คมู่ อื การดูแลตนเอง 45 สำ� หรับผ้ปู ่วยกระดกู สะโพกหกั จากโรคกระดกู พรนุ
โรงพยาบาลเลิดสนิ 46 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ 5. การแตง่ ตัว9, 12, 13 การใส่กางเกง ควรใส่กางเกงเอวยางยืด โดยให้ใส่ขาข้าง ที่ท�ำผ่าตัดก่อน เวลาถอดให้ถอดออกจากขาข้างดีก่อน ให้ผู้ป่วย หลกี เลยี่ งการกม้ ตวั ลงใสก่ างเกง ควรหาผชู้ ว่ ยใสก่ างเกง หรอื ใชท้ ค่ี บี อเนกประสงค์ช่วยคีบกางเกงข้ึนมา แทนการก้มตัวลงไปหยิบ กางเกงข้ึนมาใส่
คู่มอื การดแู ลตนเอง 47 สำ� หรับผู้ปว่ ยกระดูกสะโพกหักจากโรคกระดกู พรนุ การสวมถงุ เทา้ การใสร่ องเทา้ ผปู้ ว่ ยไมค่ วรกม้ ลงสวมถงุ เทา้ หรือใส่รองเท้าเอง ควรหาผู้ช่วยสวมถุงเท้า หรือช่วยใส่รองเท้า หรือใช้ช้อนรองเท้าช่วยจะท�ำให้ใส่รองเท้าได้ง่ายข้ึน รองเท้าควร เปน็ แบบท่ีสวมใสง่ ่าย ไม่มเี ชอื กผูก พ้นื รองเท้าต้องไม่ลื่น 6. การทำ� งานบ้าน9 ผู้ป่วยสามารถท�ำงานบ้านได้ โดยเก็บส่ิงของท่ีใช้บ่อยให้อยู่ สูงระดับเอว ห้ามก้มลงขัดพ้ืน เช็ดเตียง หรือปีนข้ึนเช็ดหน้าต่าง เม่ือจ�ำเป็นต้องหยิบของบนพ้ืน วิธีท่ีปลอดภัยควรเหยียดขาข้างท่ีท�ำ ผ่าตัดออกไปทางด้านหลัง ย่อเข่าข้างดีลง แล้วจึงก้มตัวลงเก็บของ ให้หลกี เลย่ี งการก้มหรอื โนม้ ตวั ไปขา้ งหน้าควรใชท้ ่คี บี อเนกประสงค์ ช่วยคบี ของทอี่ ยบู่ นพ้นื
โรงพยาบาลเลดิ สนิ 48 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ 7. ทา่ ท่ี ไม่ควรทำ� 11, 12 หา้ มผปู้ ว่ ยหบุ ขา ไขวข้ า หมนุ หรอื บดิ ขาเขา้ ดา้ นใน เวลานอน นงั่ ยนื เดนิ และหา้ มกม้ ตวั ลงเกบ็ ของ หรอื ทำ� กจิ กรรมใดๆ โดยเฉพาะ ในระยะ 3 เดือนแรกหลงั ผ่าตดั เชน่ กม้ ตัดเลบ็ เทา้ เอง หรอื กม้ หยิบ ผา้ หม่ จากปลายเตยี งขึ้นมาหม่ เป็นต้น ทง้ั นีข้ ึ้นอย่กู บั วิธีการผ่าตดั ใน ผู้ป่วยแต่ละราย ดังน้ัน จึงควรปรึกษาแพทย์ผู้ท�ำการรักษาก่อน และผู้ป่วยไม่ควรนั่งเก้าอ้ีท่ีเป็นโซฟา เก้าอ้ีนอน หรือเก้าอ้ี โยก ทา่ ที่ไม่ควรทำ� ดังภาพหนา้ 48-52
คมู่ อื การดูแลตนเอง 49 สำ� หรับผ้ปู ่วยกระดกู สะโพกหกั จากโรคกระดกู พรนุ
โรงพยาบาลเลดิ สิน 50 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ
คมู่ อื การดูแลตนเอง 51 สำ� หรับผ้ปู ่วยกระดกู สะโพกหกั จากโรคกระดกู พรนุ
โรงพยาบาลเลดิ สิน 52 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ
คู่มือการดแู ลตนเอง 53 ส�ำหรบั ผูป้ ว่ ยกระดูกสะโพกหกั จากโรคกระดูกพรนุ 8. สง่ิ ท่คี วรหลีกเลีย่ ง 8.1 หลีกเลี่ยงการยกของ หรือการแบกของหนักเพราะ จะทำ� ใหข้ อ้ สะโพกเทยี มสกึ กรอ่ น และเกดิ การหลวมของขอ้ สะโพกเทยี ม เร็วขนึ้ 8.2 หลกี เลย่ี งการกระทำ� ใดๆ ทตี่ อ้ งงอขอ้ สะโพกมากกวา่ 90 องศา เชน่ การขจ่ี กั รยานอานเตย้ี อาจเปน็ สาเหตใุ หข้ อ้ สะโพกเทยี ม เคลือ่ นหลุดได้ 8.3 หลกี เลยี่ งการออกกำ� ลงั กาย หรอื เลน่ กฬี าชนดิ ทม่ี กี าร กระโดด หรอื มแี รงปะทะ เชน่ การวิ่ง เทนนิส แบดมนิ ตัน ฟตุ บอล หรือการปีนที่สูง เพราะจะท�ำให้เกิดการสึกของผิวข้อสะโพกเทียม เรว็ ขน้ึ การออกก�ำลังกายท่ีแนะน�ำ คือ การเดนิ การวา่ ยน้�ำ 9. ควบคมุ นำ�้ หนกั ตวั อยา่ ใหอ้ ว้ น ผทู้ มี่ นี ำ้� หนกั ตวั มากเกนิ เกณฑจ์ ะทำ� ใหข้ อ้ สะโพกและขอ้ เขา่ รบั นำ�้ หนกั มาก อาจทำ� ใหเ้ กดิ การเสอ่ื ม หรอื หลวมของขอ้ สะโพกเทยี ม เร็วกวา่ ก�ำหนด 10. การมีเพศสัมพนั ธ์ ผู้ป่วยสามารถมีเพศสัมพันธ์ได้ หลังผ่าตัดประมาณ 6 สปั ดาห์11 และต้องระวังไม่ให้ขอ้ สะโพกเคลือ่ นหลดุ โดยผปู้ ว่ ยต้อง อยู่ในทา่ นอนหงาย
โรงพยาบาลเลิดสนิ 54 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักจากโรคกระดูกพรุน ภายหลังได้รับ การรักษากระดูกหักแล้ว ผู้ป่วยจ�ำเป็นที่จะต้องได้รับการตรวจวัด ความหนาแน่นของกระดูก เพ่ือท่ีแพทย์จะได้วางแผนให้การรักษา โรคกระดูกพรุนต่อไป นอกจากนี้ผู้ป่วยจะได้รับการตรวจช่องปาก และฟัน เพ่ือช่วยส่งเสริมเร่ืองการรับประทานอาหาร และช่วยให้ ผู้ป่วยมีความพร้อมหากจ�ำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยารักษา โรคกระดูกพรุน ประการส�ำคัญผู้ป่วยจะต้องได้รับการตรวจสายตา และการมองเห็นด้วย เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการหกล้ม ซึ่งจะท�ำให้ เกิดกระดูกหักซ�้ำได้อีก หากพบว่ามีปัญหาในเรื่องใดๆ ผู้ป่วยก็จะได้ รบั การรกั ษาพยาบาลอย่างเหมาะสมต่อไป
คมู่ อื การดูแลตนเอง 55 ส�ำหรบั ผปู้ ่วยกระดกู สะโพกหกั จากโรคกระดูกพรนุ การปอ้ งกนั กระดูกหกั ซ้ำ�
โรงพยาบาลเลิดสิน 56 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข การปอ้ งกนั กระดกู หกั ซำ้� ผู้ปว่ ยกระดกู สะโพกหักไม่ว่าจะไดร้ บั การผา่ ตดั หรือไมก่ ต็ าม มักมีโอกาสท่ีจะเกิดกระดูกหักซ�้ำในต�ำแหน่งกระดูกช้ินอื่นๆ ได้อีก โดยเฉพาะอย่างย่ิงจากการหกล้ม หรือตกเตียง การป้องกันไม่ให้ กระดูกหักซ้�ำในผู้ป่วยท่ีเคยมีกระดูกหักมาก่อนแล้วจึงมีความส�ำคัญ อยา่ งมาก ปัจจัยท่ีท�ำให้เกิดการหกล้มและอาจเป็นสาเหตุให้เกิด กระดูกหักซำ�้ 14, 15 1. อายุที่เพ่ิมขึ้น มีผลท�ำให้สมรรถภาพในการเคล่ือนไหว รา่ งกาย การทรงตวั และปฏกิ ริ ยิ าตอบสนองตอ่ เหตกุ ารณต์ า่ งๆ ลดลง 2. โรคประจ�ำตัว เช่น โรคลมชกั โรคพาร์กินสัน โรคระบบ กล้ามเน้ือ และระบบประสาทที่มีอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ บริเวณขา เข่า และข้อเท้า โรคหัวใจเต้นผดิ ปกติ โรคกระดกู คอเส่อื ม โรคหลอดเลือดสมอง เป็นต้น ซ่ึงโรคดังกล่าวนี้ มีผลต่อการเดิน และการทรงตวั
คมู่ ือการดูแลตนเอง 57 สำ� หรบั ผู้ปว่ ยกระดูกสะโพกหกั จากโรคกระดกู พรนุ 3. ยาบางชนิด ผู้ที่รับประทานยามากกว่า หรือเท่ากับ 4 ชนิด โดยเฉพาะยาในกลุ่มท่ีออกฤทธ์ิต่อจิตประสาท ท�ำให้ ผรู้ บั ประทานยามอี าการงว่ งซึม หรือทำ� ให้ความดนั โลหิตลดลงขณะ เปลีย่ นทา่ ทาง เปน็ สาเหตุทส่ี �ำคญั ต่อการหกล้ม 4. ความสามารถในการมองเห็น ผู้ท่ีมีปัญหาทางสายตา เช่น ผู้ท่ีเป็นต้อกระจก ต้อหิน ท�ำให้การมองเห็นไม่ชัดเจน หรอื กะระยะผดิ พลาด มกั เกิดการหกล้มไดบ้ ่อย 5. การกล้ันปัสสาวะไม่ได้ ท�ำให้มีความเสี่ยงต่อการหกล้ม จากการตอ้ งลุกไปปสั สาวะบอ่ ยๆ 6. มีพฤติกรรมเส่ียงในการด�ำเนินชีวิต เช่น ชอบด่ืมสุรา หรอื ของมนึ เมา ท�ำให้หกลม้ จากการสูญเสยี การทรงตัว เปน็ ตน้ 7. ผู้สูงอายุที่มีประวัติเคยหกล้ม จะมีความเส่ียงต่อการ หกลม้ ซำ้� ถงึ 3 เท่า และมกั หกล้มซ้�ำใน 6 เดอื นแรกหลงั การหักของ กระดกู สะโพก 8. สภาพแวดล้อมท่ีไม่ปลอดภัย เช่น พื้นล่ืน พ้ืนต่างระดับ หรอื ลาดเอยี ง มสี ่งิ กีดขวางทางเดนิ หรือมีแสงสว่างไม่เพยี งพอ 9. ไมม่ อี ุปกรณช์ ว่ ยเดนิ หรือมีอปุ กรณช์ ว่ ยเดนิ แต่ไม่ยอมใช้ หรืออุปกรณช์ ว่ ยเดินที่มอี าจไมเ่ หมาะสม หรอื อุปกรณ์ช�ำรดุ 10. การสวมเส้อื ผ้า หรอื รองเท้าท่ีไม่เหมาะสม เชน่ เสอื้ ผ้า ทรี่ มุ่ รา่ ม รองเทา้ แตะท่ีไมม่ สี ายรดั สน้ เทา้ หรอื รองเทา้ ทพี่ น้ื รองเทา้ สกึ และล่ืน เปน็ ต้น
โรงพยาบาลเลดิ สิน 58 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ การปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการหกล้มและการเกิด กระดูกหักซ้�ำ 1. ปรับสภาพแวดลอ้ มของบา้ นใหป้ ลอดภัย ดังน1ี้ 5 1.1 บริเวณพืน้ บ้าน ไม่วางส่งิ ของเกะกะ กีดขวางทางเดิน งดใช้พรม เส่ือ หรือผ้ายางปูรองพ้ืน รวมท้ังจัดเก็บสายไฟ หรือ สายพ่วงต่อต่างๆ ให้เรียบร้อย หลีกเลี่ยงการเดินบนพ้ืนที่ไม่เรียบ เสมอกัน หรือพื้นต่างระดับ เพราะอาจเป็นสาเหตุท�ำให้สะดุด และหกล้มได้ 1.2 บริเวณขั้นบันได จัดให้มีแสงสว่างท่ีเพียงพอ ไม่วาง ส่ิงของเกะกะตามขั้นบันได ไม่ใช้พรม หรือผ้าเช็ดเท้าวางที่หน้า บนั ได 1.3 จัดวางสิ่งของที่ต้องใช้บ่อยๆ ไว้ในระดับเอว ซ่ึงจะ ทำ� ให้หยบิ ของใช้ไดง้ ่าย และให้หลกี เล่ียงการเออ้ื ม หรอื การปนี ปา่ ย เพอื่ หยบิ ส่งิ ของ 1.4 ห้องน้�ำ พ้ืนห้องน้�ำต้องแห้ง และสะอาดเสมอ ควร ติดต้ังราวจับบริเวณท่ีอาบน�้ำ โถส้วม และควรใช้แผ่นยางกันล่ืนติด บรเิ วณพืน้ ห้องนำ้� เพือ่ ปอ้ งกันการลื่นไถล
ค่มู อื การดแู ลตนเอง 59 ส�ำหรับผู้ปว่ ยกระดกู สะโพกหกั จากโรคกระดูกพรุน 1.5 ห้องนอน เพ่ือให้ง่ายต่อการเปิด-ปิดสวิตซ์ไฟ อาจ เพิ่มโคมไฟบริเวณหัวเตียง และบริเวณทางเดินจากเตียงไปยัง ห้องน้�ำต้องมีแสงสว่างที่เพียงพอ อาจติดต้ังไฟส่องสว่างพร้อม เซนเซอร์ท่ีเปิด-ปิดไฟอัตโนมัติ เพ่ือช่วยให้ผู้ป่วยไปห้องน�้ำได้สะดวก ในเวลากลางคืน ในรายท่ีเส่ียงต่อการหกล้มขณะลุกขึ้นมาขับถ่าย แนะน�ำให้ ใช้เก้าอ้ีสุขภัณฑ์วางข้างเตียงแทนการเดินไปเข้าห้องน�้ำ และควรระมัดระวังการนอนบนเตียง ไม่นอนริมเตียงจนเกินไปเพื่อ ป้องกันการตกเตยี ง
โรงพยาบาลเลดิ สนิ 60 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ 2. การออกก�ำลังกายได้รับการพิสูจน์ทางวิชาการแล้วว่า ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ และป้องกันการหกล้ม ในผู้สูงอายุ ดังน้ัน ควรออกก�ำลังกายประมาณวันละ 30 นาที สปั ดาหล์ ะ 3-4 วนั หรอื ทกุ วนั วนั ละ 10-15 นาที เพอื่ เพมิ่ ความแขง็ แรง ของกล้ามเน้ือ การเคล่ือนไหวของข้อ และฝึกการทรงตัวให้ม่ันคง สว่ นวธิ กี ารออกกำ� ลงั กายนนั้ ขน้ึ อยกู่ บั สภาพรา่ งกายของแตล่ ะบคุ คล ส�ำหรับผู้ที่มีโรคประจ�ำตัว ควรปรกึ ษาแพทยก์ ่อน 3. รับประทานอาหารทีม่ ีแคลเซียม วิตามินดี และโปรตีน 3.1 อาหารที่มแี คลเซียมสูง ได้แก่ นมจืด และผลิตภัณฑ์ นม เต้าหู้แข็ง ผักใบเขียวเข้ม ยอดผัก งาด�ำ และผลิตภัณฑ์ที่มีงา เป็นส่วนผสม ปลาตัวเล็กตัวน้อย และสัตว์ท่ีสามารถรับประทานได้ ทัง้ กระดูก รวมถึงผลิตภณั ฑ์ที่ทำ� มาจากสัตว์น้ันๆ เชน่ กุ้งแหง้ กะปิ เปน็ ต้น 3.2 อาหารท่ีมีวิตามินดีสูง ได้แก่ ปลาท่ีมีไขมันสูง เช่น ปลาสวาย ปลาแซลมอน น้�ำมันตับปลา เห็ดต่างๆ และไข่แดง เปน็ ต้น 3.3 อาหารที่มีโปรตีนสูง และเหมาะกับผู้สูงอายุ ได้แก่ เนื้อปลา ไข่ขาว เต้าหู้ นม และผลิตภัณฑ์นม เช่น โยเกิร์ต ชีส เป็นต้น
ค่มู ือการดูแลตนเอง 61 สำ� หรับผู้ปว่ ยกระดูกสะโพกหกั จากโรคกระดกู พรุน ส�ำหรับผู้สูงอายุ นอกจากต้องให้ความส�ำคัญเรี่อง สารอาหารแลว้ ยงั ตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั กบั ประสทิ ธภิ าพของการเคยี้ ว และการกลืนอาหารด้วย หากผู้สูงอายุไม่สามารถเคี้ยวอาหารได้ ผู้ประกอบอาหารควรดัดแปลงอาหาร หรือใช้วิธีการบด การปั่น การสับละเอียด หรือการเคี่ยวอาหาร เพ่ือให้ผู้สูงอายุสามารถ รบั ประทานอาหารไดง้ ่ายขึน้ ตวั อย่างเมนูอาหาร เช่น ขา้ วต้มธญั พืช ต้มจืดเต้าหขู้ าว แกงเลยี ง ปลาเล็กปลานอ้ ยทอด นมจืด เปน็ ตน้
โรงพยาบาลเลิดสิน 62 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ 4. เมอื่ ตอ้ งรบั ประทานแคลเซยี ม วติ ามนิ ดี และยาตา้ นกระดกู พรนุ ตามแผนการรกั ษา ผ้ปู ่วยควรปฏิบตั ติ ามคำ� แนะน�ำ ดงั น ี้ แคลเซียม เป็นแร่ธาตุส�ำคัญในการสร้างความแข็งแรง ให้กระดูก เป็นตัวเสริมในการป้องกัน และรักษาโรคกระดูกพรุน ควรรับประทานพร้อมอาหาร หรือหลังอาหารทันที จะช่วยให้การ ดดู ซมึ ดขี นึ้ และควรสงั เกตอาการไมพ่ งึ ประสงค์ เชน่ ทอ้ งผกู ทอ้ งอดื ท้องเฟ้อ คล่ืนไส้ อาเจียน ถ้ามีอาการท้องผูก แนะน�ำให้ดื่มน�้ำ ตามมากๆ และรบั ประทานผลไม้ให้มากขน้ึ วิตามินดี เป็นยาที่ช่วยดูดซึมแคลเซียมไป ใช้ ใน กระบวนการสรา้ งกระดูก เพอ่ื รักษาภาวะสมดลุ ของระดบั แคลเซียม ในเลือด ควรสังเกตอาการไม่พึงประสงค์ เช่น ปากแห้ง ไม่อยาก อาหาร ท้องผกู คล่ืนไส้ เปน็ ต้น ผู้ป่วยบางราย แพทย์อาจเห็นสมควรให้ยารักษาโรค กระดูกพรุนรว่ มดว้ ย หากเป็นชนดิ รบั ประทานผู้ป่วยต้องรับประทาน สปั ดาหล์ ะ 1 ครงั้ ตอนทอ้ งวา่ ง กอ่ นอาหารมอ้ื เชา้ ประมาณ 1 ชว่ั โมง โดยรับประทานยาพร้อมกับน�้ำเปล่าประมาณครึ่งถึงหนึ่งแก้ว (ไม่ควรรับประทานยาพร้อมนม กาแฟ น้�ำผลไม้ น้�ำแร่ และยาเม็ด แคลเซียม เน่ืองจากท�ำให้การดูดซึมของยาลดลง) และหลัง รบั ประทานยาแลว้ ตอ้ งอยู่ในทา่ ตง้ั ตรง คอื นง่ั ตวั ตรง หรอื ยนื ตวั ตรง ห้ามก้ม ห้ามเอน ห้ามนอนราบ อย่างน้อย 30 นาที เพ่ือป้องกัน
คู่มอื การดูแลตนเอง 63 สำ� หรับผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักจากโรคกระดูกพรนุ การระคายเคืองบริเวณหลอดอาหาร จนอาจท�ำให้เกิดแผล เจ็บคอ แสบคอ และเจบ็ เวลากลนื อาหารได้ หากผปู้ ว่ ยมอี าการผดิ ปกตดิ งั กลา่ ว หรอื มีอาการผดิ ปกตอิ ืน่ ๆ ผู้ป่วยควรแจง้ ให้แพทย์ทราบ 5. ไม่ควรน่งั หรอื นอนตลอดเวลา ควรลกุ เดนิ และเคลอ่ื นไหว ร่างกายบอ่ ยๆ หรอื เปลี่ยนอิรยิ าบถ ดว้ ยความระมัดระวงั 6. งดสบู บหุ รี่ และด่ืมเครอ่ื งด่มื ที่มีสว่ นผสมของแอลกอฮอล์ รวมทง้ั งดรับประทานอาหารรสเคม็ จดั และลดการดม่ื ชา กาแฟ
โรงพยาบาลเลิดสิน 64 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ 7. ควรออกไปรับแสงแดดในช่วงเช้า หรือช่วงท่ีแดดไม่จัด เกินไป วันละประมาณ 30-45 นาที ทุกวัน เพ่ือให้ร่างกายได้รับ วิตามนิ ดจี ากแสงแดดอย่างเพยี งพอ 8. สวมใส่เส้ือผ้าท่ีขนาดพอดีตัว ไม่รุ่มร่าม และควรสวม รองเท้าหุ้มส้น ส้นเตี้ย และขอบมน หรือรองเท้าท่ีมีสายรัด พ้ืนรองเทา้ มดี อกยางกนั ลนื่ และไม่สวมถงุ เท้าเดินในบ้าน 9. ไม่ซ้ือยารับประทานเอง เพราะยาบางอย่างอาจท�ำให้มี อาการมนึ งง มีผลทำ� ให้เกดิ การหกล้มได้ 10. ควรใช้อุปกรณ์ช่วยเดินอย่างต่อเนื่อง จนกว่าแพทย์จะ พจิ ารณาให้งดใช้ 11. ควรไปรับการตรวจสายตาเป็นประจ�ำ เพื่อป้องกัน ปญั หาการหกล้มจากการท่ีสายตาพร่ามวั หรือมองไมเ่ ห็น
คมู่ ือการดแู ลตนเอง 65 ส�ำหรับผู้ป่วยกระดูกสะโพกหกั จากโรคกระดูกพรุน สรปุ การเกดิ กระดกู สะโพกหกั จากโรคกระดกู พรนุ เปน็ เรอ่ื งใกลต้ วั ที่ทุกคนต้องให้ความส�ำคัญ เนื่องจากมีโอกาสเกิดข้ึนได้กับตนเอง หรือบุคคลในครอบครัว หากเกิดขน้ึ แล้ว จ�ำเป็นต้องได้รบั การรักษา ด้วยวิธีการผ่าตัด หรือไม่ผ่าตัดขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายผู้ป่วย อย่างไรก็ตามสิ่งส�ำคัญที่สุดหลังจากได้รับการรักษาพยาบาลแล้ว ก็คือ การปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปพักฟื้นต่อท่ีบ้านอย่างถูกต้อง และ เหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการป้องกันการหกล้ม อันอาจเป็น สาเหตสุ �ำคญั ที่ทำ� ใหผ้ ู้ปว่ ยเกดิ กระดูกหกั ซ�ำ้ ได้
โรงพยาบาลเลิดสิน 66 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข บรรณานุกรม 1 ทวี ทรงพฒั นาศลิ ป.์ คำ� นยิ ามของโรคกระดกู พรนุ และชวี วทิ ยาพน้ื ฐาน ของกระดูก. ใน : ทวี ทรงพัฒนาศิลป,์ บรรณาธกิ าร. การดูแลรกั ษา ภาวะกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนแบบองค์รวม 1 = Holistic management osteoporotic fractures 1. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโรค กระดูกพรุนแห่งประเทศไทยฯ; 2558. หนา้ 1-64. 2 American Academy of Orthopaedic Surgeons. Osteoporosis. [online]. 2019. (cited 2020 May 11) Available from: URL: https://orthoinfo.aaos.org/en/diseases--conditions/ osteoporosis/. 3 Institute for Clinical Systems Improvement. Health Care Guideline: diagnosis and treatment of osteoporosis. [online]. 2017. (cited 2020 May 11) Available from: URL:https://www. icsi.org/wp-content/uploads/2019/01/Osteo.pdf. 4 ปียฉัตร คงเมือง. โรคกระดูกพรุน = Osteoporosis. [ออนไลน์]. (ม.ป.ป.) (เข้าถึงเมื่อวนั ที่ 19 มีนาคม 2562) เข้าถึงได้จาก: URL:http://www.srth.moph.go.th/imeeting/ document/Osteoporosis.pdf. 5 ส�ำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. ปริมาณสาร อาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจ�ำวัน ส�ำหรับคนไทย พ.ศ. 2563 = Dietary reference intake for Thais 2020. [ออนไลน์]. 2563. (เขา้ ถึงเมือ่ วันท่ี 29 พฤษภาคม 2563) เขา้ ถึงไดจ้ าก: URL: http:// nutrition.anamai.moph.go.th/images/dri2563.pdf.
คมู่ อื การดแู ลตนเอง 67 สำ� หรับผปู้ ่วยกระดกู สะโพกหักจากโรคกระดกู พรุน 6 InternationalOsteoporosisFoundation.Preventingosteoporosis. [online]. 2017. (cited 2020 May 22) Available from: URL: http://www.iofbonehealth.net/preventing-osteoporosis. 7 International Osteoporosis Foundation. What is osteoporosis? [online]. 2017. (cited 2020 Jul 21) Available from: URL: https://www.iofbonehealth.org/what-is-osteoporosis. 8 คุณสั ปกรณ์ มัคคัปผลานนท์, ปุณฑรี ศภุ เวช. การดูแลผู้สูงอายุหลัง ผ่าตัดเปล่ียนข้อสะโพกเทียม = Elderly care post total hip arthroplasty. Veridian E-Journal,Science and Technology Silpakorn University 2016;3:57-66. 9 สุขใจ ศรเี พยี รเอม, เจรญิ ชยั พากเพียรไพโรจน.์ การพยาบาลผ้ปู ่วย ผ่าตัดเปล่ียนข้อตะโพกเทียม. ใน : ธวัช ประสาทฤทธา, พรทิพย์ ลยานนั ท,์ สขุ ใจ ศรเี พยี รเอม, บรรณาธกิ าร. การพยาบาลออร์โธปดิ กิ ส.์ กรุงเทพฯ : โรงพยาบาลเลิดสิน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ ; 2555. หนา้ 103-38. 10 University of Florida Health. Hip replacement surgery patient information manual: maximizing your new hip. [online]. (n.d.) (cited 2020 Jul 20) Available from: URL: https://ufhealth.org/ sites/default/files/media/PDF/Hip-Replacement.pdf. 11 North York General. Total hip replacement surgery: patient guide. [online]. 2014. (cited 2020 Jul 20) Available from: URL:https://www.nygh.on.ca/data/2/rec_docs/1443_Hip_ Replacement-Surgery_March 2014.pdf.
โรงพยาบาลเลดิ สิน 68 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 12 Riverside University Health Systems. Total hip replacement patient handbook. [online]. (n.d.) (cited 2020 Jul 20) Available from: URL: http://www.ruhealth.org/en-us/medical-center/ medical-services/Joint Replacement/PublishingImages/ Pages/default/Total-Hip-Replacement-Handbook%20 RUHS%20Final.pdf. 13 Billing Clinic. Total hip replacement handbook. [online]. (n.d.) (cited 2020 Jul 20) Available from: URL: https://www. bi l l ingscl inic.com/app/fi les/publ ic/2330/Ortho- JointReplacementBooklet-Hip.pdf. 14 วิไล คุปต์นิรัติศัยกุล. การหกล้มในเชิงของปัจจัยเส่ียงต่อการเกิด กระดูกหกั . ใน : ทวี ทรงพฒั นาศิลป,์ บรรณาธิการ. การดแู ลรักษา ภาวะกระดูกหักจากโรคกระดูกพรุนแบบองค์รวม 1 = Holistic management of osteoporotic fractures 1. กรงุ เทพฯ : มลู นิธิโรค กระดกู พรนุ แห่งประเทศไทยฯ; 2558. หนา้ 259-98. 15 มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มสผส.). ยากันล้ม คู่มือ ป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ. [ออนไลน์]. 2558 (เข้าถึงเม่ือวันที่ 3 พฤษภาคม 2563) เข้าถึงได้จาก: URL: http://resource.thaihealth. or.th/library/collection/14767.
คมู่ ือการดแู ลตนเอง 69 สำ� หรบั ผปู้ ว่ ยกระดกู สะโพกหักจากโรคกระดูกพรนุ ท่ีปรึกษา 1. นายศักรนิ ทร์ วงศ์เลศิ ศริ ิ ผู้อำ� นวยการโรงพยาบาลเลิดสิน 2. นายชยั โรจน์ เอ้ือไพโรจน์กิจ นายแพทยท์ รงคุณวุฒิ หวั หนา้ กลมุ่ ศนู ยก์ ารแพทยเ์ ฉพาะทางดา้ นออร์โธปดิ กิ ส์ โรงพยาบาลเลดิ สนิ 3. นางนิตยา ภูรพิ นั ธุ์ พยาบาลวชิ าชีพช�ำนาญการพเิ ศษ รองผูอ้ �ำนวยการดา้ นการพยาบาล โรงพยาบาลเลิดสนิ 4. นางสายธรรม วงศส์ ถิตวิไลรงุ่ พยาบาลวชิ าชีพช�ำนาญการพิเศษ หวั หน้ากล่มุ งานวิชาการพยาบาล โรงพยาบาลเลิดสิน
โรงพยาบาลเลดิ สนิ 70 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ ผู้ทรงคณุ วุฒิ 1. นายเจรญิ ชัย พากเพียรไพโรจน ์ นายแพทยเ์ ชีย่ วชาญ รองผูอ้ ำ� นวยการดา้ นพัฒนาระบบสขุ ภาพ โรงพยาบาลเลิดสนิ 2. นายชิตวรี ์ เจียมตน นายแพทย์ชำ� นาญการ รองหัวหนา้ กล่มุ งานพฒั นานโยบายและยุทธศาสตร์ โรงพยาบาลเลิดสิน 3. นางสาวซายน์ เมธาดลิ กกุล นายแพทย์ชำ� นาญการ ศนู ย์การแพทยเ์ ฉพาะทางด้านออร์โธปดิ ิกส์ โรงพยาบาลเลิดสนิ 4. นางสาวสขุ ใจ ศรเี พยี รเอม พยาบาลวชิ าชีพช�ำนาญการพเิ ศษ หวั หน้างานการพยาบาลผ้ปู ว่ ยในออร์โธปดิ กิ ส์ โรงพยาบาลเลิดสิน 5. นายประกติ เนตรหิน นักกายภาพบำ� บดั ชำ� นาญการ กลมุ่ งานเวชศาสตร์ฟน้ื ฟู โรงพยาบาลเลิดสิน 6. นางสาวนติ พิ ร เวฬสุ ุวรรณ นักกายภาพบำ� บัดช�ำนาญการ กลุ่มงานเวชศาสตร์ฟน้ื ฟู โรงพยาบาลเลิดสนิ 7. นางสาววาเลนน์ณี แกว้ บบั พา เภสชั กรชำ� นาญการ กลมุ่ งานเภสัชกรรม โรงพยาบาลเลดิ สิน 8. นายกันตสิ ขุ ธะนีบุญ นกั โภชนาการปฏิบัตกิ าร หวั หนา้ กล่มุ งานโภชนศาสตร์ โรงพยาบาลเลดิ สนิ
คู่มือการดูแลตนเอง 71 ส�ำหรับผู้ปว่ ยกระดูกสะโพกหักจากโรคกระดกู พรนุ ผูเ้ รียบเรียง 1. นางสาวสุขใจ ศรเี พียรเอม พยาบาลวิชาชีพช�ำนาญการพเิ ศษ หัวหนา้ งานการพยาบาลผู้ป่วยในออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลเลดิ สนิ 2. นางสาวสุนันท์ สนนม่ิ พยาบาลวชิ าชีพชำ� นาญการพเิ ศษ หัวหน้าหอผปู้ ว่ ยศัลยกรรมกระดูกหญงิ โรงพยาบาลเลิดสิน 3. นางสาวปยิ ธดิ า อย่สู ขุ พยาบาลวิชาชพี ชำ� นาญการพิเศษ หวั หน้าหอผูป้ ่วยศัลยกรรมกระดูกชาย 1 โรงพยาบาลเลิดสนิ ออกแบบปก และวาดภาพประกอบ นายทรงธรรม ประกอบเท่ียง เจา้ พนกั งานโสตทัศนศกึ ษาปฏบิ ัติงาน งานเวชนทิ ัศน์ โรงพยาบาลเลดิ สนิ ถ่ายภาพ นายฤชา สวสั ด์มิ งคล ชา่ งภาพทางการแพทย์ปฏบิ ัตกิ าร งานเวชนทิ ศั น์ โรงพยาบาลเลิดสนิ แสดงแบบ นางสาวกิตตยิ า ไชยสัตย ์ พยาบาลวิชาชพี ปฏบิ ัตกิ าร หอผ้ปู ว่ ยศัลยกรรมกระดูกชาย 2 โรงพยาบาลเลิดสนิ
โรงพยาบาลเลิดสิน 72 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข คณะทำ� งาน 1. นางสาวสนุ ันท์ สนนิม่ ประธาน พยาบาลวิชาชพี ช�ำนาญการพเิ ศษ หัวหนา้ หอผูป้ ่วยศลั ยกรรมกระดกู หญิง โรงพยาบาลเลดิ สิน 2. นางสาวกฤตยิ า จติ ราภณั ฑ์ รองประธาน พยาบาลวชิ าชพี ชำ� นาญการพเิ ศษ หวั หนา้ หอผปู้ ว่ ยศลั ยกรรมและศลั ยกรรมกระดกู เดก็ โรงพยาบาลเลดิ สนิ 3. นางสาวสขุ ใจ ศรเี พยี รเอม กรรมการ พยาบาลวชิ าชพี ชำ� นาญการพเิ ศษ หวั หนา้ งานการพยาบาลผปู้ ว่ ยในออร์โธปดิ กิ ส์ โรงพยาบาลเลดิ สนิ 4. นางเสาวรส สดุ สวา่ ง กรรมการ พยาบาลวชิ าชพี ชำ� นาญการพเิ ศษ หวั หนา้ หอผปู้ ว่ ยพเิ ศษศลั ยกรรมกระดกู โรงพยาบาลเลดิ สนิ 5. นางวลยั พร บรบิ รู ณธ์ นกลุ กรรมการ พยาบาลวชิ าชพี ชำ� นาญการ หวั หนา้ หอผปู้ ว่ ยศลั ยกรรมกระดกู ชาย 2 โรงพยาบาลเลดิ สนิ 6. นางสาวสพุ รรณพมิ พ์ นม่ิ สอาด กรรมการ พยาบาลวชิ าชพี ชำ� นาญการ หวั หนา้ งานฝกึ อบรมและพฒั นาบคุ ลากรทางการพยาบาล โรงพยาบาลเลดิ สนิ 7. นางสาวประภา จนี นกิ ลุ กรรมการ บรรณารกั ษช์ ำ� นาญการ หวั หนา้ หอ้ งสมดุ และหอประวตั ิ โรงพยาบาลเลดิ สนิ 8. นางยพุ นิ โลหากาศ กรรมการ เจา้ พนกั งานโสตทศั นศกึ ษาชำ� นาญงาน หวั หนา้ งานเวชนทิ ศั น์ โรงพยาบาลเลดิ สนิ 9. นางสาวปยิ ธดิ า อยสู่ ขุ กรรมการและเลขานกุ าร พยาบาลวชิ าชพี ชำ� นาญการพเิ ศษ หวั หนา้ หอผปู้ ว่ ยศลั ยกรรมกระดกู ชาย 1 โรงพยาบาลเลดิ สนิ
ค่มู อื การดแู ลตนเอง 73 ส�ำหรบั ผปู้ ว่ ยกระดูกสะโพกหักจากโรคกระดูกพรนุ บันทึก
โรงพยาบาลเลดิ สิน 74 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ บนั ทึก
ค่มู อื การดแู ลตนเอง 75 ส�ำหรบั ผปู้ ว่ ยกระดูกสะโพกหักจากโรคกระดูกพรนุ บันทึก
โรงพยาบาลเลดิ สิน 76 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสขุ บนั ทึก
คูม่ ือกำรดแู ลตนเอง สำ� หรับผู้ป่วยกระดูกสะโพกหัก จำกโรคกระดูกพรุน โดย งำนกำรพยำบำลผปู้ ว่ ยในออร์โธปดิ กิ ส์ ภำรกจิ ดำ้ นกำรพยำบำล โรงพยำบำลเลดิ สนิ กรมกำรแพทย์ กระทรวงสำธำรณสขุ
TEXT & JOURNAL PUBLICATION CO., LTD. บริษทั เทก็ ซ แอนด เจอรน ลั พับลเิ คช่ัน จำกัด เช่ียวชาญเฉพาะ งานพิมพหนงั สือ-ตำรา 158/3 ซอยยาสบู 1 ถนนวภิ าวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตจุ ักร กรงุ เทพฯ 10900 โทร. 0 2617 8611 - 2 แฟกซ 0 2617 8616 อีเมล [email protected]
Search