1,016.24 3 ภาวะแทรกซอนอนื่ ๆของการต้งั ครรภ และการคลอด 1,381 971.23 4 การคลอดตดิ ขัด 1,249 878.40 5 โลหิตจางอน่ื ๆ 1,046 735.63 6 การบาดเจ็บภายในกะโหลกศีรษะ 1,027 722.27 7 กลามเนอื้ หัวใจตายเฉียบพลนั 924 649.83 8 เนอื้ สมองตาย 854 600.60 9 ทารกในครรภโ ตชา ทารกในครรภขาดสารอาหาร และความ 824 579.50 ผิดปกติเก่ยี วกบั การต้งั ครรภร ะยะสัน้ และน้ำหนกั ทารกแรก เกดิ นอ ย 10 หัวใจลมเหลว 785 552.07 แหลงขอมูล : กลมุ รายงานมาตรฐาน สาเหตุการปว ย/ตาย สาเหตุการปว ยของผูป ว ยในตามกลุม โรค 10 อันดับแรก ระบบ HDC จงั หวัดยะลา หมายเหตุ : การคำนวน คดิ ตาม 298 กลมุ โรคนับเปน ครง้ั ตามการวินิจฉัย

13 อัตราตายดวยโรคท่เี ปนสาเหตขุ องการตาย ป พ.ศ. 2563 พบวา อตั ราตายดวยโรคทเี่ ปน สาเหตุของการตาย 10 อันดบั อนั ดบั สูงที่สุด ไดแก โรค หลอดเลือดในสมอง (I60-I69)รองลงมา ไดแก มะเร็งและเนื้องอกทุกชนิด อันดับ 3 โรคเสื่อมถอยของระบบ ประสาท ที่มิไดระบุรายละเอียด อันดับ 4 โลหิตเปนพิษ อันดับ 5 โรคหัวใจขาดเลือด อันดับ 6 ปอดอักเสบ และโรคอื่นๆของปอด อันดับ 7 ไตอักเสบ กลุมอาการของไตพิการและไตพิการ อันดับ 8 ความดันโลหิตสูง อนั ดบั 9 เบาหวาน และอันดบั 10 อุบตั ิเหตจุ ากการขนสง ตามลำดับ รายละเอียดดังตารางท่ี 7 ตารางท่ี 7 จำนวนและอตั ราตาย 10 อันดับแรกของประชากรอำเภอเมอื งยะลา ป 2563 ลำดับ สาเหตุการตาย อัตราตอ จำนวน ประชากรแสนคน 1 โรคหลอดเลอื ดในสมอง (I60-I69) 100 70.33 2 มะเร็งและเนอ้ื งอกทุกชนิด (C00-D48) 98 68.92 3 โรคเสอื่ มถอยของระบบประสาท ท่มี ไิ ดระบรุ ายละเอียด 89 62.59 4 โลหิตเปนพษิ 75 52.75 5 โรคหัวใจขาดเลอื ด (I20-I25) 67 47.12 6 ปอดอักเสบและโรคอ่นื ๆของปอด (J12-J18) 63 44.31 7 ไตอักเสบ กลุมอาการของไตพิการและไตพิการ ( N00-N29) 32 22.50 8 ความดนั โลหติ สูง (I10-I15) 26 18.29 9 เบาหวาน (E10-E14) 24 16.88 10 อบุ ัตเิ หตจุ ากการขนสง (V01-V99) 19 13.36 ทมี่ า : งานขอมลู สสจ.ยะลา ขอมูลสาเหตกุ ารตายจากสำนักนโยบายและยทุ ธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข ป 2563

14 อัตราปว ยดว ยโรคท่ีเฝา ระวงั ทางระบาดวิทยา สำหรบั ป พ.ศ. 2563 พบวาอตั ราปว ยดว ยโรคท่เี ฝา ระวังทางระบาดวทิ ยา 10 ลำดับแรก ไดแก 1.อุจจาระรว ง 2.ปอดบวม 3.ไขไ มท ราบสาเหตุ 4.ตาแดง และ 5.ไขสุกใส 6.โรคมอื เทา ปาก 7.ไขหวดั ใหญ 8.โรคตดิ ตอ ทางเพศสัมพนั ธอ่ืน ๆ 9.ไขเ ดง็ กี่ และ 10.อาหารเปนพิษ ตามลำดับ รายละเอียดดังตารางท่ี 8 ตารางที่ 8 อัตราปว ย 10 ลำดบั โรคที่เฝา ระวังทางระบาดวิทยา อำเภอเมืองยะลา จงั หวัดยะลา ป 2563 ลำดับ ชื่อโรค จำนวน อตั ราตอประชากรแสนคน 1 Diarrhea 1,507 1,059.84 2 Pneumonia 631 443.77 3 Pyrexia 545 383.29 4 H.conjunctivitis 198 139.25 5 Chickenpox 158 111.12 6 Hand, foot and mouth disease 156 104.44 7 Influenza 93 65.40 8 โรคตดิ ตอทางเพศสมั พนั ธอ่ืน ๆ 38 25.44 9 Dengue fever 32 21.42 10 Food Poisoning 24 16.88 แหลง ขอ มลู : ศนู ยขอ มลู เครือขาย โรงพยาบาลยะลา

15 ทรพั ยากรดานสาธารณสุข จำนวน 1 แหง มกี ารใหบ ริการดา นการสาธารณสุข โดยมีสถานบริการ ดังน้ี จำนวน 1 แหง จำนวน 1 แหง 1. โรงพยาบาลยะลา ขนาด 500 เตียง จำนวน 3 แหง 2. โรงพยาบาลเอกชน จำนวน 1 แหง 3. คลนิ กิ หมอครอบครัว จำนวน 1 แหง 4. ศนู ยสุขภาพชมุ ชนเมือง จำนวน 18 แหง 5. ศนู ยบรกิ ารสาธารณสขุ ของเทศบาล จำนวน 1 แหง 6. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ จำนวน 1 แหง 7. โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพตำบล จำนวน 1 แหง 8. ศูนยพ ัฒนาการสาธารณสขุ มูลฐานชายแดนภาคใต จำนวน 1 แหง จำนวน 1 แหง จงั หวดั ยะลา จำนวน 1 แหง 9. ศนู ยอนามยั ท่ี 12 ยะลา 10. ศนู ยวณั โรค 12 ยะลา 11. ศูนยค วบคมุ โรคติดตอ นำโดยแมลง ท่ี 12 ยะลา 12. วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรนิ ธร จังหวดั ยะลา 13. วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ยะลา กำลังคนดา นสขุ ภาพ กำลังคนดา นสุขภาพ นับเปนปจ จยั นำเขา ที่สำคัญอยางย่ิงตอระบบบริการสขุ ภาพ ท่ผี า นมามีการผลิต บคุ ลากรสุขภาพมาอยางตอ เน่อื ง ทำใหจำนวนของบุคลากรสุขภาพเพมิ่ ขนึ้ และมีการกระจายไปยังสถานบริการ ระดับตางๆ ทงั้ ในและนอกกระทรวงสาธารณสขุ แตอ ยางไรกด็ ี ประเด็นเรอ่ื งกำลงั คนดานสุขภาพ ยงั คงประสบ ปญหาบางประการ โดยเฉพาะการขาดแคลนบุคลากร เม่อื เทยี บกับมาตรฐานทค่ี วรจะเปน ปญ หาการกระจาย บุคลากรไปยังพื้นที่ตางๆที่ทั่วถึง รวมทั้งปญหาคุณภาพของบุคลากร ซึ่งอาจจะสัมพันธกับภาระงานของ บุคลากร ในการวิเคราะหสถานการณดานกำลังคน จะประกอบไปดวย การวิเคราะหสถานการณปริมาณ บคุ ลากรท่มี อี ยู สถานการณการผลิต และสถานการณการกระจายบุคลากร สสอ.เมืองยะลา มีบุคลากรทั้งสิ้น 1,208 คน ประกอบดวย สายงานวิชาการ ไดแก นักวิชาการสาธารณสุข นักวิชาการทันตสาธารณสุข พยาบาล และแพทยแผนไทย จำนวน 125 คน คิดเปนรอยละ 10.35 สายงานสนับสนนุ ไดแก เจาพนักงานสาธารณสุข เจาพนักงานทันตสาธารณสุข เจาพนักงานเภสัชกรรม ธุรการ พนักงานทั่วไป และ พนักงานชว ยเหลือคนไข จำนวน 81 คน คดิ เปนรอ ยละ 6.71 อสม. จำนวน 1,002 คิดเปนรอ ยละ 82.95 บุคลากรเปน ขาราชการ จำนวน 138 คน คิดเปนรอยละ 11.42 ลูกจางเหมาบริการ จำนวน 68 คน คิดเปนรอยละ 5.6 สวนใหญ เปน เพศหญิง จำนวน 1,081 คน คดิ เปน รอ ยละ 89.47 เปน เพศชาย จำนวน 127 คิดเปนรอ ยละ 10.51

16 ตารางที่ 9 แสดงจำนวนบุคลากรตามสายงาน ประเภท ระดบั การศึกษา และอายุ ระดบั การศึกษา สายงาน เพศ ป.ตรี ประเภท จำนวน วิชาการ สนับสนนุ ชาย หญงิ ต่ำกวา (คน) ป.โท (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) ป.ตรี (คน) 123 (คน) ขา ราชการ 138 112 26 26 112 10 31 5 N/A - ลูกจา งเหมาฯ 68 13 55 3 65 37 154 N/A อสม. 1,002 - - 98 904 N/A รวม 1,208 125 81 127 1,081 47 5 ท่มี า: สสอ.เมืองยะลา ณ วนั ท่ี 25 พฤศจกิ ายน 2563

17 บทท่ี 3 บริบทพื้นท่ี ปญหาสุขภาพของประชาชน ในแตล ะกลมุ วยั หลายประเด็น ไดแ ก กลุม สตรแี ละ เด็กปฐมวัย ยังมีปญหา มารดาตายและภาวะซีดในกลุมหญิงวัยเจริญพันธุและหญิงตั้งครรภกลุมเด็กวัยเรียนมี ปญหาโภชนาการ กลุม วัยรุนยังมีปญหาอัตราการตั้งครรภชาในมารดาอายุนอยกวา 20 ป กลุมวัยทำงานและ ผูสูงอายุการปวยดวย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสงู นอกจากนี้ยังมีปญ หาดา นความครอบคลมุ ของ วัคซนี ในเดก็ อายุครบ 1 และ 5 ป และโรคประจำถิน่ ไดแก ไขเลอื ดออก นโยบายการดำเนินงาน ระบบสาธารณสุขจังหวัดยะลา รวมกับผูบริหารสาธารณสุขทุกระดับและภาคี เครือขายรวมกันขับเคลื่อน ภายใตวิสัยทัศนระบบสุขภาพจังหวัดยะลา “ระบบสุขภาพยัง่ ยืน ประชาชนสุขภาพดี เจาหนาที่มีความสุข” โดยมีกรอบพัฒนาตามนาวาสาธารณสุขประกอบดว ย 5 โรค 5 ระบบและ 5 สนับสนุนท่ี มี การบรู ณาการกบั ภาคีเครอื ขา ยทุกภาคสวน เพ่อื ดแู ลสุขภาพประชาชนชาวจังหวัดยะลาในทุกกลมุ วัยท้ัง 5 มิติ ทั้ง ดานการสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค รักษาพยาบาล ฟนฟูสภาพ รวมถึงการคุมครองผูบริโภคจังหวัดยะลา ได วิเคราะหสภาพปญหาสขุ ภาพของพนื้ ทแี่ ละไดจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพใหสอดคลองกับปญ หาสขุ ภาพพืน้ ท่ี ระบบการตดิ ตามควบคุมกำกับและประเมินผล การพฒั นางานสาธารณสขุ และการสรางขวญั กำลังใจใน การปฏิบัติงานมกี ารตดิ ตามการนำนโยบาย สกู ารปฏบิ ัตมิ ีการเยยี่ มเสรมิ พลงั มีการนิเทศงาน คปสอ.ปล ะ 2 ครั้ง ผูบริหารไดลงเยี่ยมรพ.สต.เพื่อ สรางขวัญและกำลังใจในการดำเนินการในพื้นที่มีทีมผูบริหารที่ควบคุมกำกับและ สนับสนุนการ ดำเนินงานของเครือขายบริการแตละเครือขายที่ชัดเจน และการประเมินหนางานเพื่อพัฒนา คุณภาพ งาน เชน งานอนามัยแมและเด็ก การควบคุมโรคที่เปนปญหาพื้นที่ เพื่อหาแนวทางแกปญหาและ ขับเคลือ่ นใหบ รรลุเปา หมายมีระบบการรายงานผลการดำเนินงานและผลการเบิกจายงบประมาณใน ทกุ ระดับดวย ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ผานโปรแกรมระบบบรหิ ารยุทธศาสตรดานสุขภาพ (SMS) และจัดระบบการติดตาม รายงานตัวชี้วัดดวยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศรายงานผลการ ดำเนินงานผานระบบ Health Data Center (HDC) ของกระทรวงสาธารณสุขเพื่อทุกระดับสามารถ นำขอมูลไปใชประโยชนในการขับเคลื่อนงานในพื้นที่ทุก ระดับ สำหรับนโยบายการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบสุขภาพจังหวัดยะลา ไดกำหนดเข็มมุงการ ดำเนนิ งานท่ีสำคัญ ภายใต กลยทุ ธ 3 s SMART STRENGTH SUPPORT เพ่ือใหบรรลวุ ิสัยทัศน “ระบบสุขภาพ ยง่ั ยนื ประชาชนสุขภาพดี เจา หนาที่มีความสขุ เครอื ขา ยสุขภาพเขมแข็ง” ปญ หาในจังหวัดชายแดนภาคใต จากปญหาความรุนแรงของเหตุการณความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต (5 จังหวัด คือ นราธิวาส ยะลา ปตตานี สงขลา สตูล) ที่มีมาอยางตอเนื่อง สงผลกระทบตอการเขาถึงบริการทางการแพทยและ สาธารณสุขของประชาชนในพน้ื ที่ ประกอบกบั อตั ลกั ษณเ ฉพาะในพ้ืนที่ ความเช่ือ คา นิยมประเพณีและวัฒนธรรม ทำใหปญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ ยังมีปญหามากกวาพื้นที่อื่น ๆ กลาวคืออัตราการตายมารดาสูงกวา พื้นที่อื่นและคาเฉลี่ยของประเทศและปญหาหญิง ตั้งครรภมีภาวะซีดและทารกแรกเกิดมนี ้ำหนักนอย นอกจากน้ี สถานการณความรุนแรงดังกลาวสงผลกระทบตอความรนุ แรงทางดานจิตใจโดยเฉพาะในกลุมหญิงหมายและเดก็ กําพราจากเหตุการณความไมสงบในพื้นที่ มีความจำเปนอยางยิ่งที่ตองมีการเยียวยาจิตใจและติดตามผลกระทบ ดา นจิตใจในระยะยาว

18 ปญ หาอุทกภัย เนอ่ื งจากอทิ ธพิ ลมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งเหนอื ทพี่ ดั ปกคลมุ อาวไทยและภาคใตมกี ำลงั แรงขึน้ ประกอบกับ หยอมความกดอากาศต่ำกำลังลมแรงบริเวณทะเลจีนใตเคลื่อนตัวเขาปกคลุมประเทศมาเลเซียและภาคใต ตอนลาง ทำใหมีฝนตกหนักบางพื้นที่ สงผลใหเกิดสถานการณอุทกภัยในพื้นที่จังหวัดยะลา จำนวน 4 อำเภอ คอื อำเภอเมอื ง รามนั ยะหา และบนั นังสตา ปจ จยั กำหนดสขุ ภาพ การรับรูสุขภาพ ความเชื่อ และพฤติกรรมสุขภาพในหญิงตั้งครรภ จากผลการศึกษาที่ผานมาพบวา การเสียชีวิตของหญิงต้ังครรภสวนใหญเกิดจากสาเหตุท่ีสามารถปอ งกันได ในบริบทของสูติศาสตรสมัยใหม มี เพียงนอยรายที่เปนเหตุสุดวิสัย งานวิจัยพบวา ปจจัยหลายดานมีผลกระทบตอความสำเร็จในงานอนามัยแม และเด็กในจังหวัดชายแดนใต เชน ความเชื่อเรื่องการดูแลครรภ ความเชื่อที่ยังคงเปนตัวกำหนดบรรทัดฐาน การปฏิบัตติ นของหญิงตง้ั ครรภ ไดแ ก 1. ความเชื่อวา หญิงตั้งครรภไมควรรบั ประทานอาหารมาก และไมควรรบั ประทานยาบำรงุ 2. ความเชอื่ ที่จะคลอดกับหมอผูหญิง 3. วิถีชีวิต ศาสนาที่ใหคุณคาสูงมากในเรื่องการใหกำเนิดบุตรและเชื่อวาการตายเปนเรื่องของ ธรรมชาติ แมในรายที่หญิงตั้งครรภมีโรคมีความเสี่ยงสูง ก็ยังตองการมีลูกเพื่อสืบสกุล ตลอดจนทศั นคตทิ ี่คิดวา การคุมกำเนิดนัน้ ผดิ หลกั การของศาสนาอสิ ลาม ปญหายาเสพตดิ ยาเสพตดิ ถือเปนปญ หาใหญของสงั คมและเปนปญหาสำคัญระดับประเทศท่ตี องไดรับการแกไขอยาง จริงจัง ทั้งนี้เพราะปญหายาเสพติดมีการแพรระบาดในทุกพื้นที่ของประเทศไทยไดทวีความรุนแรงมากข้ึนทุก ขณะ สงผลกระทบตอการพัฒนาประเทศทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม รวมทั้งดานการเมืองและ ความมั่นคงของประเทศ รัฐบาลจึงไดประกาศเปนนโยบายเรงดวนกำหนดใหการแกไขและปองกันปญหายา เสพติดเปนวาระแหงชาติ สถิติการจับกุมคดียาเสพติดและตัวยายาเสพติดในพื้นที่จังหวัดยะลาพบวาพืช กระทอมจับกุมได 1,484 คดี ยาบา 979 คดียาไอซ 157 คดี พื้นที่คาและแพรระบาดยาเสพติดหลัก 3 อันดับ ไดแก อำเภอเมอื งยะลา รอ ยละ 26.52 อำเภอเบตง รอ ยละ 21.66 อำเภอรามนั รอ ยละ 14.30 จังหวัดยะลามี ผูเขารับการบำบัดรักษายาเสพติดเปนอันดับที่ 5 ในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใตตอนลาง ซึ่งจะมีชวงอายุระหวาง 20-24 ป และอาชีพรับจาง สวนใหญจะเขารับการบำบัดในระบบสมัครใจ กลุมผูเกี่ยวของยาเสพติดรายใหม ยังคงเปนปญหาหลักในอนาคต ซึ่งพบวามีสดั สวนสูงทั้งในกลุม ผูคาและกลุมผูเสพ กลุมเยาวชนอายุ 15-24 ป ถือเปนกลมุ หลักที่เขา มาเกย่ี วของซึ่งพบทั้งท่ีอยูในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา โดยกลุมนักเรียนระดับช้ัน มัธยมศกึ ษาตอนตน และระดบั ประถมศึกษา กลมุ ทมี่ โี อกาสเขา มาเก่ยี วของกับยาเสพตดิ มากกวากลมุ อื่น ๆ ซึ่ง หากสามารถผลักดนั ใหนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน เรียนตอถึงระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายได จะ ทำใหอ ัตราการเขาไปเก่ียวของกบั ยาเสพติดลดลงและควรมีการปองกนั ตั้งแตแ รก สำนกั งานคณะกรรมการและ ปราบรามยาเสพตดิ (ปปส.)

19 การวิเคราะหป ญ หาดา นสขุ ภาพโรคภัยในพ้ืนท่ี ภาวะสุขภาพหญิงตงั้ ครรภแ ละทารกแรกเกดิ จากการวิเคราะหข อมลู สถิติชีพของประชากรและสภาวะสขุ ภาพอนามัยพบวา งานอนามยั แมและเด็ก เปน บรกิ ารสุขภาพขั้นพ้ืนฐานที่สำคญั ของการพฒั นาคุณภาพประชากร ซ่งึ เรมิ่ ตั้งแตการดูแลครรภ เพื่อใหการ ตง้ั ครรภแ ละการคลอดอยางมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัยและมีสุขภาพสมบรู ณแขง็ แรงตอเนื่องถึงการ ใหการดูแลเด็กในชวงปฐมวัย ซึ่งเปนทรัพยากรอันทรงคุณคาและเปนอนาคตของชาติ ควรใหการเลี้ยงดูให เจริญเติบโตและมพี ัฒนาการที่สมวัย ทั้งรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และสติปญญา การสงเสรมิ การเลี้ยงลูก ดวยนมแม พฒั นาชมุ ชนและสงั คมใหส นบั สนุนและสงเสริมการเลี้ยงลกู ดวยนมแม ในเขตอำเภอเมืองยะลา พบวามมี ารดาเสยี ชีวิต โดยคิดเปนอัตราสว นมาดาตาย ต้งั แตป  2558-2563 เกินเกณฑ ซงึ่ ปจ จัยที่เปนอปุ สรรคไดแ ก (1) การตดิ ตามและประเมนิ ความเสย่ี งหญงิ ตั้งครรภไ มครอบคลุม (2) การขาดความรูข องประชาชน (3) ระบบปรึกษา สงตอ นเิ ทศตดิ ตามไมตอ เนื่อง สาเหตกุ ารปวย โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง เปนโรคเรื้อรังที่เปนปญหาสาธารณสุขในเขตของอำเภอเมืองยะลา เปนโรคซึ่งเปน ผลมาจากทงั้ กรรมพนั ธุและความสมั พนั ธกบั พฤติกรรมการบรโิ ภค การออกกำลงั กาย ผลกระทบ จากการเจบ็ ปวยสงผลเสียตอทัง้ ระดับบุคคล ครอบครัว ชมุ ชน ตลอดจนประเทศชาติ ไมวา จะเปนดานรางกาย จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเปนโรคเรื้อรังที่เกิดจากพฤติกรรมและวิถีการ ดำเนินชีวิตซึ่งสามารถปองกันไดการบริหารจัดการโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงดวยการจัดใหมีบริการ ดูแลรักษาภายหลัง การเกิดโรคแตเพียงอยางเดียว ไมอาจลดภาระผูปวย/ครอบครัวและสังคมในระยะยาวได ดงั นนั้ การปองกัน กอนการเกดิ โรคเปนเร่อื งทจ่ี ำเปน ท่ีจะตองทำควบคูกนั ไป สถานการณอำเภอเมืองยะลา พบผูปวย DM ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกวาเกณฑและผูปวย ความดนั โลหติ สูงยังพบอตั ราควบคมุ ความดนั โลหติ ต่ำกวา เกณฑ ปจ จัยท่ีเปนอุปสรรคไดแ ก 1. เจา หนาทีเ่ ปน Case Manager ในคลินกิ NCD มี Work Load สูง 2. ขาดระบบตดิ ตามประเมนิ ผลการปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรม ทัง้ ในกลุม เสีย่ ง ปวย สาเหตุการตาย โรคหลอดเลือดสมอง เปนสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของอำเภอเมืองยะลา ในป 2563 และเปน ปญหาสำคัญของประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งในปจจุบันที่กำลังเขาสูสังคมผูสูงอายุ ซึ่งจะพบโรคนี้มากข้ึน ถาประชาชนไมไดรับการปองกันอยางถูกวธิ ี มกี ารศกึ ษาในผูปวยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันเฉียบพลัน พบวาในผปู วย ท่ีรบั การรกั ษาตวั ในโรงพยาบาล ณ วันท่กี ลับบาน จะเสียชวี ติ ประมาณรอยละ 5 หายใกลเคียง ปกติรอยละ 25 พิการรอยละ 70 ซึ่งอัตราความพิการจะนอยลงตามลำดับเมื่อเวลาผานไป นอกจากความ

20 พิการทางกายแลว ยังมีผลตอความคิด การวางแผน ความจำ ทำใหเกิดความจำเสื่อมในระยะตอมา ซึ่งมักถูก มองขา มไปในผปู ว ยสว นใหญ ภาวะพงึ พิงของผูสูงอายุ ปจจุบันพบวา มีผูส งู อายุซึง่ เปนผดู อยโอกาสในพื้นที่บางสว นไมไดรบั การดูแลเอาใจใสเทา ทค่ี วร ท้งั จาก คนในครอบครัว ชุมชน และสังคม ท้งั ในเร่ืองของการดำรงชวี ิตขนั้ พื้นฐาน การฟน ฟสู มรรถภาพดานอาชพี การ สรา งเสรมิ สขุ ภาพ การปอ งกันโรค การฟน ฟสู มรรถภาพ และการรกั ษาพยาบาลในระดบั ปฐมภมู ิ ตลอดจนเร่อื ง ของคาใชจายตาง ๆ ในการจัดการศพเมื่อผูสูงอายุเหลานั้นไดเสียชีวิตลง ประกอบกับสภาพปญหาเศรษฐกิจ สังคมและสถานการณความไมสงบในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ทำใหผูสูงอายุเหลานั้นมีสุขภาพจิตท่ี เสื่อมโทรม มีสุขภาพรางกายที่ออนแอ อันสงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตและความเปนอยูในภาพรวม ทั้ง ๆ ท่ี ผสู งู อายเุ หลาน้นั สามารถดแู ลตนเองไดโดยไมต องเปนภาระของคนในครอบครัว และสามารถทำคุณประโยชน ใหก บั ชมุ ชนและสงั คมไดอ ีกมากมาย หากไดรบั การสงเสรมิ และพัฒนาอยางตอ เนือ่ งและเหมาะสม ขอ มลู ของหนว ยงานที่เกย่ี วของแสดงใหเห็นวา ประชากรสูงอายกุ ำลังเพิ่มขึ้น จำนวนผสู ูงอายุของ อำเภอเมืองยะลา ทเ่ี พม่ิ ขึน้ บอกวาตอนนเี้ รามปี ระชากรสงู อายมุ ากถงึ รอยละ 14.25 คาดการณวา อีกประมาณ 10 ป จะเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 20 คนอายุยนื มากขึ้น ยิ่งคนรุนใหมย ่ิงอายุยืนโอกาสทีจ่ ะเปนผปู ว ยติดเตียงก็มีมาก ขนึ้ อตั ราสว นวัยพ่ึงพงิ ประชากรวยั แรงงานในอำเภอเมอื งยะลา 100 คน ตองรบั ภาระดูแลเดก็ และผสู ูงอายุ ประมาณ 56 คน และดูและเฉพาะผูสูงอายุ 22 คน ขอ จำกัด อปุ สรรค ตองอาศัยความรวมมอื จากหลายภาคสวน ควรชแี้ จงนโยบายที่ชัดเจนแกประชาชน ประเดน็ ทม่ี งุ เนน และขอเสนอเชงิ นโยบาย 1. ความครอบคลมุ ของการไดรับวคั ซนี เปน เกณฑช ี้วัดทส่ี ำคญั ทีส่ ะทอนใหเ ห็นถึงความกาวหนา ของ งานสรางเสรมิ ภูมิคมุ กันโรค เพอื่ ใหม่นั ใจวากลุมเปาหมายไดรับวคั ซีนครบตามเกณฑ และมีระดับภูมิคมุ กนั โรค อยางทว่ั ถึง การประเมินผลความครอบคลุมของการไดรับวัคซนี ตง้ั แตเ ร่ิมแผนงานสรา งเสริมภมู คิ มุ กันโรค โดย ใชวธิ กี ารประเมนิ 2 วธิ ี คอื ประเมนิ จากรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านจากเจา หนาทรี่ ะดับผปู ฏบิ ตั ิ ต้ังแตระดับ สถานอี นามยั โรงพยาบาลชุมชนข้นึ มา และประเมนิ ดว ยวธิ ีการสำรวจ การประเมินผลจากรายงาน การสราง เสรมิ ภูมิคมุ กนั (EPI) โดยเฉพาะความครอบคลมุ MMR1 MMR2 อยางนอ ยรอยละ 95 ความครอบคลมุ MMR1 ของอำเภอเมืองยะลา อยูที่ 73.3 % 2. ยาเสพตดิ ซงึ่ เปน ปญหาในพนื้ ที่ยะลา 3. การพฒั นาบุคลากร 4. ระบบบรหิ ารงานประเมนิ การควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงนิ แผนดิน 5. การพฒั นาระบบสารสนเทศ

21 การจัดลำดบั ความสำคญั ของปญ หาสาธารณสขุ จาการวเิ คราะหขอ มลู สภาพปญหาของพนื้ ท่ี ทส่ี ำคญั ไดป ระเดน็ ที่เปน ปญหาในพ้นื 7 ประเดน็ ดว ยกนั คือ 1. การตายของมารดา 2. เด็กแรกเกิดมีนำ้ หนักตำ่ กวาเกณฑ 3. การควบคมุ ระดบั นำ้ ตาลในผปู วยเบาหวาน และการควบคุมระดับความดันโลหิต 4. การตายดวยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) 5. การสรางเสริมภูมคิ ุมกัน /ความครอบคลมุ ของการใหวัคซนี ในกลุม เดก็ 6. ยาเสพติด 7. ผสู ูงอายแุ ละผปู วยท่ีมภี าวะพ่ึงพงิ (Long Term Care) เนื่องจากปญหาดานสุขภาพไมสามารถดำเนินการใหสำเร็จในคราวเดียว จึงจำเปนที่จะตองจัดลำดับ ความสำคัญ ซึ่งใชอ งคประกอบการพจิ ารณา 4 องคป ระกอบ ไดแ ก 1. ขนาดของปญ หาทีม่ ผี ลกระทบตอชมุ ชน (Size of Problem or Prevalence) 2. ความรุนแรงของปญ หา (Severity of Problem) 3. ความยากงา ยในการแกปญหา (Ease of management) - ดานวชิ าการ มีความรูดา นวชิ าการในการนำมาใชแกปญ หาไดห รอื ไม - ดานบริหาร ตอ งคำนึงถึงทรัพยากรและปจ จัยตา งๆทจี่ ะนำมาใชในการสนับสนนุ - ดา นระยะเวลา มีเพยี งพอที่จะแกไขปญ หานน้ั ๆ หรอื ไม 4. ความสนใจหรอื ความตระหนักของชุมชนทม่ี ตี อปญ หานัน้ (Community Concern) การใหค ะแนน ไมม เี ลย = 0 คะแนน 1-25% = 1 คะแนน 26-50% = 2 คะแนน 51-75% = 3 คะแนน 76-100% = 4 คะแนน

22 ตารางท่ี 10 การพจิ ารณาความสำคญั ของปญหา ผลกระทบ ความรนุ แรง ความยาก-งา่ ย ความตระหนกั ชุมชน รวม ลําดบั (นํ�าหนกั 2) (นํ�าหนกั 3) (น�ําหนัก 3) คะแนน ของ เกณฑพ์ จิ ารณา (นา�ํ หนกั 2) น�าํ หนกั คะแนน ปัญหา 64 นา�ํ หนกั คะแนน น�าํ หนกั คะแนน ที�ได้ นํ�าหนกั คะแนน 43 82 639 29 3 62 639 25 6 การตายของมารดา 3 43 44 31 2 เดก็ นาํ� หนักต�ํากว่าเกณฑ์ 2 63 27 4 63 33 1 การควบคุมระดบั นํา� ตาล/ระดบั 42 27 4 26 5 ความดันโลหติ 2 6 3 9 4 12 82639 ลดอัตราตายโรคหลอดเลอื ดสมอง 2 6 4 12 3 9 62639 การสร้างเสริมภมู ิคุ้มกัน 3 43939 ยาเสพตดิ 3 LTC 2 ผลการจัดลำดบั ความสำคญั ของปญหา 1. การสรางเสรมิ ภมู คิ ุมกนั /ความครอบคลุมของการใหว ัคซีนในกลุมเดก็ 2. การควบคุมระดับนำ้ ตาลในผปู วยเบาหวาน และการควบคุมระดับความดันโลหิต 3. การตายของมารดา 4. ยาเสพติด / ลดอตั ราตายโรคหลอดเลือดสมอง 5. ปญ หาผสู งู อายแุ ละผูปวยทม่ี ีภาวะพึง่ พิงในการดแู ลสุขภาพ (Long Term Care) 6. เด็กแรกเกดิ มนี ำ้ หนักต่ำกวา เกณฑ

23 บทที่ 4 การวิเคราะหอ งคก ร การวิเคราะหองคกรโดยใชเ ทคนิค SWOT Analysis 1. การวิเคราะหสภาพแวดลอมภายใน (Internal Environments Analysis) เพื่อประเมินจุดแข็ง (Strength) และจุดออน (Weakness) ของเครือขายสุขภาพอำเภอเมอื งยะลา เครื่องมือที่ใชในการวิเคราะห คือตัวแบบ 7 ปจจัย (Mckinsey’s 7S Model) ของ R.Waterman โดยทั้ง 7 ปจจยั มคี วามสมั พันธซ ึง่ กันและกนั ดังน้ีคือ 1. กลยทุ ธหลักขององคก ร (Strategy) 2. โครงสรา งทางการบรหิ ารองคกร (Structure) 3. ระบบการทำงานตา ง ๆ ในองคกร (System) 4. รูปแบบการบริหาร(Style) 5. บุคลากร (Staff) 6. ทักษะการปฏบิ ตั ิงาน (Skill) 7. คานยิ มรว ม (Shared values) ตารางท่ี 11 การวิเคราะหส ภาพแวดลอ มภายใน จุดแข็งและจดุ ออน ปจ จัยสภาพแวดลอ ม จดุ แขง็ (Strength) จดุ ออ น (Weakness) ภายในองคก ร 1. กลยทุ ธขององคกร 1. มแี ผนกลยทุ ธแ ละแผนปฏบิ ตั ิการสอดคลอง และ 1. ตวั ช้ีวัดมจี ำนวนมาก ทำใหงานในประเด็น (Strategy) ครอบคลมุ กับเปาหมายของจังหวดั และกระทรวง มุงเนน ขาดคุณภาพ 2. ประเด็นการขบั เคล่อื นงานหลายอยา งตอ ง อาศยั ความรว มมอื จากหลายภาคสว น ดำเนินการโดยใชการประชมุ อยา งเดยี วไม เพยี งพอ จำเปนตอ งขบั เคลือ่ นดวย กิจกรรมหรือโครงการในภาคปฏิบัติ 2. โครงสรางทางการ 1. กลมุ งานบรหิ าร 1. การมอบภารกิจหลายดา นแกเ จาหนา ทที่ ำ บริหารองคกร 2. กลุมงานสนับสนนุ วิชาการและบรกิ าร ใหค ณุ ภาพงานลดลง (Structure) 3. กลุมงานสงเสรมิ สขุ ภาพและปอ งกนั โรค 3. ระบบการทำงานตา ง ๆ 1. ระบบการรายงานผลการดำเนนิ งานและผลการ 1. การบันทึกขอ มูลในระบบ HIS ไมครบถวน ในองคก ร (System) เบกิ จา ยงบประมาณ ทำใหระบบการติดตาม/ประเมนิ ผลในรบบ 2. มรี ะบบ HIS ครบหนว ยบรกิ าร HDC ไมนาเชื่อถือในการนำมาใชเปน 3. Internet ครอบคลมุ การสอื่ สารสะดวกรวดเรว็ เคร่อื งมอื กำกบั ผลงาน 4. ใชผลการดำเนนิ การ และมาตรฐานการประเมนิ ตางๆ ใช 2. การควบคุม กำกับ ประเมินผลยังไม เปน เกณฑใ นการทบทวนปรบั ปรงุ มาตรฐานการ ครอบคลมุ ขาดความตอ เนอื่ งในทกุ ระดบั บริการ 4. รูปแบบการบรหิ าร 1. ทีมนำที่กำหนดนโยบายใหสอดคลองกับวิสัยทัศน 1. ควรสนับสนุนการบริหารงานแบบธรรมา- (Style) ยุทธศาสตร และกำกับ ติดตาม ดำเนินการใหไดตาม ภิบาล ควบคุม กำกับ การดำเนินงานมี แผน ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เพื่อลดขั้นตอน 2. บริหารงานของผูนำองคกรดวยความความโปรงใส การปฏบิ ตั งิ าน เปนธรรม ยดึ ม่ันคานยิ มขององคกรเดยี วกนั 3. พัฒนาสมรรถนะบุคลากรใหมีความเชี่ยวชาญในงานที่ รับผดิ ชอบ 4. เปนตน แบบทด่ี ใี นการสรา งเสรมิ สุขภาพ

24 5. บุคลากร (Staff) 1. การทำงานเปนทมี โดยภาคเี ครือขา ยมสี ว นรวม 1. บุคลากรที่มที กั ษะในการจัดการขอ มูลดา น 6. ทกั ษะการปฏิบัติงาน 2. บุคลากรสาธารณสุขเปนตนแบบผูนำดานการสราง สขุ ภาพไมเพยี งพอ (Skill) เสรมิ สุขภาพ 3. ใหบ รกิ ารสอดคลองกบั มาตรฐานวิชาชีพ 7. คา นยิ มรว ม (Shared 4. พดู จาสุภาพ ออนนอ มถอมตน ตอ เพ่อื นรวมงานและ Values) ผูร บั บริการ 5. ปฏิบัติงานดว ยความมงุ ม่นั ตรงตอเวลา 1. บุคลาการมคี วามเชย่ี วชาญดานสาธารณสุข ท้ัง 4 มิติ 1. ขาดความตอเน่อื งการจดั การความรูสู ไดแ ก สง เสริม ปอ งกัน รักษา ฟน ฟู รวมทัง้ การ วฒั นธรรมองคการแหงการเรยี นรขู อง คุม ครองผบู ริโภค สอดคลองกบั มาตรฐานวชิ าชพี หนว ยงานในสังกดั โดยมุงเนนบุคลากรการ 2. การสรา งเสริมสขุ ภาพและการปอ งกนั โรคเชงิ รุกตอ งใช ถายทอดจากบุคลากรที่มปี ระสบการใน ทกั ษะการปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมสขุ ภาพการสงเสริม หนวยงานเพอ่ื การปรบั ปรุงพฒั นา ยังคง สุขภาพรางกายและจิตใจ ปอ งกนั และควบคมุ โรคติดตอ เปน แบบคอยเปน คอ ยไป และการคมุ ครองผูบรโิ ภคใหป ระชาชนไดรบั ความ ปลอดภยั 3. การสรา งความมีสว นรว มกบั ภาคเี ครอื ขา ย เพอ่ื ขบั เคลื่อน นโยบายและยทุ ธศาสตรไปสกู ารปฏบิ ัติใหบ รรลตุ าม เปา หมายทก่ี ำหนด 1. มเี ปาหมายการทำงานรว มกัน 2. องคก รทมี่ ีศกั ยภาพสูงในการสนับสนุนใหเ กิดสขุ ภาวะที่ยัง่ ยนื 3. มีเครอื ขา ยบริการสขุ ภาพ และภาคีเครือขายเปน ผนู ำ ในการสรางสขุ ภาพทีเ่ หมาะสมและสอดคลอ งกบั วิถี ชวี ติ ชมุ ชน

25 2. การวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอก (External Environment Analysis) เพื่อประเมินโอกาส (Opportunities) และขอจำกัดหรืออุปสรรค (Threats) ของหนวยงานเครื่องมือที่ใชในการวิเคราะห คือ “E-PEST Analysis” ซึง่ มี องคประกอบดงั นี้ 1. ปจ จัยทางสงิ่ แวดลอม (Environment Factor) 2. ปจ จัยดานนโยบาย กฎหมาย/กฎระเบยี บตาง ๆ (Political and Legal Factors) 3. ปจ จัยดา นเศรษฐกจิ (Economic Factors) 4. ปจ จยั ทางสงั คม (Social Factor) 5. ปจจยั ดานเทคโนโลยี (Technology Factors) ตารางท่ี 12 การวเิ คราะหสภาพแวดลอมภายนอก โอกาส และ อุปสรรค ปจ จยั สภาพแวดลอม ภายนอกองคกร โอกาส อุปสรรค 1. ดานสภาพแวดลอ ม 1. เสน ทางคมนาคมในพนื้ ทร่ี บั ผดิ ชอบสะดวกสบายไมไ กล 1. ผลกระทบทเ่ี กดิ จากอุทกภยั (Environment) จากจังหวัด 2. สถานการณค วามไมส งบ 3. มกี ารเปล่ียนแปลงดา้ นภมู อิ ากาศ และ สงิ่ แวดลอ้ ม อตุ สาหกรรมกอ่ มลพษิ 4. สำนึกการอนุรกั ษสง่ิ แวดลอ มและ ผลกระทบดา นสงิ่ แวดลอ ม 2. ดานนโยบาย 1. มีการดำเนินงานภายใตกฎหมายกฎระเบียบขอบังคับที่ 1. นโยบายที่แตกตางของหนวยงานภาครัฐ กฎหมาย/ กฎระเบยี บ สำคัญ ทำใหเกิดทำงานแบบแยกสวนตามภารกิจ ตางๆ (Political and 2. ไดร ับการสง เสริม สนบั สนนุ และประสานงานเก่ยี วกบั งาน หนวยงาน Legal Factors) บริการในเขตพ้ืนทีใ่ หเ ปนไปตามนโยบายของกระทรวง 2. การแปลงนโยบายในบางเรื่องสูการปฏบิ ัติ 3.ดานเศรษฐกิจ 3. องคก รปกครองสว นทอ งถิน่ มขี ดี ความสามารถในการ ทำไดย ากในระดบั พนื้ ท่ี (Economics ) กำหนดนโยบายและการจดั การดานบรกิ ารสาธารณะ 1. รายไดเ ฉลยี่ ครวั เรือนและรายไดบ ุคคลสูงอันดับหนึง่ ของ 1. วยั ทำงาน หารายได ไมมเี วลาดแู ลสขุ ภาพ จังหวดั ตนเองและครอบครวั 2. ผูสูงอายแุ ละผูปว ยทตี่ องพ่งึ พิงดา นการ ดแู ลมีแนวโนมสงู ข้ึน 3. การเปด เสรีทางการคา สง ผลใหมีคนตา งดา ว อพยพเขา มาใชแ รงงานทมี่ าพรอ มโรคติดตอ 4.ดานสังคม (Social) 1. ภาคประชาชนและภาคีเครอื ขายสนบั สนุนการสรา งความ 1. คานิยมทางสงั คมเปลีย่ นไปทำใหประชาชน 5.ดานเทคโนโลยี ตระหนกั รู การออกกำลงั กายดูแลสุขภาพอยางเขมแข็ง มีพฤติกรรมดานสุขภาพที่ไมเหมาะสม (Technology) 2. ประชาชนเชื่อผนู ำทางศาสนา ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพเสี่ยงสูงตอ การปวยโรค NCD เพิ่มสูงขึ้นตอเนื่อง เนื่องจาก trend การบริโภคที่เนนหวาน มัน เคม็ 2. ความเช่ือวัฒนธรรมกบั แนวทางการดูแล สขุ ภาพของกลมุ วยั แมและเด็ก 1. ความทนั สมัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทำใหการ 1. อิทธิพลของสื่อมีผลตอ พฤตกิ รรมสุขภาพที่ เขา ถึงการเรียนรกู ารสื่อสารทำไดง า ยขนึ้ ไมถูกตองของประชาชน เชน อาหารเสริม เหลา บุหรี่ อาหารสำเร็จรูป จำพวกคาร โบไฮเดรทแปรรูป 2. การไดรับขอมูลที่บิดเบือนของประชาชน จากแหลงท่ีมาทไ่ี มน าเชอ่ื ถือ

26 ตารางที่ 13 วเิ คราะหปจ จัยภายใน (จดุ แขง็ -จุดออน) SWOT Analysis ตารางท่ี 14 วเิ คราะหป จจยั ภายนอก (โอกาส-อปุ สรรค) SWOT Analysis

27 กราฟสรปุ ตำแหนง การวิเคราะหภ ายในและภายนอก SWOT Analysis ผลการการประเมินสถานการณจากการประเมินสภาพแวดลอม สถานการณท่ี 1 (จุดแข็ง-โอกาส) กลยุทธเ ชงิ รกุ SO Strategies (Strengths and Opportunities) ประเด็นยุทธศาสตร : สรา งความเปนเลศิ ดานคุณภาพการใหบริการของสถานบริการ ดา นการสงเสริม สุขภาพ ปองกันโรค รกั ษาพยาบาล ฟนฟสู ภาพ รวมถึงการคุมครองผูบริโภค ประเด็นยุทธศาสตร : สรางเครือขายการ สงเสริมสุขภาพ เฝาระวังปองกัน ควบคุมโรคติดตอและภัย สุขภาพในชุมชน ประเด็นยทุ ธศาสตร : พัฒนาระบบธรรมาภบิ าลและองคก รคุณภาพ (Good Governance) สถานการณท ี่ 2 (จดุ ออน-อปุ สรรค) กลยทุ ธเชงิ รับ WT Strategies (Weaknesses and Threats) - ไมมี สถานการณที่ 3 (จดุ ออน-โอกาส) กลยทุ ธเ ชงิ แกไ ข WO Strategies (Weaknesses and Opportunities) ประเดน็ ยทุ ธศาสตร : สงเสรมิ การพฒั นาศักยภาพบคุ ลากรดา นสขุ ภาพใหม ีคุณภาพ ประเด็นยุทธศาสตร : การพัฒนาระบบบริหารจดั การขอ มลู สารสนเทศดานสุขภาพ สถานการณท ี่ 4 (จุดแข็ง-อปุ สรรค) กลยทุ ธเชงิ ปองกนั ST Strategies (Strengths and Threats) ประเด็นยุทธศาสตร : สงเสริมการมีสวนรวมของภาคีเครือขายสุขภาพในการบริหารจัดการระบบ สุขภาพแบบบูรณาการและสรางความตระหนักรูในการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ดานสขุ ภาพ

28 บทที่ 5 แผนยทุ ธศาสตรดา นสุขภาพ สาธารณสขุ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ป 2563 -2566 วสิ ัยทัศน ประชาชนสุขภาพดี บริการไดมาตรฐาน ภาคเี ขมแข็ง เจาหนาทมี่ คี วามสุข ยดึ หลักธรรมาภิบาล พนั ธกิจ 1.เปนหนวยงานคุณธรรมทบ่ี ริหารจดั การ โดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล 2.สนับสนนุ การบรกิ ารทางวชิ าการดานสขุ ภาพและพฒั นาระบบบริการปฐมภมู ิใหไ ดมาตรฐาน 3.สง เสรมิ การมสี ว นรวมของภาคใี นการแกไขปญ หาสุขภาพทีเ่ หมาะสมกบั บรบิ ทพน้ื ท่ี 4.พฒั นาศักยภาพและเสรมิ สรา งขวัญกำลงั ใจแกบ ุคลากรทุกระดบั คา นิยม (Core Value) “MOPH” M: Mastery การเปน นายตนเอง O: Originality เรง สรา งสงิ่ ใหม P: People center ใสใ จประซาซน H: Humility การออ นนอม ถอมตน เปาประสงค (Goal) 1. ประชาชนสุขภาพดี 2. เจาหนา ทม่ี ีความสขุ 3. ระบบสุขภาพย่ังยืน เปาหมายการใหบริการ 1. ประชาชนทกุ กลุมวยั มคี ุณภาพชวี ิตทีด่ ี ไดร ับการสง เสรมิ สุขภาพ ปอ งกนั ควบคุมโรค ภัยสุขภาพ และ การคุมครองผบู รโิ ภคดา นสขุ ภาพท่ีมีคุณภาพ 2. ประชาชนเขาถึงบริการและไดร บั บริการสุขภาพท่มี ีคุณภาพมาตรฐาน 3. ประชาชนไดรับบรกิ ารจากบคุ ลากรสาธารณสุขท่ีมีคุณภาพ 4. ประชาชนไดร บั บริการดานการแพทย และสาธารณสุขดวยระบบบรหิ ารจดั การท่มี ีประสทิ ธภิ าพ ประเดน็ ยุทธศาสตร 1. สรา งความเปนเลิศดา นคณุ ภาพการใหบ ริการของสถานบริการ ดานการสงเสรมิ สขุ ภาพ ปองกนั โรค รกั ษาพยาบาล ฟน ฟูสภาพ รวมถงึ การคมุ ครองผบู ริโภค 2. สรา งเครอื ขายการ สงเสรมิ สขุ ภาพ เฝาระวงั ปองกัน ควบคุมโรคตดิ ตอ และภยั สขุ ภาพในชุมชน 3. พัฒนาระบบธรรมาภบิ าลและองคกรคณุ ภาพ (Good Governance) 4. สงเสรมิ การพฒั นาศักยภาพบุคลากรดานสขุ ภาพใหม ีคุณภาพ 5. การพฒั นาระบบบริหารจดั การขอมลู สารสนเทศดานสุขภาพ 6. สงเสริมการมีสวนรวมของภาคเี ครอื ขายสขุ ภาพในการบรหิ ารจัดการระบบสุขภาพแบบบูรณาการและ สรา งความตระหนักรใู นการดูแลสขุ ภาพและการปรบั เปลยี่ นพฤติกรรม ดานสขุ ภาพ

29 ตารางท่ี 15 การกำหนดประเด็นยทุ ธศาสตรและเปา ประสงค เปาประสงค ประเด็นยุทธศาสตร 1. สรางความเปนเลิศดา นคณุ ภาพการ o หนวยบริการสุขภาพและระบบการแพทยป ฐมภูมทิ ี่มี ใหบ ริการของสถานบริการ ดานการ คุณภาพและ ประสิทธิภาพ สง เสริมสขุ ภาพ ปอ งกนั โรค o เพิม่ ทางเลอื กและโอกาสในการเขา ถึงบริการ รักษาพยาบาล ฟนฟสู ภาพ รวมถึงการ สาธารณสุขไดมากขึ้น คุม ครองผูบ ริโภค o ประชาชนเขา ถึงบริการสุขภาพและพึงพอใจในบรกิ ารท่ี มีคุณภาพ 2. สรางเครือขายการ สง เสรมิ สขุ ภาพ เฝา o เพ่อื ดำเนนิ งานเฝา ระวงั ปอ งกนั ควบคมุ โรคและภยั ระวงั ปอ งกนั ควบคมุ โรคติดตอและภัย สุขภาพของประชาชนในพ้นื ท่ี รวดเร็ว ทันเหตกุ ารณ มี สุขภาพในชุมชน ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลตอ สขุ ภาพ ภายใตการมี สวนรวมจากภาคทอ งถิ่นและภาคประชาชน o เพื่อลดอัตราปวยดวยโรคที่สำคัญของอำเภอ ลดการ สญู เสียชีวิตและการแพรระบาดโรคอบุ ัตใิ หม 3. พัฒนาระบบธรรมาภบิ าลและองคกร o เพือ่ การบริหารจัดการที่โปรงใส ขจดั การกระทำทจุ ริต คุณภาพ (Good Governance) มงุ ประโยชนแกป ระชาชน 4. สงเสริมการพฒั นาศักยภาพบุคลากรดาน o เพอ่ื พฒั นาสมรรถนะบุคลากรใหมคี วามพรอมใน สขุ ภาพใหมีคณุ ภาพ ภาระกจิ ท่ีไดร บั มอบหมาย ทักษะบริการอยา งมือ อาชีพ ทักษะสากล และแนวคิดดานคุณธรรม 5. การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการขอ มลู สารสนเทศดา นสุขภาพ o ระบบสารสนเทศเพ่อื การบรหิ ารจัดการทีม่ ี ประสทิ ธภิ าพ 6. สงเสรมิ การมีสว นรวมของภาคีเครือขาย สุขภาพในการบริหารจัดการระบบ o วสั ดุอปุ กรณดา นเทคโนโลยีสารสนเทศ เพียงพอ พรอ ม สุขภาพแบบบรู ณาการ ใชและมีประสิทธิภาพ o บคุ ลากรทุกระดับมคี วามรดู านสารสนเทศตาม ภาระหนา ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบ เพ่อื ใหขอ มูลมคี ุณภาพ o ประชาชนและชมุ ชนสามารถจดั การสุขภาพดวยตนเอง มพี ฤติกรรมสุขภาพที o เหมาะสมสามารถลดโรคและภยั สุขภาพตามแนวทาง ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

30 แผนงานโครงการตามประเด็นยุทธศาสตร ประเด็นยทุ ธศาสตรท่ี 1 สรางความเปนเลศิ ดา นคุณภาพการใหบ ริการของสถานบรกิ าร ดานการสง เสรมิ สขุ ภาพ ปอ งกันโรค รกั ษาพยาบาล ฟน ฟสู ภาพ รวมถึงการคมุ ครองผบู รโิ ภค เปา ประสงค 1. หนว ยบรกิ ารสุขภาพและระบบการแพทยปฐมภูมทิ ่ีมีคุณภาพและ ประสิทธภิ าพ 2. เพ่ิมทางเลือกและโอกาสในการเขา ถึงบริการสาธารณสขุ ไดม ากขึน้ 3. ประชาชนเขา ถงึ บริการสุขภาพและพงึ พอใจในบริการทม่ี ีคุณภาพ กลยทุ ธ 1. เพ่ิมศักยภาพของหนว ยบริการในเครอื ขายทุกระดบั ใหมีคุณภาพและมาตรฐานการ จดั บริการทางการแพทยอยา งมปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ Service plan 2. พัฒนาขดี ความสามารถบุคลากรทุกระดับใหมีศักยภาพสงู กาวไปสูอ งคกรแหงการเรยี นรู และนวตั กรรม 3. พฒั นาระบบบริการเพม่ิ พิเศษสำหรับประชาชน ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2. สรา งเครือขายการ สงเสริมสุขภาพ เฝา ระวังปองกัน ควบคมุ โรคตดิ ตอ และภยั สขุ ภาพ ในชมุ ชน เปา ประสงค 1. เพือ่ ดำเนนิ งานเฝาระวัง ปอ งกนั ควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพของประชาชนในพ้นื ที่ รวดเร็ว ทนั เหตุการณ มปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลตอสขุ ภาพ ภายใตการมีสวนรวม จากภาคทองถิน่ และภาคประชาชน 2. เพือ่ ลดอตั ราปวยดวยโรคที่สำคัญของอำเภอ ลดการสญู เสียชวี ติ และการแพรร ะบาดโรค อบุ ัติใหม กลยทุ ธ 1. สนบั สนนุ กจิ กรรมสรา งเสรมิ สุขภาพ การปองกันโรคของกลุมหรือองคก รประชาชน 2. พฒั นากำลังคนในการเฝา ระวัง ปอ งกนั ควบคมุ โรคและภัยสุขภาพ 3. พฒั นาขอมูลเฝา ระวงั ปองกนั ควบคุมโรคและภยั สุขภาพ 4. พัฒนามาตรการประสิทธิภาพในการเฝา ระวงั ปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท่ี 3. พัฒนาระบบธรรมาภบิ าลและองคก รคุณภาพ (Good Governance) เปาประสงค 1. เพื่อการบริหารจดั การท่ีโปรงใส ขจดั การกระทำทจุ รติ มุงประโยชนแกประชาชน กลยุทธ 1. การประเมินคุณธรรมและความโปรง ใส 2. พัฒนาระบบควบคุมภายในและบรหิ ารความเสีย่ ง

31 ประเด็นยุทธศาสตรท ี่ 4. สงเสริมการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากรดา นสุขภาพใหมคี ณุ ภาพ เปา ประสงค 1. เพื่อพฒั นาสมรรถนะบุคลากรใหมีความพรอมในภาระกิจท่ีไดรับมอบหมาย ทกั ษะบรกิ าร อยางมืออาชีพ ทักษะสากล และแนวคิดดา นคณุ ธรรม กลยุทธ 1. พฒั นาศกั ยภาพบุคลากรดานสขุ ภาพสูความเปนมืออาชีพ ขา ราชการ 4.0 2. พัฒนาระบบประเมนิ ผลการดำเนนิ งานอยางเปน ธรรม เพ่ือสรา งแรงจูงใจในการทำงาน และ ความกาวหนาในสายอาชีพอยา งเปนธรรม 3. การพัฒนาบคุ ลากรใหเ ปน คนมคี ุณคา เพม่ิ ศกั ยภาพในการปฏิบตั งิ านของบุคลากร 4. สนบั สนุนสง เสรมิ การใชประโยชนจ ากงานวจิ ัยและนวัตกรรม ประเด็นยทุ ธศาสตรท ่ี 5. การพฒั นาระบบบริหารจัดการขอ มูลสารสนเทศดานสุขภาพ เปาประสงค 1. ระบบสารสนเทศเพอ่ื การบรหิ ารจดั การที่มีประสิทธิภาพ 2. วัสดอุ ุปกรณดา นเทคโนโลยีสารสนเทศ เพยี งพอ พรอมใชแ ละมีประสิทธิภาพ 3. บุคลากรทกุ ระดับมีความรดู า นสารสนเทศตามภาระหนา ทีค่ วามรับผิดชอบ เพ่อื ใหขอ มลู มี คณุ ภาพ กลยทุ ธ 1. การพัฒนากลไกสนับสนนุ ดานระบบขอมูลขาวสารสุขภาพ 2. การบรู ณาการและพัฒนาระบบขอ มูลทเี่ หมาะสมเพือ่ ตอบสนองตอ การใช 3. กำหนดมาตรฐานดา นขอมลู และพัฒนาคณุ ภาพของขอมูล 4. พฒั นาระบบจัดการขอมลู และการเชือ่ มโยงขอมลู 5. พัฒนาระบบการส่ือสารขอมูลและกลไกการใชป ระโยชน ประเด็นยทุ ธศาสตรท ่ี 6. สง เสรมิ การมสี ว นรวมของภาคีเครอื ขา ยสขุ ภาพในการบริหารจดั การระบบสุขภาพแบบ บูรณาการและสรา งความตระหนกั รใู นการดแู ลสุขภาพและการปรบั เปลย่ี นพฤติกรรม ดา นสขุ ภาพ เปาประสงค 1. เพมิ่ ระดับการมีสว นรวมของประชาชนและภาคเี ครือขา ยในการจดั บรกิ ารสขุ ภาพเพม่ิ ขน้ึ ตอบสนองความตอ งการของประชาชน 2. ประชาชนและชุมชนสามารถจัดการสุขภาพดวยตนเอง มีพฤตกิ รรมสุขภาพที่เหมาะสม สามารถลดโรคและภยั สุขภาพ กลยทุ ธ 1. สนับสนุน ประสานภาคีเครอื ขา ยใหม สี วนรวมในการจัดการบริการสขุ ภาพ 2. สรา งการมีสวนรวมในการจดั ระบบบรกิ ารสขุ ภาพท่ีตอบสนองความตอ งการของประชาชน จัดบรกิ ารสุขภาพเพ่ือตอบสนองความตองการของประชาชนอยา งมีประสิทธิภาพ 3. สงเสรมิ การจดั การความรดู ว ยตนเอง เพ่ือปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมสขุ ภาพที่พงึ ประสงคของ ประชาชน 4. สงเสริมกระตนุ กระบวนการจดั การสุขภาพใหม ีประสทิ ธภิ าพโดยยึดหลกั บริบทพน้ื ทเี่ ปนท่ีตั้ง

32 การจัดทำแผนงานโครงการแกป ญ หาพื้นที่และสอดคลองกบั ประเดน็ ยุทธศาสตร การจัดทำแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปงบประมาณ บริบท แผนปฏิบัติราชการประจำปงบประมาณ เปนเครื่องมือท่ีสำคัญ ในการนํานโยบายไปสูการ ปฏิบัติ เพื่อแกไขปญหาสาธารณสขุ ที่เกิดขึน้ ในระดับพื้นที่ ตลอดจนเปนการนําแผนปฏบิ ัติราชการ ระยะ 5 ป ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ซงึ่ ไดจัดทำไวแลวแปลงแผนไปสูการปฏบิ ตั ใิ หบรรลตุ ามเปาหมายทว่ี างไวโดย จัดทำเปนแผนปฏิบตั ิราชการประจำปง บประมาณ ของสำนกั งานสาธารณสุขจังหวดั ระยะ 1 ป วัตถุประสงคเพื่อเปนกรอบกำหนดทิศทางในการดําเนินงานแกไขปญหาและพัฒนาในพื้นที่ เพื่อเปน กรอบกำกับการดําเนินงานตามแผนและบริหารจัดการงบประมาณและทรัพยากร ตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปง บประมาณ คําจาํ กัดความ เปน แผนที่ใชขับเคล่ือนการบรหิ ารจัดการและการดําเนินงานของหนว ยงานระยะ 1 ป ใหส ามารถดำเนนิ ไปอยางมีทิศทาง เปน ระบบและแปลงแผนไปสูการปฏิบัติอยางเปน รูปธรรม ทม่ี ุง แกไ ขปญ หา ดานสาธารณสุขที่มีการกำหนดเปาหมายในการแกปญหาไวอยางชัดเจน ภายใตกระบวนการบูรณาการและมี สว นรวมจากหนว ยงานและภาคีเครือขายดา นสุขภาพ ข้ันตอนในการจัดทำแผนปฏิบตั ิราชการประจำปง บประมาณ

33 จากการรวบรวมขอมูลบริบทของพื้นที่นำมาสูกระบวนการคนหาปญหาของพื้นที่ และนำมากำหนด ความสำคัญของปญหาเพื่อลำดับในการแกไขปญหา อันเนื่องจากความจำกัดดานเวลา ทรัพยากรที่มีอยู วิชาการที่ใชในการแกไขกับปญ หา หลังจากนั้นไดทำการวิเคราะหสภาพขององคกร เพื่อใหทราบปจจัยในการ หายุทธวิธี หากพบวา องคกรมีจุดแข็งและโอกาสเอ้ืออำนวย ก็ใชยทุ ธศาสตรการทำงานแบบเชิงรกุ หรือวาหาก องคกรยังมีจุดออนก็ใช ยุทธศาสตรเชิงแกไข หรือสถานการณที่พบวามีจุดออน แตปจจัยเรื่องของโอกาสยัง เออื้ อำนวยก็สามารถกำหนด ยทุ ธศาสตรในเชงิ ปอ งกนั ได จากการลำดับความสำคญั ของปญหา พบวา 1. การสรางเสรมิ ภมู คิ ุมกนั /ความครอบคลมุ ของการใหว คั ซีนในกลุมเดก็ 2. การควบคมุ ระดบั นำ้ ตาลในผปู วยเบาหวาน และการควบคุมระดบั ความดนั โลหิต 3. การตายของมารดา 4. ยาเสพตดิ / ลดอัตราตายโรคหลอดเลือดสมอง 5. ปญ หาผูสงู อายแุ ละผูป วยท่ีมีภาวะพ่ึงพิงในการดูแลสขุ ภาพ (Long Term Care) 6. เด็กแรกเกิดมนี ำ้ หนักต่ำกวาเกณฑ การสรางเสริมภูมิคุมกัน /ความครอบคลุมของการใหวัคซีนในกลุมเด็ก เปนปญหาที่เราตองแกไข ลำดับ ที่ 1 จึงขอยกตัวอยางการเขียนแผนงานเพื่อใหเห็นความสอดคลอง กับยุทธศาสตรในระดับตางๆ ดังตอไปนี้ ตารางที่ 16 ตวั อยางการจัดทำแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปง บประมาณ แผนงานโครงการ วตั ถปุ ระสงค กจิ กรรม กลุมเปา หมาย ตัวชีว้ ัด โครงการสนบั สนุน (1) เพ่ือสนบั สนุน (1) ประชุมนิเทศ (1) คณะทำงาน รอยละความ การสรางเสรมิ การใหบริการ ตดิ ตามความ ดา นการ ครอบคลุมการ ภมู คิ มุ กันโรค วัคซีนท่ีมี ครอบคลุม ใหบ รกิ าร ไดร บั วคั ซีนใน คุณภาพ วคั ซนี วัคซีนพนื้ ฐาน กลุมเปา หมายไม (2) เพือ่ ติดตาม (2) ตดิ ตามการ (2) ผบู นั ทึกขอมูล ตำ่ กวา เกณฑ การไดรบั บนั ทึกขอมลู การใหบ รกิ าร วัคซนี ใน การใหบ รกิ าร วัคซนี ประชากร วัคซนี ในระบบ กลมุ เปาหมาย HIS การคนหา จดั ทำขอมลู กลมุ เปาหมาย

34 ในสว นสำคญั ของโครงการ ตองประกอบไปดว ย 1. ช่ือแผนงานโครงการ 2. วัตถปุ ระสงค 3. กลมุ เปา หมาย 4. ตวั ชี้วัด 5. งบประมาณ 6. ระยะเวลาดำเนนิ งาน 7. ยุทธศาสตรก ระทรวง จังหวดั หรือประเด็นทม่ี ุง เนน เพ่อื ใหเ ห็นความสอดคลองในการแกปญ หา 8. รหัสงบประมาณเพื่อใชใ นการควบคุมกำกบั การเบกิ -จา ยงบประมาณ (แลว แตละพืน้ ท่)ี ตารางท่ี 17 แบบฟอรมในการบนั ทกึ การจดั ทำแผนปฏบิ ตั ิราชการ เพ่อื เสนอของบประมาณ แผนปฎบิ ัตริ าชการดา้ นสุขภาพ เสนอของบประมาณ ยุทธศาสตร์กระทรวง แผนงานกระทรวง โครงการกระทรวง ยุทธศาสตร์สาํ นักงานสาธารณสุขจังหวัด ประเดน็ มุ่งเน้น ตัวชว�ี ัด หน่วยงาน ลาํ ดบั แผนงาน/โครงการ วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเปา้ หมาย กลวิธีการ งบประมาณ ระยะเวลาดาํ เนนิ งาน ผูร้ ับผิด 1234 ชอบ ดําเนินงาน/กิจกรรม (บาท) ลงชื�อ................................................ผเู้ สนอแผนฯ ลงชื�อ................................................ผ้เู หน็ ชอบแผนฯ ลงชอ�ื ................................................ผู้อนมุ ตั แิ ผนฯ

35 ขอเสนอแนะ ขอจำกดั ในการศึกษาปญหาของชมุ ชน การศึกษาขอมูลที่ไมไดลงภาคสนามจริง จะทำใหมีขอจำกัดในการสัมผัสกับธรรมชาติของชีวิต ทำให มองไมเห็นภาพของวัฒนธรรมดานสขุ ภาพของทองถ่ิน รปู แบบการเรยี นแบบออนไลน 1. ซ่งึ พบวา ความเรว็ และสัญญาณอินเทอรเนต็ ที่เชือ่ มตอเปนปญหาในการเรยี นการออนไลน 2. การเม่ือยลา สายจากการใชม ือถอื คอมพิวเตอรหรืออปุ กรณทใ่ี ชเรยี น 3. เสียงรบกวนจากสมาชิกที่ลมื ปดไมค 4. ปญหาไฟฟาดบั ทำใหก ารเรยี นรขู าดความตอเนื่อง

36 เอกสารอา งอิง จติ ติ มงคลชัยอรญั ญา.(2540). การศกึ ษาชุมชนเพ่ือการพัฒนา. กรงุ เทพฯ: เอกสารประกอบการสอนภาค วชิ าการพัฒนาสังคม คณะสังคมสงเคราะหศ าสตร มหาวทิ าลยั ธรรมศาสตร. บัณฑร ออนดา และ วิรยิ า นอยวงศ นยางค. (2563). ยุทธศาสตรใ นการพัฒนาชนบท: ประสบการณของ ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: คณะสังคมสงเคราะหศาสตร มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร. ศิราณี ศรหี าภาค; Siranee Sihapark; โกมาตร จงึ เสถียรทรพั ย; Komatra Chuengsatiansup; คณศิ ร เต็ง รัง; Kanisorn Tengrang; ผลกระทบและภาระการดูแลผสู ูงอายรุ ะยะยาวภายใตว ัฒนธรรมไทย (2556) https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4028?locale-attribute=th

xxxvii ปกหลัง