Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best practice-ครูกัลยาณี ไตรมาส1-2

Best practice-ครูกัลยาณี ไตรมาส1-2

Published by กัลยาณี อสิพงษ์, 2022-04-16 17:51:39

Description: Best practice-ครูกัลยาณี ไตรมาส1-2

Search

Read the Text Version

กระบวนการติดตามผ้เู รียน กศน.ตาบลสวาย เพื่อยกระดบั ร้อยละผู้เขา้ สอบ N-NET ภาคเรยี นท่ี 2/2564 1

กระบวนการติดตามผู้เรียน กศน.ตาบลสวาย เพ่ือยกระดับรอ้ ยละผ้เู ข้าสอบ N-NET ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ชอ่ื เจา้ ของผลงาน : นางสาวกัลยาณี อสิพงษ์ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา : กศน.ตาบลสวาย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอปรางค์กู่ สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวัดศรีสะเกษ 1. ความเปน็ มาและความสาคญั การศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมุ่งเนน้ การจัดการเรยี นรู้ตามปรัชญา“คิดเป็น” พรอ้ มการนาหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรบั ใช้ในการดาเนิน ชีวิต และยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ บนพ้ืนฐานการปลูกฝังความกตัญญู ให้กับนักศึกษา กศน. ซ่ึงตามท่ีสานักงาน กศน.จังหวัดศรีสะเกษ มีนโยบายการเพิ่มจานวนร้อยละผู้เข้า สอบ N-NET ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของนักศึกษาที่คาดว่าจะจบท่ีรับผิดชอบในภาคเรียนน้ัน กศน.ตาบล สวาย ได้จัดการเรียนรู้แบบพบกลุ่ม ซึ่งเป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยมีครูดาเนินการให้เกิด กระบวนการเรียนรู้และจัดกระบวนการเรยี นการสอน แตเ่ น่ืองจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบให้นักศึกษาส่วนใหญ่ไม่สามารถมาพบกลุ่มหรือรว่ มกิจกรรมต่างๆ ได้ และบางรายมีความจาเป็นต้องทางานต่างจังหวัด ทาให้การเรียนการสอนเกิดความไม่ต่อเน่ือง จากเหตุผล ดังกล่าว ครู กศน.ตาบลสวาย จึงใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ โดยใช้ เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ด้วยระบบบริหารจัดการการเรียนการสอนออนไลน์ (NFE-LMS : Learning Management System ) มาจัดกระบวนการเรียนรู้ ด้วยวิธีเรียน กศน.แบบออนไลน์ ผ่านระบบ ออนไลน์ และเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อส่ือสารท่ีทันสมัย จึงเป็นการเรียนสาหรับทุก คน เรียนได้ทุกเวลา และทุกสถานท่ี (Learn for all : anyone,anywhere and anytime) เชื่อมต่อถึงกัน ได้ง่ายเกิดความสะดวกรวดเร็ว การเรียนการสอนออนไลน์ผ่านระบบ (LMS) และกระบวนการติดตาม ผู้เรียน เพ่ือยกระดับร้อยละผู้เข้าสอบ ส่งผลให้ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 กศน.ตาบลสวาย มีสถิติ นักศึกษาเข้าสอบร้อยละ 100 และข้าพเจ้ามีความภาคภูมิใจอย่างมากท่ีมีโอกาส ได้พัฒนา ปรับปรุง กศน. ตาบลสวาย ให้เป็นสถานท่ีมคี วามเหมาะสมกบั การเปน็ สถานศึกษาแหง่ การเรยี นรู้ และจดั กจิ กรรมการเรยี น การสอนได้อย่างเหมาะสม ประสานงานแลกเปล่ียนองค์ความรู้สาหรับภาคีเครือข่าย พร้อมกับการพัฒนา คณุ ภาพผู้เรยี น และยกระดับการจัดการศึกษาข้นั พื้นฐานให้มปี ระสิทธิภาพต่อไป กระบวนการติดตามผู้เรยี น กศน.ตาบลสวาย เพอ่ื ยกระดบั ร้อยละผ้เู ข้าสอบ N-NET ภาคเรียนท่ี 2/2564 2

2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพ่ือเพม่ิ สถิติร้อยละการเขา้ สอบ N-NET ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2.2. เพื่อแก้ไขปัญหาการพบกล่มุ ของนักศึกษา กศน.ตาบลสวาย จานวน 28 คน ในระดบั ชั้น มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 3. หลักการและแนวคิด 3.1 ไดน้ าหลักการและแนวคิดของการทางานเชิงระบบ Theorg System มาใช้ในกระบวนการ ปฏบิ ัติงานตามบทบาทภารกิจ ของ ครู กศน.ตาบล ท้งั ในเรื่องของการจัดการเรยี นการสอน และการ ตดิ ตามผเู้ รยี น กศน.ตาบลสวายดังน้ี หลกั การและแนวคิด Input Process Output 1. ครูผูส้ อน : ครู กศน.ตาบล 1. ประชาสัมพนั ธ์การดาเนนิ งาน 1.นักศึกษาท่เี ข้าร่วมกจิ กรรม/โครงการ 2. ผ้เู รยี น : นักศึกษา สร้างความเข้าใจกับนักศึกษา การเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนื่อง 3. ข้อมลู นักศึกษารายบุคคล 2. ครูมีทกั ษะในการใช้งานสื่อเทคโนโลยี 4.คมู่ อื การใช้งานระบบบรหิ ารจดั การ 2.ศึกษาข้อมูลและขน้ั ตอนการสอน 3. ผเู้ รยี นเข้าถงึ การเรยี นรู้ ได้ทกุ คน ทุก การเรียนการสอนออนไลนส์ านักงาน ออนไลน์และกระบวนการติดตามผูเ้ รียน ท่ีทกุ เวลา กศน.จงั หวัดศรสี ะเกษ สือ่ การเรียน 4.ครไู ดป้ ฏิบัตหิ นา้ ที่ได้อยา่ งเต็มท่ีตาม การสอน 3. การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ บทบาทภารกิจของ ครู กศน.ตาบล 5. วิธีการจดั กระบวนการเรยี นรู้ บริหารจดั การการเรยี นการสอนออนไลน์ 5.การจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ทนั สมัย 6. วิธีการและชอ่ งทางการติดตาม NFE-LMS : Learning Management และมปี ระสทิ ธภิ าพ Good : Activities) ผเู้ รยี น System 6.นักศกึ ษา กศน.ตาบลสวาย เขา้ สอบ 4. ระบบชว่ ยเหลือผูเ้ รียน ติดตามผเู้ รียน N-NET รอ้ ยละ 100 ผา่ นสือ่ ออนไลน์ต่างๆ 5. เกบ็ รวบรวมข้อมลู วิเคราะหข์ ้อมูล และติดตามงานอย่างเปน็ ระบบเพ่ือให้ได้ ข้อมลู ท่ีถกู ต้อง กระบวนการติดตามผ้เู รียน กศน.ตาบลสวาย เพอ่ื ยกระดบั รอ้ ยละผู้เขา้ สอบ N-NET ภาคเรยี นที่ 2/2564 3

4. วธิ ีปฏบิ ัติทีเ่ ป็นเลิศ ครู กศน.ตาบล ปรับกระบวนการดาเนนิ งาน โดยดาเนินการตามขัน้ ตอน ดงั น้ี 4.1 ขัน้ ตอนการดาเนินงาน/วางแผน (P) 4.1.1 ประขุม วิเคราะห์ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ศักยภาพ ความ และจัดกลุ่มผู้เรียน เพ่อื นาข้อมูลไปวางแผนในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 4.1.2 ศกึ ษาบทบาทหนา้ ที่ของครู กศน.ตาบล 4.1.3 ศกึ ษาหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 4.1.4 ศกึ ษาคู่มือการใช้งานระบบบรหิ ารจัดการการเรียนการสอนออนไลน์ สานกั งาน กศน.จังหวดั ศรีสะเกษ กระบวนการติดตามผเู้ รยี น กศน.ตาบลสวาย เพอื่ ยกระดบั ร้อยละผูเ้ ขา้ สอบ N-NET ภาคเรียนที่ 2/2564 4

4.2 การดาเนนิ การจดั กจิ กรรม (D) 4.2.1 วเิ คราะหศ์ ักยภาพกล่มุ เปา้ หมาย/สารวจความตอ้ งการของผเู้ รยี น ข้าพเจ้าได้ทาการวิเคราะห์ศักยภาพของนักศึกษาการศึกษาขั้นพ้ืนฐานโดยการวิเคราะห์ตาม แบบวิเคราะห์ผู้เรยี นรายบุคคล ซ่ึงสามารถเก็บข้อมูลพ้ืนฐานของนกั ศึกษา ในการสารวจความต้องการของ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ข้าพเจ้าได้ทาการออกประชาสัมพันธ์การรับสมัครนักศึกษาในพื้นท่ีรับผิดชอบ เพอื่ เก็บข้อมลู ความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย 4.2.2 จัดหาส่ือ/อปุ กรณก์ ารเรียนการสอน การจัดหาสื่อ อุปกรณ์การเรียนการสอน เพื่ออานวยความสะดวกให้กับผู้เรียน ไม่ว่าจะเป็นสื่อ หนังสือเรียน เครื่องเช่ือมสัญญาณ ETV โทรทัศน์ และอ่ืนๆ สื่อและอุปกรณ์ส่วนใหญ่จะได้รับการ สนับสนุนมาจาก กศน.อาเภอปรางค์กู่ และอุปกรณ์บางอย่าง เช่น ชั้นวางหนังสือ ได้รับสนับสนุนมาจาก นักศกึ ษาทากิจกรรม กพช. กระบวนการติดตามผเู้ รยี น กศน.ตาบลสวาย เพือ่ ยกระดบั รอ้ ยละผเู้ ข้าสอบ N-NET ภาคเรยี นท่ี 2/2564 5

4.2.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ทเี่ หมาะสมกับผเู้ รยี นและสถานการณแ์ พรร่ ะบาดเชื้อโควิด-19 ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนนั้น ข้าพเจ้าจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนผา่ นการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ (NFE-LMS : Learning Management System) โดย ครู กศน. ตาบลให้นักศึกษาเข้าร่วมช้ันเรียนได้ผ่านทางอีเมล์ บัญชีเข้าใช้งานหรือรหัสเข้าร่วมห้องเรียน สามารถส่ง ข้อมูลต่างๆให้กับผู้เรียนในชั้นเรียนได้ ศึกษาเรียนรู้ตามชุดวิชาท่ีลงทะเบียนเรียนและส่งงานตอบกลับให้ ครูผู้สอน ใบงานผ่านระบบบริหารจัดการเรียนการสอนออนไลน์ (NFE-LMS) ครู กศน.ตาบลเป็นผู้ดูแล ระบบ ผู้เรียนเรียนตามความสามารถและความสนใจของตนเป็นรูปแบบกระบวนการและวิธีการเรียนการ สอน ที่จะช่วยให้ผู้เรียน ครูผู้สอนและเพ่ือนร่วมชั้นทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปล่ียนความคิดเห็น ระหวา่ งกนั ได้ กระบวนการติดตามผเู้ รยี น กศน.ตาบลสวาย เพอ่ื ยกระดับร้อยละผูเ้ ขา้ สอบ N-NET ภาคเรียนที่ 2/2564 6

4.2.4. จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้และมกี ารสรา้ งบรรยากาศของการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ข้าพเจ้าได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้การจัดกิจกรรมมี ประสิทธิภาพ และผู้เรียนได้รับประโยชน์มากท่ีสุด ผู้เรียนมีความสนใจที่จะเรียนรู้ด้วยตนเอง ในการเรียนรู้ ด้วยตนเองผู้เรียนสามารถไปเรียนรจู้ ากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เช่นจากอินเตอร์เน็ต จากภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือ แหล่งเรยี นรู้ในชมุ ชน ผู้เรียนมีความสนใจที่จะเรียนรู้ด้วยตนเอง ในการเรียนรู้ด้วยตนเองผู้เรียนสามารถเรียนรู้จากแหล่ง เรียนรู้ต่างๆ เช่นจากอินเตอร์เน็ต จากภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือแหล่งเรียนรู้ในชุมชน และการเข้าร่วม กจิ กรรมตา่ งๆที่ กศน.อาเภอปรางค์กู่จดั ขึน้ เชน่  โครงการพฒั นาผเู้ รยี นผา่ นกระบวนการเรยี นรูโ้ ครงงาน กระบวนการตดิ ตามผเู้ รียน กศน.ตาบลสวาย เพื่อยกระดบั ร้อยละผเู้ ข้าสอบ N-NET ภาคเรียนท่ี 2/2564 7

 โครงการอบรมยวุ กาชาด กศน.  โครงการค่ายพัฒนาวิชาการด้านทักษะการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ กระบวนการตดิ ตามผเู้ รียน กศน.ตาบลสวาย เพือ่ ยกระดับรอ้ ยละผูเ้ ข้าสอบ N-NET ภาคเรยี นท่ี 2/2564 8

4.2.5 การตดิ ตาม/ช่วยเหลอื ผู้เรียน มีข้อมูลเพอื่ การตดิ ตาม/ช่วยเหลือผเู้ รยี น มีข้อมูลประวัติของนักศึกษา จะเก็บในรูปแบบของแฟ้มใบสมัครเรียน ซึ่งจะมีข้อมูลประวัติของ นักศึกษา ทั้งที่อยู่ เบอรโ์ ทรศพั ท์ติดตอ่ facebook , Line เพอื่ ใช้ตดิ ต่อสื่อสารกบั ผเู้ รยี นแจ้งข่าวสารขอ้ มลู ครู กศน.ตาบล มกี ารจัดต้ังกลุ่มใน Line , Facebook และ web blog กศน.ตาบลและใชช้ ่องทางการ พูดคุยกับนักศึกษาผา่ นระบบ LMS เพอ่ื ใช้เป็นช่องทางในการติดตอ่ สอื่ สาร การมอบหมายงาน ในการจดั กิจกรรมให้กบั นกั ศกึ ษาสามารถมาพบกลมุ่ ได้ ในแตล่ ะคร้ัง และเป็นการทบทวนให้กบั ผูเ้ รียนด้วย กระบวนการติดตามผูเ้ รียน กศน.ตาบลสวาย เพ่อื ยกระดับร้อยละผูเ้ ขา้ สอบ N-NET ภาคเรียนท่ี 2/2564 9

ครูติดตามและให้ความช่วยเหลือนักศึกษาอย่างต่อเนื่อง ติดต่อส่ือสารผ่านระบบบริหารจัดการ การเรียนการสอนออนไลน์ การใช้ไลน์กลุ่ม กศน.ตาบล ให้ผู้เรียนใช้สมาร์ทโฟนเข้าอินเตอร์เน็ตและการ เยยี่ มบ้านนักศกึ ษา มีความสมา่ เสมอ เมอื่ ผ้เู รียนขาดเรียนหลายคร้งั จะติดตามทนั ทเี พอ่ื รบั งาน และติดตาม การเรียน เพราะผู้เรียนบางคนมีภารกิจงานประจา ภารกิจส่วนตัวที่จะไม่สามารถมาเรียนหรือร่วมกิจกรรม ได้ จงึ มกี ารติดตามเพื่อช่วยเหลือผเู้ รยี น กระบวนการติดตามผู้เรียน กศน.ตาบลสวาย เพื่อยกระดับรอ้ ยละผเู้ ขา้ สอบ N-NET ภาคเรยี นที่ 2/2564 10

4.3 การตรวจสอบและประเมินผล (C) 4.3.1 ผ้บู รหิ ารนเิ ทศ กากบั ติดตามอยา่ งจรงิ จังและต่อเนอ่ื ง 4.3.2 ให้ ครู กศน.ตาบล รายงานผลการติดตามนกั ศกึ ษาความอย่างต่อเน่อื ง และสมา่ เสมอ 4.3.3 ประเมินผลจากการติดตามงาน จากกลุ่ม Line และการเขา้ ใช้ระบบบริหารจดั การการ เรยี นการสอนออนไลน์ 4.3.4 การรายงานสถิติการเข้าสอบ N-NET ประจาภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 กระบวนการติดตามผู้เรียน กศน.ตาบลสวาย เพอ่ื ยกระดบั รอ้ ยละผเู้ ขา้ สอบ N-NET ภาคเรยี นท่ี 2/2564 11

4.4 การปรบั ปรุงและพฒั นาผลการปฏิบตั ิงาน (A) 4.4.1 ครู กศน. ได้ปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มที่ ตามบทบาทภารกิจของครู กศน.ตาบล โดยเฉพาะหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 4.4.2 ผู้บริหารให้คาแนะนา เพื่อท่ีจะได้นาไปเป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาให้ดีย่ิงข้ึน ต่อไป 5. ผลการดาเนนิ งาน 5.1 ผลทเ่ี กิดกับผู้รบั บรกิ าร(ผ้เู รียน/นักศกึ ษา) 5.1.1 ส่งผลต่อการพัฒนาการเรียน ทาให้ผู้เรียนคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น ตาม จดุ มงุ่ หมายของหลักสตู ร 5.1.2 เกดิ การแลกเปลยี่ นเรียนรู้ร่วมกนั ระหวา่ งครู และนกั ศกึ ษา ผู้ปกครอง 5.1.3 ผู้เรียนมีความรู้ตามมาตรฐานการศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรม บนพ้ืนฐานของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 5.1.4 ผูเ้ รยี นมคี วามสนใจในการเรยี น กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ด้วยตนเอง 5.2 ผลทเี่ กดิ กบั กศน.ตาบล 5.2.1 กศน.ตาบล จดั การเรยี นรทู้ นั สมยั และมปี ระสิทธิภาพ เอื้อตอ่ การเรียนรสู้ าหรบั ผู้เรียน ทกุ คน 5.2.2 กศน.ตาบล มีการประสานงานมีความราบรื่น รวดเร็ว ส่งผลให้การดาเนินกิจกรรม เปน็ ไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย 5.2.3 กศน.ตาบล ไดร้ ับการนิเทศตดิ ตามอย่างตอ่ เนอื่ ง 5.2.4 กศน.ตาบล มบี ทบาทสาคญั ในการจัดและสง่ เสรมิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตของประชาชน และสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ในชมุ ชน 5.2.5 นาเทคโนโลยีดิจิทัล เข้ามาบูรณาการประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในการพัฒนาและ ขยายบทบาทการ ดาเนนิ งานของ กศน. ตาบล กระบวนการติดตามผ้เู รียน กศน.ตาบลสวาย เพ่อื ยกระดบั รอ้ ยละผเู้ ขา้ สอบ N-NET ภาคเรียนท่ี 2/2564 12

5.3 ผลทเ่ี กิดกบั สถานศึกษา กศน.อาเภอปรางคก์ ู่ 5.3.1 ผู้บริหารให้ความสาคัญกับการพัฒนาครูอย่างต่อเนื่อง ด้านการพัฒนาครู กศน.และ บุคลากร ท่ีเก่ียวข้องกับกาจกรรมการศึกษาและเรียนรู้จัดกิจกรรม Good: Teacher เป็นผู้เช่ือมโยงความรู้ กับผู้เรียนผรู้ ับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการและทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมมีความ รอบรู้ เป็นผจู้ ัดกิจกรรม การเรียนรแู้ ละบรหิ ารจดั การความรู้ทดี่ ี 5.3.3 ครสู ามารถสอนเปน็ รายบคุ คลดว้ ยวธิ ีการตา่ งๆ ที่เหมาะสมกับพื้นท่ี 5.3.4 เป็นข้อมลู การดาเนินงานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักศกึ ษา 5.3.5 ครมู สี มรรถนะในการจดั การเรียนการสอนทม่ี ีคณุ ภาพ 5.4 ผลทเี่ กิดกับชุมชน สังคม 5.4.1 มีการประสานเครือข่ายในชุมชนร่วมจดั กิจกรรมการเรียนรู้ โดยส่งเสริม สนับสนุนให้ ทุกภาคส่วนในชุมชน/สังคม เข้ามามีส่วนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการดาเนินการจัดกิจกรรม กศน. ตาบล ร่วมกัน 5.4.2 ไดร้ บั ความไว้วางใจจากผู้นาชมุ ชน และประชาชนในพนื้ ที่ 6 .ปัจจัยแห่งความสาเร็จ 6.1. นักศกึ ษามเี คร่อื งมือในการเขา้ ถึงสอ่ื การเรียนและมีความมงุ่ มัน่ ต้งั ใจในการเรยี น 6. 2. ครเู ป็นผ้มู ีความร้คู วามสามารถ มคี วามต้ังใจ มกี ารเสยี สละ และเป็นบคุ คลแห่งการเรียนรู้ 6.3 การใหค้ วามร่วมมือระหวา่ งผู้เรยี นกบั ครผู ูส้ อนในการใช้การจัดการเรยี นการสอนดว้ ยระบบ บริหารจัดการการเรียนการสอนออนไลน์ (NFE-LMS) โดยมกี ารติดต่อสอบถามขอ้ สงสัยในช่องทางออนไลน์ อนื่ ๆ ไดแ้ ก่ กลุ่มLine และกลมุ่ Facebook อยู่ตลอดเวลา 6.4 ผู้บริหาร เปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการคิด วางแผน กาหนดทิศทางการดาเนินงาน กากับ ตดิ ตาม และปรบั ปรุง พฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา 7. บทเรียนท่ไี ด้รับ จากการใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ โดยใช้เทคโนโลยีเป็นเคร่ืองมือในการ เรยี นรดู้ ้วยระบบบริหารจดั การการเรยี นการสอนออนไลน์ (NFE-LMS : Learning Management System ) และกระบวนการติดตามผูเ้ รยี น เพ่ือเพิ่มสถิติร้อยละการเข้าสอบ N-NETและการแก้ไขปัญหาการพบกล่มุ ของนักศึกษา กศน.ตาบลสวาย พบว่า นักศึกษาสามารถเรียนรู้ ติดตามงาน กิจกรรมต่างๆของ กศน.ได้ อย่างต่อเน่ือง ส่งผลให้ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 กศน.ตาบลสวาย มีสถิตินักศึกษาเข้าสอบร้อยละ 100 และข้าพเจ้ามีความภาคภูมิใจอย่างมากที่มีโอกาสได้พัฒนา ปรับปรุง กศน.ตาบลสวาย ให้เป็นสถานที่ มีความเหมาะสมกบั การเป็นสถานศกึ ษาแหง่ การเรยี นรู้ และจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนไดอ้ ย่างเหมาะสม กระบวนการตดิ ตามผู้เรยี น กศน.ตาบลสวาย เพือ่ ยกระดับร้อยละผู้เขา้ สอบ N-NET ภาคเรยี นที่ 2/2564 13

ซึ่งนับว่า เป็นความสาเร็จในการจัดการเรียนสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนและผู้รับบริการให้สอดคล้องกับการ เปลยี่ นแปลง เทคโนโลยแี ละรูปแบบการจดั การศึกษาออนไลน์ให้เทา่ ทันดิจิทัลได้ในอนาคต ครู กศน.ตาบล ได้ปฏิบัติหน้าท่ีไดอ้ ย่างเตม็ ทต่ี ามบทบาทภารกิจและยังคงพฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง ลงขอื่ .......................................ผรู้ ายงาน ลงช่ือ...........................................ผู้รับรองขอ้ มลู (นางสาวกลั ยาณี อสพิ งษ)์ (นางณัฎฐณชิ า รักษาพันธ์) ครู กศน.ตาบล ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอปรางค์กู่ กระบวนการติดตามผู้เรียน กศน.ตาบลสวาย เพื่อยกระดบั รอ้ ยละผูเ้ ข้าสอบ N-NET ภาคเรยี นท่ี 2/2564 14

กระบวนการติดตามผ้เู รียน กศน.ตาบลสวาย เพื่อยกระดบั ร้อยละผู้เขา้ สอบ N-NET ภาคเรยี นท่ี 2/2564 15

กระบวนการติดตามผ้เู รียน กศน.ตาบลสวาย เพื่อยกระดบั ร้อยละผู้เขา้ สอบ N-NET ภาคเรยี นท่ี 2/2564 16

กระบวนการติดตามผ้เู รียน กศน.ตาบลสวาย เพื่อยกระดบั ร้อยละผู้เขา้ สอบ N-NET ภาคเรยี นท่ี 2/2564 17

กระบวนการติดตามผ้เู รียน กศน.ตาบลสวาย เพื่อยกระดบั ร้อยละผู้เขา้ สอบ N-NET ภาคเรยี นท่ี 2/2564 18


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook