ระบบสุริยะจกั รวาล
ระบบสุริยะจักรวาล ระบบสุริยะจกั วาลมี ดวงอาทติ ย์ เป็ นศูนย์กลาง ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะจักรวาลมีท้งั หมด 9 ดวง คือ 1. ดาวพธุ 2. ดาวศุกร์ 3. โลก 4. ดาวองั คาร 5. ดาวพฤหัส 6. ดาวเสาร์ 7. ดาวยูเรนัส 8. ดาวเนปจูน 9. ดาวพลูโต
ระบบสุริยะจักรวาล ระบบสุริยะจกั วาลดมวี งอาทติ เปย็์นศูนย์กลาง
ระบบสุริยะจักรวาล ดาวเคราะห์ทใี่ กล้ดวงอาทติ ย์ทส่ี ุดคือ ดาวพุธ ดาวพธุ อยูใ่ กลด้ วงอาทิตยท์ สี่ ุดเฉล่ีย ประมาณ ๖๐ ลา้ นกิโลเมตร ช่วงเวลาหนึ่ง วนั ของดาวพธุ (เวลาที่ดาวพุธหมุนรอบ ตวั เองครบหน่ึงรอบ) เทา่ กบั ๕๙ วนั ของ โลก บางคร้งั เราจะเห็นดาวพธุ ทางทศิ ตะวนั ตกตอนหวั คา่ หรอื ตอนใกลร้ ุง่ ทาง ทศิ ตะวนั ออกจะปรากฏเป็ น ดาวสว่างสีขาว ไม่ กระพรบิ แสงใกลข้ อบฟ้าเสมอ เรา สามารถมองเห็นดาวพธุ ไดด้ ว้ ยตาเปล่า
ระบบสุริยะจักรวาล ดาวเคราะห์ทีใ่ กล้ดวงอาทติ ย์เป็ นลาดับท่ี 2 คือ ดาวศุกร์ ดาวศุกร์มขี นาดเลก็ กว่าโลก ไม่มอี ะไรอาศัยอยู่เลย อุณหภูมพิ ืน้ ผวิ ประมาณ ๕๐๐ องศาเซลเซียสบรรยากาศ ของมนั ปกคลุมด้วยก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์หนาทบึ และเมฆของกรดกามะถัน ในบางคืนเราสามารถมองเห็น ดาวศุกร์ได้อย่างชัดเจนทางทศิ ตะวนั ตกตอนหัวคา่ หรือ ทางทศิ ตะวนั ออกตอนใกล้รุ่ง ถ้าเห็นในเวลาหัวคา่ เรียกว่าดาวประจาเมือง (Evening Star) ถ้าเห็นทาง ทศิ ตะวนั ออกเรียกว่าดาวรุ่งหรือดาวประกายพฤกษ์ (Morning Star) ดาวศุกร์เห็นสว่างรองจากดวงอาทติ ย์ และดวงจนั ทร์
ระบบสุริยะจักรวาล ดาวเคราะห์ทเ่ี ป็ นบริวารลาดบั ท่ี 3 ของดวงอาทติ ย์ คือ โลก โลกเป็ นดาวเคราะห์ดวงเดยี วที่พืน้ ผวิ ส่วนใหญ่ ปกคลุมด้วยน้า และมบี รรยากาศท่มี อี งค์ประกอบ ส่วนใหญ่เป็ นไนโตรเจนและออกซิเจนปัจจยั เหล่านีแ้ ละอุณหภูมทิ ีเ่ หมาะสมทาให้เป็ นสถานที่ ทเ่ี หมาะแก่การดารงชีวติ ตามท่ีเราต้องการ โลก เคล่ือนทร่ี อบดวงอาทติ ย์ด้วยความเร็วประมาณ ๑๑๐,๐๐๐ กโิ ลเมตรต่อช่ัวโมง อยู่ห่างดวงอาทติ ย์ ประมาณ ๑๕๐ ล้านกโิ ลเมตร เคล่ือนทีร่ อบดวง อาทิตย์ ๑ รอบ ใช้เวลา ๓๖๕.๒๖๕ วนั
ระบบสุริยะจักรวาล โครงสร้างของโลกและฤดูกาล โครงสร้างของโลก ฤดูกาลเกดิ ขนึ้ ได้อย่างไร สิบในล้านๆปี หลงั จากการเกดิ โลก ความร้อน ฤดูกาลเกดิ ขนึ้ เพราะแกนของโลกเอยี ง จากธาตุกมั มนั ตรังสี แรงโน้มถ่วง และการกระแทกจากอกุ ทามมุ กบั พื้นราบของวงโคจรท่โี คจรรอบดวง บาตทาให้เกดิ การหลอมละลายและการจาแนกแยกส่วน อาทติ ย์ฤดูร้อนของซีกโลกทางเหนือเกิดขนึ้ วตั ถุทีห่ นักกจ็ มลงในระดบั ลกึ และวตั ถุท่เี บากล็ อยขึน้ มา เพราะซีกโลกเหนือได้รับแสงอาทิตย์มากที่สุด ข้างบน ในระหว่างเวลาน้ันบรรยากาศเดมิ ซ่ึงเป็ นก๊าซ เนื่องจากแกนของโลกหันไปทางดวงอาทติ ย์ ใน ไฮโดรเจนถูกพดั พาออกไป โดยลมสุริยะ วตั ถุท่หี นักก็ รวมกนั เป็ นแกน และวตั ถุทเี่ บากว่ากจ็ ะทาให้เกดิ เป็ นผวิ ขณะเดยี วกนั ซีกโลกใต้จะเกดิ เป็ นฤดูหนาว บางๆ ผวิ บางๆนีไ้ ด้แตกออกเป็ นแผ่นๆ ซ่ึงจะแยกทวีปทเี่ ป็ น วฎั จักรการเกดิ ฤดูนีเ้ กดิ ขนึ้ ปี ละคร้ังตามเวลาที่ ผืนแผ่นนีไ้ ปด้วยและเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ การเคล่ือนไหวนี้ โลกเดนิ ทางรอบดวงอาทิตย์ ระยะทางจากโลกไป เรียกว่า การเคลื่อนท่ขี องทวปี หรือการสร้างแผ่นดิน ดวงอาทติ ย์ไม่ใช่ปัจจัยท่ีสาคญั ในการเกดิ ฤดูกาล เพราะว่าทวปี กาลงั ลอยอยู่บนผวิ บางๆ ช้ันทอี่ ยู่ระหว่างผวิ แต่การหันด้านของแกนโลกต่างหากที่สาคัญ บางๆ และเนื้อในเรียกว่า โมโฮโรวคิ กิ ดสี คอนทินิวตี หรือโม โฮถ ถ การหมุนรอบตวั เองของโลก
ระบบสุริยะจกั รวาล ดาวเคราะห์ทเี่ ป็ นบริวารลาดบั ที่ 4 ของดวงอาทติ ย์ คือ ดาวอังคาร ดาวองั คารนีเ้ ราทราบในช่ือหนึ่งว่า ดาวแดง ท้ังนีเ้ พราะว่ามี ฝ่ ุนสีส้มแดงฟุ้งกระจายปกคลุมพืน้ ผวิ ไว้หมด การเรียกช่ือ ดาวแดง จึงง่ายท่ีจะจดจา บรรยากาศของดาวองั คารประกอบ ด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซ่ึงมอี ยู่เบาบาง แกนของดาว องั คารทามุมเหมือนกบั ท่โี ลกทามุมกนั แกนโลก จึงทาให้เกดิ ฤดูกาลได้เหมือนกนั ซ่ึงเห็นได้เด่นชัดกว่าโลก นา้ แข็งทขี่ ้วั ดาวองั คารปกคลุมและละลายตามฤดูกาลน้ันเป็ นนา้ แข็งแห้ง ของคาร์บอนไดออกไซด์ ดาวองั คาร ห่างจากดวงอาทิตย์ ประมาณ ๒๒๕ ล้านกโิ ลเมตร เคลื่อนรอบดวงอาทติ ย์ ๑ รอบ ใช้เวลา ๖๘๗วนั ซ่ึงเกือบ ๒ เท่าของเวลาที่โลกเคลื่อนท่รี อบ ดวงอาทิตย์
ระบบสุริยะจกั รวาล ดาวอังคาร ภาพเปรียบเทียบขนาดของดาวองั คารกบั โลก การสงั เกตดาวองั คาร เรามองเห็นดาวองั คารไดด้ ว้ ยตาเปล่า ปรากฏคลา้ ยดาวฤกษส์ ีสม้ แดง ถา้ ดพู ้ นื ผวิ ของ ดาวองั คารตอ้ งใชก้ ลอ้ งโทรทรรศนก์ าลงั ขยายสูง ดาวองั คารมีบรวิ าร ๒ ดวง ชื่อ โฟบอล และ ดมี อส ท้งั ค่มู ีสีคล้า พ้ ืนผิวเตม็ ไปดว้ ยฝ่ ุนและมี รูปรา่ งไม่กลม โฟบอล เคล่ือนทร่ี อบ ดาวองั คาร ท่ีระยะหา่ งเพียง ๖,๐๐๐ กิโลเมตร ส่วน ดีมอส อยทู่ ่ีระยะห่าง ๒๐,๐๐๐ กิโลเมตร นักดารา ศาสตรค์ ิดว่า บรวิ ารรูปรา่ งแปลกของดาวองั คาร น้ ีเป็ นดาวเคราะหน์ อ้ ยมาก่อน และถกู ดาวองั คาร ดงึ มาเป็ นบริวารเมื่อหลายลา้ นปี กอ่ น
ระบบสุริยะจกั รวาล ดาวเคราะห์ทเ่ี ป็ นบริวารลาดบั ที่ 5 ของดวงอาทติ ย์ คือ ดาวพฤหสั บดีเป็ นดาวเคราะหข์ นาดใหญท่ ่ีสุด ในระบบสุรยิ ะจกั รวาลอยูห่ ่างดวงอาทิตย์ ประมาณ ๗๗๘ ลา้ นกิโลเมตร ดาวพฤหสั บดี เห็นสว่างรองจากดวงอาทติ ย์ ดวงจนั ทร์ และ ดาวศกุ ร์ มองเห็นไดช้ ดั เจนดว้ ยตาเปลา่ เนื่องจากแกนของดาวพฤหสั ค่อนขา้ งตง้ั ข้ ึนจงึ ไม่มีฤดกู าลจริงๆ เกิดข้ ึน น่าแปลกมากท่ีดาว พฤหสั มีแหลง่ ความรอ้ นของตวั เอง และนกั ดาราศาสตรเ์ ช่ือว่าความรอ้ นน้ ีมีอยตู่ ้งั แตเ่ รมิ่ กาเนิดดาวพฤหสั บดี ดาวพฤหัส
ระบบสุริยะจักรวาล ดาวเคราะหท์ ่ีเป็ นบรวิ ารลาดบั ท่ี 6 ของดวงอาทิตย์ คือ ดาวเสาร์ เป็ นดาวเคราะหท์ ีม่ ี วงแหวน สวยงาม มีความ หนาแน่นนอ้ ยทสี่ ุด ซึ่งความหนาแน่น ของมนั นอ้ ยกว่าความหนาแน่นของน้า ดาวเสารค์ ลา้ ย กบั ดาวพฤหสั บดี แตด่ าวเคราะหท์ ้งั สองมีขอ้ แตกตา่ งทสี่ าคญั คือ ดาวเสารม์ ีแกนกลางเป็ น หิน ซ่ึงมีขนาดใกลเ้ คียงกบั ของโลก แตม่ ีความ หนาแน่นประมาณ ๓ เทา่ ผิวห่อหุม้ ช้นั นอกอาจ จะมีอุณหภมู ิประมาณ ๑๒,๐๐๐ องศาเซลเซียส (๒๑,๖๐๐ องศาฟาเรนไฮต)์ ในขณะที่ความดนั มีประมาณ ๘ ลา้ นเทา่ ของบรรยากาศของโลกท่ี ระดบั น้าทะเล
ระบบสุริยะจกั รวาล ดาวเสาร์ วงแหวนของดาวเสารม์ ีโครงสรา้ งซบั ซอ้ นมาก ประกอบดว้ ยวงแหวนเป็ นจานวนหลายพนั วง แยกกนั ดว้ ยช่องว่างแคบๆช้นั บางช้นั เช่น ช้นั คาสซินีและช้นั เอนเค ใชช้ ่ือตามผทู้ ่ีคน้ พบ วง แหวนมีขนาดบางมาก เมื่อมองจากโลกเกือบจะ ไม่เห็นขอบของวงแหวน วงแหวนของดาวเสาร์ ประกอบดว้ ยน้าแข็งและ ทฤษฎีน้ ีไดถ้ ูกพิสูจน์ แลว้ ว่าเป็ นความจรงิ วงแหวนบางวงมองคลา้ ย เกลียวเชือกและประกอบดว้ ยวงแหวนเลก็ ๆ จานวนมากโครงสรา้ งน้ ีอาจจะเกิดข้ ึนเนื่องจาก เคลื่อนทมี่ าจากดวงจนั ทรข์ องดาวเสารด์ วงใน
ระบบสุริยะจกั รวาล ดาวเคราะห์ทเ่ี ป็ นบริวารลาดบั ท่ี 7 ของดวงอาทติ ย์ คือ ดาวยเู รนัส ดาวยูเรนสั มีระบบวงแหวน อยูห่ ่างจากดวงอาทิตย์ ประมาณ ๒๙๐๐ ลา้ นกิโลเมตร เคลอื่ นท่รี อบดวง อาทิตยใ์ ชเ้ วลา ๘๔ ปี แกนกลางของดาวยเู รนสั มี ขนาดเทา่ กนั กบั แกนกลางของโลก หอ่ หมุ้ ดว้ ย มหาสมุทรลึกของน้ารอ้ นย่งิ ยวดเหนือมหาสมุทรน้ ี เป็ นบรรยากาศที่มีไฮโดรเจนและฮีเลียมดาวยูเรนัส หมุนรอบตวั เองเร็วมากใชเ้ วลาเพียง ๑๘ ชวั ่ โมงใน ขณะที่โลกใชเ้ วลา ๒๔ ชวั ่ โมง แตด่ าวยูเรนสั ใหญ่ กว่าโลกมาก ช้นั บนของบรรยากาศจงึ หมุนเรว็ กว่า โลก ดาวยเู รนสั เคลื่อนรอบดวงอาทิตยด์ ว้ ยความ เร็ว ๗ กิโลเมตรตอ่ วินาที ชา้ กว่าโลกซึ่งเคล่ือนที่ ดว้ ยความเร็ว ๓๐ กิโลเมตรตอ่ วินาที
ระบบสุริยะจกั รวาล ดาวเคราะห์ท่เี ป็ นบริวารลาดบั ท่ี 8 ของดวงอาทติ ย์ คือ ดาวเนปจนู ดาวเนปจนู เป็ นดาวเคราะห์ก๊าซยักษ์ดวงท่สี ่ี มีขนาดเล็ก กว่าดาวยเู รนัสเลก็ น้อย หมุนรอบตัวเองรอบละ ๑๖ ช่วั โมง ดาวเนปจูนอย่หู ่างจากดวงอาทติ ย์กว่า ๔,๕๐๐ ล้าน กิโลเมตร จงึ ใช้เวลาในการเคล่ือนท่รี อบดวงอาทติ ย์นานถงึ ๑๖๕ ปี ของโลก มจี ุดดาหลายจุดบนดาวเนปจูนจุดใหญ่ ท่สี ุดมขี นาดเท่ากับโลกช่อื จุดดาใหญ่ ( The Great Dark Spot ) อาจเป็ นพายุหมุนเช่นเดียวกับจุดแดง ของดาว พฤหสั บดี ดาวเนปจูนมดี วงจนั ทร์เป็ นบริวาร ๘ ดวง ดวง ใหญ่ท่สี ุดช่อื ทริตนั และ เนรีด ทริตัน มขี นาดใหญ่กว่าดาว พลูโต เคล่ือนท่ใี นทศิ ตรงข้ามกับดวงจนั ทร์อ่ืนๆ คอื ตรง ข้ามกับทศิ ทางการหมุนของดาวเนปจูน
ระบบสุริยะจกั รวาล ดาวเคราะห์ทเ่ี ป็ นบริวารลาดบั สุดท้ายของดวงอาทติ ย์ คือ ดาวพลโู ต ดาวพลูโตเป็ นดาวเคราะห์ท่อี ย่ไู กลจากดวงอาทติ ย์มาก แต่ ดาวพลูโตมวี งจรเป็ นวงรีมาก จงึ ทาให้ดาวพลูโตอย่ใู กล้ ดวง อาทติ ย์มากกว่าดาวเนปจนู เป็ นเวลา ๒๐ ปี ในทุก ๒๔๙ ปี ท่ี ดาวพลูโตเคล่ือนรอบดวงอาทติ ย์ ๑ รอบ ดาวพลูโตมีระยะ ห่างจากดวงอาทติ ย์ไม่คงท่แี ละเปล่ียนแปลงค่อนข้างมาก เม่อื อยู่ใกล้ท่สี ุดจะเท่ากับ ๔๔๒๕ ล้านกิโลเมตร และอย่ไู กล ท่สี ุดเท่ากับ ๗๓๗๕ ล้านกิโลเมตร ดาวพลูโตมีพนื้ ผวิ ท่ปี ก คลุมด้วยมเิ ทนแขง็ และไนโตรเจนแขง็ อาจมบี รรยากาศ บางๆ ด้วย บริเวณขวั้ สว่างกว่าท่อี ่ืนๆ นักดาราศาสตร์คิดว่า ขณะท่ดี าวพลูโตเคล่ือนท่หี ่างจากดวงอาทติ ย์บรรยากาศจะ เยน็ ลงและกลายเป็ นของแขง็ อย่ทู ่พี นื้ ผวิ
ระบบสุริยะจักรวาล GOOD BUY……
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: