แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 1 ทาความเขา้ ใจกระบวนการเชิงวศิ วกรรม เวลา 2 ช่ัวโมง 1. มาตรฐาน/ตัวชวี้ ัด ว 4.1 ม.4/2 ระบุปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคม รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และแนวคิดท่ี เกี่ยวข้องกับปัญหาท่ีมีความซับซ้อนเพ่ือสังเคราะห์วิธีการ เทคนิคในการแก้ปัญหา โดยคานึงถึง ความถกู ตอ้ งดา้ นทรัพยส์ นิ ทางปัญญา ว 4.1 ม.4/3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็นภายใต้ เง่อื นไขและทรัพยากรทีม่ ีอยู่ นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผูอ้ ื่นเขา้ ใจด้วยเทคนคิ หรือวธิ กี ารที่ หลากหลาย โดยใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบ วางแผนขั้นตอนการทางานและดาเนินการ แก้ปัญหา ว 4.1 ม.4/4 ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์ และให้เหตุผลของปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ภายใต้กรอบ เง่ือนไข หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการแก้ไขปัญหา พร้อมท้ังเสนอแนว ทางการพัฒนาต่อยอด 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ระบปุ ัญหาหรอื ความต้องการทม่ี ผี ลกระทบต่อสังคมและแนวคิดที่เกยี่ วข้องกบั ปญั หาทีม่ ีความซบั ซ้อน ได้ (K) 2. อธิบายลกั ษณะการออกแบบวธิ ีการแก้ปัญหาโดยวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทียบได้ (K) 3. วางแผนข้ันตอนการทางานและดาเนินการแก้ปญั หาในชีวิตประจาวนั ได้ (P) 4. วิเคราะห์แนวทางการปรับปรุงแกไ้ ข และนาเสนอผล พร้อมทัง้ เสนอแนวทางการพัฒนาตอ่ ยอดได้ (P) 5. เห็นคุณประโยชน์ของการเรยี นวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี และตระหนกั ในคณุ ค่าของความรู้ทาง เทคโนโลยที ี่ใช้ในชวี ิตประจาวนั (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนร้ทู ้องถนิ่ - ปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคม เช่น ปัญหาด้าน พจิ ารณาตามหลักสูตรของ การเกษตร อาหาร พลังงาน การขนส่ง สุขภาพและการแพทย์ การ สถานศึกษา บรกิ าร ซ่งึ แต่ละด้านอาจมไี ดห้ ลากหลายปัญหา - การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาโดยอาจใช้เทคนิคหรือวิธีการ วิเคราะห์ท่ีหลากหลาย ช่วยให้เข้าใจเงอื่ นไขและกรอบของปัญหาได้ ชดั เจน จากน้ันดาเนินการสืบค้น รวบรวมข้อมูล ความรูจ้ ากศาสตร์ ต่างๆ ที่เกย่ี วข้อง เพ่ือนาไปสู่การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา - การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลท่ีจาเป็น โดย คานึงถึงทรัพ ย์สินทางปัญ ญ า เงื่อน ไขและทรัพ ย ากร เช่น งบประมาณ เวลา ข้อมูล และสารสนเทศ วัสดุ เคร่ืองมือและ อุปกรณ์ ช่วยให้ไดแ้ นวทางการแกป้ ญั หาท่ีเหมาะสม
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิน่ - การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาทาได้หลากหลายวิธี เช่น การ ร่างภาพ การเขียนแผนภาพ การเขียนผงั งาน - ซอฟแวร์ช่วยในการออกแบบและนาเสนอมีหลากหลายชนิดจึงต้อง เลอื กใช้ให้เหมาะกับงาน - การกาหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการทางานก่อนดาเนินการ แก้ปัญหาจะช่วยให้การทางานสาเร็จได้ตามเป้าหมาย และลด ขอ้ ผดิ พลาดของการทางานที่อาจเกิดขึ้น - การทดสอบและประเมนิ ผลเป็นการตรวจสอบชิ้นงานหรือวิธีการว่า สามารถแก้ปัญหาได้ตามวัตถุประสงค์ภายใต้กรอบของปัญหา เพ่ือ หาข้อบกพร่อง และดาเนินการปรับปรุง โดยอาจทดสอบซ้าเพ่ือให้ สามารถแกไ้ ขปัญหาได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ - การนาเสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคิดเพื่อให้ผู้อ่ืนเข้าใจ เก่ียวกับกระบวนการทางานและชิ้นงานหรือวิธีการที่ได้ ซ่ึงสามารถ ทาได้หลายวิธี เช่น การทาแผ่นนาเสนอผลงาน การจัดนิทรรศการ การนาเสนอผา่ นสื่อออนไลน์ หรือการนาเสนอต่อภาคธุรกิจเพ่ือการ พัฒนาตอ่ ยอดสูง่ านอาชีพ 4. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมช่วยแก้ปัญหาหรือความต้องการท่ีมีผลกระทบต่อสังคม เช่น ปัญหาด้าน การเกษตร อาหาร พลังงาน การขนส่ง สุขภาพและการแพทย์ การบริการ ซ่ึงแต่ละด้านอาจมีได้หลากหลายปัญหา เร่ิมจากการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาโดยอาจใช้เทคนิคหรือวิธีการวิเคราะห์ที่หลากหลาย ช่วยให้เข้าใจเงื่อนไข และกรอบของปัญหาได้ชัดเจน จากนั้นดาเนินการสืบค้น รวบรวมข้อมูล ความรู้จากศาสตร์ต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อ นาไปสู่การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา ซ่ึงนาไปสู่การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลท่ีจาเป็น โดยคานึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา เงื่อนไขและทรัพยากร เช่น งบประมาณ เวลา ข้อมูล และสารสนเทศ วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ ช่วยให้ได้แนวทางการแก้ปัญหาที่เหมาะสม และการออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาทาได้ หลากหลายวิธี เช่น การร่างภาพ การเขียนแผนภาพ การเขียนผังงาน โดยการใช้ซอฟแวร์ช่วยในการออกแบบและ นาเสนอมีหลากหลายชนิดจึงต้องเลือกใช้ให้เหมาะกับงาน และในการกาหนดข้ันตอนและระยะเวลาในการทางาน ก่อนดาเนินการแก้ปัญหาจะช่วยให้การทางานสาเร็จได้ตามเป้าหมาย และลดข้อผิดพลาดของการทางานที่อาจ เกิดข้ึน ในส่วนการทดสอบและประเมินผลเป็นการตรวจสอบชิ้นงานหรือวิธีการว่าสามารถแก้ปัญหาได้ตาม วตั ถุประสงค์ภายใต้กรอบของปญั หา เพ่อื หาข้อบกพร่อง และดาเนินการปรบั ปรุง โดยอาจทดสอบซ้าเพื่อให้สามารถ แก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการนาเสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคิดเพ่ือให้ผู้อื่นเข้าใจเก่ียวกับ กระบวนการทางานและช้ินงานหรือวิธีการที่ได้ ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี เช่น การทาแผ่นนาเสนอผลงาน การจัด นทิ รรศการ การนาเสนอผ่านสื่อออนไลน์ หรอื การนาเสนอต่อภาคธุรกจิ เพ่ือการพัฒนาต่อยอดสู่งานอาชีพ
5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี นและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มีวนิ ยั รบั ผดิ ชอบ 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน 1) ทักษะการคดิ วิเคราะห์ 2) ทักษะการคดิ อย่างสรา้ งสรรค์ 3) ทกั ษะการคดิ อย่างเป็นระบบ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. กิจกรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนคิ : สืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ชั่วโมงที่ 1 ขนั้ นา กระตนุ้ ความสนใจ (Engage) 1. ครูใหน้ กั เรียนอ่านพาดหัวข่าวในหนังสอื พมิ พ์ที่ครูเตรียมไว้ให้ ในประเดน็ ข่าวเก่ียวกบั “รถไฟความเร็วสูง” แลว้ ให้นกั เรียนช่วยกนั ค้นหาขา่ วการสร้างรถไฟความเร็วสงู จากนั้นครูและนักเรียนรว่ มกันสนทนาซักถาม เกี่ยวกบั “เทคโนโลยีสามารถแกป้ ัญหาหรือชว่ ยตอบสนองความตอ้ งการในชีวติ ประจาวนั อยา่ งไร” 2. ครูสุ่มนักเรียน 3-4 คน ยกตวั อย่างคลปิ รถไฟความเร็วสูงท่ีเกิดจากเทคโนโลยีท่ีทันสมัยในประเทศต่างๆ พร้อมท้ังบอกว่ากระบวนการออกแบบและการแก้ปัญหาเปน็ ไปอย่างไร 3. ครูเปิดคลิปข่าวเกี่ยวกับ “การสร้างรถไฟความเร็วสูงในประเทศไทย กรุงเทพ – โคราช” พร้อมท้ังถาม คาถามกระตุ้นความคิดว่า การสร้างรถไฟความเร็วสูงช่วยแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้อย่างไร แล้วให้ นกั เรียนร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ และตอบคาถาม (แนวตอบ : วิศวกร ผู้ท่ีสร้างรถไฟความเร็วสูงเปน็ การสรา้ งโดยใช้กระบวนการทางเทคโนโลยีท่ีถูกพัฒนา เป็นการออกแบบเชิงวิศวกรรม เพื่อทาให้การแก้ปัญหามีทางเลือก หลักการ และเป็นระบบ และใช้ วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และออกแบบเพ่ือให้ไดผ้ ลงานตามที่ต้องการ) 4. นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน 5. นักเรียนรว่ มกันสรุปความคิด พร้อมทั้งมีครูช่วยอธิบายเสริม เกี่ยวกับวิศวกรใช้หลักการทางวทิ ยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์เป็นส่วนที่ช่วยในการสร้างเทคโนโลยี โดยวิทยาศาสตร์ คือ การทาความเข้าใจ ธรรมชาตทิ ม่ี พี ื้นฐานมาจากการสังเกตและสามารถพสิ จู น์ไดด้ ้วยการทดลอง สว่ นวิศวกรรมศาสตร์ คือ การ สร้างสิ่งที่ไม่เคยมีหรือเกิดขึ้นมาก่อน หรือเคยมีแต่ยังมจี ุดท่ีสามารถพัฒนาต่อยอดให้มีประสิทธิภาพมาก ขน้ึ ได้ โดยผา่ นกระบวนการเชิงวศิ วกรรม 6. ครูถามคาถามกระตุน้ ความคิด ว่า “นักเรียนคดิ ว่ากระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมชว่ ยแก้ปัญหา ในชีวติ ประจาวนั อยา่ งไร”แล้วใหน้ ักเรียนร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นและตอบคาถาม
(แนวตอบ : การออกแบบเชิงวิศวกรรม เป็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้กระบวนการทางานภายใต้เกณฑ์ และ ข้อจากัด โดยนาปัญหาหรือความต้องการมาเป็นจุดเร่ิมต้น เน้นความเข้าใจในการเช่ือมโยงความรู้สู่ เทคโนโลยี ซ่ึงมีวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เป็นเคร่ืองมือเพื่อช่วยให้กระบวนการสร้างสรรค์ทาง วิศวกรรมพฒั นางานใหม้ ปี ระสิทธภิ าพสูงสุด ภายใต้ขอ้ จากดั ท่กี าหนด) ขน้ั สอน สารวจค้นหา (Explore) 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 – 4 คน ร่วมกันสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับความหมายและลักษณะของ กระบวนการออกแบบทางวิศวกรรมและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายข้อมูลที่สืบค้นได้ภายในกลุ่ม แล้วร่วมกันสรุปในประเด็น “ความ แตกต่างของกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรมและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์” ลงในกระดาษ A4 แล้วนามาสง่ ครเู พือ่ ให้ครูตรวจสอบความถูกต้อง 3. ครูสุ่มให้นักเรียนแต่ละกลุ่มพลัดกันเป็นฝ่ายถามและให้เลือกนักเรียนต่างกลุ่มเป็นฝ่ายตอบ ในประเด็น กระบวนการออกแบบทางวิศวกรรมและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น กระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม คืออะไร (แนวตอบ : กระบวนการออกแบบทางวศิ วกรรม เปน็ กระบวนการคดิ ทางานเพื่อแกป้ ัญหา โดยเนน้ การคิด สรา้ งสรรค์ ใช้เทคโนโลยที เ่ี ปน็ ระบบ เน้นการทาซา้ เพ่ือหาทางออกในการแก้ปัญหาของมนษุ ย์) ข้อแตกตา่ งของลกั ษณะเดน่ ของกระบวนการออกแบบทางวศิ วกรรมและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (แนวตอบ : กระบวนการออกแบบทางวิศวกรรมมจี ุดเรม่ิ ตน้ ท่ีชัดเจน มีสมมตฐิ าน กระบวนการเปน็ เสน้ ตรง มีการศกึ ษาวิจัย และเป็นไปตามขน้ั ตอน ส่วนกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มีขอ้ จากัดท่ี กาหนดการออกแบบ ตอ้ งตอบโจทยค์ วามต้องการของมนษุ ย์ กระบวนการเปน็ การทาซ้าทพี่ ัฒนา ต่อเน่ือง มีการศกึ ษาวิจัย และเปน็ ไปตามข้ันตอน) กระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม มกี ่ขี ั้นตอน อย่างไรบ้าง (แนวตอบ : 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1. ระบุปัญหาในชีวิตจริงหรือนวัตกรรมท่ีต้องการพัฒนา (Problem Identification) 2. รวบ รวม ข้ อ มู ลและ แน วคิ ดท่ี เกี่ ยวข้ อ ง (Related Information Search) 3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา (Solution Design) 4. วางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา (Planning and Development) 5. ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรงุ (Evaluation) 6. นาเสนอวิธีการแก้ปญั หาหรือผล การพฒั นานวัตกรรม (Presentation)) 4. นกั เรียนร่วมกันอภปิ รายสรุปเกี่ยวกับความหมายและลักษณะของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
ชั่วโมงท่ี 2 ข้นั สอน (ต่อ) สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครูจัดนักเรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ (เก่ง กลาง อ่อน) กลุ่มละ 6 คน โดยสมาชิกภายในกลุ่มได้รับ มอบหมายให้ศึกษาเน้ือหาคนละ 1 ส่วน และหาคาตอบในประเด็น ขั้นตอนกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม 2. ครูนาประเด็นที่ให้นักเรียนศึกษา เร่ือง ข้ันตอนกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมไปวางไว้เป็นฐานการ เรียนรู้ 6 ฐาน คือ 1. ระบปุ ัญหาในชวี ติ จรงิ หรือนวตั กรรมที่ต้องการพัฒนา (Problem Identification) 2. รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เก่ียวข้อง (Related Information Search) 3. ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา (Solution Design) 4. วางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา (Planning and Development) 5. ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุง (Evaluation) 6. นาเสนอวิธีการแก้ปัญหาหรือผลการพัฒนานวัตกรรม (Presentation) โดยสมาชิกของแต่ละกลุ่ม แยกย้ายไปรวมกับสมาชิกกลุ่มอื่นตามฐานต่างๆ ต้ังเป็นกลุ่ม ผู้เชีย่ วชาญ (expert group) ขึน้ มา และร่วมกันทาความเข้าใจในเนอ้ื หาและตวั อย่างโดยละเอียด และรว่ มกัน อภิปรายหาคาตอบประเด็นต่างๆ ที่ได้รบั มอบหมาย 3. สมาชิกกลุ่มผู้เช่ียวชาญ กลับไปสู่กลุ่มของตนเอง และอธิบายให้ความรู้ ช่วยสอนเพื่อนสมาชิกในกลุ่ม ให้ เข้าใจสาระท่ีตนได้ศึกษามา และร่วมกันอภิปราย ซักถามข้อสงสัย ตอบปัญหา ทบทวน ให้เกิดความเข้าใจ อยา่ งชัดเจน 4. สมาชิกทกุ คนได้เรยี นรู้ภาพรวมของสาระท้งั หมด อธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูตั้งคาถามให้นักเรียนช่วยกันหาคาตอบว่า “นักเรียนคิดว่ากระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ข้ันตอนที่สาคัญน่าจะเป็นขั้นตอนไหนอย่างไร” (แนวตอบ : กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเริ่มต้นท่ีการกาหนดนิยามปัญหา โดยจะต้องคานึงว่า ปญั หานั้นแก้ไขโดยใคร ท่ีไหน เมื่อใด และอยา่ งไร ซึ่งเทคโนโลยที ี่ดีน้ันต้องเปน็ การเอาวิทยาการตา่ งๆ มา ออกแบบเพื่อตอบโจทย์ปญั หา และต้องกาหนดปัญหา ใครที่ต้องเผชิญกบั เหตุการณ์น้ี และเหตใุ ดปัญหานี้ จงึ จาเป็นต้องไดร้ ับการแก้ไข) 2. จากนั้นใหแ้ ต่ละกลมุ่ ร่วมกนั อภปิ รายและสรปุ ความรเู้ ป็นผังมโนทศั น์ลงในกระดาษ A4 ตามประเด็น ดงั น้ี ความหมายของกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม ขน้ั ตอนของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม 3. ครูสุ่มนักเรียน ยกตัวอย่าง “การระบุปัญหาหรือนวัตกรรมที่ต้องการพัฒนาภายในห้องเรียน” เพื่อ แก้ไขปัญหาภายใต้ข้อกาหนดขอบเขตของปัญหา ซึ่งนาไปสู่การสร้างชิ้นงานหรือวิธีการในการ แก้ปัญหา 4. ครูให้นักเรียนช่วยกันเลือกตัวอย่างปัญหาหรือนวัตกรรมที่ต้องการพัฒนาภายในห้องเรียน ที่สมควร แก้ไขมากที่สุด แล้วให้แต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายตามข้ันตอนของกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
ขัน้ สรปุ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครูเปิด PowerPoint เร่ือง กระบวนการเชิงวิศวกรรม ให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและ สรุป ตามประเดน็ ดงั น้ี ความหมายของกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม ขนั้ ตอนของกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม 2. ครูให้นักเรียนสอบถามเพ่มิ เติมเกี่ยวกบั เนอื้ หาใน PowerPoint ท่ียังไม่เขา้ ใจ แลว้ ให้ความรเู้ พม่ิ เตมิ ในสว่ น นนั้ 3. ครูให้นกั เรียนทาใบงานท่ี 2.1 เรื่อง ทาความเข้าใจกระบวนการเชิงวิศวกรรม เมอ่ื ทาเสรจ็ แล้ว ครูและ นกั เรียนรว่ มกันเฉลยคาตอบ ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน 2. ครตู รวจและประเมนิ ผลใบงานที่ 2.1 เรือ่ ง ทาความเข้าใจกระบวนการเชิงวศิ วกรรม 3. ครปู ระเมินผล โดยสังเกตการตอบคาถาม การรว่ มกนั ทาผลงาน และการนาเสนอผลงาน 7. การวัดและประเมนิ ผล วธิ ีวัด เครื่องมือ เกณฑก์ ารประเมิน ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ประเมินตามสภาพจริง รายการวดั กอ่ นเรยี น 7.1 การประเมนิ กอ่ นเรยี น - ใบงานที่ 2.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - ตรวจใบงานที่ 2.1 - แบบทดสอบกอ่ นเรียน - ผลงานทน่ี าเสนอ ระดบั คุณภาพ 2 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 - ประเมินการนาเสนอ - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑ์ เรอ่ื ง กระบวนการเชงิ ผลงาน การทางานรายบคุ คล ระดบั คุณภาพ 2 วศิ วกรรม - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ การทางานรายบุคคล การทางานกลมุ่ ระดบั คณุ ภาพ 2 7.2 การประเมินระหวา่ งการ ผา่ นเกณฑ์ จดั กจิ กรรม 1) ทาความเข้าใจ กระบวนการเชิง วิศวกรรม 2) การนาเสนอผลงาน 3) พฤติกรรมการทางาน รายบคุ คล 4) พฤตกิ รรมการทางาน - สังเกตพฤติกรรม กลุ่ม การทางานกลุ่ม
5) คณุ ลกั ษณะ - สงั เกตความมวี ินยั - แบบประเมิน ระดับคณุ ภาพ 2 อันพึงประสงค์ รับผดิ ชอบ ใฝ่เรยี นรู้ คณุ ลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ และม่งุ มั่นในการ อันพึงประสงค์ ทางาน 8. ส่อื /แหลง่ การเรยี นรู้ 1) หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.4 หน่วยการเรียนที่ 2 กระบวนการเชงิ วิศวกรรม 2) ใบงานที่ 2.1 เรอื่ ง ทาความเข้าใจกระบวนการเชิงวศิ วกรรม 3) PowerPoint เรอ่ื ง กระบวนการเชิงวศิ วกรรม
ใบงานที่ 2.1 เร่อื ง ทาความเขา้ ใจกระบวนการเชิงวศิ วกรรม คาช้ีแจง : เตมิ ขอ้ ความหรือความหมายของคาลงในชอ่ งวา่ งใหถ้ ูกต้อง คาช้แี จง : เติมขอ้ ความหรือความหมายของคาลงในช่องวา่ งใหถ้ ูกต้อง 1. การออกแบบเชิงวิศวกรรม หมายถงึ การแกไ้ ขปัญหาโดยใช้กระบวนการทางานภายใต้เกณฑ์ และข้อจากดั โดย นาปัญหาหรอื ความต้องการมาเป็นจดุ เริ่มต้น เนน้ ความเขา้ ใจในการเชือ่ มโยงความรู้สเู่ ทคโนโลยี ซงึ่ มี……. วทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เปน็ เครือ่ งมอื เพือ่ ชว่ ยให้กระบวนการสร้างสรรค์ทางวศิ วกรรมพัฒนางานให้…… มีใหนด…………………………………………………..…………………………………………………………………………………………… 2. การออกแบบเชงิ วิศวกรรมเกิดจาก วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี 3. จงบอกความแตกต่างของกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรมและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Engineering Design Process) (Scientific Methods) ลักษณะเดน่ คอื มีจุดเริ่มต้นที่ชัดเจน มสี มมติฐาน ลกั ษณะเด่น คอื มีขอ้ จากดั ทกี่ าหนดการออกแบบ กระบวนการเป็นเสน้ ตรง มกี ารศกึ ษาวิจยั และเป็นไปตาม ตอ้ งตอบโจทย์ความต้องการของมนษุ ย์ กระบวนการ ขน้ั ตอน ................................................................... เปน็ การทาซ้าที่พฒั นาตอ่ เนือ่ ง มีการศึกษาวิจยั ……………………………………………………………………………… และเปน็ ไปตามข้นั ตอน………………………..…………… มีขัน้ ตอน ดังน้ี มีข้ันตอน ดังน้ี 1. ระบุปญั หา…………………………………………………………… 1. ตั้งคาถาม……………………………………………………… 2. รวบรวมขอ้ มลู และแนวคิดทเี่ กย่ี วขอ้ งกับปัญหา……….. 2. ศกึ ษางานวิจยั ทเี่ กี่ยวขอ้ ง………………………………… 3. ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ัญหา…………………………………….. 3. ตงั้ สมมตฐิ าน……………………………………………….… 4. วางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา…………………………. 4. ทาการทดลอง……………………………………………..… 5. ทดสอบ ประเมินผล ปรบั ปรงุ แกไ้ ขวธิ ีการแกป้ ัญหา 5. วิเคราะห์ขอ้ มูล……………………………………………… 6. นาเสนอวิธกี ารแก้ปญั หา ผลการแกป้ ญั หาหรือชิ้นงาน 6. สรปุ ผล / รายงานผล………………………………..……
4. กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม แบ่งออกเปน็ ..... ขั้นตอน ดงั นี้ 1. ระบุปญั หาในชวี ติ จริงหรือนวตั กรรมท่ีตอ้ งการ………………………………………………… ทาความเข้าใจปัญหา วิเคราะห์เงอื่ นไขหรือข้อจากัดของสถานการณ์ปัญหา เพอื่ แกไ้ ข ปญั หาภายใตข้ อ้ กาหนดขอบเขตของปญั หา………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………….. 2. รวบรวมขอ้ มูลและแนวคิดที่เกี่ยวขอ้ ง………………………………………………………… การรวบรวมข้อมลู ทจี่ าเป็น เป็นประโยชน์ หรอื ข้อมลู ที่สนใจ โดยการเกบ็ รวบรวม ขอ้ มลู มี 3 วธิ ี ไดแ้ ก่ การสังเกตการณ์ การสมั ภาษณ์ และการรวบรวมข้อมูลจาก เอกสาร……………………………………………………………………………………………………… 3. ออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหา……………………………………………………………………………… ประยุกต์ใช้ขอ้ มูลเพ่อื ออกแบบชิ้นงานหรอื วิธีการแกป้ ญั หา โดยคานงึ ถงึ ทรพั ยากร ข้อจากดั และเง่อื นไขตามสถานการณ์ทก่ี าหนด ช่วยสอื่ สารแนวคดิ ของการแก้ปญั หา ใหผ้ อู้ ืน่ เข้าใจโดยผา่ นวธิ ีการตา่ งๆ เชน่ ภาพรา่ ง ผังงาน ภาพฉาย การอธบิ าย เปน็ ตน้ 4. วางแผนและดาเนนิ การแก้ปญั หา………………………………………………………… กาหนดลาดบั ขน้ั ตอนของการสร้างช้นิ งานหรอื วิธกี าร แลว้ ลงมอื สรา้ งงานหรือพัฒนา วิธกี ารเพือ่ ใช้ในการแกป้ ญั หาตามเป้าหมายและระยะเวลาทก่ี าหนด…………………….. …………………………………………………………………………………………………………………….. 5. ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรุง………………………………………………………… การทดสอบและประเมนิ การใช้งานของชิ้นงานหรอื วิธกี าร โดยผลท่ไี ดอ้ าจนามาใช้ใน การปรับปรงุ และพฒั นาใหม้ ปี ระสิทธิภาพในการแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม…………. …………………………………………………………………………………………………………………….. 6. นาเสนอวิธีการแกป้ ญั หา ผลการแก้ปญั หา หรือผลการพัฒนานวตั กรรม ควรนาเสนอวธิ กี ารอย่างเปน็ ข้นั ตอน ต้งั แตส่ ถานการณป์ ญั หา การระบปุ ญั หา การ รวบรวมข้อมูล การออกแบบ การวางแผน การปฏิบัติงานเพ่ือแก้ปัญหา การทดสอบ ผลการประเมนิ การปรับปรุง สง่ิ สาคัญจะต้องลงขอ้ สรปุ ให้เหน็ ชัดเจนวา่ วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี นาไปใชใ้ นการแกป้ ญั หาในชวี ติ ได้จรงิ
ใบงานท่ี 2.1 เฉลย เรอ่ื ง ทาความเขา้ ใจกระบวนการเชิงวศิ วกรรม คาชีแ้ จง : เติมขอ้ ความหรือความหมายของคาลงในช่องว่างให้ถกู ต้อง 1. การออกแบบเชงิ วศิ วกรรม หมายถงึ การแก้ไขปญั หาโดยใชก้ ระบวนการทางานภายใตเ้ กณฑ์ และข้อจากัด โดย นาปญั หาหรือความตอ้ งการมาเป็นจดุ เร่ิมต้น เนน้ ความเขา้ ใจในการเช่ือมโยงความรูส้ ู่เทคโนโลยี ซึ่งมีวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตรเ์ ปน็ เครอ่ื งมือเพ่อื ชว่ ยให้กระบวนการสร้างสรรค์ทางวศิ วกรรมพัฒนางานให้มีประสทิ ธภิ าพสงู สุด ภายใต้ขอ้ จากดั ทีก่ าหนด…………………………………………………..…………………………………ใ 2. การออกแบบเชงิ วิศวกรรมเกดิ จาก วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี 3. จงบอกความแตกต่างของกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรมและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการออกแบบทางวศิ วกรรม กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (Engineering Design Process) (Scientific Methods) ลักษณะเด่น คอื มีจดุ เริ่มต้นที่ชัดเจน มสี มมติฐาน ลกั ษณะเดน่ คือ มีขอ้ จากดั ท่กี าหนดการออกแบบ กระบวนการเปน็ เส้นตรง มกี ารศกึ ษาวจิ ัย และเป็นไปตาม ตอ้ งตอบโจทยค์ วามต้องการของมนุษย์ กระบวนการ ขัน้ ตอน ................................................................... เป็นการทาซา้ ทพ่ี ฒั นาตอ่ เนอ่ื ง มีการศึกษาวิจัย ……………………………………………………………………………… และเป็นไปตามข้นั ตอน………………………..…………… มขี ้ันตอน ดงั น้ี มีขัน้ ตอน ดงั นี้ 1. ระบปุ ญั หา…………………………………………………………… 1. ต้งั คาถาม……………………………………………………… 2. รวบรวมขอ้ มูลและแนวคิดทเ่ี กี่ยวข้องกับปญั หา……….. 2. ศึกษางานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ ง………………………………… 3. ออกแบบวธิ ีการแก้ปญั หา…………………………………….. 3. ตั้งสมมติฐาน……………………………………………….… 4. วางแผนและดาเนนิ การแก้ปัญหา…………………………. 4. ทาการทดลอง……………………………………………..… 5. ทดสอบ ประเมนิ ผล ปรบั ปรุง แกไ้ ขวิธีการแก้ปัญหา 5. วเิ คราะหข์ ้อมูล……………………………………………… 6. นาเสนอวิธีการแก้ปญั หา ผลการแก้ปัญหาหรือชิน้ งาน 6. สรุปผล / รายงานผล………………………………..……
4. กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม แบ่งออกเป็น 6 ขัน้ ตอน ดังนี้ 1. ระบปุ ญั หาในชีวติ จรงิ หรอื นวัตกรรมที่ต้องการ………………………………………………… ทาความเข้าใจปญั หา วิเคราะห์เง่ือนไขหรอื ข้อจากัดของสถานการณป์ ญั หา เพื่อแก้ไข ปัญหาภายใต้ข้อกาหนดขอบเขตของปญั หา………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………….. 2. รวบรวมขอ้ มูลและแนวคดิ ที่เก่ียวขอ้ ง………………………………………………………… การรวบรวมข้อมูลท่จี าเป็น เป็นประโยชน์ หรอื ข้อมลู ทีส่ นใจ โดยการเก็บรวบรวม ขอ้ มูลมี 3 วิธี ได้แก่ การสงั เกตการณ์ การสมั ภาษณ์ และการรวบรวมขอ้ มลู จาก เอกสาร……………………………………………………………………………………………………… 3. ออกแบบวิธกี ารแก้ปญั หา……………………………………………………………………………… ประยกุ ต์ใชข้ อ้ มูลเพ่ือออกแบบชน้ิ งานหรอื วิธกี ารแก้ปญั หา โดยคานึงถึงทรพั ยากร ข้อจากดั และเง่ือนไขตามสถานการณ์ทกี่ าหนด ช่วยสอ่ื สารแนวคิดของการแก้ปัญหา ให้ผอู้ ืน่ เขา้ ใจโดยผ่านวธิ กี ารต่างๆ เช่น ภาพร่าง ผังงาน ภาพฉาย การอธบิ าย เปน็ ตน้ 4. วางแผนและดาเนินการแกป้ ัญหา………………………………………………………… กาหนดลาดับขนั้ ตอนของการสร้างชิน้ งานหรอื วธิ กี าร แล้วลงมือสรา้ งงานหรอื พัฒนา วิธกี ารเพอื่ ใช้ในการแก้ปญั หาตามเป้าหมายและระยะเวลาทก่ี าหนด…………………….. …………………………………………………………………………………………………………………….. 5. ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุง………………………………………………………… การทดสอบและประเมินการใชง้ านของช้ินงานหรอื วิธกี าร โดยผลที่ไดอ้ าจนามาใชใ้ น การปรับปรงุ และพฒั นาให้มีประสิทธภิ าพในการแกป้ ัญหาได้อย่างเหมาะสม…………. …………………………………………………………………………………………………………………….. 6. นาเสนอวิธีการแกป้ ญั หา ผลการแก้ปญั หา หรือผลการพฒั นานวตั กรรม ควรนาเสนอวธิ ีการอย่างเป็นขนั้ ตอน ตัง้ แต่สถานการณ์ปัญหา การระบปุ ญั หา การ รวบรวมขอ้ มลู การออกแบบ การวางแผน การปฏิบตั ิงานเพ่อื แก้ปัญหา การทดสอบ ผลการประเมิน การปรับปรุง สิ่งสาคญั จะต้องลงขอ้ สรปุ ใหเ้ ห็นชัดเจนวา่ วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี นาไปใชใ้ นการแกป้ ัญหาในชวี ิตได้จรงิ
9. ความเห็นของผ้บู ริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ขอ้ เสนอแนะ ลงชื่อ (นายเสนห่ ์ สายต่างใจ) ผู้อานวยการโรงเรียนเกาะคาวทิ ยาคม 10. บันทึกผลหลงั การสอน ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ปญั หา / อปุ สรรค ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ แนวทางแก้ปญั หาO ปกติO วจิ ยั ในชน้ั เรียน ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ลงช่ือ .............................................................. (นางสาวบศุ ริน เหมทานนท)์ ครูผ้สู อน ขอ้ คิดเหน็ ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ................................................................... (นางสาววราภรณ์ กณุ าบุตร) ตาแหน่ง หัวหน้างานวิชาการ
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 การแกป้ ญั หาโดยใช้กระบวนการเชิงวศิ วกรรม เวลา 3 ช่ัวโมง 1. มาตรฐาน/ตวั ชว้ี ัด ว 4.1 ม.4/2 ระบุปัญหาหรือความต้องการท่ีมีผลกระทบต่อสังคม รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และแนวคิดท่ี เกี่ยวข้องกับปัญหาที่มีความซับซ้อนเพื่อสังเคราะห์วิธีการ เทคนิคในการแก้ปัญหา โดยคานึงถึง ความถกู ตอ้ งด้านทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา ว 4.1 ม.4/3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลท่ีจาเป็นภายใต้ เงอ่ื นไขและทรพั ยากรที่มีอยู่ นาเสนอแนวทางการแก้ปญั หาให้ผ้อู ืน่ เขา้ ใจด้วยเทคนคิ หรือวิธกี ารท่ี หลากหลาย โดยใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบ วางแผนขั้นตอนการทางานและดาเนินการ แก้ปัญหา ว 4.1 ม.4/4 ทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์ และให้เหตุผลของปัญหาหรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ภายใต้กรอบ เง่ือนไข หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไข และนาเสนอผลการแก้ไขปัญหา พร้อมทั้งเสนอแนว ทางการพัฒนาต่อยอด ว 4.1 ม.4/5 ใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้า และอิเลกทรอนิกส์ และ เทคโนโลยที ี่ซับซ้อนในการแก้ปญั หาหรอื พัฒนางาน ได้อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ระบปุ ญั หาหรือความต้องการทมี่ ีผลกระทบต่อสงั คมและแนวคดิ ท่ีเก่ียวข้องกับปัญหาทม่ี ีความซบั ซ้อนได้ (K) 2. ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ัญหาโดยวเิ คราะห์เปรยี บเทียบและตดั สินใจเลือกข้อมลู ที่จาเปน็ (K) 3. วางแผนข้นั ตอนการทางานและดาเนนิ การแก้ปญั หาในชวี ิตประจาวนั ได้ (P) 4. วิเคราะหแ์ นวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ข และนาเสนอผล พร้อมท้ังเสนอแนวทางการพัฒนาต่อยอดได้ (P) 5. เลือกใช้ วัสดุ เคร่ืองมอื อปุ กรณ์ ในการออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา (P) 6. เห็นคณุ ประโยชน์ของการเรยี นวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี และตระหนักในคณุ คา่ ของความรทู้ าง เทคโนโลยีท่ีใช้ในชวี ติ ประจาวัน (A)
3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ - ปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคม เช่น ปัญหาด้าน พจิ ารณาตามหลักสูตรของ การเกษตร อาหาร พลังงาน การขนส่ง สุขภาพและการแพทย์ การ สถานศึกษา บรกิ าร ซึง่ แต่ละด้านอาจมไี ดห้ ลากหลายปัญหา - การวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาโดยอาจใช้เทคนิคหรือวิธีการวิเคราะห์ที่ หลากหลาย ช่วยให้เขา้ ใจเง่ือนไขและกรอบของปัญหาได้ชดั เจน จากน้ัน ดาเนินการสืบค้น รวบรวมข้อมูล ความรู้จากศาสตร์ต่างๆ ที่เก่ียวข้อง เพ่ือนาไปสกู่ ารออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หา - การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น โดย คานึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา เงื่อนไขและทรัพยากร เช่น งบประมาณ เวลา ข้อมูล และสารสนเทศ วัสดุ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ ช่วยให้ได้แนว ทางการแกป้ ญั หาที่เหมาะสม - การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาทาได้หลากหลายวิธี เช่น การร่าง ภาพ การเขยี นแผนภาพ การเขียนผงั งาน - ซอฟแวร์ช่วยในการออกแบบและนาเสนอมีหลากหลายชนิดจึงต้อง เลือกใชใ้ หเ้ หมาะกบั งาน - การกาหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการทางานก่อนดาเนินการ แก้ปัญ หาจะช่วยให้การทางานสาเร็จได้ตามเป้าหมาย และลด ขอ้ ผดิ พลาดของการทางานท่อี าจเกดิ ข้นึ - การทดสอบและประเมินผลเป็นการตรวจสอบชิ้นงานหรือวิธีการว่า สามารถแก้ปัญหาได้ตามวัตถุประสงค์ภายใต้กรอบของปัญหา เพื่อหา ข้อบกพร่อง และดาเนินการปรับปรุง โดยอาจทดสอบซ้าเพ่ือให้สามารถ แก้ไขปัญหาไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ - การนาเสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคิดเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจเกี่ยวกับ กระบวนการทางานและชิ้นงานหรือวิธีการที่ได้ ซ่ึงสามารถทาได้หลาย วิธี เชน่ การทาแผ่นนาเสนอผลงาน การจดั นิทรรศการ การนาเสนอผ่าน สื่อออนไลน์ หรอื การนาเสนอต่อภาคธรุ กิจเพ่ือการพฒั นาต่อยอดสงู่ าน อาชีพ - วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้สังเคราะห์ โลหะ จึงต้อง มกี ารวเิ คราะหส์ มบัตเิ พือ่ เลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสมกับลกั ษณะของงาน - การสร้างชนิ้ งานอาจใช้ความรู้ เร่ือง กลไก ไฟฟ้า อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เช่น LDR sensor เฟือง รอก คาน วงจรสาเรจ็ รปู - อุปกรณ์และเครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน หรือพัฒนาวิธีการมีหลาย ประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมท้ังรู้จัก เกบ็ รกั ษา
4. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมช่วยแก้ปัญหาหรือความตอ้ งการท่ีมีผลกระทบต่อสังคม เช่น ปญั หาด้าน การเกษตร อาหาร พลังงาน การขนส่ง สุขภาพและการแพทย์ การบริการ ซึ่งแต่ละด้านอาจมีได้หลากหลายปัญหา เริ่มจากการวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาโดยอาจใช้เทคนิคหรือวิธีการวิเคราะห์ท่ีหลากหลาย ช่วยให้เข้าใจเงื่อนไข และกรอบของปัญหาได้ชัดเจน จากนั้นดาเนินการสืบค้น รวบรวมข้อมูล ความรู้จากศาสตร์ต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือ นาไปสู่การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา ซ่ึงนาไปสู่การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น โดยคานึงถึงทรัพย์สินทางปัญญา เงื่อนไขและทรัพยากร เช่น งบประมาณ เวลา ข้อมูล และสารสนเทศ วัสดุ เคร่ืองมือและอุปกรณ์ ช่วยให้ได้แนวทางการแก้ปัญหาท่ีเหมาะสม และการออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาทาได้ หลากหลายวธิ ี เช่น การร่างภาพ การเขียนแผนภาพ การเขียนผังงาน โดยการใช้ซอฟแวร์ช่วยในการออกแบบและ นาเสนอมีหลากหลายชนิดจึงต้องเลือกใช้ให้เหมาะกับงาน และในการกาหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการทางาน ก่อนดาเนินการแก้ปัญหาจะช่วยให้การทางานสาเร็จได้ตามเป้าหมาย และลดข้อผิดพลาดของการทางานที่อาจ เกิดข้ึน ในส่วนการทดสอบและประเมินผลเป็นการตรวจสอบช้ินงานหรือวิธีการว่าสามารถแก้ปัญหาได้ตาม วตั ถุประสงค์ภายใต้กรอบของปัญหา เพอื่ หาข้อบกพร่อง และดาเนินการปรบั ปรงุ โดยอาจทดสอบซา้ เพื่อให้สามารถ แก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ และการนาเสนอผลงานเป็นการถ่ายทอดแนวคิดเพื่อให้ผู้อ่ืนเข้าใจเกี่ยวกับ กระบวนการทางานและชิ้นงานหรอื วิธีการท่ีได้ ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี เช่น การทาแผ่นนาเสนอผลงาน การจัด นิทรรศการ การนาเสนอผ่านส่ือออนไลน์ หรือการนาเสนอต่อภาคธุรกิจเพื่อการพัฒนาต่อยอดสู่งานอาชีพ ซ่ึงการ ออกแบบสามารถเลือกใช้วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้สังเคราะห์ โลหะ จึงต้องมีการวิเคราะห์ สมบัติเพ่ือเลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน ส่วนการสร้างช้ินงานอาจใช้ความรู้ เรื่อง กลไก ไฟฟ้า อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เชน่ LDR sensor เฟือง รอก คาน วงจรสาเร็จรปู และอปุ กรณ์และเครื่องมอื ในการสรา้ งชิ้นงาน หรือ พฒั นาวิธกี ารมหี ลายประเภท ตอ้ งเลือกใชใ้ ห้ถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทง้ั รู้จกั เกบ็ รักษา 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียนและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มีวนิ ัย รับผิดชอบ 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน 1) ทักษะการคดิ วิเคราะห์ 2) ทกั ษะการคิดอย่างสรา้ งสรรค์ 3) ทักษะการคดิ อยา่ งเป็นระบบ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนคิ : ใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem based Learning) ชว่ั โมงที่ 1 ขัน้ นา ขน้ั กาหนดปญั หา 1. ครูพูดคุยซักถามนักเรียนเก่ียวกับ “ส่ิงประดิษฐ์ นวัตกรรมจากเทคโนโลยีมีผลต่อชีวิตประจาวันอย่างไร” และให้นักเรียนหาคลิปสืบค้น ส่ิงประดิษฐ์ นวัตกรรมทางเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ที่ช่วยตอบสนองความ ต้องการในยคุ ปจั จุบนั 2. ครูสุม่ นกั เรียน 3-4 คน ยกตัวอย่างคลปิ ส่ิงประดิษฐ์ นวตั กรรมทางเทคโนโลยที ี่ทันสมยั พร้อมท้ังบอกถึง ลักษณะการออกแบบเป็นอยา่ งไร 3. นกั เรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน 4. ครูถามคาถามกระตุ้นความคิด โดยการเปิดคลิป รถยืนไฟฟ้า 2 ล้อ ใช้การทรงตัวของเราในการเคล่ือนท่ี จากคลปิ นักเรียนคดิ วา่ นวัตกรรมนี้มกี ระบวนการออกแบบอยา่ งไร (แนวตอบ : รถยืนไฟฟ้าเปน็ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยการสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ เกิด จากการพัฒนาเทคโนโลยีให้มีค่ามากข้ึน โดยใช้อุปกรณ์และหลักการทางานประกอบด้วยมอเตอร์ โดย มอเตอร์แต่ละข้างจะหมุนด้วยความเร็วต่างๆ จากการทรงตวั ของเรา ทาให้เกิดการเดินหนา้ เล้ียวซ้ายขวา หมนุ รอบตัวเอง รถจึงไมม่ ีตาแหนง่ ด้านหน้าด้านหลัง ใช้งานได้ทง้ั สองด้าน) ขน้ั สอน ข้นั กาหนดปัญหา 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 – 4 คน แล้วให้สมาชิกแตล่ ะกลุ่มร่วมกันศึกษาและสืบค้นข้อมูลเกยี่ วกับการ เลือกใช้ วัสดุ เคร่ืองมือ กลไก อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ จากหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน การ ออกแบบและเทคโนโลยี ม.4 หนา้ 32 – 34 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายข้อมูลท่ีสืบค้นได้ภายในกลุ่ม แล้วร่วมกันสรุปลงในกระดาษ A4 แล้ว นามาสง่ ครเู พ่ือใหค้ รูตรวจสอบความถูกตอ้ ง 3. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ “กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมช่วยแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน อย่างไร” จากนั้นร่วมกันสรุปว่า กระบวนการทางเทคโนโลยีได้ถูกส่งต่อพัฒนามาเป็นกระบวนการ ออกแบบเชิงวิศวกรรม เพ่อื ทาให้การแก้ปัญหามีทางเลือก มีหลกั การ และเปน็ ระบบมากขึ้น ซงึ่ มขี ั้นตอน ดังนี้ ระบุปัญหาในชีวิตจริงหรือนวัตกรรมท่ีต้องการพัฒนา รวบรวมข้อมูลและแนวคิดท่ีเกี่ยวข้อง ออกแบบวธิ ีการแก้ปัญหา วางแผนและดาเนนิ การแก้ปัญหา ทดสอบ ประเมินผล ปรับปรงุ และนาเสนอ วธิ ีการแกป้ ัญหา ผลการแกป้ ญั หา หรอื ผลการพัฒนานวตั กรรม 4. ครตู ้งั คาถาม แลว้ สุ่มตัวแทนแต่ละกลมุ่ ตอบคาถาม ดงั นี้ ข้ันตอนแรกของกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม ตอ้ งคานงึ ถึงสิง่ ใด (แนวตอบ : ระบุปัญหาในชีวิตจริงหรือนวัตกรรมท่ีต้องการพัฒนา เป็นการทาความเข้าใจปัญหา วิเคราะห์เงื่อนไขหรือข้อจากัดของสถานการณ์ปัญหา เพ่ือแก้ปัญหาภายใต้ข้อกาหนดขอบเขตของ ปัญหา ซ่งึ จะนาไปสกู่ ารสร้างช้นิ งานหรือวธิ กี ารในการแกป้ ัญหา)
5. ครูนาป้ายกระดาษที่เขียนคาว่า “กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมช่วยแกไ้ ขปัญหาในชีวิตประจาวัน” ไป ตดิ ไวบ้ ริเวณหนา้ ห้อง 6. นักเรียนศึกษาตัวอย่าง การระบุปัญหา จากหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.4 หน้า 24 และอภิปรายหัวข้อที่ครูติดไว้บริเวณหน้าห้อง ครูกาหนดเวลาในการร่วมอภิปราย 5 นาที จากนั้น นักเรียนร่วมกันเสนอปัญหาที่หลากหลาย โดยให้แต่ละกลุ่มจับฉลากขอบเขตบริเวณของการกาหนดปัญหา ไดแ้ ก่ โรงเรียน ห้องสมุด ห้องเรยี น และแหล่งเรียนรูภ้ ายในโรงเรียน 7. นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกปัญหาตามความสนใจ ตามขอบเขตที่กาหนดให้ โดยแต่ละกลุ่มระบุปัญหาหรือ นวัตกรรมทต่ี อ้ งการพฒั นาของกลุ่มตนเอง ช่วั โมงที่ 2 ขน้ั สอน (ต่อ) ขั้นทาความเข้าใจปญั หา 1. ครตู ั้งคาถามให้นักเรียนช่วยกนั ตอบ ดังนี้ องค์ประกอบของการระบุปญั หา ไดแ้ ก่องค์ประกอบใดบ้าง (แนวตอบ : 1. ปัญหา คือ สิ่งท่ีจาเป็นต้องแก้ไข 2. ใคร คอื ผู้ที่เผชญิ ปญั หาท่ีเราจาเปน็ ต้องแก้ 3. เหตุผล คือ เหตุใดปญั หานี้จึงจาเปน็ ต้องแก้) 2. นักเรียนแต่ละกลุ่ม ร่วมกันอภิปราย ตั้งคาถามในประเด็นที่กลุ่มตนเองสนใจ ระดมสมองหาอธิบาย สถานการณ์ของปัญหา จัดทาสรุปลงในกระดาษ A4 ตามประเด็น ดังน้ี ปญั หาทจ่ี าเปน็ ต้องแก้คอื อะไร ใครคือผทู้ ่เี ผชิญปญั หาท่เี ราจาเป็นต้องแก้ เหตใุ ดปญั หาน้ีจึงจาเป็นตอ้ งแก้ แล้วรว่ มกันนาเสนอปญั หาพรอ้ มทง้ั วธิ ีการออกแบบการแกป้ ญั หาโดยใช้กระบวนการเชงิ วิศวกรรม 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอปัญหาที่ต้องการแก้ไข จนครบทุกกลุ่ม เมอ่ื แต่ละกลมุ่ เสนอปัญหาท่ี ต้องการแกไ้ ขจบแล้วใหน้ าผลงานไปติดไว้ตามบรเิ วณรอบๆ ห้องเรยี น 4. ครูให้เวลานักเรียน 3 นาที ในการเดินชมผลงานปัญหาท่ีต้องการแก้ไขของกลุ่มอื่นๆ เพ่ือเปรียบเทียบกับ ผลงานของกลุ่มตนเอง จากน้ันให้นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์สถานการณ์ของปัญหาช่วยแก้ปัญหาใน ชวี ิตประจาวนั อยา่ งไร ขน้ั การดาเนินการศึกษาค้นควา้ 1. นักเรียนแต่ละกลุม่ ลงมือปฏบิ ัติวางแผน วิธีการแก้ไขปัญหาตามขั้นตอนกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม โดยครูเปน็ ท่ปี รกึ ษาและสังเกตตรวจการเลอื กขอ้ มูลหรือปัญหาท่ผี ้เู รียนคัดเลอื กมา 2. ครูตั้งคาถามให้นักเรียนช่วยกันหาคาตอบว่า สาหรับกระบวนการเชิงวิศวกรรม การระดมความคิดมี ความสาคัญอย่างไร (แนวตอบ : ส่ิงสาคญั ในการระดมความคิด คอื การคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดแนวคิดใหม่ๆ การระดมความคิดที่ดีมีขั้นตอน ดังน้ี ต้ังผู้ดาเนินการ กาหนดหัวข้อในการระดมความคิด ระดมความคิด สรปุ ผลการระดมความคิด และประเมนิ ความคดิ )
3. นักเรียนแต่ละกลุ่ม ร่วมกันศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลโดยออกไปสถานที่ที่กลุ่มตนเองจับฉลากได้ เพื่อ รวบรวมข้อมูลและแนวคิดท่ีเก่ียวข้อง โดยสามารถเลือกวิธีการรวบรวมข้อมูลแบบไหนก็ได้ ช่ัวโมงท่ี 3 ขั้นสงั เคราะหค์ วามรู้ 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มเม่ือรวบรวมขอ้ มลู เสร็จ แล้วศึกษาตัวอย่าง การออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหา จากหนังสือ เรยี น รายวชิ าพืน้ ฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.4 หน้า 28-29 2. นักเรียนร่วมกันอภิปรายแล้วลงมือปฏิบัติเลือกการออกแบบวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับกลุ่มตนเอง เช่น การสร้างภาพร่าง การสร้างผังงาน การสร้างภาพฉาย เป็นต้น พร้อมทั้งวางแผนการดาเนินการ แกป้ ัญหา 3. นักเรียน ร่วมกันอภิปรายแล้วลงมือปฏิบัติเลือกการนาเสนอการแก้ปัญหา ผลการแกป้ ัญหา หรือผลการ พัฒนานวัตกรรม ขั้นสรปุ ข้ันสรุปและประเมินค่าของคาตอบ 1. นักเรียนแต่ละกลุ่ม อภิปรายร่วมกันเพื่อหาข้อสรุปผลงานของกลุ่มตนเอง แล้วจัดทาวิธีการนาเสนอที่ กลุ่มสนใจ ได้แก่ PowerPoint การทาแผ่นพับ การเขียนรายงาน การเขียนบรรยายโดยมีภาพประกอบ ต่างๆ ป้ายนิเทศ แฟ้มสะสมงาน เป็นต้น โดยมีครูเป็นท่ีปรึกษา ตรวจสอบความถูกต้องของวิธีการ และ สังเกตการณอ์ ภปิ รายเก่ียวกับกระบวนการเชิงวิศวกรรม 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานของกลุ่มตนเอง ขณะท่ีนักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอให้ครูคอย แนะนาเพ่ิมเติมและเปดิ โอกาสให้เพือ่ นกลุ่มอื่นเสนอความคิดเหน็ ได้ 3. เม่ือนักเรียนนาเสนอผลงานเรยี บรอ้ ยแล้ว แก้ไข ปรับปรุงข้อมูล แล้วให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่ม นาผลงานของ กลุ่มตนเองเผยแพร่ทางสื่อออนไลน์ ทางใดก็ได้ เช่น facebook websiteโรงเรียน Dek-D.com เป็นต้น เพือ่ นาความรไู้ ปใชบ้ รกิ ารสังคม เพอ่ื อาจเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผอู้ นื่ ได้ 4. นกั เรียนทากจิ กรรม Unit Question จากหนังสือเรยี น รายวิชาพ้นื ฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.4 หน้า 35 เสร็จแล้วนาส่งครตู รวจสอบความถูกตอ้ ง พรอ้ มทั้งสง่ ให้ครูผา่ น e-mail 5. ครูให้นักเรียนทาใบงานท่ี 2.2 เร่ือง การแก้ไขปัญหาโดยใช้กระบวนการเชิงวิศวกรรม เม่ือทาเสร็จแล้ว นาส่งครตู รวจสอบความถูกต้อง พรอ้ มท้ังสง่ ใหค้ รผู ่าน e-mail ข้ันนาเสนอและประเมินผลงาน 1. ครูตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน 2. ครูตรวจและประเมินผลใบงานที่ 2.2 เร่ือง การแก้ไขปัญหาโดยใชก้ ระบวนการเชิงวศิ วกรรม 3. ครูตรวจและประเมินผล PowerPoint เรื่อง กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมช่วยแก้ไขปัญหาใน ชีวติ ประจาวัน 4. ครูประเมนิ ผล โดยสังเกตการตอบคาถาม การรว่ มกนั ทาผลงาน และการนาเสนอผลงาน
7. การวดั และประเมนิ ผล วิธวี ดั เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมิน รายการวดั - ตรวจใบงานที่ 2.2 - ใบงานท่ี 2.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 7.1 การประเมินระหวา่ งการ - ประเมนิ การนาเสนอ - ผลงานท่นี าเสนอ ระดับคณุ ภาพ 2 จัดกจิ กรรม ผลงาน ผา่ นเกณฑ์ 1) การแกไ้ ขปญั หาโดยใช้ - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 การทางานรายบคุ คล การทางานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ กระบวนการเชิง - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2 วศิ วกรรม การทางานกลมุ่ การทางานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์ 2) การนาเสนอผลงาน - สงั เกตความมวี ินัย - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2 รบั ผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์ 3) พฤตกิ รรมการทางาน และมุ่งม่นั ในการ อันพึงประสงค์ รายบุคคล ทางาน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบหลงั เรียน 4) พฤติกรรมการทางาน หลังเรียน กลุม่ 5) คณุ ลกั ษณะ อันพึงประสงค์ 7.2 การประเมนิ หลงั เรยี น - แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 เรอื่ ง กระบวนการเชงิ วศิ วกรรม 8. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรียน รายวิชาพน้ื ฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.4 2) ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การแกไ้ ขปญั หาโดยใชก้ ระบวนการเชงิ วิศวกรรม
ใบงานที่ 2.2 เรอื่ ง การแก้ไขปัญหาโดยใชก้ ระบวนการเชงิ วศิ วกรรม คาชแี้ จง : ใหน้ กั เรยี นเขียนข้ันตอนกระบวนการเชิงวศิ วกรรมในการแกไ้ ขปญั หาน้าท่วมขงั ถนนเมอ่ื ฝนตกหนัก กระบวนการเชงิ วิศวกรรมในการแก้ไขปัญหานา้ ท่วมขงั ถนน 1. ระบปุ ญั หาในชวี ิตจรงิ หรอื นวัตกรรมท่ีต้องการพัฒนา ............................................................................................................................. ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................................... ......................................................................................................................................................... ....................................... 2. รวบรวมข้อมูลและแนวคดิ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง ................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................... ................ 3. ออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหา การเลือกใช้วัสดุ เครอ่ื งมือ อปุ กรณ์ และความรทู้ เ่ี ก่ียวข้อง ............................................................................................................................. ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................................... .............................................................................................................................................. .................................................. วิธกี ารแกป้ ญั หา
กระบวนการเชิงวิศวกรรมในการแก้ไขปัญหาน้าทว่ มขังถนน 4. วางแผนและดาเนนิ การแกป้ ญั หา หวั ขอ้ การดาเนินงาน เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. จดั ทาโครงการ ประชมุ ส่วนท่เี ก่ียวข้อง จัดเตรยี มสถานที่ ดาเนนิ โครงการ ประเมนิ ผล สรุปโครงการรายงานการดาเนนิ งาน 5. ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรงุ ........................................................................................................................................................................... ..................... ............................................................................................................. ................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................................... 6. นาเสนอวิธีการแกป้ ัญหา ผลการแก้ปญั หา หรือผลการพัฒนานวตั กรรม (พจิ ารณาผลงานของนักเรยี น และอยูใ่ นดุลยพินิจของครู
9. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ท่ีได้รบั มอบหมาย ขอ้ เสนอแนะ ลงชือ่ (นายเสนห่ ์ สายต่างใจ) ผู้อานวยการโรงเรยี นเกาะคาวิทยาคม 10. บนั ทึกผลหลงั การสอน ผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ปัญหา / อปุ สรรค ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ แนวทางแกป้ ญั หาO ปกติO วิจยั ในชนั้ เรยี น ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ลงช่อื .............................................................. (นางสาวบศุ รนิ เหมทานนท์) ครผู ู้สอน ขอ้ คิดเหน็ ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ................................................................... (นางสาววราภรณ์ กุณาบตุ ร) ตาแหน่ง หัวหน้างานวชิ าการ
หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3 ผลงานออกแบบและเทคโนโลยี เวลา 10 ชวั่ โมง 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ดั ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวิตในสังคมทีม่ ีการเปล่ยี นแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้ และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่นๆ เพ่ือแก้ปัญหา หรือ พัฒนางานอย่างมี ความคดิ สร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคานึง ผลกระทบต่อชวี ิต สงั คม และส่งิ แวดล้อม ว 4.1 ม.4/5 ใช้ความรู้ และทักษะท่ีเก่ียวกับวสั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก และไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีท่ีซบั ซ้อนในการแก้ปญั หาหรือพัฒนางาน ได้อย่างถกู ต้อง เหมาะสม และ ปลอดภัย 2. สาระการเรยี นรู้ 2.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 1) วสั ดแุ ตล่ ะประเภทมสี มบตั ิแตกต่างกัน เช่น ไม้สังเคราะห์ โลหะ จึงตอ้ งมีการวิเคราะห์สมบัติเพอื่ เลือกใช้ ใหเ้ หมาะสมกับลกั ษณะของงาน 2) การสร้างชิ้นงานอาจใช้ความรู้ เรือ่ ง กลไก ไฟฟ้า อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เชน่ LDR sensor เฟอื ง รอก คาน วงจร สาเร็จรปู 3) อุปกรณ์และเคร่ืองมือในการสร้างช้ินงาน หรือพัฒนาวิธีการมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมท้ังรู้จักเกบ็ รักษา 3. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด การออกแบบและเทคโนโลยี สามารถศึกษากรณีตวั อย่างแล้วสร้างสรรค์ผลงานออกแบบและเทคโนโลยี หรือ พัฒนาโครงงาน โดยการเลือกใช้วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้สังเคราะห์ โลหะ จึงต้องมีการ วเิ คราะหส์ มบัตเิ พ่ือเลือกใช้ให้เหมาะสมกับลกั ษณะของงาน สาหรบั การสร้างชิ้นงานอาจใช้ความรู้ เร่ือง กลไก ไฟฟ้า อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เชน่ LDR sensor เฟือง รอก คาน วงจรสาเร็จรูป และอปุ กรณแ์ ละเครือ่ งมอื ในการสรา้ งชิน้ งาน หรือ พัฒนาวิธีการมีหลายประเภท ตอ้ งเลอื กใชใ้ ห้ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภยั รวมทั้งรู้จกั เก็บรักษา
4. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี นและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ยั รับผิดชอบ 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ซ่อื สตั ย์ สุจริต 2. ความสามารถในการคิด 3. ใฝ่เรยี นรู้ 4. มุ่งมน่ั ในการทางาน 1) ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ 2) ทักษะการคิดอย่างสรา้ งสรรค์ 3) ทักษะการคดิ อย่างเป็นระบบ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) 1. ผงั ความคิด เร่อื ง ศกึ ษากรณีตัวอย่าง ระบบท่ีจอดรถอัจฉริยะและกลไกการบาบัดผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2. เลม่ รายงานโครงงานการพฒั นาโครงงาน 3. โปสเตอร์การพฒั นาโครงงาน 4. แผ่นพับการพัฒนาโครงงาน 5. ใบงานท่ี 3.1 เร่อื ง พัฒนาโครงงาน 6. การวดั และการประเมินผล รายการวดั วิธวี ัด เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมนิ 6.1 การประเมนิ ช้ินงาน/ - ตรวจผังความคิด เร่อื ง แบบประเมินช้นิ งาน/ ระดบั คณุ ภาพ 2 ภาระงาน (รวบยอด) ศกึ ษากรณีตัวอย่าง ภาระงาน ผ่านเกณฑ์ ระบบที่จอดรถ อัจฉรยิ ะและกลไกการ บาบดั ผปู้ ่วยโรคหลอด เลอื ดสมอง - เลม่ รายงานการพัฒนา โครงงาน - แผน่ พบั การพัฒนา โครงงาน - โปสเตอรก์ ารพฒั นา โครงงาน 6.2 การประเมนิ กอ่ นเรยี น ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบกอ่ นเรียน ประเมินตามสภาพจรงิ - แบบทดสอบกอ่ นเรียน กอ่ นเรียน หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 3 เรือ่ ง ผลงานออกแบบ
รายการวดั วิธีวดั เครื่องมอื เกณฑ์การประเมิน - ตรวจแผนผงั ความคิด - ตรวจแผนผงั ความคิด ระดับคณุ ภาพ 2 และเทคโนโลยี ผ่านเกณฑ์ - ตรวจใบงานท่ี 3.1 - ใบงานท่ี 3.1 6.3 การประเมนิ ระหว่างการ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ จัดกจิ กรรม 1) การศึกษากรณี ตวั อย่าง ระบบท่จี อด รถอัจฉริยะและกลไก การบาบดั ผู้ป่วยโรค หลอดเลอื ดสมอง 3) การพัฒนาโครงงาน 3) การนาเสนอผลงาน - ประเมนิ การนาเสนอ - ผลงานที่นาเสนอ ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ ผลงาน - แบบสงั เกตพฤติกรรม การทางานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 4) พฤติกรรมการทางาน - สงั เกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ รายบุคคล การทางานรายบุคคล 5) พฤตกิ รรมการทางาน - สังเกตพฤติกรรมการ - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2 การทางานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์ กลมุ่ ทางานกลมุ่ - แบบประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ 2 6) คณุ ลักษณะ - สงั เกตความมีวนิ ัย คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์ อนั พงึ ประสงค์ อันพึงประสงค์ รบั ผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ และมุง่ มนั่ ในการ ทางาน 6.4 การประเมนิ หลงั เรียน ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบหลงั เรยี น รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ - แบบทดสอบหลังเรียน หลงั เรียน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เร่อื ง ผลงานออกแบบ และเทคโนโลยี 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ แผนฯ ท่ี 1 : ศึกษากรณีตัวอยา่ ง ระบบทีจ่ อดรถอัจฉรยิ ะและกลไกการบาบัดผ้ปู ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมอง วธิ สี อนแบบใช้ปญั หาเป็นฐาน (Problem based Learning) เวลา 4 ชว่ั โมง แผนฯ ท่ี 2 : พฒั นาโครงงาน วธิ ีสอนแบบใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (Project based Learning) เวลา 6 ชว่ั โมง 8. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ 1) หนังสอื เรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.4 หนว่ ยการเรยี นที่ 3 ผลงานออกแบบและ เทคโนโลยี 2) ใบงานท่ี 3.1 เรอื่ ง พฒั นาโครงงาน
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 คาชแี้ จง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดไม่ใช่หลักสาคัญ ในการพัฒ นาโครงงาน 6. ขอ้ ใดถูกต้อง เก่ียวกับการสรา้ งภาพฉาย 1. เขียนง่ายและสะดวก ส่งิ ประดิษฐ์ 2. เข้าใจหลกั การออกแบบ 1. งบประมาณ 2. ความปลอดภยั 3. อธบิ ายวธิ ีการสร้างผลงาน 3. ความแปลกใหม่ 4. การใชง้ านได้จริง 4. ตกแตง่ สีสันตามความสวยงาม 5. ความสวยงาม 2. ขัน้ ตอนการรวบรวมขอ้ มูลและแนวคดิ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง มี 5. ภาพเดยี วกส็ ามารถมองได้ชดั เจน 7. ขอ้ ใดไม่ถกู ต้อง ในการประเมินผลของการพฒั นา จุดประสงคเ์ พอ่ื สงิ่ ใดมากทสี่ ุด 1. ใชเ้ ปน็ เอกสารอา้ งองิ 2. เพิ่มความนา่ เช่อื ถือ โครงงาน 3. เขียนบรรณานุกรม 4. หาข้อมูลท่ีเก่ยี วข้อง 1. การเขยี นรายงาน 2. การจัดแสดงโครงงาน 3. การทาแผ่นพบั สรปุ 4. การประกวดแขง่ ขนั 5. มแี หลง่ ความร้ทู ่ีจะค้นควา้ 5. การนาเสนอปากเปลา่ 3. ขอ้ ใดไมถ่ กู ต้อง เกย่ี วกบั จุดประสงค์การพฒั นา 8. ขอ้ ใดเป็นขัน้ ตอนแรกในการวางแผนปฏบิ ัตงิ านของ โครงงานวิทยาศาสตร์ ระบบจอดรถอจั ฉรยิ ะ 1. ทาให้เป็นผูท้ ม่ี ีความรับผิดชอบ 1. วิเคราะหอ์ งค์ประกอบ 2. จดั หาแหล่งวัสดุ 2. ได้รับคาตอบของปัญหาที่สนใจ 3. ออกแบบชิ้นงาน 4. พิจารณาคุณสมบัติ 3. สร้างส่งิ ประดษิ ฐท์ ี่สามารถขายได้ 5. เปรยี บเทยี บความคุ้มค่าของอุปกรณ์ 4. สามารถนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้ 5. ได้พฒั นาตนเองและศักยภาพในการทางาน 9. การคัดเลอื กต้นแบบ “กลไกการบาบัดผูป้ ว่ ยโรคหลอด เลือด” ควรให้นา้ หนกั ความสาคัญกับส่งิ ใดมากท่ีสุด 4. ทักษะการสงั เกตของนักเรียนทาใหเ้ กดิ ส่งิ ใดเป็น 1. Simple 2. Threat อนั ดบั แรก 3. Interference 4. Adjustable 1. ปัญหา 2. สมมติฐาน 5. Portable 3. การทดลอง 4. วัตถุประสงค์ 10. “การสร้างระบบจอดรถอจั ฉริยะ” ช่วยแก้ไขปัญหาการ 5. อภิปรายการทดลอง 5. การจัดนทิ รรศการการแสดงโครงงานควรคานงึ ถงึ สง่ิ จอดรถ ยกเว้นข้อใด 1. ประหยัดเวลาหาท่จี อด ใดมากที่สดุ 1. เวลาที่จัดแสดงพอเหมาะ 2. ลดการโจรกรรมของในรถ 2. สิ่งประดษิ ฐค์ วรอยู่ในสภาพที่ทางานสมบูรณ์ 3. ลดความแออดั และวุ่นวาย 3. ความปลอดภยั 4. ตรวจพบตาแหน่งทีจ่ อดว่าง 4. ความเหมาะสมของเน้ือหาทจ่ี ัดแสดง 5. ผูข้ ับทราบถงึ ตาแหนง่ ท่วี ่างจอด 5. ความสวยงาม ดึงดดู ความสนใจของผู้ชม เฉลย 1. 5 2. 4 3. 3 4. 1 5. 2 6. 5 7. 4 8. 3 9. 1 10. 2
แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 คาชีแ้ จง : ใหน้ ักเรียนเลือกคาตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดไม่ใช่หลักสาคัญ ในการพัฒ นาโครงงาน 6. ข้อใดถกู ต้อง เก่ยี วกับการสรา้ งภาพฉาย สิง่ ประดษิ ฐ์ 1. เขียนงา่ ยและสะดวก 1. งบประมาณ 2. ความปลอดภัย 2. เข้าใจหลักการออกแบบ 3. ความแปลกใหม่ 4. การใชง้ านไดจ้ รงิ 3. อธบิ ายวิธกี ารสร้างผลงาน 5. ความสวยงาม 4. ตกแตง่ สีสนั ตามความสวยงาม 2. ข้นั ตอนการรวบรวมข้อมลู และแนวคดิ ทีเ่ ก่ยี วข้อง มี 5. ภาพเดียวกส็ ามารถมองได้ชัดเจน 7. ข้อใดไม่ถูกต้อง ในการประเมินผลของการพัฒนา จดุ ประสงคเ์ พ่อื สิ่งใดมากทีส่ ุด 1. ใช้เป็นเอกสารอ้างอิง 2. เพม่ิ ความน่าเช่ือถือ โครงงาน 3. เขียนบรรณานุกรม 4. หาข้อมูลทีเ่ ก่ียวข้อง 1. การเขยี นรายงาน 2. การจัดแสดงโครงงาน 3. การทาแผน่ พับสรุป 4. การประกวดแข่งขนั 5. มแี หล่งความรู้ท่ีจะค้นควา้ 5. การนาเสนอปากเปล่า 3. ข้อใดไมถ่ ูกต้อง เกย่ี วกบั จดุ ประสงค์การพฒั นา 8. ขอ้ ใดเปน็ ขั้นตอนแรกในการวางแผนปฏิบัตงิ านของ โครงงานวิทยาศาสตร์ ระบบจอดรถอจั ฉริยะ 1. ทาให้เป็นผทู้ มี่ ีความรบั ผิดชอบ 1. วิเคราะหอ์ งค์ประกอบ 2. จดั หาแหล่งวสั ดุ 2. ไดร้ ับคาตอบของปัญหาท่ีสนใจ 3. ออกแบบชน้ิ งาน 4. พจิ ารณาคุณสมบตั ิ 3. สรา้ งสิง่ ประดษิ ฐ์ทีส่ ามารถขายได้ 5. เปรียบเทยี บความคุ้มค่าของอุปกรณ์ 4. สามารถนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้ 5. ได้พฒั นาตนเองและศกั ยภาพในการทางาน 9. การคดั เลอื กต้นแบบ “กลไกการบาบดั ผปู้ ่วยโรคหลอด เลอื ด” ควรให้น้าหนกั ความสาคญั กบั สงิ่ ใดมากท่ีสุด 4. ทักษะการสงั เกตของนกั เรยี นทาให้เกิดสิง่ ใดเปน็ 1. Simple 2. Threat อนั ดบั แรก 3. Interference 4. Adjustable 1. ปัญหา 2. สมมตฐิ าน 5. Portable 3. การทดลอง 4. วัตถปุ ระสงค์ 10. “การสรา้ งระบบจอดรถอจั ฉรยิ ะ” ช่วยแก้ไขปัญหาการ 5. อภปิ รายการทดลอง 5. การจัดนิทรรศการการแสดงโครงงานควรคานงึ ถงึ ส่ิง จอดรถ ยกเว้นข้อใด 1. ประหยดั เวลาหาท่ีจอด ใดมากท่ีสุด 1. เวลาท่ีจัดแสดงพอเหมาะ 2. ลดการโจรกรรมของในรถ 2. ส่ิงประดิษฐค์ วรอยู่ในสภาพที่ทางานสมบูรณ์ 3. ลดความแออดั และว่นุ วาย 3. ความปลอดภยั 4. ตรวจพบตาแหน่งทจ่ี อดวา่ ง 4. ความเหมาะสมของเน้ือหาทีจ่ ดั แสดง 5. ผู้ขับทราบถงึ ตาแหน่งท่วี ่างจอด 5. ความสวยงาม ดึงดดู ความสนใจของผู้ชม เฉลย 1. 5 2. 4 3. 3 4. 1 5. 2 6. 5 7. 4 8. 3 9. 1 10. 2
แบบประเมินการนาเสนอผลงาน คาชีแ้ จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องท่ี ตรงกับระดับคะแนน ลาดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเน้ือหา 2 ความคิดสรา้ งสรรค์ 3 วธิ กี ารนาเสนอผลงาน 4 การนาไปใช้ประโยชน์ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงช่อื ................................................... ผู้ประเมนิ ............/................./................... เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ สมบรู ณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกบั รายการประเมนิ เป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ บางส่วน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรงุ
แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล คาช้แี จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องท่ี ตรงกบั ระดบั คะแนน ลาดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1 32 1 การแสดงความคิดเหน็ 2 การยอมรับฟงั ความคิดเห็นของผู้อ่นื 3 การทางานตามหน้าทท่ี ไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 4 ความมนี ้าใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชื่อ ................................................... ผ้ปู ระเมิน ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ ............/.................../................ ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยคร้ัง ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14–15 ดมี าก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ากวา่ 8 ปรับปรงุ
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ คาชีแ้ จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน ลาดับท่ี ชอ่ื –สกุล การแสดง การยอมรบั การทางาน ความมนี า้ ใจ การมี รวม ของนกั เรยี น ความคดิ เหน็ ฟังคนอื่น ตามท่ไี ด้รับ ส่วนรว่ มใน มอบหมาย การปรับปรงุ 15 ผลงานกลมุ่ คะแนน 321321321321321 เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงชอ่ื ................................................... ผ้ปู ระเมิน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ............./.................../............... ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครงั้ ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางครง้ั ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 14–15 ดีมาก 11–13 ดี 8–10 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรงุ
แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คาช้ีแจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดบั คะแนน คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน อันพึงประสงค์ดา้ น 321 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาตไิ ด้ 1.2 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทีส่ รา้ งความสามัคคีปรองดอง และเป็นประโยชน์ ตอ่ โรงเรียน 1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาทีต่ นนับถอื ปฏิบตั ิตามหลกั ศาสนา 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมทเ่ี กยี่ วกับสถาบันพระมหากษตั ริยต์ ามท่ีโรงเรยี นจดั ข้ึน 2. ซ่ือสัตย์ สุจริต 2.1 ใหข้ อ้ มลู ทถี่ กู ต้องและเป็นจรงิ 2.2 ปฏบิ ตั ใิ นส่งิ ที่ถกู ตอ้ ง 3. มีวินยั รับผิดชอบ 3.1 ปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบงั คับของครอบครัว มีความตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัติกิจกรรมตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจาวนั 4. ใฝ่เรยี นรู้ 4.1 รู้จักใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ และนาไปปฏบิ ัติได้ 4.2 รจู้ ักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม 4.3 เช่ือฟังคาสงั่ สอนของบิดา-มารดา โดยไมโ่ ตแ้ ย้ง 4.4 ต้งั ใจเรยี น 5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรพั ย์สินและสง่ิ ของของโรงเรียนอยา่ งประหยดั 5.2 ใช้อปุ กรณก์ ารเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณคา่ 5.3 ใชจ้ ่ายอย่างประหยัดและมกี ารเก็บออมเงนิ 6. ม่งุ มนั่ ในการทางาน 6.1 มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทางานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไมท่ ้อแทต้ อ่ อปุ สรรคเพอ่ื ใหง้ านสาเรจ็ 7. รกั ความเปน็ ไทย 7.1 มีจิตสานกึ ในการอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย 7.2 เห็นคณุ ค่าและปฏบิ ัตติ นตามวฒั นธรรมไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 8.1 รจู้ ักชว่ ยพ่อแม่ ผปู้ กครอง และครูทางาน 8.2 รู้จักการดูแลรักษาทรัพยส์ มบตั ิและสิ่งแวดล้อมของหอ้ งเรยี นและโรงเรยี น ลงช่ือ .................................................. ผปู้ ระเมิน ............/.................../................ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ชิ ัดเจนและสม่าเสมอให้ 3 คะแนน 51–60 ดีมาก พฤตกิ รรมทป่ี ฏบิ ัติชัดเจนและบอ่ ยครง้ั ให้ 2 คะแนน 41–50 ดี 30–40 พอใช้ พฤตกิ รรมที่ปฏิบัติบางครัง้ ให้ 1 คะแนน ตา่ กวา่ 30 ปรบั ปรงุ
แบบประเมนิ โครงงานประเภทส่ิงประดิษฐ์ คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ลงในชอ่ งท่ี ตรงกบั ระดบั คะแนน ลาดบั รายการประเมิน ระดับคะแนน 321 1. การออกแบบส่ิงประดษิ ฐ์ 2. คุณภาพการใช้งานไดจ้ ริง 3. มีความคดิ ริเร่มิ สร้างสรรค์ 4. ประหยัดและคุ้มคา่ 5. การนาไปใช้ประโยชน์ได้จรงิ 6. การตอบข้อซกั ถาม/การนาเสนอผลงาน 7. ความเปน็ ไปไดใ้ นการต่อยอด 8. รูปแบบการเขยี นรายงาน ลงชอ่ื .................................................. ผปู้ ระเมนิ ............/.................../................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมินสมบูรณช์ ดั เจน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ เป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ บางส่วน ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ 21–24 ดีมาก 16–20 ดี 12–15 พอใช้ ต่ากวา่ 12 ปรับปรงุ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศกึ ษากรณีตวั อย่าง ระบบทีจ่ อดรถอจั ฉรยิ ะและกลไกการบาบัดผูป้ ่วยโรคหลอดเลอื ดสมอง เวลา 4 ชั่วโมง 1. มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด ว 4.1 ม.4/5 ใช้ความรู้ และทักษะท่ีเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ กลไก และไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และ เทคโนโลยีทซี่ ับซ้อนในการแกป้ ัญหาหรอื พฒั นางาน ได้อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายการประยกุ ตใ์ ช้กระบวนการเชงิ วิศวกรรมจากการศึกษากรณีตัวอย่าง (K) 2. อธบิ ายเก่ียวกบั การแกป้ ัญหาจากการศึกษากรณีตัวอยา่ งผ่านกระบวนการเชิงวศิ วกรรมได้ (P) 3. วิเคราะห์สาเหตุ หรือปจั จยั ที่สง่ ผลต่อการแกป้ ัญหาจากการศกึ ษากรณีตัวอย่างได้ (P) 4. เหน็ คณุ ประโยชนข์ องการเรียนวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี และตระหนักในคุณค่าของความรไู้ ป แกป้ ญั หาใชใ้ นชวี ติ ประจาวัน (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถนิ่ - วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้สังเคราะห์ โลหะ จึง พิจารณาตามหลักสูตรของ ตอ้ งมีการวิเคราะห์สมบตั เิ พือ่ เลือกใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั ลักษณะของงาน สถานศึกษา - การสร้างช้ินงานอาจใช้ความรู้ เร่ือง กลไก ไฟฟา้ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เช่น LDR sensor เฟือง รอก คาน วงจรสาเร็จรปู - อุปกรณ์และเครื่องมือในการสร้างช้ินงาน หรือพัฒนาวิธีการมีหลาย ประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทั้งรู้จัก เก็บรกั ษา 4. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด ผลงานการออกแบบและเทคโนโลยี สามารถศึกษากรณีตัวอย่างแล้วสร้างสรรค์พัฒนาเป็นโครงงานท่ีสนใจ โดยเลอื กใช้วัสดแุ ต่ละประเภทมีสมบัตแิ ตกต่างกนั เชน่ ไม้สังเคราะห์ โลหะ จงึ ต้องมีการวิเคราะห์สมบตั ิเพ่ือเลอื กใช้ ให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน สาหรับการสรา้ งชนิ้ งานอาจใช้ความรู้ เร่ือง กลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เช่น LDR sensor เฟือง รอก คาน วงจรสาเร็จรูป และอุปกรณ์และเครื่องมือในการสร้างช้ินงาน หรือพัฒนาวิธีการมีหลาย ประเภท ต้องเลอื กใช้ใหถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทัง้ รจู้ ักเก็บรักษา 5. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มีวนิ ัย รับผิดชอบ 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทางาน 1) ทักษะการคิดวเิ คราะห์ 2) ทกั ษะการคิดอย่างสร้างสรรค์ 3) ทักษะการคดิ อยา่ งเป็นระบบ
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : ใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem based Learning) ช่ัวโมงที่ 1 ข้ันนา ขน้ั กาหนดปัญหา 1. ครูเปิดคลิปวิดีโอข่าวสถานการณ์ท่ีน่าสนใจ “มหาศึกแย่งท่ีจอดรถในห้าง” แล้วกระตุ้นความสนใจของ นกั เรียนโดยการต้งั คาถามว่า จากเหตุการณ์ท่เี กิดขึ้นเปน็ เพราะเหตุใดบา้ ง ทาไมจงึ เป็นเชน่ นี้ 2. ครูถามคาถามกระตุ้นความคิด จากคลิปวิดีโอ ปัญหาที่จาเป็นต้องแก้คืออะไร มีวิธีการแก้ปัญหานั้นควร เป็นอย่างไร และมีผลต่อการดาเนินชีวิตประจาวันอยา่ งไร แล้วให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและ ตอบคาถาม (แนวตอบ : เนื่องจากปัจจบุ ัน จานวนประชากรมีมากขึ้นรวมถงึ ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีกม็ ีขน้ึ ตามไป ด้วย ส่งผลถึงรถยนตเ์ ป็นอีกปัจจยั ที่ใช้ในการอานวยความสะดวก จนทาให้ทีจ่ อดรถไม่เพียงพอ ในสถานท่ี สาคญั ๆ เช่น โรงพยาบาล หา้ งสรรพสินค้า เปน็ ต้น อาจก่อให้เกิดการทะเลาะวิวาทเพ่อื แยง่ ท่ีจอดรถกนั ได้ เพราะถ้าท่ีจอดรถมีน้อยการหาที่จอดรถกย็ าก เสียเวลา ส่งผลทาใหค้ วามใจรอ้ นววิ าทกันได้ ถ้าปริมาณรถ ท่เี พ่มิ ขึ้นทาให้เกดิ การแย่งชงิ พ้ืนทีจ่ อดรถ มนษุ ยจ์ ึงควรคดิ ค้นเทคโนโลยรี ะบบจอดรถเพือ่ แก้ปัญหาในคร้ัง น้)ี 3. นกั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น ขน้ั สอน ขน้ั กาหนดปัญหา 1. ครูกาหนดหัวข้อให้นักเรียนศึกษาปัญหา กรณีตัวอย่าง 2 หัวข้อ คือ ระบบที่จอดรถอัจฉริยะและกลไกการ บาบัดผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง 2. นักเรยี นแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 3 – 4 คน ค้นหาคลิปในหัวข้อ ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยขี องระบบที่จอดรถ ทีท่ นั สมัย 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายข้อมูลที่สืบค้นได้ภายในกลุ่ม แล้วร่วมกันสรุปในประเด็น “ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีของระบบที่จอดรถทท่ี ันสมยั ” ลงในกระดาษ A4 แล้วนามาส่งครูเพื่อให้ครู ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง 4. ครูสุ่มให้นักเรียนแต่ละกลุ่มพลัดกันเป็นฝ่ายถามและให้เลือกนักเรียนต่างกลุ่มเป็นฝ่ายตอบ ในประเด็น ความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยีของระบบทีจ่ อดรถที่ทนั สมัย เช่น ความก้าวหน้าของเทคโนโลยขี องระบบท่ีจอดรถทที่ ันสมัย ช่วยในการแกไ้ ขปญั หาอยา่ งไร
(แนวตอบ : ช่วยลดเวลาในการวนหาที่จอดรถยนต์ ลดปัญหาไม่มีที่จอดรถ ป้องกันการเกิด ความแออัดและวุ่นวาย ทาให้ผู้ขับทราบตาแหน่งที่ว่างในการจอดรถ และป้องกันปัญหาการแย่งท่ี จอดรถยนต์ ) 5. นักเรียนกลุ่มเดิม สบื คน้ ขอ้ มูลเพ่ิมในหวั ขอ้ ที่ 2 อาการของผูป้ ่วยโรคหลอดเลือดสมอง 6. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกันอภิปรายข้อมูลที่สืบคน้ ได้ภายในกลุ่ม แล้วร่วมกันสรุปในประเด็น “อาการของ ผ้ปู ว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมอง” ลงในกระดาษ A4 แล้วนามาส่งครเู พ่อื ให้ครตู รวจสอบความถกู ต้อง 7. ครูสุ่มให้นักเรียนแต่ละกลุ่มผลัดกันเป็นฝ่ายถามและให้เลือกนักเรียนต่างกลุ่มเป็นฝ่ายตอบ ในประเด็น อาการของผู้ปว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง เชน่ จากอาการของผู้ปว่ ยโรคหลอดเลอื ดสมอง เราควรมีวิธชี ว่ ยเหลอื อย่างไร (แนวตอบ : ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจะมีอาการของสมองที่ไม่ปกติ อาจมีโอกาสเป็นโรค อัมพาตหรือโรคอัมพฤกษ์ร่วมด้วย ซึ่งส่งให้การทากิจกรรมต่างๆ ไม่สะดวกสบาย เนื่องจากการ สายตาพร่ามัว ร่างกายมีอาการชา อ่อนแรง เป็นต้น ดังน้ัน การใช้วิธีกายภาพบาบัดจะสามารถช่วย ฟื้นฟูผู้ป่วยได้เป็นอย่างดี หรือใช้เทคโนโลยีมาช่วยสร้างสรรค์สิ่งที่ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถดูแลตนเอง และสามารถดารงชีวิตได้อย่างปกติ) ช่ัวโมงที่ 2 ข้ันสอน ขั้นทาความเข้าใจปญั หา 1. ครนู าปา้ ยคาวา่ “กรณีตัวอย่าง ระบบทจ่ี อดรถอัจฉริยะและกลไกการบาบัดผู้ป่วยโรคหลอดเลอื ดสมอง” ไปติดไว้ดา้ นหน้าห้อง ให้นักเรยี นแต่ละกลุ่ม แบ่งหน้าท่ีเพ่ือไปศกึ ษาปัญหาในกรณีตัวอย่าง ตามสถานที่ที่ ใกล้โรงเรยี นและกลมุ่ ของตนเองสนใจ โดยแต่ละทไี่ มซ่ ้ากัน เชน่ ห้างสรรพสนิ คา้ โรงพยาบาล เปน็ ต้น 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มแยกย้ายไปศึกษาปัญหา จากกรณีตัวอย่าง และเก็บรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่ เก่ียวข้อง จากแหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรยี น เช่น การสัมภาษณ์ การสังเกตการณ์ การร่วมประสบการณ์ เป็นต้น หรือการรวบรวมข้อมูลแหลง่ เรียนรู้ภายในโรงเรียน โดยศึกษาจากหนังสือ รายงานวิจยั บทความ เป็นต้น ตามความเหมาะสมและความสนใจของแต่ละกลุ่ม เพ่ือกลับมาอภปิ รายถงึ ทาความเข้าใจถึงปัญหา และการแก้ปัญหา (โดยถา้ แตล่ ะสถานท่อี ยู่ไกล ครอู าจมอบหมายให้การรวบรวมข้อมลู นอกสถานที่ทาเป็น การบ้าน กอ่ นถงึ เวลาเรียน แล้วแต่ดุลยพนิ ิจของครู) ชั่วโมงท่ี 3 ขน้ั สอน ข้นั การดาเนินการศึกษาค้นควา้ 1. นักเรยี นแต่ละกล่มุ กลบั สูห่ อ้ งเรียน ระบปุ ญั หาหรือนวัตกรรมท่ตี อ้ งการพัฒนา “กรณตี ัวอยา่ ง ระบบท่ีจอด รถอัจฉริยะและกลไกการบาบดั ผปู้ ่วยโรคหลอดเลือดสมอง” พรอ้ มทั้งร่วมกันอภิปราย ตั้งคาถามในประเด็น ที่อยากรู้ ระดมสมองอธิบายสถานการณ์ของปัญหา ทาสรุปลงในกระดาษ A4 ตามประเด็น ดังนี้ ปญั หาที่จาเปน็ ต้องแก้คอื อะไร ใครคือผทู้ ี่เผชิญปัญหาทีเ่ ราจาเป็นต้องแก้
เหตุใดปัญหานีจ้ ึงจาเป็นตอ้ งแก้ จากการรวบรวมขอ้ มลู และแนวคดิ ที่เกีย่ วขอ้ งเป็นอย่างไร แนวทางการแก้ปญั หาเป็นอยา่ งไร แลว้ ร่วมกนั นาเสนอความรทู้ ่ไี ดศ้ กึ ษามา พรอ้ มท้ังออกแบบวิธีการนาเสนอผลงานทน่ี า่ สนใจ 2. ครูจับฉลากเพื่อให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานตามที่ได้ศึกษามา ทีละกลุ่ม จนครบทุก กล่มุ เมื่อแตล่ ะกลุ่มเสนอผลงานจบแลว้ ใหน้ าผลงานไปตดิ ไว้ตามบรเิ วณรอบๆ หอ้ งเรียน 3. ครูให้เวลานักเรียน 3 นาที ในการเดินชมผลงานของกลุ่มอื่นๆ เพื่อเปรียบเทียบกับผลงานของกลุ่มตนเอง จากน้นั ใหน้ ักเรียนรว่ มกันวเิ คราะหส์ ถานการณข์ องปญั หาเปน็ อยา่ งไร ขนั้ สังเคราะห์ความรู้ 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษากรณีตัวอย่าง จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยี (การ ออกแบบและเทคโนโลยี) ม.4 หน้า 37-58 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มแยกย้ายไปแลกเปล่ียนข้อมูล ความคิดเห็น กับกลุ่มอื่นๆ โดยแต่ละคนนาความรู้ที่ได้ จากการอภิปรายกับกลุ่มอ่ืนๆ มานาเสนอภายในกลุ่มตนเอง พร้อมทั้งช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง เหมาะสม และหาความรู้เพ่มิ เติม 3. นักเรียนแต่ละกลมุ่ อภิปรายรว่ มกันเพื่อหาข้อสรุปองค์ความรู้ที่ได้ จากการศึกษากรณีตัวอย่าง “ระบบท่ี จอดรถอัจฉริยะและกลไกการบาบัดผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง” แล้วจัดทาเป็นแผนผังความคิด แล้ว รว่ มกนั ออกแบบวธิ กี ารนาเสนอทนี่ า่ สนใจ 4. ครูจับฉลากนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานตามที่ได้ออกแบบเอาไว้ทีละกลุ่ม จนครบทุก กลุ่ม ขณะท่ีนักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอให้ครูคอยแนะนาและเสริมข้อมูลที่ถูกต้องให้นักเรียน เมื่อแต่ละ กลุ่มเสนอผลงานจบแล้วให้นาผลงานเผยแพร่ทางส่ือออนไลน์ ทางใดก็ได้ เช่น facebook, website โรงเรียน, Dek-D.com เป็นตน้ เพือ่ นาความร้ไู ปใช้บริการสังคม เพือ่ อาจเปน็ ประโยชนต์ ่อผอู้ นื่ ได้ ชว่ั โมงที่ 4 ข้นั สรุป ข้ันสรปุ และประเมินคา่ ของคาตอบ 1. ครกู าหนดหวั ข้อ “การออกแบบพฒั นาตอ่ ยอดวิธกี ารหรอื ช้ินงานจากการศึกษากรณตี วั อย่าง” 2. นักเรียนแต่ละกลุ่ม อภิปรายร่วมกันเพ่ือหาข้อสรุปหาแนวทางการพฒั นาต่อยอดวิธกี ารหรือชน้ิ งานของ กลุ่มตนเอง แล้วจดั ทาวธิ ีการนาเสนอเป็น PowerPoint โดยมีครูเป็นทป่ี รกึ ษา ตรวจสอบความถูกตอ้ งของ วิธกี าร และสังเกตการณอ์ ภปิ รายเกี่ยวกบั ความร้ทู ีไ่ ดจ้ ากการศึกษากรณีตวั อย่าง 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานของกลุ่มตนเอง ขณะท่ีนักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอให้ครูคอย แนะนาเพมิ่ เตมิ และเปิดโอกาสใหเ้ พือ่ นกลมุ่ อืน่ เสนอความคดิ เห็นได้ 4. เม่ือนักเรียนนาเสนอผลงานเรียบรอ้ ยแล้ว แก้ไข ปรับปรุงข้อมลู แล้วให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่ม นาผลงานของ กลุ่มตนเองเผยแพรท่ างส่ือออนไลน์ ทางใดกไ็ ด้ เช่น facebook, website โรงเรยี น, Dek-D.com เปน็ ตน้ เพอ่ื นาความรไู้ ปใช้บริการสังคม เพอ่ื อาจเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้อ่ืนได้
ขั้นนาเสนอและประเมินผลงาน 1. ครูตรวจและประเมินผลแผนผังความคิด เร่ือง ศกึ ษากรณีตัวอย่าง ระบบท่ีจอดรถอจั ฉริยะและกลไกการ บาบดั ผู้ปว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง 2. ครูตรวจและประเมินผลการนาเสนอ เร่ือง การออกแบบพัฒนาต่อยอดวิธีการหรือชิ้นงานจากการศึกษา กรณีตวั อย่าง 3. ครปู ระเมนิ ผล โดยสงั เกตการตอบคาถาม การรว่ มกันทาผลงาน และการนาเสนอผลงาน 7. การวดั และประเมนิ ผล รายการวัด วิธวี ดั เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมิน 7.1 การประเมินชน้ิ งาน/ - ตรวจผงั ความคดิ แบบประเมนิ ชน้ิ งาน/ ระดบั คณุ ภาพ 2 ภาระงาน (รวบยอด) เร่ืองระบบที่จอดรถ ภาระงาน ผา่ นเกณฑ์ อจั ฉริยะและกลไก การบาบดั ผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมอง 7.2 การประเมินก่อนเรียน ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรยี น ประเมนิ ตามสภาพจริง - แบบทดสอบก่อนเรยี น กอ่ นเรยี น หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เร่ือง ผลงานออกแบบ และเทคโนโลยี 7.3 การประเมนิ ระหว่างการ ระดับคุณภาพ 2 จัดกจิ กรรม ผา่ นเกณฑ์ 1) ศึกษากรณีตัวอยา่ ง ระบบ - แผนผังความคิด - แผนผังความคิด ท่จี อดรถอจั ฉริยะและกลไก การบาบัดผู้ป่วยโรคหลอด เลือดสมอง 2) การนาเสนอผลงาน - ประเมนิ การนาเสนอ - ผลงานท่นี าเสนอ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผลงาน ผา่ นเกณฑ์ 3) พฤติกรรมการทางาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 รายบคุ คล การทางานรายบคุ คล การทางานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
รายการวัด วธิ วี ดั เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมิน 4) พฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2 การทางานกล่มุ การทางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์ 5) คณุ ลักษณะ - สงั เกตความมีวนิ ัย - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2 อันพึงประสงค์ รบั ผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ คุณลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ และมงุ่ ม่นั ในการ อนั พึงประสงค์ ทางาน 8. ส่ือ/แหล่งการเรียนรู้ 8.1 ส่ือการเรียนรู้ 1) หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพ้ืนฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.4 หนว่ ยการเรยี นที่ 3 ผลงานออกแบบ และเทคโนโลยี
9. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รบั มอบหมาย ขอ้ เสนอแนะ ลงชอ่ื (นายเสนห่ ์ สายต่างใจ) ผ้อู านวยการโรงเรยี นเกาะคาวทิ ยาคม 10. บันทึกผลหลังการสอน ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ปัญหา / อปุ สรรค ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ แนวทางแกป้ ัญหาO ปกติO วจิ ยั ในช้นั เรยี น ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ลงช่อื .............................................................. (นางสาวบุศริน เหมทานนท์) ครูผ้สู อน ขอ้ คดิ เหน็ ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ ................................................................... (นางสาววราภรณ์ กุณาบตุ ร) ตาแหนง่ หัวหน้างานวชิ าการ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 พฒั นาโครงงาน เวลา 6 ชั่วโมง 1. มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด ว 4.1 ม.4/5 ใช้ความรู้ และทักษะท่ีเก่ียวกับวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ กลไก และไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และ เทคโนโลยีที่ซับซอ้ นในการแกป้ ญั หาหรอื พฒั นางาน ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั 2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายการออกแบบพฒั นาโครงงาน ระบุปัญหาทตี่ อ้ งการแก้หรือตอบสนองความตอ้ งการได้ (K) 2. วเิ คราะหป์ ัญหา ออกแบบการแกป้ ญั หาผา่ นการพฒั นาโครงงานได้ (P) 3. ลงมือปฏิบัตพิ ัฒนาโครงงานแก้ปญั หาโดยใช้กระบวนการเชงิ วศิ วกรรมได้ (P) 4. เหน็ คณุ ประโยชนข์ องการเรยี นวชิ าการออกแบบและเทคโนโลยี และตระหนกั ในคณุ ค่าของความรูไ้ ป แก้ปัญหาใชใ้ นชวี ิตประจาวนั (A) 3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถน่ิ - วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้สังเคราะห์ โลหะ จึง พิจารณาตามหลกั สูตรของ ตอ้ งมกี ารวิเคราะหส์ มบตั เิ พ่ือเลือกใชใ้ ห้เหมาะสมกบั ลักษณะของงาน สถานศึกษา - การสร้างช้ินงานอาจใช้ความรู้ เรือ่ ง กลไก ไฟฟ้า อิเลก็ ทรอนิกส์ เช่น LDR sensor เฟอื ง รอก คาน วงจรสาเร็จรปู - อุปกรณ์และเครื่องมือในการสร้างช้ินงาน หรือพัฒนาวธิ ีการมีหลาย ประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมท้ังรู้จัก เกบ็ รักษา 4. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด การสร้างผลงานออกแบบและเทคโนโลยีหรือพัฒนาโครงงาน ควรคานึงถึงการเลือกใช้วัสดุแต่ละประเภทมี สมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้สังเคราะห์ โลหะ จงึ ต้องมีการวิเคราะห์สมบตั ิเพื่อเลือกใช้ใหเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะของงาน สาหรับการสร้างช้ินงานอาจใช้ความรู้ เร่ือง กลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เช่น LDR sensor เฟือง รอก คาน วงจร สาเร็จรูป และอุปกรณ์และเครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน หรือพัฒนาวิธีการมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทั้งร้จู ักเก็บรกั ษา การใชก้ ระบวนการเชิงวศิ วกรรมมาแก้ปัญหาหรือความต้องการผ่าน การพัฒนาโครงงาน ทาให้เกิดทักษะสู่การปฏิบัติ ซ่ึงเป็นการศึกษาเรื่องราวด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และ เทคโนโลยี ผ่านทางโครงงานประเภทประดิษฐ์ เป็นการประยกุ ต์ทฤษฎี หรอื หลักการทางวิทยาศาสตร์หรอื ดา้ นอื่นๆ มาประดษิ ฐ์ของเล่น เคร่ืองมือ เครื่องใช้หรืออุปกรณ์ เพ่ือประโยชน์ใช้สอยต่างๆ ซึง่ อาจจะเป็นส่ิงประดิษฐ์ใหม่ หรือ ปรับปรุงเปลยี่ นแปลงของเดิมให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ข้นึ หรือการสรา้ งแบบจาลองเพือ่ อธิบายแนวคิดต่างๆ
5. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี นและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มวี ินัย รับผิดชอบ 2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทางาน 1) ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ 2) ทกั ษะการคดิ อย่างสรา้ งสรรค์ 3) ทักษะการคดิ อย่างเปน็ ระบบ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. กิจกรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : ใช้โครงงานเปน็ ฐาน (Project based Learning) ชวั่ โมงที่ 1 ขน้ั นา ขั้นให้ความรู้พ้นื ฐาน 1. ครูพานักเรียนไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนโครงการห้องเรียนสีเขียว เพ่ือศึกษาการผลิต กระแสไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนหรอื การเข่ือนจาลองผลติ กระแสไฟฟ้า หรอื แหล่งเรียนรู้ภายนอกท่ีใกล้ โรงเรียน (พิจารณาตามความเหมาะสมและดุลพนิ ิจของคร)ู แล้วกระตนุ้ ความสนใจของนกั เรียนโดยการตั้ง คาถามว่า จากการศึกษาการผลิตกระแสไฟฟ้าจากเข่ือนจาลองหรือจากพลังงานทดแทนอื่นๆ นักเรยี นมี ความคิดเหน็ อย่างไร 2. ครูต้ังคาถามกระตุ้นความคิด จากการศึกษาพลังงานทดแทนสามารถนามาผลิตกระแสไฟฟ้าได้ นักเรียน สามารถนาเอาหลักการพัฒนาโครงงาน มาใช้ในการสร้างโครงงานส่ิงประดิษฐ์ที่ช่วยในการผลิต กระแสไฟฟา้ ใหเ้ ปน็ พลงั งานทดแทนไดอ้ ย่างไร แลว้ ให้นักเรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เห็นและตอบคาถาม (แนวตอบ : เทคโนโลยีปัจจุบันก้าวไกล ในการสร้างส่ิงประดิษฐห์ รือนวัตกรรมตา่ งๆ เราสามารถเรยี นร้ไู ด้ จากโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ซึ่งเป็นการศึกษาเรือ่ งราวด้านวทิ ยาศาสตร์ โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็น แนวทางในการแก้ปัญหาเพื่อให้ได้ผลงานท่ีมีความสมบูรณ์ โดยโครงงานประเภทประดิษฐ์ เป็นโครงงานท่ี เกี่ยวกับการประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์หรือด้านอ่ืนๆ มาประดิษฐ์เครื่องมือ เพ่ือ ประโยชน์ใช้สอยตา่ งๆ ซึ่งอาจจะเปน็ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมให้มีประสิทธิภาพ มากย่ิงขึ้น เพ่ือช่วยในการแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติกาลังจะขาดแคลน และเป็นการช่วยประหยัด พลงั งานไฟฟา้ ไดอ้ ีกด้วย) 3. ครูให้ความร้เู พ่ิมเติม เกี่ยวกบั จดุ มุ่งหมายของการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ กล่าวคอื ในการทาโครงงาน วิทยาศาสตรม์ ีจุดม่งุ หมาย ดังน้ี เพื่อฝึกให้นักเรียนสามารถนาเอาวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหา ศึกษาค้นคว้า หรือ ประดิษฐ์คิดคน้
เพื่อให้นักเรียนใช้ความรู้และประสบการณ์เลือกทาโครงงานตามที่สนใจ โดยการประยุกต์ใช้ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีในแต่ละท้องถิน่ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นไดศ้ กึ ษาค้นควา้ หาความรู้ หาขอ้ มูลจากแหล่งความรู้ต่างๆดว้ ยตนเอง เพื่อใหน้ ักเรียนไดแ้ สดงออกซ่งึ ความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ เพ่ือให้นักเรียนมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์ เห็นคุณค่าของการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการ แกป้ ญั หา 4. ครูนาโปสเตอร์ ตวั อยา่ งโครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทต่างๆ ไปตดิ ไว้ตามฐาน ครูให้นกั เรยี น แบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน โดยสมาชกิ ในกลุ่มแยกย้ายไปศกึ ษาฐานต่างๆ 5. นักเรียนรวมกลุ่มเดิม อภิปรายร่วมกันแล้วสรุปเก่ียวกับการรูปแบบและขั้นตอนการทาโครงงาน วิทยาศาสตร์ พร้อมท้ังศึกษา สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม เร่ือง การจัดทาโครงงานประเภทส่ิงประดิษฐ์ ตาม ประเด็นท่ีกาหนดให้ ดังน้ี ความหมายและความสาคัญของโครงงานประเภทส่งิ ประดษิ ฐ์ หลกั การการออกแบบท่ดี ีควรคานงึ ถงึ ส่ิงใด ข้ันตอนการทาโครงงานประเภทสง่ิ ประดิษฐ์ การประเมนิ ผลงานโครงงานประเภทสิง่ ประดษิ ฐ์ ขัน้ สอน ขัน้ กระตนุ้ ความสนใจ 1. ครูใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่ม สบื คน้ คลปิ วิดีโอ เกยี่ วกับ การแข่งขนั โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภทสง่ิ ประดิษฐ์ ระดับประเทศ และการแข่งขันการสร้างสิ่งประดิษฐ์ท่ีช่วยในการผลิตกระแสไฟฟ้า แล้วครูถามกระตุ้น ความสนใจนกั เรยี นวา่ จากคลปิ วดิ ีโอ นักเรยี นมีความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นการพัฒนาโครงงานไดอ้ ย่างไร 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปราย เกี่ยวกับ “พลังงานทดแทน” แล้วสุ่มให้นักเรียนตอบเกี่ยวกับ ความหมาย พร้อมยกตวั อย่างบอกข้อดีและขอ้ จากดั ของแต่ละพลังงาน 3-4 คน (แนวตอบ : พลังงานทดแทน หมายถึง พลังงานใดๆ ที่ใช้ทดแทนพลังงานหลัก เช่น พลังงาน ชีวภาพ พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานความร้อนใต้พิภพ เป็นต้น ส่วนข้อดีและข้อจากัดของ พลังงานแสงอาทิตย์ ขอ้ ดี คือ เปน็ พลงั งานท่สี ะอาด ไม่มีผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม เหมาะกับพน้ื ทีท่ ่ีสายส่ง ไฟฟ้าเข้าไม่ถึง สามารถใช้ได้อย่างไม่มีวันหมด ง่ายต่อการดูแลรักษา แต่มีข้อจากัด คือ ใช้ต้นทุนสูง ใช้ พน้ื ท่ีติดตั้งมาก ผลิตได้ไม่ส่าเสมอ ทาให้ขาดความตอ่ เนื่อง เนื่องจากการเกิดแสงแดดในเวลากลางวัน ซึ่ง ไม่อาจเกิดข้นึ ในเวลากลางคนื จงึ สง่ ผลใหก้ าลังผลิตน้อย) 3. ครูจัดเตรียมผลงานโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ของนักเรียนท่ีเคยได้รับรางวัลออกมาให้นักเรียนศึกษา จากผลงานส่ิงประดิษฐ์จริง พรอ้ มท้ังเตรียมวัสดุ อปุ กรณไ์ ฟฟ้า และอิเลก็ ทรอนิกส์ เชน่ ไม้ โลหะ พลาสติก เชือก สปริง สกรู ล้อและเพลา ล่ิม หลอดไฟLED ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ แบตเตอรี่ บัซเซอร์ สายไฟ มอเตอร์ วงจรไฟฟ้า แอมมเิ ตอร์ มัลตมิ ิเตอร์ เป็นต้น สว่ นอุปกรณ์เสริมอ่ืนๆใหแ้ ต่ละกลุ่มเตรยี มมาได้ตาม ส่วนประกอบสาคัญของแต่ละกลมุ่ เชน่ โซลา่ เซลล์ เปยี โซ่อิเล็คทรคิ หรอื จกั รยาน กังหนั ลม เป็นตน้ 4. ครูจดั เตรียมอุปกรณ์ แอมมิเตอรแ์ ละมัลติมิเตอร์ ในการทดสอบการใช้อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์เบ้ืองต้น โดยครเู ปน็ ผใู้ ห้ตรวจสอบความถูกต้องของทักษะการใชอ้ ปุ กรณข์ องนักเรยี น
ชว่ั โมงที่ 2 ขัน้ สอน ข้ันจัดกล่มุ ร่วมมือ 1. ครูกาหนดหัวข้อ สถิติการใช้ไฟฟ้าประจาปีของประเทศไทยและต่างประเทศ แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม สืบค้นข้อมูล (กล่มุ ละ 1 ประเทศ ไม่ซ้ากัน) แล้วผลดั กันนาเสนอขอ้ มูลของกลุ่มตนเอง พรอ้ มทั้งอภิปราย รว่ มกนั เกยี่ วกบั สถิติการใชไ้ ฟฟา้ ทั่วโลก 2. ครูถามคาถามกระตุ้นความคิด ว่า เนื่องจากสถิติการใช้ไฟฟ้าประจาปีของประเทศไทยและต่างประเทศ พบว่ามียอดการใชไ้ ฟฟา้ มากขึน้ ๆ ทกุ ปี ให้นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ อภิปรายร่วมกัน หาแนวทางในการแก้ปญั หา 3. ครูนาข้อความ “สิง่ ประดิษฐ์ท่ีช่วยในการผลิตกระแสไฟฟา้ ” ติดไว้หน้าห้องเรียน สุ่มถามนักเรียน 3 - 4 คน ให้แสดงคดิ เห็น ว่า นกั เรียนมวี ธิ กี ารพฒั นาโครงงานท่ีช่วยในการผลติ กระแสไฟฟา้ อย่างไร? 4. นักเรียนแต่ละกลุ่ม เก็บรวบรวมข้อมูลตามความสนใจของแต่ละกลุ่ม โดยใช้หลักการรวบรวมข้อมูลและ แนวคิดทเ่ี ก่ยี วขอ้ งตามขั้นตอนกระบวนการเชิงวิศวกรรม 5. ครูใหค้ วามร้เู พม่ิ เติมว่า ในการออกแบบสิง่ ประดิษฐ์ครงั้ นี้เราสร้างเป็นแบบจาลองหรือต้นแบบ โดยครูเป็น ผใู้ ห้คาปรึกษา และตรวจสอบความถกู ตอ้ งของเนือ้ หาของแต่ละกลุ่ม 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มปรึกษาหารือเพ่ือออกแบบผลงานพัฒนาโครงงาน ตามข้ันตอนกระบวนการเชิง วิศวกรรม 7. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลงานการออกแบบสิ่งประดษิ ฐ์ตามที่ได้ออกแบบเอาไว้ ทลี ะกลุ่ม หลังจากท่นี ักเรยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานแลว้ ครูเปิดโอกาสให้นักเรยี นกลุ่มอ่นื ร่วมกันอภิปราย ซักถาม ข้อสงสัยและข้อเสนอแนะร่วมกัน เม่ือแต่ละกลุ่มเสนอผลงานจบแล้วให้นาผลงานไปติดไว้ตามบริเวณ รอบๆ ห้องเรียน พร้อมทั้งเผยแพร่ผลงานของกลุ่มตนเองทางสื่อออนไลน์ ทางใดก็ได้ เช่น facebook , website โรงเรียน, Dek-D.com เป็นต้น เพื่อนาความรไู้ ปใช้บริการสังคม เพื่ออาจเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น ได้ ชัว่ โมงที่ 3-4 ข้ันสอน ขั้นแสวงหาความรู้ 1. นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ลงมอื ปฏบิ ัตจิ ัดทาการพัฒนาโครงงาน “ส่งิ ประดษิ ฐ์ทชี่ ่วยในการผลิตกระแสไฟฟา้ ” โดยมคี รเู ป็นที่ปรึกษา ใหค้ าแนะนาในการใชอ้ ุปกรณ์ และเคร่อื งมือ 2. นักเรียนแต่ละคนปฏิบัติหน้าที่ของตนตามข้อตกลงของกลุ่ม พร้อมทั้งร่วมมือกันปฏิบัติกิจกรรม โดยขอ คาปรกึ ษาจากครเู ป็นระยะเม่อื มีขอ้ สงสยั หรือปญั หาเกดิ ข้ึน 3. ครูเป็นผ้สู ังเกตพฤติกรรมการทาโครงงานร่วมกันของนกั เรยี น
ช่วั โมงท่ี 5 ขัน้ สรปุ ขั้นสรปุ ส่ิงทเ่ี รยี นรู้ 1. นักเรียนแต่ละกลุ่ม อภิปรายร่วมกันเพื่อจัดทารายงานโครงงานของกลุ่มตนเอง ตามหัวข้อ การเขียน รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทโครงงานประดิษฐ์ เพื่อจัดทาเล่มรายงาน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ บทที่ 1 บทนา -ท่ีมาและความสาคัญ -วัตถุประสงค์ -สมมติฐาน -ตัวแปรท่ีศึกษา -ขอบเขตการทดลอง -ประโยชน์ที่ได้รับ บทท่ี 2 เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง บทท่ี 3 วิธีการดาเนินการ บทที่ 4 ผลการทดลอง บทท่ี 5 สรุปผลและอภิปราย 2. ครูจัดการประกวด การแข่งขันพัฒนาโครงงาน โดยแต่ละกลุ่มจัดทาโปสเตอร์แสดงเน้ือหาโดยสังเขป พร้อมทั้งทาแผ่นพับเพื่อแจกสาหรับคณะกรรมการ โดยครูจัดเตรียมสถานที่ พร้อมทั้งคณะกรรมการ ตัดสิน (อาจจะประกอบไปด้วยครูผู้เช่ียวชาญด้านโครงงานและตัวแทนนักเรียน จัดตามความเหมาะสม) เพอื่ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ไดแ้ สดงผลงานและโปสเตอร์ โดยนักเรียนแต่ละกลุ่มอยู่ประจาที่โครงงานของตนเองเพ่ือ นาเสนอปากเปลา่ 3. คณะกรรมการเดินให้คะแนนแต่ละโครงงานไปเร่ือยๆ จนครบ แล้วประชุมคณะกรรมการเพ่ือตัดสินผล การประกวดแขง่ ขนั การพฒั นาโครงงาน ชัว่ โมงท่ี 6 ขั้นสรปุ ขน้ั สรุปส่งิ ท่ีเรยี นรู้ 1. ครสู รุป เก่ยี วกับการพฒั นาโครงงาน วา่ ปัจจุบนั ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสามารถช่วยในการแกป้ ญั หา อานวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของมนษุ ย์ โดยผา่ นการเลอื กใชว้ ัสดุ กลไก อปุ กรณ์ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนกิ ส์ เชน่ กลไกการเปล่ยี นยางรถยนต์ ขณะทาการแขง่ ขนั 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มทา Unit Question จากหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและ เทคโนโลยี) ม. 4 หน้า 59 3. นักเรียนแต่ละกล่มุ ลงมือปฏิบตั ิออกแบบระบบกลไกในการปล่อยอานรถจักรยาน พร้อมท้งั เขียนภาพร่าง สามมติ ิในการออกแบบโดยใช้โปรแกรม และทารายงานส่งครู พรอ้ มทั้งเผยแพรผ่ ลงานของกลุ่มตนเองทาง สื่อออนไลน์ ทางใดก็ได้ เช่น facebook, website โรงเรียน, Dek-D.com เป็นต้น เพื่อนาความรู้ไปใช้ บรกิ ารสงั คม เพอื่ อาจเปน็ ประโยชนต์ ่อผอู้ ื่นได้
5. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น ข้ันประเมนิ ข้นั นาเสนอและประเมนิ ผลงาน 1. ครตู รวจแบบทดสอบหลังเรียน 2. ครูตรวจและประเมนิ ผลการนาเสนอผลงาน 3. ครูตรวจและประเมนิ ผลการเขียนรายงานการพัฒนาโครงงาน 4. ครปู ระเมนิ ผล โดยสงั เกตการตอบคาถาม การร่วมกันทาผลงาน และการนาเสนอผลงาน 7. การวัดและประเมินผล รายการวัด วิธีวัด เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ 7.1 การประเมนิ ชนิ้ งาน/ ระดบั คุณภาพ 2 - เล่มรายงานการ - เล่มรายงาน ผา่ นเกณฑ์ ภาระงาน (รวบยอด) พฒั นาโครงงาน - โปสเตอร์ - โปสเตอร์การพัฒนา - แผน่ พบั ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ 7.2 การประเมนิ ระหว่างการ จดั กจิ กรรม โครงงาน 1) พฒั นาโครงงาน - แผน่ พบั การพฒั นา โครงงาน - ตรวจใบงานที่ 3.1 - ใบงานท่ี 3.1 2) การนาเสนอผลงาน - ประเมินการนาเสนอ - ผลงานทนี่ าเสนอ ระดับคณุ ภาพ 2 เกีย่ วกับการพฒั นา ผลงาน ผ่านเกณฑ์ โครงงาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 3) พฤตกิ รรมการทางาน การทางานรายบคุ คล การทางานรายบคุ คล ผ่านเกณฑ์ รายบุคคล 4) พฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2 การทางานกล่มุ การทางานกล่มุ ผา่ นเกณฑ์ 5) คุณลกั ษณะ - สังเกตความมีวนิ ัย - แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ 2 อนั พึงประสงค์ รบั ผิดชอบ ใฝ่เรียนรู้ คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์ และมุ่งม่นั ในการ อันพึงประสงค์ ทางาน 7.3 การประเมนิ หลังเรยี น ตรวจแบบทดสอบหลัง แบบทดสอบหลงั เรียน ประเมนิ ตามสภาพจรงิ - แบบทดสอบหลงั เรียน เรียน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรอ่ื ง ผลงานออกแบบและ เทคโนโลยี
8. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม.4 หนว่ ยการเรียนท่ี 3 ผลงานออกแบบและ เทคโนโลยี 2) ใบงานที่ 3.1 เรอ่ื ง พัฒนาโครงงาน
ใบงานที่ 3.1 เร่ือง พัฒนาโครงงาน คาชีแ้ จง : เตมิ ข้อความหรอื ความหมายของคาลงในช่องวา่ งให้ถูกต้อง 1. ให้คิดหัวข้อการพัฒนาโครงงาน แตล่ ะประเภทอย่างน้อยประเภทละ 1 โครงงาน โครงงานประเภทสารวจ โครงงานประเภทการทดลอง ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. …โค…ร…งง…า…น…ปร…ะ…เภ…ท…ส…่งิ …ป…ระ…ด…ิษ…ฐ์……………………………………. …โค…ร…งง…า…น…ปร…ะ…เภ…ท…ท…ฤ…ษ…ฎ…ี …………………………………………. ………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………. 2….……………1จ………)…ง………ย…ช………ก…่อื ต…………เวัร…………ออ่ื …………ยง…………่า………ง…ก…………า…………ร…………พ…………ฒั …………น…………า…………โ………ค…ร…………ง…………ง………า…น……………………พ…………ร…………้อ………ม…………ท…………ั้ง.…อ…………ธ…………บิ …………า...ย…….………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………….……………….……………………………………………………………………….………. 2) ปัญหา ………………………………………………………………………….……………….……………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………….……………….……………………………………………………………………….………. 3) บทคดั ยอ่ ………………………………………………………………………….……………….……………………………………………………………………….………. ………………………………………………………………………….……………….……………………………………………………………………….………. 4) ประโยชน์ในการนาไปใช้ ………………………………………………………………………….……………….……………………………………………………………………….………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ใบงานที่ 3.1 เฉลย เรื่อง พัฒนาโครงงาน คาช้ีแจง : เตมิ ขอ้ ความหรอื ความหมายของคาลงในช่องวา่ งใหถ้ กู ตอ้ ง 1. ใหค้ ิดหวั ข้อการพฒั นาโครงงาน แตล่ ะประเภทอย่างนอ้ ยประเภทละ 1 โครงงาน โครงงานประเภทสารวจ โครงงานประเภทการทดลอง 1. โครงงานการพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ภายในโรงเรียนและ 1. โครงงานการศกึ ษาประสทิ ธภิ าพการดดู ซับไขมันจาก ภายนอกโรงเรียน………………………………………………….. วสั ดุธรรมชาติ……………………………………………………… 2. โครงงานสารวจสภาพดนิ อุณหภูมิและความชื้น 2. โครงงานเปรยี บเทียบคณุ ภาพของน้าจากการใช้ บรเิ วณทีม่ เี ห็นโคนงอก………………………………………….. จลุ นิ ทรียบ์ าบดั ต่างชนดิ กัน............................................. โครงงานประเภทส่งิ ประดิษฐ์ โครงงานประเภททฤษฎี 1. โครงงานเครื่องปลอกเปลือกมะพร้าวอัตโนมัติ........... 1. โครงงานการศึกษาการกาเนดิ ของแผ่นดนิ ไหวใน 2. โครงงานเครื่องกลั่นนา้ พลังงานแสงอาทิตย์............... ประเทศไทย................................................................. 2. โครงงานการศกึ ษาค้นควา้ ตารายาแผนโบราณ...... 2. จงยกตวั อย่างการพัฒนาโครงงาน พร้อมทั้งอธบิ าย 1) ช่ือเรอื่ ง เครือ่ งตรวจทเุ รยี นอจั ฉรยิ ะ 2) ปัญหา เนือ่ งจากทเุ รยี นเปน็ ผลไม้เศรษฐกิจของประเทศไทย สามารถสง่ ออกขายท้งั ภายในประเทศและต่างประเทศ และ พบว่ามีการหลอกขายทุเรยี นออ่ น หรือสุกจนเกินไป ทง้ั ท่ที ุเรียนเปน็ ผลไม้ทีม่ รี าคาสงู ............................ 3) บทคดั ย่อ ทเุ รยี นเป็นผลไมเ้ ศรษฐกิจของประเทศไทย จึงตอ้ งสร้างเครอ่ื งตรวจทุเรียนอจั ฉรยิ ะ ซึ่งเป็นนวัตกรรมในการ ตรวจสอบระดบั ความสกุ ของทุเรียนได้ ตรวจสอบปริมาณเนือ้ ทเุ รยี นได้ สามารถบอกค่าเป็นแบบดิจติ อล ตดิ ตง้ั เครือ่ งตรวจวดั ระดบั นา้ ตาลไว้เพอ่ื ตรวจระดับความสุกของทุเรยี น ติดเครอื่ งวัดมวลเพื่อตรวจวดั มวลของเน้อื ทเุ รยี น เพอ่ื ทาให้ทเุ รยี นเป็นผลไมท้ ่ีสามารถตรวจสอบคุณภาพก่อนการซื้อขายได้............................ 4) ประโยชน์ในการนาไปใช้ 1. ทราบระดับความสกุ ของทเุ รยี นและปริมาณเน้อื ทเุ รียนที่อยู่ภายใน........................................................... 2. สรา้ งมาตรฐานคณุ ภาพสนิ ค้าของกระทรวงพาณชิ ย์………………………………………………………………………… 3. ลดการทะเลาะวิวาทระหว่างแมค่ ้าทุเรียนกบั ลูกคา้ สามารถวดั ค่าระดบั ความสุกของทุเรียนกอ่ นซอ้ื ขาย. (พจิ ารณาผลงานของนักเรียน และอยใู่ นดลุ ยพินิจของครู)
9. ความเห็นของผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรือผู้ที่ไดร้ ับมอบหมาย ข้อเสนอแนะ ลงช่ือ (นายเสนห่ ์ สายต่างใจ) ผอู้ านวยการโรงเรยี นเกาะคาวทิ ยาคม 10. บนั ทกึ ผลหลังการสอน ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ปญั หา / อปุ สรรค ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ แนวทางแก้ปัญหาO ปกติO วิจัยในช้ันเรยี น ....................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ลงชื่อ .............................................................. (นางสาวบุศริน เหมทานนท์) ครผู ูส้ อน ข้อคิดเห็น ............................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ ................................................................... (นางสาววราภรณ์ กุณาบุตร) ตาแหน่ง หวั หนา้ งานวชิ าการ
Search