การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและศึกษาความพึงพอใจ ในการจัดการ เรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์เรื่อง พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัย กรุงศรอี ยุธยา โดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นรู้โดยใชส้ ่ิงท่ีจัดมโนมติลว่ งหนา้ (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผังความคดิ (Mind mapping) สาหรับนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2/5 โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม พชั ชา ม่วงตะเภา1 สุชาดา จ๋วงพานิช2 ทองแดง สุกเหลือง3 1นกั ศึกษาสาขาวชิ าสังคมศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ E-mail : [email protected] 2ครพู ี่เลี้ยงกลุม่ สาระการเรียนรู้ สงั คมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรยี นชยั นาทพิทยาคม E-mail : [email protected] 3อาจารยส์ าขาสังคมศกึ ษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ E-mail : [email protected] บทคัดย่อ การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาประวัติศาสตร์ เร่ือง พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้สิ่งที่จัดมโนมติล่วงหนา้ (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผังความคิด (Mind Mapping) โดยมีนักเรียนจานวนร้อยละ 70 ข้ึนไป มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนเพิ่มขึน้ 2) ศกึ ษาความพึงพอใจในการจดั การเรยี นรู้ วิชาประวัติศาสตร์ เร่ืองพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ส่ิงที่จัดมโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผังความคิด (Mind Mapping) ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ เป็นนักเรียน มัธยมศึกษาปีท่ี 2/5 โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม จังหวัดชัยนาท ปีการศึกษา 2/2562 จานวน 50 คน ซ่ึงได้จากการ เลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) มา 1 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิก่อนเรยี นและหลังเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ได้แก่ คา่ เฉลี่ย ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน คา่ ดชั นคี วามสอดคลอ้ ง และคา่ รอ้ ยละ ผลการวจิ ัย พบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/5 จานวน 50 คน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการ เรียนรู้โดยใช้ส่ิงที่จัดมโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผังความคิด (Mind Mapping) มี ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน วิชาประวตั ิศาสตร์ เร่ืองพัฒนาการทางประวตั ศิ าสตร์ไทยสมัยกรุงศรอี ยธุ ยา หลังเรยี นสูงขึน้ จานวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 94 โดยคะแนนก่อนเรียนเฉล่ียเท่ากับ 16.25 คะแนน และมีคะแนนหลังเรียนเฉลี่ย เทา่ กับ 23.90 คะแนน ซึง่ มผี ลการพฒั นาการด้านผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นในภาพรวมดขี น้ึ 2. คะแนนเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมโดยใช้รปู แบบการจัดการเรยี นร้โู ดยใชส้ ง่ิ ทจ่ี ัดมโนมตลิ ว่ งหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผังความคิด (Mind Mapping) ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2/5 โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม พบว่า มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของนักเรียนในภาพรวมของคะแนนค่าเฉล่ียอยู่ในระดับ ความพงึ พอใจมากท่ีสุด (̅X̅̅ = 4.85, S.D. = 0.40) คาสาคัญ : การจัดการเรยี นรโู้ ดยใชส้ ง่ิ ที่จดั มโนมตลิ ว่ งหนา้ ,ผงั ความคดิ ,ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
The development of learning achievement and satisfaction in learning management subjects history of Thai history during the Ayutthaya period by using Advance Organizer Model (AO) with Mind mapping for Matthayom 2/5 Chainatpittayakhom School. Phatcha Muangtaphao1 Suchada Juangphanich2 Thongdang Suklueng3 1Students in the Social Studies Program, Faculty of Education, Rajabhat University, Nakhon Sawan E-mail : [email protected] 2Teacher Mentor,Group Learning Social Studies, Religion and Culture, Chainatpittayakhom School E-mail : [email protected] 3Lecturer in Faculty of Education, Nakhon Sawan Rajabhat University E-mail : [email protected] Abstract The purposes of this research were 1) to develop learning achievement in history on the development of Thai history during the Ayutthaya period by using the Advance Organizer Model (AO) in combination Mind Mapping with 70 percent or more of students having an increased learning achievement 2) Study the satisfaction of learning management in the history of the development of Thai history in the Ayutthaya period by using the learning management model by using Advance Organizer Model (AO) together with the Mind Mapping, The population used in this research was a Matthayom 2/5 student at Chainatpittayakhom School, Chainat Province, Academic Year 2/2019, consisting of 50 people, obtained from the Purposive Selection for 1 classroom. The research instruments were learning management plans, achievement tests before and after learning And satisfaction questionnaire The statistics used for data analysis were mean, standard deviation, consistency index and percentage. The results of the research showed that 50 mathayom 2/5 students that received learning management by using the Advance Organizer Model (AO) together with Mind Mapping. Have academic achievement History On the development of Thai history during the Ayutthaya period After studying, a total of 47 people, representing 94 percent, with an average score before study equal to 16.25 points and an average score after 23.90 points, which has improved overall learning achievement. Average score and standard deviation of student satisfaction towards learning activities Social, Religion and culture by using learning management model by using Advance Organizer Model (AO) together with Mind Mapping of mathayom 2/5 students at Chainatpittayakhom School found that there are The average student satisfaction in overall, the average score was at the highest satisfaction level. (̅X̅̅ = 4.85, S.D. = 0.40) Keyword: Advance Organizer Model (AO), Mind mapping, learning achievement
บทนา สังคมไทยในปัจจุบันกาลังเผชิญกับภาวะวิกฤตท่ามกลางการเปล่ียนแปลงของโลกท่ีมีพลวัตและซับซ้อน มากกว่าเดิมหลายเท่าตัว เป็นปัญหาของสังคมไทยจนกลายเป็นวิกฤตท่ีแก้ปัญหาไม่ตกมีหลายด้านเช่น วิกฤตทาง เศรษฐกิจ วิกฤตทางการเมือง ปัญหาความยากจนและปัญหาทางการศึกษา เป็นต้น ซึ่งในอดีตความซับซ้อนและ พลวัตของปัญหามีน้อยกว่าปัจจุบัน แต่เมื่อโลกเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ท่ีมีการเปล่ียนแปลงรวดเร็วในหลาย ๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านการติดต่อส่ือสารทาให้ปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนมีผลกระทบเกี่ยวเนื่องกัน ดังน้ันจึงต้องมีการ แสวงหาวธิ ีเพอ่ื จัดการกบั ปัญหาในปจั จุบันและอนาคต ซง่ึ การพฒั นาคุณภาพประชากรน้นั นบั เปน็ ปัจจยั สาคัญแรก ๆ ของยุคสมัยน้ี การจัดการศกึ ษาจงึ ต้องมุ่งพฒั นาบคุ ลากรใหส้ อดคล้องกบั สภาพสงั คมทม่ี กี ารเปล่ียนแปลงดงั กลา่ ว ใน พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ว่าดว้ ยแนวการจดั การศึกษา ในมาตรา 22 กลา่ วว่าการจดั การศึกษา ตอ้ งยดึ หลกั วา่ ผู้เรยี นทุกคนมคี วามสามารถในการเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองได้และถือว่าผ้เู รยี นมีความสาคัญที่สุดโดย กระบวนการจดั การศกึ ษาตอ้ งส่งเสริมให้ผู้เรยี นมีความสามารถตามธรรมชาติและเตม็ ตามศกั ยภาพ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 มีวิสัยทัศน์มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซ่ึงเป็นกาลังของ ชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลท้ังด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพล โลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะ พื้นฐาน รวมท้ังเจตคติท่ีจาเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็น สาคญั บนพ้นื ฐานความเชือ่ วา่ ทกุ คนสามารถเรียนรูแ้ ละพฒั นาตนเองไดเ้ ต็มตามศกั ยภาพม่งุ เนน้ ให้ผเู้ รยี นสามารถนา ความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ช้ในการดาเนนิ ชีวติ ได้และอาศยั อยู่ร่วมกันในสงั คมไดอ้ ย่างสงบสุข จากการศึกษาสภาพการจดั การเรยี นการสอน โรงเรยี นชยั นาทพทิ ยาคม เกี่ยวกับการจัดกจิ กรรมการเรียน การสอนในกลุ่มสาระสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ในภาคเรยี น ที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 พบว่า ในดา้ นเนอื้ หาของรายวชิ าประวตั ิศาสตรน์ ั้น มีเนื้อหามาก ทาให้ยากแก่การเขา้ ใจและ จดจา ต้องใช้เวลานานจึงจะเข้าใจบทเรยี น ในด้านรูปแบบการสอน รูปแบบการสอนส่วนใหญ่จะใช้วิธีการสอนแบบ บรรยายและจดบันทึกเป็นหลัก ประกอบกับเวลาในการสอนมีน้อยทาให้ในบางครั้งผู้สอนจัดองค์ความรู้ให้กับ นักเรียนไม่ครบตามเน้ือหาสาระท่ีนักเรียนจะต้องเรียนรู้ในระดับชั้นนี้ และนักเรียนเป็นเพียงผู้รับข้อมูลอย่างเดียว หรือมีเพียงการอ่านใบความรู้แล้วทาใบงานหรือแบบฝึกหัด เน่ืองจากการประเมินวิชาประวัติศาสตร์เป็นวิชาที่เน้น เรอ่ื งของการท่องจา มเี นือ้ หามากและยากแก่การจดจา ทาใหผ้ ลสัมฤทธ์ิที่ได้นนั้ ไมเ่ ปน็ ทีพ่ อใจเท่าท่ีคาดหวงั ไว้ ดงั นนั้ เมือ่ วิเคราะหถ์ งึ สภาพปญั หาดงั กลา่ วแลว้ ผูว้ ิจัยจึงสนใจรปู แบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ี เหมาะสมกับสภาพรายวชิ าท่ีมเี นอื้ หามาก เวลาในการสอนน้อย คือ การจัดกิจกรรมการเรียนการร้รู ูปแบบการสอน โดยใช้สิ่งช่วยจัดมโนมติล่วงหน้า Advance Organizer Model (AO) เป็นการนาเสนอมโนทัศน์ล่วงหน้าเพ่ือการ เรียนรู้อย่างมคี วามหมาย การเรียนรู้จะมคี วามหมาย ก็ต่อเมื่อสิ่งท่ีเรียนรู้สามารถเช่ือมโยงกับความร้เู ดิมของผู้เรียน ดังน้ันในการสอนส่ิงใหม่ สาระความรู้ใหม่ ผู้สอนควรวิเคราะห์หาความคิดรวบยอดย่อย ๆ ของสาระท่ีจะนาเสนอ จัดทาผังโครงสร้างของความคิดรวบยอดเหลา่ น้ันแล้ววิเคราะห์หามโนทัศน์หรือความคิดรวบยอดที่กว้างครอบคลุม ความคิดรวบยอดย่อย ๆ ที่จะสอน หากครูนาเสนอมโนทัศน์ท่ีกวา้ งดงั กล่าวแก่ผเู้ รยี นกอ่ นการสอนเนื้อหาสาระใหม่ ขณะท่ีผู้เรียนกาลงั เรยี นรู้สาระใหม่ ผู้เรียนจะสามารถนาสาระใหมน่ ้นั ไปเกาะเกี่ยวเชื่อมโยงกบั มโนทัศน์กว้างที่ให้ไว้ ล่วงหน้าแลว้ ทาใหก้ ารเรียนรู้น้ันมีความหมายตอ่ ผู้เรียน และเม่อื นารูปแบบการสอนโดยใชส้ ิง่ ชว่ ยจดั มโนมตลิ ่วงหนา้ Advance Organizer Model (AO) มาจดั กจิ กรรมการเรียนรจู้ ะชว่ ยผสู้ อนในการถา่ ยทอดองคค์ วามรูใ้ หก้ บั นกั เรียน ครบตามเน้ือหาสาระท่ีนักเรียนจะต้องเรียนรู้ในระดับชั้นน้ีและสามารถช่วยให้ผู้เรียนจดจาได้ดีและส่งเสริมก าร เรียนรู้ท่ีมีความหมาย ซ่ึงเป็นรูปแบบการจัดการเรยี นรู้เพื่อช่วยให้ผ้เู รยี นไดเ้ รียนรเู้ นือ้ หาสาระ ข้อมูลต่าง ๆ อย่างมี ความหมาย และออกแบบมาเพื่อให้โครงสร้างความรู้ก่อนเรียน ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาท่ีนาเสนอด้วยการ บรรยาย การอา่ นและอื่น ๆ ได้ง่ายขึน้ อีกท้งั ยงั สามารถนาไปใช้ร่วมกับรูปแบบอื่น ๆ ไดด้ ว้ ย จากสภาพปัญหาพบและการวิเคราะห์รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่กล่าวมาแล้วท้ังหมดในข้างต้นผู้วิจัยจึง สนใจที่จะนาเทคนิคอ่ืนมาบูรณาการรว่ มกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยใชส้ ิ่งช่วย
จัดมโนมติล่วงหน้า Advance Organizer Model (AO) เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดกระบวนการเรียนรู้ และ ถ่ายทอดองค์ความรใู้ ห้กบั นกั เรยี นได้ดียิง่ ขึ้น ทั้งนี้เน่ืองด้วยธรรมชาติของผังความคิด (Mind Mapping) เป็นเทคนคิ หรอื วิธกี ารสอนที่ผู้สอนสามารถนาไปใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ซึ่งถือเปน็ หัวใจสาคญั ใหผ้ ู้เรียนได้คดิ ได้ ปฏิบัติด้วยตนเอง โดยครูไม่ใช่ผู้ชี้นา และผู้เรียนสามารถนาไปใช้ในการเรียนรู้ในการพัฒนาความคิด การรวบรวม ข้อมลู การถ่ายทอดข้อมลู เพอื่ ช่วยใหผ้ ูเ้ รียนมองเหน็ ภาพความสัมพนั ธ์และเชือ่ มโยงความรู้ตา่ งๆไดอ้ ยา่ งมรี ะบบมาก ขน้ึ อกี ทง้ั เป็นส่ิงที่ชว่ ยใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถจดั ระบบการเรียนรใู้ หม่ นาไปสู่กลยทุ ธ์ในการทาให้เกดิ ความจาในระยะยาว และถาวร จึงเป็นรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หน่ึงที่ผู้วิจยั สนใจจะนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือให้ สอดคล้องกับสภาพปัญหาที่พบ ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ในเน้ือหาสาระและข้อมูลของบทเรียนอย่างมี ความหมาย เกดิ ความคิดรวบยอดในสิ่งทีเ่ รยี นและสามารถจัดโครงสรา้ งความรู้ของตนเองได้ นอกจากนั้นยังได้พัฒนาทักษะและอุปนิสัยในการคิดและเพิ่มพูนความใฝ่รู้ เน่ืองจากผู้วิจัยเป็นนักศึกษา สาขาวิชาสังคมศึกษาจึงตระหนักถึงความสาคัญและมีความสนใจในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้สิ่งท่ีจัดมโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผังความคิด (Mind Mapping) ซึ่งสามารถทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้หรือประสบการณ์ใหม่เข้าด้วยกัน ซ่ึงเป็นกระบวนการช่วยพัฒนาทักษะกระบวนการคิดของผู้เรียน เพื่อเป็นการนารูปแบบการเรียนการสอนมาใช้ พฒั นาผู้เรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม จงึ เปน็ เหตุใหผ้ วู้ ิจยั มีความสนใจที่จะศึกษา กระบวนการคดิ ของผู้เรยี นในรายวิชาต่างๆ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยใช้ส่ิง ช่วยจัดมโนมติล่วงหน้า เพื่อให้ผู้เรียนได้รับกระบวนการเรียนรู้ที่มีความหลากหลายและมีความหมาย เพ่ือพัฒนา ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน โดยใชร้ ปู แบบท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ใหบ้ รรลุซึ่งวัตถุประสงค์ของการปฏริ ูปการศกึ ษาตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 ที่หวังจะให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรยี นรู้อยา่ งแท้จริงซ่ึงเปน็ กระบวนการเรียนรู้อีกวิธีหนึ่งท่ีจะพัฒนาผู้เรียนท้ังในด้านร่างกาย สติปัญญาและสังคม ส่วนการมีส่วนร่วมด้าน อารมณ์น้ันความจริงแล้วเกดิ ขึ้นควบคู่กับทกุ ๆ ด้านทส่ี าคญั คอื การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนให้ดี ขน้ึ วธิ ดี าเนนิ การวิจัย 1. ตัวแปรทีใ่ ช้ในการวจิ ัย 1.1 ตัวแปรต้น รูปแบบการจดั การเรยี นรู้โดยใชส้ ิง่ ทจ่ี ดั มโนมตลิ ว่ งหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกบั ผังความคิด (Mind Mapping) 1.2 ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั เรยี น ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2/5 โรงเรยี นชยั นาทพิทยาคม 2. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 2.1 ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จานวน 12 หอ้ งเรียน รวม 580 คน 2.2 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2/5 โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม ซ่ึงกาลังศึกษาอยู่ในภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จานวน 50 คน ซึ่งได้จากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Selection) มา 1 ห้องเรียน 3. เครือ่ งมอื ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ในการวจิ ัยคร้ังน้ี มเี ครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจัย จานวน 3 ประเภท คอื 3.1 แผนการจดั การเรียนร้วู ชิ าประวตั ศิ าสตร์ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรื่อง พฒั นาการทางประวัตศิ าสตรไ์ ทย สมยั กรุงศรอี ยุธยา โดยใช้รปู แบบการจดั การเรยี นร้โู ดยใช้สิ่งทีจ่ ัดมโนมตลิ ว่ งหน้า (Advance Organizer Model: AO) รว่ มกบั ผงั ความคดิ (Mind mapping) จานวน 7 แผน 3.2 แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธกิ์ อ่ นเรยี น-หลังเรียน รายวิชาประวตั ศิ าสตร์ หน่วยเรยี นรู้ ท่ี 1 เรื่อง พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตรไ์ ทยสมยั กรุงศรอี ยุธยา จานวน 30 ข้อ
3.3 แบบประเมินพึงพอใจของนกั เรียนหลังได้รบั การจดั การเรียนรู้โดยใชร้ ปู แบบการจดั การเรียนรโู้ ดยใช้ส่ิง ที่จัดมโนมตลิ ว่ งหนา้ (Advance Organizer Model: AO) รว่ มกบั ผังความคดิ (Mind mapping) 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผูว้ จิ ัยไดด้ าเนนิ การทดลองตามข้นั ตอนต่อไปนี้ 4.1 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน รายวิชาประวตั ิศาสตร์ หน่วยเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง พัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา ไปทดสอบก่อนเรียนกับนักเรียนท่ีเป็นกลุ่มตัวอย่าง ซ่ึงได้แก่ นักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2/5 โรงเรยี นชัยนาทพทิ ยาคม จานวน 50 คน 4.2 ดาเนินการเรียนการสอนรายวิชาประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรี อยุธยากับกลุ่มตัวอย่าง ซ่ึงได้แก่ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2/5 โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม จานวน 50 คน โดยใช้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ส่ิงที่จัดมโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผังความคิด (Mind mapping) ตามแผนการจัดการเรยี นรจู้ านวน 7 แผน จานวน 8 ชวั่ โมง 4.3 นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์หิ ลังเรยี น รายวชิ าประวัตศิ าสตร์ เร่อื ง พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทย สมัยกรุงศรีอยุธยา ไปทดสอบหลังเรียนกับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างซ่ึงได้แก่ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2/5 โรงเรียนชยั นาทพิทยาคม จานวน 50 คน 4.4 นาข้อมูลทีไ่ ดจ้ ากการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนมาวิเคราะห์เพ่ือโดยใช้วิธีการหาค่าทางสถิติเพื่อ ทดสอบสมติฐานทต่ี ั้งไว้ 4.5 นาแบบประเมินพึงพอใจของนักเรียน ไปใช้สารวจเพ่ือสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนหลังจาก ไดร้ บั การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน 5. การวเิ คราะหข์ ้อมูล ผวู้ ิจยั ไดด้ าเนินการวเิ คราะหข์ ้อมลู ตามข้นั ตอน ดังนี้ 5.1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเพือ่ ตอบคาถามวจิ ัย โดยเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นวิชาประวัติศาสตร์ หนว่ ย เรียนรู้ท่ี 1 เรื่องพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมยั กรุงศรีอยธุ ยา โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ส่ิงที่จัด มโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผังความคิด (Mind mapping) สาหรับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 2/5 โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม จังหวัดชัยนาท โดยมีจานวนนักเรียนจานวนร้อยละ 70 ข้ึนไป มี ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นเพ่ิมข้ึน โดยใชก้ ารหาคา่ รอ้ ยละ 5.2 หาค่าความพึงพอใจของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 ในรายวิชาประวัติศาสตร์ หลังจากได้รับการจัด กิจกรรมเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้สิ่งท่ีจัดมโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผังความคดิ (Mind mapping) ผ้วู จิ ยั นาแบบสอบถามความพงึ พอใจทีไ่ ดจ้ ากนกั เรยี น ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2/5 ในรายวิชาประวัติศาสตร์ มาวิเคราะห์ โดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน โดยในการวิเคราะห์ ใช้ ค่าเฉลยี่ เทยี บกับเกณฑก์ ารประเมินดังนี้ มากที่สดุ ระดบั คะแนน 5 มาก ระดบั คะแนน 4 ปานกลาง ระดบั คะแนน 3 นอ้ ย ระดับคะแนน 2 น้อยที่สุด ระดบั คะแนน 1 เกณฑ์การตัดสินและยอมรับได้คือค่าเฉล่ียของการประเมินในแต่ละด้านมีค่าตั้งแต่ 3.5 ข้ึนไป และค่า เบีย่ งเบนมาตรฐานไมเ่ กนิ 1.00 ผลการวจิ ัย ผวู้ จิ ัยขอนาเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลตามวตั ถุประสงค์การวิจยั เป็น 2 ตอน ดงั น้ี ตอนที่ 1 ผลการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น รายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ เร่ือง พฒั นาการทางประวัติศาสตร์ ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ส่ิงท่ีจัดมโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer
Model: AO) ร่วมกับผังความคิด (Mind Mapping) สาหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2/5 โรงเรียนชัยนาทพิทยา คม จังหวัดชัยนาท ผูว้ จิ ยั ศึกษาผลการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นกอ่ นเรียนและหลงั เรยี นของนกั เรียน จานวน 50 คน โดย บันทึกคะแนนจากแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้กล่มุ ตัวอย่างกล่มุ เดยี ว วัด สองครัง้ กอ่ นและหลังการทดลองได้ผลการวเิ คราะห์ ดงั นี้ ตารางที่ 1 ผลการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาประวัติศาสตร์ เร่ือง พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ส่ิงที่จัดมโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผงั ความคิด (Mind Mapping) สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2/5 โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม จงั หวดั ชัยนาท คนท่ี ก่อน หลัง ผลตา่ ง พฒั นาการ เพม่ิ ลด 1 15 21 6 มพี ฒั นาการ 2 14 25 11 มพี ฒั นาการ 3 17 25 8 มพี ัฒนาการ 4 14 24 10 มพี ัฒนาการ 5 16 27 11 มพี ัฒนาการ 6 18 29 11 มีพัฒนาการ 7 17 22 5 มีพัฒนาการ 8 14 25 11 มพี ฒั นาการ 9 16 22 6 มพี ฒั นาการ 10 16 26 10 มีพฒั นาการ 11 13 26 13 มีพัฒนาการ 12 17 28 11 มพี ฒั นาการ 13 16 24 8 มีพัฒนาการ 14 20 27 7 มีพฒั นาการ 15 15 14 -1 -1 ไมม่ ีพฒั นาการ 16 14 20 6 มพี ัฒนาการ 17 14 20 6 มพี ฒั นาการ 18 19 27 8 มพี ัฒนาการ 19 17 26 9 มีพฒั นาการ 20 16 17 1 มพี ฒั นาการ 21 20 28 10 มีพฒั นาการ 22 19 29 10 มีพัฒนาการ 23 10 17 7 -1 มพี ัฒนาการ 24 19 18 -2 ไมม่ ีพัฒนาการ 25 16 24 8 มีพัฒนาการ 26 18 23 5 มีพฒั นาการ 27 21 30 9 มพี ัฒนาการ 28 17 23 6 มพี ัฒนาการ 29 17 22 5 มพี ฒั นาการ 30 17 26 9 มพี ฒั นาการ
ตารางที่ 1 (ตอ่ ) คนที่ กอ่ นเรียน หลังเรียน ผลตา่ ง พฒั นาการ 31 16 24 เพม่ิ ขึ้น ลดลง มพี ัฒนาการ 32 17 25 33 17 26 8 มพี ัฒนาการ 34 16 29 8 มพี ฒั นาการ 35 19 25 9 มพี ฒั นาการ 36 16 16 13 มีพัฒนาการ 37 19 26 6 ไมม่ พี ฒั นาการ 38 18 29 มีพฒั นาการ 39 17 17 0 มพี ัฒนาการ 40 18 23 มีพฒั นาการ 41 16 27 7 มีพัฒนาการ 42 16 28 มพี ฒั นาการ 43 15 20 11 มพี ัฒนาการ 44 18 23 1 มพี ฒั นาการ 45 17 29 5 มีพัฒนาการ 46 18 22 11 มพี ัฒนาการ 47 12 26 12 มีพฒั นาการ 48 16 24 5 มีพัฒนาการ 49 14 18 5 มีพัฒนาการ 50 19 23 12 มีพัฒนาการ 4 มีพฒั นาการ จานวนคน 14 8 มพี ัฒนาการ ร้อยละ 4 4 47 3 94 6 จากตารางท่ี 1 พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 จานวน 50 คน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้สิ่งที่จัดมโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผังความคิด (Mind Mapping) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาประวัติศาสตร์ เรื่องพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมยั กรงุ ศรี อยธุ ยา หลังเรียนสูงขน้ึ จานวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 94 ซ่งึ มีผลการพัฒนาการในภาพรวมดขี น้ึ ตอนที่ 2 คะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ เรื่องพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้สิ่งท่ีจัดมโนมติ ลว่ งหนา้ (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกบั ผังความคิด (Mind Mapping) สาหรับนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษา ปีท่ี 2/5 โรงเรยี นชยั นาทพทิ ยาคม จงั หวัดชยั นาท เม่ือนักเรยี นได้ทาแบบทดสอบหลงั เรยี นเรียบร้อยแลว้ ผู้วิจัยได้ทาการสารวจความพึงพอใจของนักเรียนที่ เรียนรู้โดยรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้สิ่งท่ีจัดมโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผัง ความคดิ (Mind Mapping) สาหรบั นกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2/5 จานวน 50 คน โดยให้นักเรยี นทาแบบสอบถาม ความพึงพอใจไดผ้ ลการวิเคราะห์ ดงั น้ี
ตารางท่ี 2 คะแนนเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการทางประวตั ิศาสตรไ์ ทยสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยใชร้ ปู แบบการจัดการเรียนรู้โดยใชส้ ่ิงที่จัด มโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผังความคิด (Mind Mapping) สาหรับนักเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2/5 โรงเรยี นชัยนาทพทิ ยาคม จังหวัดชยั นาท รายการประเมนิ ̅���̅���̅ S.D. ระดับความพึงพอใจ 1. บุคลกิ นา้ เสยี ง ภาษาและการอธบิ ายของครชู ดั เจนเขา้ ใจง่าย 4.94 0.24 พึงพอใจมากทีส่ ุด 2. กจิ กรรมการเรยี นการสอนมคี วามหลากหลายและน่าสนใจ 4.92 0.27 พึงพอใจมากทส่ี ดุ 3. สอ่ื ที่ครูใชม้ คี วามเหมาะสม หลากหลายและน่าสนใจ 4.84 0.37 พงึ พอใจมากท่ีสุด 4. บรรยากาศในช้ันเรยี นส่งเสริมให้นกั เรียนอยากเรียนมคี วาม 4.90 0.30 พึงพอใจมากทส่ี ดุ กระตอื รอื รน้ ท่จี ะเรียน 5. นักเรียนไดศ้ กึ ษาหาความรเู้ พม่ิ เติมดว้ ยตนเองจากแหล่งเรยี นรู้ 4.72 0.61 พึงพอใจมากทส่ี ุด อืน่ ๆ 6. นักเรยี นไดอ้ อกแบบผลงานด้วยตนเองอย่างเตม็ ที่ 4.78 0.51 พึงพอใจมากที่สุด (แผนผังความคดิ /รายงาน) 7. นักเรียนเกิดการเรียนรู้และมที กั ษะการสรปุ องค์ความรเู้ ป็น 4.78 0.51 พงึ พอใจมากทสี่ ดุ แผนผังความคดิ 8. นักเรยี นมีสว่ นร่วมการทากิจกรรมในชน้ั เรยี น 4.96 0.28 พึงพอใจมากทส่ี ุด 9. นักเรยี นไดร้ บั ความรู้ใหมๆ่ และหลากหลายในการเรยี นรู้ 4.86 0.45 พึงพอใจมากทสี่ ดุ 10. นักเรียนสามารถนาสิง่ ทไี่ ดเ้ รียนรู้ไปประยุกต์ใช้ใหเ้ กิด ประโยชนไ์ ด้ 4.78 0.46 พึงพอใจมากที่สดุ รวม 4.85 0.40 พงึ พอใจมากทส่ี ุด จากตารางท่ี 2 พบว่า คะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ หน่วยที่ 1 เร่ืองพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยใช้รูปแบบการจัดการ เรียนรู้โดยใช้ส่ิงที่จัดมโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผังความคิด (Mind Mapping) สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2/5 มีค่าเฉล่ียความพึงพอใจของนักเรียนในภาพรวมของคะแนนค่าเฉล่ียอยู่ใน ระดับความพงึ พอใจมากท่สี ุด (̅X̅̅ = 4.85, S.D. = 0.40) สรุปผลการวิจัย ในการศึกษาครง้ั น้ผี ้วู ิจยั ได้สรุปผลการวิจัย ดงั น้ี 1. ผลของการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาประวัติศาสตร์ เรื่อง พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้สิ่งที่จัดมโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผงั ความคดิ (Mind Mapping) มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอ่ นเรียนเฉลี่ย เท่ากบั 16.25 คะแนน และมีคะแนนหลงั เรียนเฉล่ีย เท่ากับ 23.90 คะแนน เมอื่ เปรยี บเทียบระหวา่ งผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนก่อนเรียนและ หลังเรียนกับเกณฑ์ที่กาหนดไว้ว่านักเรียนจานวนร้อยละ 70 คนข้ึนไป มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเพิ่มข้ึน พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นหลงั เรยี นสงู กวา่ กอ่ นเรียน โดยมนี ักเรียนที่ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน วิชาประวัติศาสตร์ เร่ือง พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา หลังเรียนสูงข้ึนจานวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 94 ซ่ึงมี ผลการพฒั นาการด้านผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนในภาพรวมดขี ้ึน 2. คะแนนเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรมโดยใช้รูปแบบการจดั การเรียนรโู้ ดยใชส้ ่งิ ทจ่ี ัดมโนมตลิ ว่ งหนา้ (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผังความคิด (Mind Mapping) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5
โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม พบว่า มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของนักเรียนในภาพรวมของคะแนนค่าเฉล่ียอยู่ในระดับ ความพึงพอใจมากท่สี ุด (̅X̅̅ = 4.85, S.D. = 0.40) อภปิ รายผล จากการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจหลังการจัดการเรียนรู้ วิชา ประวัติศาสตร์โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้สิ่งที่จัดมโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผังความคิด (Mind mapping) สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2/5 จานวน 50 คน สามารถอภิปราย ผลได้ ดงั น้ี 1. เม่ือนามาเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนระหว่างก่อนเรยี นกับหลังเรยี นที่ไดร้ ับการ จัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ส่ิงที่จัดมโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผังความคิด (Mind mapping) ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรยี น โดยนักเรียนจานวน 50 คน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรยี น สูงข้ึนจานวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 94 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 23.90 คะแนน สูง กว่าก่อนเรียนที่มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 16.25 คะแนน ซ่ึงมีการพัฒนาการผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในภาพรวมดีข้ึน ทั้งน้ี เนื่องมาจากการจัดการเรียนรู้ โดยใช้รปู แบบการจัดการเรยี นรโู้ ดยใช้ส่ิงที่จัดมโนมตลิ ่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) มีมโนทัศน์กว้างล่วงหน้าเป็นส่ิงท่ีช่วยเตรียมโครงสร้างของระบบการคิดของนักเรียน ทาให้มองเห็น ขอบข่ายของเน้ือหาอย่างกว้างๆช่วยรวบรวมลักษณะเฉพาะของเนื้อหาส่วนท่ีจะเรียนและรวบรวมมโนทัศน์กว้าง ลว่ งหน้าท่ีสมั พันธก์ ับเน้ือเรื่องนั้นที่มอี ยู่แล้วในโครงสรา้ งทางสติปญั ญาเดิมให้สอดคล้องกนั นอกจากนวี้ ิธีการจดั การ เรียนรู้ โดยใช้ส่ิงท่ีจัดมโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผังความคิด (Mind mapping) เปน็ การจัดการเรียนร้ทู ี่เชือ่ มโยงไปยงั ความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี น เปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนนาความรู้เดมิ มาใส่ในแผนผงั มโน ทัศน์ ในลักษณะของผังความคิด นักเรียนมีอิสระในการตั้งคาถาม และค้นคว้าหาความรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย สามารถสร้างช้ินงานได้ตรงตามตัวชี้วัดท่ีกาหนดและเหมาะสมกับรายวิชา การใช้ส่ือ และอุปกรณ์การนาเสนอที่ หลากหลายอย่างเหมาะสม มุ่งเน้นการสร้างความคิดรวบยอดให้กับนักเรียนก่อนที่จะหารายละเอียดในเน้ือหา เพิ่มเติม ทาให้นักเรยี นเกดิ ทักษะในการเช่อื มโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่เขา้ ด้วยกนั แลว้ สร้างเปน็ องคค์ วามรู้ใหมท่ ี่ มีความคงทนมากข้ึน การเรียนรู้อย่างมีความหมาย และด้วยธรรมชาติของผังความคิด (Mind Mapping) เป็น เทคนิคหรือวิธีการสอนท่ีผู้สอนสามารถนาไปใช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ซ่ึงถือเป็นหัวใจสาคัญใหผ้ ้เู รยี น ไดค้ ดิ ไดป้ ฏบิ ตั ดิ ้วยตนเอง โดยครไู มใ่ ช่ผชู้ ีน้ า และผู้เรียนสามารถนาไปใช้ในการเรยี นรใู้ นการพฒั นาความคิด ช่วยให้ ผู้เรียนมองเห็นภาพความสัมพันธ์และเชื่อมโยงความรู้ต่างๆได้อย่างมีระบบมากข้ึน อีกทั้งเป็นส่ิงที่ช่วยให้ผู้ เรียน สามารถจัดระบบการเรียนรู้ใหม่ นาไปสู่กลยุทธ์ในการทาให้เกิดความจาในระยะยาวและถาวร ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนที่สงู ข้ึน สอดคล้องกบั งานวจิ ยั ของ จันทรแ์ รม สุวรรณไตรย์ (2531) ได้วจิ ัย การเปรยี บเทียบวธิ ีการสอน โดยใช้ส่ิงช่วยจัดมโนมติล่วงหน้ากับการสอนตามปกติในวิชาคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนอนุบาล ขอนแก่น จังหวัดขอนแก่นเคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยสร้างข้ึนเอง คือ แบบทดสอบวัดความร้พู ื้นฐาน แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน แผนการสอนโดยใช้ส่ิงช่วยจัดมโนมติล่วงหน้า แล้วนาข้อมูลที่ได้มาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นและความคงทนในการเรยี นรู้ ด้วยการวิเคราะห์ค่าสถติ ิ t-test ผลปรากฎวา่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน และความคงทนในการเรียนรู้ของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ . 01 และ สอดคล้องกับงานวิจัยของ มนต์ชัย เจริญนิติกุล (2558) ได้วิจัย เร่ือง การพัฒนาความเข้าใจที่คงทน เรื่อง กิจกรรม ทางเศรษฐกิจในชีวิตประจาวันของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้รูปแบบการนาเสนอมโนทัศน์กว้างล่วงหนา้ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง กิจกรรมทางเศรษฐกิจในชีวิตประจาวันของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนโดยใช้รูปแบบการนาเสนอมโนทัศน์กว้างลว่ งหนา้ สูงกว่าก่อนเรียนอยา่ งมีนัยสาคัญทาง สถติ ทิ รี่ ะดบั .05 2) ความเขา้ ใจทคี่ งทน เร่ือง กิจกรรมทางเศรษฐกิจในชีวติ ประจาวัน ของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 โดยใช้รูปแบบการนาเสนอมโนทัศน์กว้างล่วงหนา้ อยู่ในระดบั ดี นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของนภาพร เกราะทอง (2560) ได้วิจัย เร่ืองการศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์สากลที่เรียนโดยการจัดการ
เรียนรู้แบบการนาเสนอมโนทัศน์กว้างล่วงหนา้ สาหรับนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรียนปทุมวิไล อาเภอเมอื ง จังหวัดปทุมธานี ผลวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์สากลของนักเรียนที่ได้รับการจัดการ เรียนรู้แบบการนาเสนอมโนทัศน์กว้างลว่ งหนา้ สงู กว่านกั เรยี นทไี่ ดร้ ับการจัดการเรยี นรู้แบบปกติ อยา่ งมีนัยสาคัญท่ี ระดับ 0.05 2. การสารวจความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนรู้โดยใช้สิ่งท่ีจัดมโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับผังความคิด (Mind mapping) มีค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของนักเรียนในภาพรวมของคะแนน ค่าเฉล่ียอยู่ในระดับความพึงพอใจมากท่ีสุด ทั้งน้ีเป็นเพราะครูนาเสนอมโนทัศน์ท่ีกว้างดังกล่าวแก่ผู้เรียนก่อนการ สอนเนอ้ื หาสาระใหม่ ทาใหน้ ักเรยี นสามารถเกาะเกี่ยวเชอ่ื มโยงความร้เู ดิมกับความร้ใู หม่ ชว่ ยให้ผ้เู รียนเข้าใจเน้ือหา ที่นาเสนอดว้ ยการบรรยาย การอ่านและอื่น ๆ ได้ง่ายขน้ึ และผังความคิด (Mind Mapping) เป็นเทคนิคหรือวิธีการ สอนท่ใี ห้ผเู้ รยี นได้คิด ได้ปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง โดยครไู ม่ใชผ่ ้ชู น้ี า นกั เรยี นเกิดอสิ ระทางความคดิ สง่ ผลใหผ้ เู้ รยี นเกิดความ พึงพอใจมากทสี่ ุด ขอ้ เสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะสาหรับการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ การสอนวิชาประวัติศาสตร์ เป็นวิชาท่ีมีเน้ือหาสาระมาก การเลือกวิธีการสอนโดยใช้สิ่งที่จัดมโนมติ ล่วงหนา้ (Advance Organizer Model: AO) รว่ มกับผังความคิด (Mind mapping) จะชว่ ยใหน้ กั เรียนเห็นภาพรวม และเข้าใจมากข้ึน จากการสร้างมโนมติของผู้สอน ควรมีการให้ความรู้พ้ืนฐานแก่นักเรียนเกี่ยวกับการทาแผนผัง ความคดิ เพอ่ื ให้นกั เรยี นสามารถสร้างผลงานออกมาไดถ้ ูกต้องและลดขอ้ สงสัยในการทาผงั ความคดิ ในการทากจิ กรรม ข้ันท่ี 2 การเสนอกิจกรรมและสื่อการเรียนการสอน และควรหาเทคนิคอื่นมาสอดแทรกในการจัดกิจกรรมเพ่ือให้ ผู้เรียนมคี วามสนใจและเข้าใจเนอ้ื หามากขึ้น เช่น เกม การแสดงบทบาทสมติ หรือใช้สอ่ื ทเ่ี ปน็ วดิ ทิ ัศน์ เป็นตน้ 2. ขอ้ เสนอแนะในการทาวิจัยครัง้ ต่อไป การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้การจดั การเรียนร้โู ดยใช้ส่ิงท่จี ดั มโนมติล่วงหนา้ (Advance Organizer Model: AO) รว่ มกบั ผงั ความคิด (Mind Mapping) กจิ กรรมข้ันท่ี1 การนาเสนอส่งิ ช่วยจดั มโนมติล่วงหน้า ผู้สอนควรใช้ส่ือท่ี สามารถสร้างองค์ความรู้ให้กับผู้เรียนได้ครอบคลุมเน้ือหาสาระท่ีจะสอน ควรศึกษาการจัดกิจกรรมการ ร่วมกับ เทคนิคอนื่ ๆ เพิ่มเตมิ เพื่อเปน็ การพัฒนารปู แบบการสอนใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากข้ึน กติ ตกิ รรมประกาศ งานวิจยั ฉบับนี้เสร็จสมบูรณเ์ ป็นอย่างดีด้วยความกรุณาให้คาปรึกษา แนะนาช่วยเหลือและดแู ลใหก้ าลังใจ ตลอดระยะเวลาทที่ าวิจยั จากท่านอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาหลักอาจารย์ทองแดง สกุ เหลือง และอาจารยส์ ุชาดา จ๋วงพานิช ครูพี่เล้ยง ผู้วิจัยขอขอบพระคุณท่านเป็นอย่างสูงและจะจดจาพระคุณของท่านตลอดไป และด้วยความกรุณา ตรวจสอบเคร่อื งมือ ตรวจสอบความถูกต้องของรายงานวิจัย และช่วยเหลอื สนบั สนุนการเก็บข้อมูลท่ีโรงเรยี นชยั นาท พิทยาคมจากผู้เช่ียวชาญและครูกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนชัยนาทพิทยาคม ผู้วิจัย ขอขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสูง ขอขอบพระคุณผู้อานวยการโรงเรียน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และขอขอบใจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรยี นชัยนาทพทิ ยาคม ทใ่ี หค้ วามร่วมมือในการวจิ ัยครง้ั นอ้ี ยา่ งเต็มใจยงิ่ ขอขอบพระคุณอาจารย์ประจาสาขาวิชาสังคมศึกษา อาจารย์นิเทศก์ท่ัวไป และอาจารย์คณะครุศาสตร์ ทุกทา่ น ที่ไดก้ รณุ าใหค้ าแนะนา ประสิทธ์ิประสาทความรใู้ ห้แกผ่ ูว้ จิ ยั ขอขอบพระคณุ คณะกรรมการบรหิ ารรายวิชา การปฏบิ ัติการสอนในสถานศกึ ษา และศูนย์ประสบการณ์วชิ าชีพครู คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์ ทใ่ี หก้ ารสนับสนนุ การทาวจิ ัยคร้งั นจ้ี นประสบความสาเรจ็ ด้วยดี
ขอขอบใจเพื่อน ๆ นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษาท่ีโรงเรียนชัยนาทพิทยาคม และเพื่อน ๆ สาขา สังคมศึกษาทุกคนและบุคลท่ีเกี่ยวข้องทุกท่าน ท่ีคอยเป็นกาลงั ใจและช่วยเหลือผูว้ ิจัยดว้ ยความรักและห่วงใยตลอด มา สุดท้ายแห่งกิตติกรรมประกาศน้ี ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดาเป็นอย่างสูง ท่ีได้ให้ความรักความ เมตตา ส่งเสรมิ สนับสนุนและเป็นกาลงั ใจแกผ่ ู้วิจัยตลอดมา หากงานวิจัยนม้ี คี ณุ ประโยชนอ์ ันใดกต็ าม ผู้วิจยั ขอมอบ คุณประโยชน์ท้ังปวงเหล่านน้ั ให้แก่บิดา มารดาและเคารพยิง่ คณาจารย์ทกุ ทา่ นท่ไี ดป้ ระสทิ ธป์ิ ระสาทวิชาความรู้แก่ ผู้วจิ ัย ตลอดจนผมู้ ีพระคุณทกุ ทา่ น เอกสารอ้างอิง กัญญารัตน์ ภูมลิ กั ษณ์. (2556). การพัฒนาทกั ษะการคิดวิเคราะห์ และผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ส่ิงช่วยจัด มโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศกึ ษาศาสตร)์ ฝ่ายมัธยม. รายงานการประชมุ การนาเสนอผลงานวิจยั ของนกั ศึกษาครู ครงั้ ท่ี 5 ณ มหา ลัยขอนแกน่ 15 กมุ ภาพนั ธ์ 2556. กองวจิ ัยทางการศึกษา กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2535). นวตั กรรมการเรียนการสอนสังคมศึกษา ระดบั มธั ยมศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพรา้ ว. ไกรสร ธรรมสาลี. (2549). ผลการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง แรงและความดันโดย การใช้ส่ิงช่วยจัดมโนมติล่วงหน้า. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการ ประถมศึกษา บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. จันทร์แรม สวุ รรณไตรย์. (2532). การเปรียบเทยี บวธิ ีการสอนโดยใช้ส่งิ ช่วยจัดมโนมตลิ ่วงหน้ากับการสอนปกติ ในวิชาคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชา หลักสตู รและการสอน บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. ทิศนา แขมมณี. 2551. รูปแบบการเรียนการสอน: ทางเลือกท่ีหลากหลาย. พิมพ์คร้ังท่ี 5. กรุงเทพฯ : สานักพิมพจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ทิศนา แขมมณ.ี (2553). ศาสตร์การสอนองคอื ความร้เู พื่อการจัดกระบวนการเรียนรทู้ ี่มี ประสทิ ธิภาพ. กรงุ เทพฯ. สานกั พมิ พจ์ ุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. นภาพร เกราะทอง. (2560). การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์สากลท่ีเรียนโดยการจัดการ เรียนรู้แบบการนาเสนอมโนทัศน์กว้างล่วงหน้า สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนปทุมวิไล อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์. นุชจรนิ ทร์ รอดสมั ฤทธ์ิ. (2556). การพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนและศกึ ษาพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ โดยใช้ รูปแบบการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชส้ ่งิ ทจี่ ดั มโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) ร่วมกับ การเรียนรู้แบบร่วมมอื (G.I) กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 เรือ่ งฝักใฝ่ทาความดี ของนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 2 โรงเรยี นสาธิตมหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ฝ่าย ประถมศึกษา. รายงานการประชุมการนาเสนอผลงานวิจยั ของนักศกึ ษาครู ครง้ั ท่ี 5 ณ มหาลยั ขอนแกน่ 15 กมุ ภาพนั ธ์ 2556. บญุ ชม ศรสี ะอาด. (2554). การวิจยั เบ้อื งตน้ . (พิมพ์ครัง้ ท่ี 9). กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์สวุ ีรยิ าสาส์น. พรศริ ิ นลิ เขต. (2558). เร่อื งการจัดการเรียนรู้อย่างมีความหมายดว้ ยสิ่งช่วยจัดมโนมตลิ ่วงหน้า วชิ าวิทยาศาสตร์ พื้นฐานของนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชา การจัดการเทคโนโลยีและนวตั กรรม คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม.
มนต์ชัย เจริญนิติกุล. (2558). การพัฒนาความเข้าใจที่คงทน เร่ือง กิจกรรมทางเศรษฐกิจในชีวิตประจาวันของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้รูปแบบการนาเสนอมโนทัศน์กว้างล่วงหน้า. วิทยานิพนธ์ปริญญา ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑิต, สาขาวชิ าการสอนสังคมศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร. ยทุ ธ ไกยวรรณ์, และกุสมุ า ผลาพรม. (2553). พ้นื ฐานการวิจัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์พมิ พ์ด.ี รัจนา ภิญโญทรัพย์ .(2544). การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชา เคมี เร่ืองสารประกอบคาร์บอน ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ระหว่างการสอนโดยรูปแบบการสอนตามแนวคิดของ Ausubel และ Suchman ร่วมกับการใช้แผนผังมโนมติกับการสอนปกติ.วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. ลัดดา คาภิรมย์. (2553). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ส่ิงช่วยจัดสิ่งมโนมติล่วงหน้าและ โปรแกรม The Geometer Sketchpad เป็นเคร่ืองมือประกอบการเรียนรู้เรื่องทฤษฎีกราฟเบ้ืองต้น สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5. วิทยานิพนธ์ปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาวิทยาศาสตร ศึกษา บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ . วาโร เพ็งสวัสด์ิ. (2548). วิธวี ทิ ยาการวจิ ยั . สกลนคร : คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร. วิราภรณ์ นิลสุข. (2556). การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรู้ และศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้ กล่มุ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ เร่ืองอาณาจักรอยุธยา โดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้โดยใช้ส่ิงที่จัดมโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model: AO) สาหรับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 2/4 โรงเรียนขามแก่นนคร จังหวัดขอนแก่น. รายงานการประชุมการนาเสนอผลงานวจิ ัย ของนักศึกษาครู คร้งั ที่ 5 ณ มหาลัยขอนแก่น 15 กมุ ภาพันธ์ 2556. สภุ าวดี โพธปิ สั สา. (2545). การพฒั นาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นโดยใช้ส่ิงช่วยจัดมโนมติล่วงหน้าวชิ าวิทยาศาสตร์ สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศกึ ษา บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. สมใจ ธนบดีวิวัฒน์. (2549). การศึกษาผลการเรียนของนักเรียน ชันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 เร่ืองสารชีวโมเลกุล โดย การใช้สิ่งช่วยจัดมโนมติล่วงหน้าร่วมกับการใช้แผนผังมโนมติ. รายงานการศึกษาอิสระปริญญาศึกษา ศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์ศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. สานักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร:โรงพมิ พ์องคก์ ารรับสง่ สนิ ค้าและพสั ดภุ ัณฑ์ (ร.ส.พ). หัตถยา ปุ้งโพธ์ิ. (2556). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม เร่ือง ภูมิศาสตร์บ้านเรา โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ส่ิงท่ีจัดมโนมติล่วงหน้า ( Advance Organizer Model) ข อ ง นั ก เ รี ย น ช้ั น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 5 โ ร ง เ รี ย น ส า ธิ ต มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์) ฝ่ายประถมศึกษา. รายงานการศึกษาอิสระปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑติ , สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ . ไอลดา ประจันทเสน. (2547). ผลการจัดการเรียนการสอน เรื่อง อาณาจักรสัตว์ โดยใช้สิ่งช่วยจัด ม โน ม ติ ล่ วงหน้ าร่ วม กั บ ก ารใช้ แผน ผั งม โน ม ติ . ร า ย งา นกา รศึกษาอิสระ ปริ ญญาศึกษา ศาสตรมหาบัณฑติ , สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรศ์ กึ ษา บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: