Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คำยืมสื่อ 5

คำยืมสื่อ 5

Published by nisacholaoily36, 2020-11-08 18:00:12

Description: คำยืมสื่อ 5

Search

Read the Text Version

ภาษาต่างประเทศ ในภาษาไทย

๑. มีความร้คู วามเข้าใจเก่ียวกบั คาภาษาต่างประเทศใน ภาษาไทย ๒. จาแนกคาทม่ี าจากภาษาตา่ งประเทศได้ ๓. มีความใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ ม่นั ในการทางานและรับผดิ ชอบ

บทนา หนา้ ๑ ลักษณะคาไทยแท้ หนา้ ๔ คายืมภาษาบาลี หนา้ ๙ คายืมภาษาสนั สกฤต หนา้ ๙

คายมื ภาษาเขมร หน้า๑๔ คายมื ภาษาจนี หนา้ ๑๘ คายมื ภาษาอังกฤษ หน้า๒๐ ลองทาดู หนูทาได้!! หนา้ ๒๔

กลบั ไปท่สี ารบญั บทนา ๑

กลับไปท่ีสารบญั ทาไมจงึ มีคาภาษาต่างประเทศ ปะปนอยใู่ นภาษาไทย ๒

กลบั ไปท่สี ารบญั มนษุ ยม์ ีการตดิ ต่อส่ือสารกนั ยอ่ มเกดิ การแลกเปล่ียน ทาใหเ้ กดิ การยืมคาจาก ภาษาตา่ งประเทศเข้ามาใช้ในไทยเปน็ จานวนมาก การนาคาตา่ งประเทศมาใช้ จงึ ทาให้ไทยมีคาใชม้ ากขน้ึ สาเหตกุ ารยมื คาจากภาษาต่างประเทศมาใช้ ๑. ความสมั พันธท์ างการค้า ๒. อทิ ธพิ ลทางศาสนา ๓. อิทธิพลทางวรรณคดี ๔. ความสมั พนั ธท์ างภมู ิศาสตร์ ๕. ความสมั พนั ธ์ทางการทูต ๖. ความสมั พนั ธ์ทางการศกึ ษา ๓

กลับไปทีส่ ารบญั ลกั ษณะ คาไทยแท้ ๔

กลับไปที่สารบญั ข้อสงั เกตลักษณะคาไทยแท้ ๑. คาไทยแท้เปน็ คาโดด สว่ นใหญ่มี ๑-๓ พยางค์ ไม่ต้องแปลเขา้ ใจไดท้ นั ที เช่น ๕

กลับไปท่สี ารบญั ขอ้ สงั เกตลกั ษณะคาไทยแท้ แต่อย่างไรก็ดี ยังมีคาไทยแทอ้ ยหู่ ลายคาทม่ี มี ากกวา่ ๑ พยางค์ เชน่ มะมว่ ง มะตมู สะใภ้ ฉะน้ัน ตะวนั เปน็ ตน้ ซ่งึ มสี าเหตมุ าจาก ๑.๑ การกรอ่ นเสยี ง เช่น หมากขาม  มะขาม ตาวนั  ตะวัน ๑.๒ การแทรกเสียง เช่น ลูกตา  ลูกกะตา ผกั เฉด  ผกั กระเฉด ๑.๓ การเตมิ พยางค์หนา้ เชน่ ทา  กระทา ทว้ ง  ประทว้ ง ๖

กลบั ไปที่สารบญั ขอ้ สังเกตลกั ษณะคาไทยแท้ ๒. สะกดตรงตามมาตรา จะใช้มาตราตัวสะกดตรงตามแม่ตา่ ง ๆ ข้อควรระวงั คาไทยแท้บางคาสะกดไมต่ รงมาตรา แตม่ ีใช้ในคาประพันธ์ ๗ คือ ดูกร มาจาก ดกู ่อน , อรชร มาจาก ออ่ นชอ้ ย

กลับไปทีส่ ารบญั ๓. คาไทยแทจ้ ะไมค่ อ่ ยพบพยัญชนะ ฆ ณ ฌ ฎ ฏ ฑ ฒ ธ ศ ษ ฬ ยกเวน้ บางคา เช่น ฆ่า เฆี่ยน ระฆัง ศอก ศึก ธ เธอ ณ ใหญ่ หญา้ เปน็ ต้น ๔. คาไทยแท้มีการใช้วรรณยกุ ต์ทัง้ ทีม่ รี ูปและไมม่ รี ปู เพือ่ แสดงความหมายของคา เชน่ เสือ เสอ่ื เส้อื , ขาว ข่าว ขา้ ว เป็นตน้ ๕. คาไทยแท้ที่ออกเสยี ง ไอ ที่ประสมสระ “ใอ” ไมม้ ว้ น ซ่งึ มอี ยู่ ๒๐ คา คอื ใหญ่ ใหม่ สะใภ้ ใช้ ใฝ่ ใจ ใส่ หลงใหล ใคร ใคร่ ใบ ใส ใด ใน ใช่ ใต้ ใบ้ ใย ใกล้ ๖. คาไทยแทไ้ ม่นยิ มตวั การันตแ์ ละคาควบกล้า ยกเว้น ๘ ผวิ ์ หมายถงึ หากว่า แม้ว่า ม่าห์ หมายถงึ ฝี ยกั ษ์ อมุษย์ เยยี ร์ หมายถึง งามยง่ิ

กลบั ไปท่สี ารบญั คายมื ภาษาบาลี-สนั สกฤต ๙

กลบั ไปทส่ี ารบญั ขอ้ สังเกตลกั ษณะคาภาษาบาลแี ละภาษาสันสกฤต ภาษาบาลี ภาษาสนั สกฤต ๑. มสี ระ ๘ ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ ๑. มสี ระ ๑๔ ตวั ที่เพิม่ จากบาลี อู เอ โอ คอื ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไอ เอา ๒. มพี ยัญชนะ ๓๓ ตวั ๒. มีพยัญชนะ ๓๕ ตวั ที่เพิม่ จากบาลี (แบง่ ตามพยญั ชนะวรรค) ๒ ตัว คอื ศ ษ ๓. นิยมใช้ ริ เช่น ภรยิ า อัจฉรยิ ะ ๓. นิยมใช้ ร หัน (รร) เช่น จรรยา ภรรยา วรรณ ๔. นิยมใช้ ฬ เปน็ ตวั เรียงพยางค์ เชน่ กีฬา จุฬา โอฬาร วฬิ าร์ ๔. นยิ มใช้ ฑ , ฒ เช่น กรีฑา จฑุ า ๕. จะขึ้นต้นด้วยคาว่า ปฏิ- เติมหนา้ ๕. มกั ใช้รูปพยัญชนะประสมซึ่งมีรูปแบบ เช่น ปฏบิ ตั ิ ปฏญิ าณ ปฏริ ปู เฉพาะ เชน่ (ชญ)  ปราชญ์ (กย)  ศกั ย์ , (ชย)  พาณชิ ย์ ,(ณย) ,(ตย) ,(ทย) ,(ถย) ,(ธย) ,(นย) , (มย) ๑๐

กลับไปท่สี ารบญั ขอ้ สังเกตลกั ษณะคาภาษาบาลีและภาษาสนั สกฤต ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ๖. ไม่นิยมควบกลา้ ๖.นยิ มควบกลา้ และใช้รปู <ร> ประสม เช่น ปราสาท สมัคร อินทร์ ศาสตร์ ทรพั ย์ อนิ ทรยี ์ ๗. นิยมใช้ ณ นาหนา้ วรรค ฏะ เช่น ๗.สงั เกตจากคาวา่ “เคราะห”์ เช่น มณฑล หรือ ณ นาหน้า ห เช่น ตัณหา อนุเคราะห์ ๘. มีหลกั ตวั สะกด ตวั ตามแนน่ อน ๘. มตี ัวสะกด ตัวตาม ไม่แน่นอน ๑๑

กลบั ไปที่สารบญั ตวั สะกดตวั ตามพยัญชนะวรรคในภาษาบาลี ดงั นี้ วรรค/แถว 12345 วรรค กะ กขคฆง วรรค จะ จฉ ชฌญ วรรค ฏะ ฏ ฐ ฑฒณ วรรค ตะ ตถทธน วรรค ปะ ปผพภม เศษวรรค ยรลวสหฬอ ๑๒

กลับไปที่สารบญั ตัวสะกดตวั ตามพยญั ชนะวรรคในภาษาบาลี มหี ลักเกณฑ์ ดังนี้  พยญั ชนะแถวที่ ๑ สะกด แถวที่ ๑ หรอื ๒ ตาม เชน่ สกั กะ จกั ขุ อิจฉา  พยัญชนะแถวที่ ๓ สะกด แถวที่ ๓ หรอื ๔ ตาม เชน่ มชั ฌิมา วิชชา  พยญั ชนะแถวท่ี ๕ สะกด ทกุ แถวในวรรคเดียวกนั ตามได้ เช่น กังขา สงฆ์  เศษวรรคสะกด เศษวรรคตวั เดิมตาม เช่น ปัสสาวะ นิสสยั วัลลภ ๑๓

กลบั ไปท่ีสารบญั ๓. คาไทยแทจ้ ะไมค่ อ่ ยพบพยัญชนะ ฆ ณ ฌ ฎ ฏ ฑ ฒ ธ ศ ษ ฬ ยกเวน้ บางคา เช่น ฆ่า เฆย่ี น ระฆัง ศอก ศกึ ธ เธอ ณ ใหญ่ หญ้า เปน็ ต้น ๔. คาไทยแทม้ กี ารใช้วรรณยุกต์ทง้ั ทม่ี ีรปู และไมม่ รี ูปเพ่ือแสดงความหมายของคา คายืมเชน่ เสอื เสือ่ เสือ้ , ขาว ขา่ ว ขา้ ว เป็นตน้ ๕. คาไทยแท้ท่ีออกเสยี ง ไอ ท่ปี ระสมสระ “ใอ” ไม้มว้ น ซึ่งมอี ยู่ ๒๐ คา คือ ใหญ่ ใหม่ สะใภ้ ใช้ ใฝ่ ใจ ใส่ หลงใหล ใคร ใคร่ ใบ ใส ใด ใน ใช่ ใต้ ภาษาเขมรใบ้ ใย ใกล้ ๖. คาไทยแท้ไมน่ ยิ มตัวการนั ต์และคาควบกลา้ ยกเวน้ ผวิ ์ หมายถึง หากว่า แม้ว่า ๑๔ มา่ ห์ หมายถึง ฝี ยกั ษ์ อมษุ ย์ เยยี ร์ หมายถึง งามย่ิง

กลับไปท่ีสารบญั ๑. ใชต้ วั สะกด ที่มีพยญั ชนะ จ - ร – ล – ญ เป็นตัวสะกด เช่น อาจ บงั อร กงั วล ชานาญ ๒. นยิ มใชพ้ ยัญชนะควบกล้า เชน่ กราบ ๓. คาเดิมพยางค์เดียวกลายเปน็ สองพยางค์ เม่ือออกเสยี งไทยอา่ นออกเสยี งเรยี งกัน โดยมสี ระอะที่พยางค์แรก แต่จะไม่ปรากฏสระอะและบางคาออกเสยี งแบบอกั ษรนา เช่น ผกา เฉพาะ ขนุน ๔. เปน็ คาที่ไม่มีรูปวรรรยกุ ต์ เพราะภาษาเขมรไมม่ ีหน่วยเสียงวรรณยุกต์ เช่น ดุจ จาร ๑๕

กลับไปที่สารบญั 4. มกั ใช้ บัง บา บัน บรร ประ กระ นาหนา้ คาทีม่ ีสองพยางค์ เชน่ บัง  บงั คบั บังคม บนั  บนั ได บันดาล บันลอื บา  บาเพ็ญ บาบดั บาเหน็จ บรร  บรรจง บรรทัด ประ  ประกาย ประสาน กระ  กระทอ่ ม 5. สว่ นมากใชเ้ ป็นราชาศพั ท์ เช่น ขนง ขนอง เขนย เสวย บรรทม โปรด กรรแสง เป็นต้น ๑๖

กลับไปที่สารบญั ๖. มกั ข้ึนต้นด้วยสระอา เชน่ กา คา ชา ดา ตา ทา สา ๗. คาเขมรทแี่ ผลงเปน็ คาไทย ข แผลงเป็น กระ เชน่ ขจาย เป็น กระจาย ผ แผลงเปน็ ประ เชน่ ผสาน เปน็ ประสาน ประ แผลงเป็น บรร เช่น ประทุก เป็น บรรทกุ สระอืน่ แผลงเป็น สระอา เช่น สราญ เปน็ สาราญ เกดิ แผลงเปน็ กาเนิด ฉัน แผลงเป็น จงั หนั เฉพาะ แผลงเปน็ จาเพาะ เดิน แผลงเป็น ดาเนิน บวช แผลงเปน็ ผนวช ๘. คาเขมรบางคาเปน็ คาโดด เช่น บาย อวย แข มาน(ม)ี ตกั เลิก ๑๗

กลบั ไปท่สี ารบญั ๓. คาไทยแทจ้ ะไมค่ ่อยพบพยัญชนะ ฆ ณ ฌ ฎ ฏ ฑ ฒ ธ ศ ษ ฬ ยกเว้นบางคา เช่น ฆ่า เฆยี่ น ระฆงั ศอก ศึก ธ เธอ ณ ใหญ่ หญ้า เปน็ ตน้ ๔. คาไทยแทม้ ีการใชว้ รรณยกุ ตท์ ้ังที่มรี ปู และไม่มีรูปเพือ่ แสดงความหมายของคา คายืมเช่น เสอื เสื่อ เสือ้ , ขาว ขา่ ว ข้าว เป็นตน้ ๕. คาไทยแทท้ ี่ออกเสียง ไอ ทปี่ ระสมสระ “ใอ” ไม้ม้วน ซึ่งมีอยู่ ๒๐ คา คอื ใหญ่ ใหม่ สะใภ้ ใช้ ใฝ่ ใจ ใส่ หลงใหล ใคร ใคร่ ใบ ใส ใด ใน ใช่ ใต้ ภาษาจนีใบ้ ใย ใกล้ ๖. คาไทยแท้ไม่นิยมตวั การนั ตแ์ ละคาควบกลา้ ยกเวน้ ผิว์ หมายถึง หากวา่ แม้วา่ ๑๘ มา่ ห์ หมายถงึ ฝี ยกั ษ์ อมุษย์ เยียร์ หมายถงึ งามยิง่

กลับไปที่สารบญั ๑. เป็นคาทใ่ี ช้วรรณยกุ ต์ ตรี จตั วา เปน็ ส่วนมาก เชน่ กวยจั๊บ โต๊ะกุย๊ เก๊ เกก๊ กง๋ ตุน๋ เป็นตน้ ๒. พยญั ชนะต้นเป็นอกั ษรกลาง คอื ก จ ด ต ฎ ฏ บ ป อ ๓. นยิ มผสมกบั สระเสียงส้ัน เชน่ เก๊ียะ โตะ๊ ๔. เป็นคาท่เี กี่ยวกบั ส่งิ ของเครื่องใช้ การคา้ และการจดั ระบบทางการค้า ที่เรา รบั มาจากจีน เชน่ ตะหลิว ตกึ เก้าอ้ี เกง๋ ฮวงซุ้ย เจง๋ บว๋ ย ห้นุ ห้าง โสหยุ้ เป็นตน้ ๑๙

กลับไปที่สารบญั ๓. คาไทยแทจ้ ะไม่คอ่ ยพบพยญั ชนะ ฆ ณ ฌ ฎ ฏ ฑ ฒ ธ ศ ษ ฬ ยกเวน้ บางคา เช่น ฆา่ เฆย่ี น ระฆัง ศอก ศกึ ธ เธอ ณ ใหญ่ หญ้า เปน็ ต้น ๔. คาไทยแท้มกี ารใช้วรรณยกุ ตท์ งั้ ทมี่ รี ูปและไม่มรี ูปเพื่อแสดงความหมายของคา คายืมเช่น เสอื เสื่อ เส้ือ , ขาว ขา่ ว ขา้ ว เป็นตน้ ๕. คาไทยแทท้ ี่ออกเสยี ง ไอ ท่ปี ระสมสระ “ใอ” ไมม้ ้วน ซงึ่ มีอยู่ ๒๐ คา คอื ใหญ่ ใหม่ สะใภ้ ใช้ ใฝ่ ใจ ใส่ หลงใหล ใคร ใคร่ ใบ ใส ใด ใน ใช่ ใต้ ภาษาองั กฤษใบ้ ใย ใกล้ ๖. คาไทยแท้ไม่นยิ มตวั การันต์และคาควบกลา้ ยกเวน้ ผิว์ หมายถึง หากว่า แม้วา่ ๒๐ มา่ ห์ หมายถงึ ฝี ยักษ์ อมษุ ย์ เยียร์ หมายถงึ งามยง่ิ

กลบั ไปท่สี ารบญั ๑. เป็นคาหลายพยางค์ เมอื่ ไทยยืมมาใช้จงึ ทาให้ภาษาไทยมีคาหลายพยางคม์ ากขึ้น เช่น คอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยี ๒. มพี ยญั ชนะควบกลา้ ท่ไี มม่ ีในภาษาไทย เช่น <บล> <บร> <ดร> <ฟล> <ฟร> <ทร> เช่น เทรน บลอ็ ก เบรก ๓. มีเสียงพยัญชนะทา้ ยทไี่ ม่มีในภาษาไทย เชน่ /ฟ/ ได้แก่ กอล์ฟ ออ๊ ฟ ปรูฟ๊ /ล/ เชน่ บอล แคปซูล /ส/ เช่น โฟกสั เทนนสิ ๒๑

กลบั ไปท่สี ารบญั ๔. ไม่มกี ารเปลยี่ นแปลงรูปทางไวยากรณ์ คนไทยยมื มาใช้โดยไม่ได้คานงึ ถงึ ชนดิ และหนา้ ทขี่ องคาในภาษาองั กฤษ ชนิดและหน้าท่ีของคาเปล่ยี นไปจากเดิม เช่น อังกฤษ (คานาม) ไทย (คากริยา) มิต้ ต้งิ meeting ช็อปปง้ิ shopping ๕. คาทมี่ าจากภาษาองั กฤษ ไทยมักจะตดั พยางค์ให้สนั้ ลง เพื่อนาไปใช้ในกรณี ทไี่ มเ่ ปน็ ทางการ เชน่ ฟุตบอล = บอล ๖. เปลย่ี นคาและเปลี่ยนเสียงต่างไปจากเดมิ เช่น องิ ลชิ = องั กฤษ ๒๒

กลับไปท่สี ารบญั ๑. คาทับศพั ท์ หมายถงึ คาศัพท์ทม่ี ีการถา่ ยทอดเสียงมาเป็นภาษาไทย โดยให้มีเสยี งใกล้เคยี งมากทส่ี ุด เชน่ game เกม , graph กราฟ ๒. คาศพั ท์บัญญตั ิ หมายถงึ คาศพั ท์ภาษาไทยท่ีคิดข้ึนใช้แทนศพั ทภ์ าษาองั กฤษ โดยคิดหาคาไทยมาประกอบเปน็ คาศัพท์ท่มี ีความหมาย หากหาคาไทยไมไ่ ดใ้ ห้พยายาม สรา้ งคาด้วยภาษาบาล-ี สันสกฤต โดยมีหลกั เกณฑ์อยู่วา่ ตอ้ งเปน็ คาท่ีมีใชอ้ ยแู่ ล้วใน ภาษาไทยและสามารถออกเสยี งได้งา่ ย เช่น airport สนามบนิ telephone โทรศัพท์ ๓. การแปลศพั ท์ หมายถงึ การใหค้ วามหมายตรงกับคาภาษาอังกฤษ เชน่ blackboard กระดานดา , enjoy สนุก ๒๓

กลับไปที่สารบญั ลองทาดู หนทู าได้!! ๒๔

กลบั ไปที่สารบญั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook