Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สูจิบัตรพิธีไหว้ครูช่าง65

สูจิบัตรพิธีไหว้ครูช่าง65

Published by โกศล แก้วรัตน์, 2022-06-14 08:49:36

Description: สูจิบัตรพิธีไหว้ครูช่าง65

Search

Read the Text Version

๑ พธิ ไี หวค้ รูชา่ ง ๒๕๖5

๒ พระบรมราโชวาท พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรสี ินทรมหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกลา เจา อยหู ัว “งานของครูนนั้ ถอื ไดว าเปนงานสรา งสรรคอ ยางแทจ รงิ เพราะเปน การวางรากฐาน ความรู ความดี และความสามารถทกุ ๆ ดา นแกศิษย เพื่อชว ยใหส ามารถดำรงตนเปน คนดี มอี าชีพเปน หลักฐานและเปนประโยชนต อ สงั คม เพราะเหตทุ ่ีงานของครเู ปนงานท่ีหนักและเปน งานสรางสรรคท ่ี บรสิ ุทธิ์ ผูเ ปน ครูจึงตอ งปฏบิ ตั หิ นาทดี่ ว ยความตง้ั ใจทแี่ นวแน ดว ยความพากเพยี ร อดทน และดว ย ความเมตตากรณุ าอยา งสงู ทัง้ ตองสำรวมระวงั ตนในเร่ืองความ ประพฤตปิ ฏบิ ตั อิ ยา งเครง ครดั ไมป ลอยตวั ปลอ ยใจไปตามความตอ งการที่ไมส มควรแกฐานะและเกียรตภิ ูมขิ องครู…” ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั สวนจติ รลดา พระราชวงั ดุสติ วันองั คารท่ี 13 มีนาคม 2561 พธิ ีไหว้ครูช่าง ๒๕๖5

๓ พธิ ไี หวค้ รูชา่ ง ๒๕๖5

๔ พระบรมราโชวาท สมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี “ครู... คือ ปจ จยั สำคญั ในการยกระดบั คุณภาพชวี ิตของประชาชน ครู... คอื มนษุ ยทสี่ ามารถสรา งแรงบนั ดาลใจ ใหเ ด็กนักเรียนท่ีจะพัฒนาคณุ ลักษณะของ ตนเองและสรางคานิยมตา ง ๆ ใหเกดิ ขน้ึ ไมม เี ทคโนโลยใี ดๆ สามารถมาแทนทค่ี รไู ด ดว ยเหตผุ ล ดังกลา ว น่นั คือวา ทำไม ครูทด่ี .ี ...จึงสามารถเปลยี่ นแปลงชวี ติ ลกู ศษิ ยไ ด ดว ยการพฒั นาพวกเขาให เปนพลเมอื งทดี่ ี และมคี วามสามารถท้ังในระดบั ชาติและระดบั พลเมอื งของโลกดวย” ความตอนหน่งึ พิธพี ระราชทานรางวลั สมเดจ็ เจาฟามหาจกั รี ครั้งที่ 3 เม่อื วนั ที่ 15 ตลุ าคม 2562 พธิ ไี หว้ครชู า่ ง ๒๕๖5

๕ พธิ ไี หวค้ รูชา่ ง ๒๕๖5

๖ สดุดคี ุณครู ทำไมตอ งไหวครู !…..ไหวครูทำไม ???? มคี ำถามมากมายของคนในยคุ Gen-Z หรือคนรนุ ใหมในยคุ ปจจบุ ันทีเ่ กิดหลัง พ.ศ. 2540 วา ทำไมตองไหวครู ครกู ็เปนอาชีพหนง่ึ ท่ีตอ งทำเพื่อใหม รี ายไดใ นการเลย้ี งชีพ ถาไมม ีผูเรยี นครกู ็ไมม ีคน ทต่ี องสอน ครกู ไ็ มมอี าชีพ ไมมมี ีรายได แลว ทำไมตองไหว ไมจ ำเปน ตอ งมบี ุญคุณตอ กัน …… ครใู นฐานะท่เี กดิ กอน เปน คนรนุ เกา เปนคน Gen-X ที่เกดิ ในชวง พ.ศ. 2508-2522 ไดเห็น วิวัฒนาการของการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทย เห็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของคนไทยที่มีความ สวยงามนา ประทบั ใจในหลายเรอื่ งโดยเฉพาะความมนี ำ้ ใจ มีเมตตา ปรารถนาใหผอู ืน่ เปนสุข ครั้งใดก็ ตามที่มีการเผยแพรขาวขอความชวยเหลือการชวยเหลือคนที่ลำบาก ตกทุกขไดยาก จะมีคนไทย ระดมสรรพกำลังชวยกันโดยเร็ว คนที่ตกทุกขก็พนทุกขในขณะนั้นได ….แตก็มีอีกหลายอยางก็ เปลยี่ นแปลงไป ความกตัญรู คู ุณ ถกู แทนท่ดี ว ยคำวา หนาที่ พอ แมเกดิ ลูกมามหี นาทต่ี อ งเล้ยี งดู เคย ถามลูกไหมวาอยากเกิดหรือไม ครูมีหนาที่สอนนักเรียน มีเงินเดือน มีรายไดจากการสอน หนาท่ี เหลานี้ไมจำเปนตองมีบุญคุณตอกัน ตางคนตางทำหนาที่กันไป…..แลวทำไมตองไหวพอแม ทำไม ตองไหวครู….. ศิษยรกั ทุกคน แมเธออาจจะคดิ วาไมตองมีศิษย มคี รู ไมตอ งเรยี กหนูวา ศิษย แตครูก็ยังคิดวา พวกเธอเปนศิษยข องครู ศิษยของวิทยาลัยการอาชีพหว ยยอด ทีไ่ ดรับการอบรมบม นสิ ยั มใิ หหลงไหล ไปตามกระแสปลุกปน ของการทำหนาทีท่ ่ีไมม คี วามความผกู พนั ตอ กนั ครทู ุกคนยังเปน ครทู ่ปี รารถนา ดี อยากใหศษิ ยไ ดดี มอี นาคตทดี่ …ี …..นีค่ อื อัตลกั ษณข องอาชีพครูท่ีไมไ ดเปลี่ยนไปตามกาลเวลา…แม โลกจะเปลี่ยนไปกี่ Generation ก็ตาม เธอจะเกงก็ไหนก็ตาม….ความกตัญูตอผูมีพระคุณคือของ วิเศษที่จะสรางความงดงาม ความเปนคนที่สมบูรณแบบ คนที่มีจิตใจสูงสงและสรางเสนห ใหแกเ ธอ ในทุกๆ วัน ตราบที่เธอยังมีลมหายใจ……ไหวครูปนี้เธอทุกคนไดทำสิ่งที่เปนมงคลกับตัวเองแลว….. ขอใหเ จริญดว ยจตุพิธพรชัย…. (นายกษดิ ิฏฐ คำศรี) ผอู ำนวยการวิทยาลยั การอาชีพหวยยอด 16 มิถนุ ายน 2565 พธิ ีไหว้ครูช่าง ๒๕๖5

๗ สดุดีคณุ ครู เดือนมิถนุ ายนของทุก ๆ ป เปนเดอื นทีล่ กู ศษิ ยนกั เรยี น นักศกึ ษา จะไดม ี โอกาสเขา ไปแสดงความเคารพรักและระลึกถงึ พระคุณของบรู พาจารย ทีต่ ลอดเวลานั้น ทานไดคอยอบรมสั่งสอนใหศิษยเปนคนดี โดยนำดอกไมธูปเทียน มากราบไหว เปน การแสดงความกตญั ตู อผูใหป ญ ญา ครู เปน ผูท ม่ี คี วามรบั ผิดชอบในการอบรมสั่งสอน โดยตองทุม เทท้งั แรงกาย และแรงใจ ไมน อ ยไปกวา พอแม ผใู หก ำเนดิ เลย ครูจึงเปน บคุ คลสำคัญเปนสองรองไป จากพอแม ที่ลูกศษิ ยทุกคนควรจะแสดงความกตญั ูกตเวทิตาตอทา น หากโลกนี้ไมม ี ครแู ลว สรรพสทิ ธยิ าก็ตองสูญหายไปนานแลว ในปนี้ วันไหวครูชางของวิทยาลยั การอาชีพหว ยยอด ตรงกับวนั พฤหสั บดีท่ี 16 มถิ นุ ายน 2565 ขาพเจา ขอมอบบทกลอนใหก ับครทู กุ คน อนั คุณครคู ำนม้ี ีความหมาย อันหลากหลายคำพดู จะกลา วถงึ คอื ผูใ หท รพั ยว ชิ านาคำนงึ คือผูซึง่ อบรมใหท ำดี อกี ครูน้ีเหมือนพอแมค นท่ีสอง ครจู ึงตองอดทนตอ หนาท่ี เพยี รส่งั สอนเปนแมพ ิมพศษิ ยม ากมี เรือจา งนีน้ ำ้ ใจงามนามวา “คร”ู (นายกิตติศักดิ์ ก่ัวพานิช) รองผูอำนวยการฝา ยแผนงานและความรวมมือ รองผอู ำนวยการฝายพฒั นากจิ การนักเรยี น นักศึกษา พิธีไหว้ครชู า่ ง ๒๕๖5

๘ สดดุ คี ุณครู ในโอกาส “วันไหวครู” ประจำปการศึกษา 2565 ของวิทยาลัยการอาชพี หวยยอด ซงึ่ เปน พธิ ีไหวค รตู ามประเพณีไทยที่ปฏิบัติกันมาแตโบราณ เพอ่ื การแสดงออก ถึงความกตัญูกตเวที “กตัญู คือรูคุณ” และ “กตเวทิตา คือการตอบแทนคุณ” อันเปน ธรรมแหงความเจริญและความสำเร็จของบุคคลที่ไดช่อื วา เปนศษิ ย โอกาสวันไหวครูชาง ของนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยการอาชีพหวยยอด ขาพเจาขอกราบอาราธนาอำนาจคุณพระศรรี ัตนตรยั และส่ิงศักดิส์ ทิ ธิ์ ภายในวิทยาลัยฯ อันประกอบไปดวยองคพระวิษณุกรรม พระภูมิเจาที่ ศาลเจาที่ และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ท่ี ครอบครวั ของนกั เรียนเคารพนับถือ ขอใหเ ปน พลปจจยั ดลบันดาล ใหนกั เรียน นกั ศึกษา ทกุ คน จงประสบผลสำเร็จและมคี วามเจริญกา วหนาตอไป (นางสุดาวรรณ วรรณบวร) รองผูอำนวยการฝายบริหารทรัพยากร พธิ ีไหวค้ รูชา่ ง ๒๕๖5

๙ สดดุ คี ุณครู พิธีการไหวครูชาง หรือ การบูชาองคพระวิษณุกรรม ซึ่งเปนที่เคารพบูชาของชาง ทกุ ศาสตรทกุ แขนง จดั ขน้ึ เพอื่ เปน สิรมิ งคลแกผูเปน ศษิ ยและผูประกอบอาชีพในทางชา ง เม่อื ประกอบพิธี แลวมีความเชื่อวาจะทำใหศิษยทีป่ ระพฤติดี ปฏิบัติดี ประสบความสำเร็จ มีความเจริญรุง เรืองในวิชาชีพ และอีกพิธีหนึ่ง คือ พิธีไหวครูสามัญ ซึ่งถือเปนการรักษาขนบธรรมเนียมอันดีงาม เปนการแสดงออกถึง การมสี มั มาคารวะตอผมู ีพระคุณ และมีสว นโนมนาวจติ ใจใหค รรู กั ษาไวซ ง่ึ คุณงามความดี ครูกถ็ ือไดวา เปนผูท ่ีมคี วามสำคัญย่ิงในการปลูกฝงความรู ความคิด และยกระดับจิตใจใหแกศิษย เพ่ือใหเ ติบโตข้ึนไปเปนพลเมืองท่ดี ีของประเทศชาติ มีนักปราชญหลายทานเปรียบ “ครู” คือ “ปูชนียบุคคล” “แมพิมพของชาติ” “เรือจาง” “แสงเทียน” หรือจะเปรียบเปรยเปนอยางอื่น ซึ่งทุกคำเปรียบเปรยก็ลวน หมายถึง การเปนผูยกระดับจิตวิญญาณมนุษย ใหรูจักผิดชอบชั่วดี สอนในคุณงามความดี และเปนแมแบบ ใหศ ิษยไดปฏิบัติตาม ดังกลอนบทนี้ ผสู รางคน เปน แสงธรรม นำทาง สรา งชีวิต เปนผูค ิด ส่อื สาร งานศึกษา เปนผูร ู ประสิทธิ์ วิทยา เปน ศาสตรา คอยคมุ ครอง ผองเดก็ ไทย เปนแมพ มิ พ กำหนด บทบาทศษิ ย เปนผูช้ี แนวชวี ติ ที่ฝนใฝ เปน ผนู ำ พาชาติ ปราศพษิ ภยั คา ยง่ิ ใหญ เกนิ กลา วขาน คอื งาน ครู เนื่องในวันไหวครูชาง ประจำปการศึกษา 2565 ของวิทยาลัยการอาชีพหวยยอด ขาพเจา ขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและอำนาจสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายที่ทุกทานนับถือ จงดลบันดาลและอำนวยพร ใหครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกทานประสบแตความสุข ความเจริญ มีพลังกาย พลังใจที่เขมแข็งในการ รว มกนั พฒั นาการศึกษา และมคี วามเจริญกาวหนาในหนาท่ีการงานสืบไป (นางสาวศริ ิภรณ สังขสุวรรณ) รองผูอำนวยการฝายวิชาการ พิธไี หวค้ รชู า่ ง ๒๕๖5

๑๐ ความสำคญั ของพิธีไหวครู พิธีไหวครูเปนพิธีกรรมที่สำคัญอยางหนึ่ง และนับเปนประเพณีของไทยที่นิยม ปฏิบัติมาแตสมัยโบราณ แสดงถึงความระลึกถึงบุญคุณของครู การไหวครู ยังเปน การแสดงตน วาตนเองขอมอบตัวเปนศษิ ยของทานโดยตรง เปน การเคารพครูใหถูกตอง เพ่ือท่จี ะศกึ ษาหาความรูจากครูบาอาจารยแ สดงความนอบนอมอยางถูกวิธี ปวารณาตน ใหครูไดร บั รู วาเราเปน ศษิ ยของทา นแลว พรอ มท่ีจะนอมรับคำสั่งสอน ดุดาวากลาวจาก ทา นทกุ ประการ การไหวครูมีใชในหลายกิจกรรมเชน การไหวครูในโรงเรยี น พิธีกรรมของโรงเรียน ในวันครู การไหวครูมวย เปนการไหวครูดวยลีลาของศิลปะมวยไทย เชนเดียวกับกระบี่ กระบอง การไหวครู กอนการแสดงศิลปะดนตรี เชน หนังตะลุง และการไหวครูในงาน ประพันธ เรียกวา บทไหวครู หรือ อาเศียรวาท (อาเศียรวาท ก็วา) เปนการกลาวระลึก ถึงบญุ คุณครู และขอความเปนมงคล พิธีไหวครูซ่ึงในชวงเดือนมิถนุ ายนของทกุ ป จะกำหนดจัดพิธีไหวครูโดยถอื หลักวา ตองเปน วนั พฤหัสบดี เพราะเช่อื วาวนั นเ้ี ปนวนั ครสู วนจะเปนพฤหสั บดีที่เทาไรของเดือน กแ็ ลว แตความสะดวกของแตล ะสถาบันไมมขี อจำกัด วตั ถปุ ระสงคข องการไหวค รู 1. เปน การรักษาประเพณีและวัฒนธรรมของไทย ปลกู จิตสำนึกความเปน ไทย 2. ทำใหนกั เรยี น นักศกึ ษา เกิดความศรทั ธาในวิชาชพี 3. ทำใหเกิดความผูกผันระหวางครู – ลูกศษิ ย และวิทยาลัย 4. ทำใหเ กิดความสามคั คีในหมูคณะจากสัญลักษณเดยี วกันคอื พระวษิ ณุ 5. ทำใหเ กดิ มีกิจกรรมรว มกันท้ังวทิ ยาลัย 6. ทำใหเ กดิ ประโยชนการปกครอง 7. เปด โอกาสใหสถานศึกษามกี ิจกรรมรวมกันทั้งวทิ ยาลัย พธิ ไี หว้ครูชา่ ง ๒๕๖5

๑๑ ประโยชนท ี่ไดรบั จากพธิ ไี หวค รู 1. สามารถทำใหเกิดความสามัคคีเปนอันหนึ่งอันเดียวกันในฐานะที่เปนศิษยมีครู เหมือนกัน 2. สามารถนำวชิ าความรูท เ่ี รยี นมา ไปถา ยทอดไดด ว ยความม่ันใจ โดยไมตองกลัววา “ผิดคร”ู 3. เปนการสรางศิษยใหมีความเชื่อมั่นในวิชาความรูที่ไดเรียนมากลาแสดงออกไม เก็บตวั 4. ทำใหมคี วามรูก วา งขวางและเขาใจในพธิ กี รรมเชนน้ีอยางชดั เจน 5. เกิดความสบายใจหากไดท ำส่งิ ใดผดิ พลาดไป ก็จะไดเปนการขอขมาครูไปดวย บทความเรอื่ งพิธไี หวค รูชา ง โบราณกลาวไววา“ความรูคูคุณธรรม” ซึ่งถือเปนวัฒนธรรมพื้นฐานที่ชาวไทย ปลูกฝงสืบทอดมาเปนเวลายาวนานกวาพันป และนำมากำหนดไวในการจัดการศึกษา ของไทยในปจจุบัน นอกจากหลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนาแลวชาวไทยยังนิยม ปฏิบัติตามคติของพราหมณดวยมีพิธีกรรมหลายอยางประสมประสานกนั ทั้งพุทธและ พราหมณ และถือปฏิบัติจนเปนประเพณี พิธีทุกพิธีมีความมุงหมายเพื่อเสริมสรางส่ิง สวัสดมิ งคลกจิ ทางพราหมณจะวา ดว ยระเบียบพธิ กี รรมที่กำหนดไวเปนแบบแผนสวนพิธี ทางพระพุทธศาสนาจะเปนเรื่องของสวัสดิมงคล ทำใหบังเกิดความปลอดโปรงราบร่ืน ดว ยเหตุผลนค้ี วามเช่ือทั้งสองประการจงึ ดำเนินควบคูก ันมาโดยตลอด คติพราหมณเชื่อวาเมื่อพระพรหมสรางโลกแลว ทรงประทานศิลปปญญา สัจจะ สามัคคีใหมนุษย “ศิลปะและปญญา หมายถึง วิชาความรูสัจจะและสามัคคี” คือ คุณธรรมเปนกฎระเบียบที่มนุษยจะตองอยูรวมกันอยางกลมเกลียวสันติสุข มีความ จรงิ ใจไมเบยี ดเบียนกัน และเชื่อวา นอกจากพระพรหมแลว ยังมีเทพเจาอกี หลายองคที่ พธิ ไี หวค้ รชู า่ ง ๒๕๖5

๑๒ ประสิทธิ์ประสาทความรู ใหเปนสมบัติของมนุษยเชนพระศิวะ พระวิษณุกรรม พระพฤหัสบดีเปนตนสำหรับมนุษยไดประกอบสัมมาอาชีวะเลี้ยงตนเองและเกื้อกูลซึ่ง กนั และกนั ประกอบดว ย วชิ าท่ี ๑ รวมสาขาวิชา ๔ แขนง คือ ไสยะ วทิ ยะ วิศวะ และโหราศาสตร วิชาท่ี ๒ อกั ษรศาสตร วิชาที่ ๓ รวมสาขาวิชา ๒ แขนง คอื การปกครอง และศาสนาเรยี กรวมกนั วา “รฐั ศาสตร” วิชาท่ี ๔ เรียกวา วชิ าพชิ ยั สงคราม หรอื “ยุทธศาสตร” วิชาที่ ๕ การแพทย การรักษาพยาบาล การปรงุ ยา วิชาที่ ๖ การเพาะปลกู หรือการเกษตร วิชาที่ ๗ รวม ๒ แขนงวชิ า คือ ดรุ ิยางคค ีตศาสตร และนาฏยศาสตร ดวยเหตุนี้ จึงเปนความเชื่อสืบตอกันมาวาศาสตรและศิลปที่เปนวิชาการทั้งปวง มคี รปู ระจำวชิ า กเ็ ม่ือแตละวิชามีครซู ่ึงลวนแตเปนเทพเจา ศักดส์ิ ิทธทิ์ รงฤทธิเดชอำนาจ มีความเมตตาปราณตี าง ๆ กนั ก็ยอ มจะใหคุณใหโทษไดเ สมอหากผดิ ครู วิชาการทั้งหลายที่ร่ำเรียนสืบตอกันมาเปนทอด ๆ ก็ยอมมีครูอาจารย รับชวง เปนทั้งศิษยและเปนทั้งครูในเวลาตอมาศิษยหรือผูรับถายทอดวิชาการตางๆใหความ เคารพตอครูของตนอยางแนบแนนโดยเฉพาะเทพเจาที่ประสิทธิ์ประสาทความรูใน เบื้องตนถือเปน “ปฐมบูรพาจารย” จะมีการจัดบวงสรวงเครอื่ งสกั การะปฐมบรู พาจารยผู มีความสำคญั แตล ะพระองค เชน การไหวค รูชา งศลิ ปกรรม และนาฏดรุ ยิ าคศลิ ป จะ มีลักษณะเฉพาะพิเศษท่จี ะตองถอื ปฏบิ ตั ิตามโบราณาจารยอยางเครงครัด ปฐมบรู พาจารย ผูป ระสิทธิ์ประสาทวชิ าความรูใหแกมนุษยโลกมีจำนวนมากนับ ไดสิบๆ องค ลำดับลดหลั่นตามชั้นภูมิ มีทั้งมหาเทพชั้นพรหม เทวาจารยฤษี ครูทำ หนาทีส่ บื ทอดวชิ า รวมท้ังเครื่องมือ อุปกรณ ตำราเรียน เชน เคร่อื งมือ ชา งเครื่อง พิธไี หวค้ รูชา่ ง ๒๕๖5

๑๓ ดนตรี คัมภรี ต า ง ๆ เฉพาะเทพซ่ึงจัดเปนปฐมบูรพาจารยองคสำคัญ ๆ ที่คนกับความเชื่อของคนไทย และมักจะกลา วถงึ ๗ พระองค (เทพ ๗ องค) คือ 1. พระพรหมเทวราช ผูทรงสรางโลกขึ้นมาพรอมกับประทานสรรพ-วิทยาการ ท้ังปวง ไดแ ก ศิลปะ สัจจะ สามคั คี และปญญา ๒. พระศิวะ ผูทรงประทานศิลปวิทยาการทั้งหลายไวในโลกมนุษย ประกอบดว ยความรู ๗ ประการ (ดังทกี่ ลาวไวข า งตน ) ๓. พระนารายณ มหาเทพผูเกรียงไกรปราบพายทั่วไตรจักร ทรงรักษา วิชาการไวใ หค งอยคู ูโลก ๔. พระพิฆเณศร ผูข จดั อุปสรรคนานา เปนเจา แหงศิลปศาสตรทั้งปวง ๕. พระสุรัสวดี (พระชายาของพระพรหม)ผูเปนเจาแหงวิชาอักษรศาสตร วทิ ยาศาสตร การแสดง และการดนตรี ๖. พระวษิ ณกุ รรม เทวจารยผ ูประสทิ ธปิ ระสาทสรรพวชิ าชา งทงั้ หลาย ทัง้ ปวง ๗. พระพฤหสั บดี ฤษีเทพ อาจารยข องเทวดาท้ังปวง ดังนั้น จะเห็นไดวาบูรพาจารย จึงมี ๒ ลักษณะ คือ ปฐมบูรพาจารย คือ ที่กลาว มาแลว และบูรพาจารยที่เปนครูอาจารยส่ังสอนศลิ ปะวิทยาการสืบทอดวิชาท้ังหลายมิ ใหเสื่อมสูญ และมีศิษย ผูประกอบดวยคุณธรรมความดี เปนแบบอยางที่ดีสืบทอด วิชาการน้นั ๆ ตอไปไมมวี ันสน้ิ สุด บทกลาวสวดในพิธีไหวครูชาง ตามประเพณีนิยมจะมีการกลาวเชิญเทพยดา ท่ีสำคญั และนบั ถือมาในปะรำพธิ ี เพ่ือใหศีลใหพ ร ทำใหเกดิ ความขลงั และศกั ด์ิสิทธ์ิ ตอ ผรู วมพธิ ีจำนวน ๕ รูป ตามลทั ธิศาสนาฮนิ ดู ดังนี้ 1. พระพรหม เปนเทพสูงสุดและเปนเอกในศาสนาพราหมณ เปนเทพผูสราง สรรคส ิ่งทง้ั หลาย ทงั้ ปวงใหเกิดในโลกมนุษย จนกระท่ังถึงลัทธศิ าสนาฮินดู พระพรหมณ กย็ งั คงเปนเทพผูสรางเชนเดิม แตมใิ ชเปน เอกและสูงสุดแลว เพราะพระองคทำใหเกิด พธิ ไี หวค้ รชู ่าง ๒๕๖5

๑๔ พระรทุ ระข้นึ มาจากการบำเพญ็ ตบะ พระรุทระ กแ็ บงภาคออกเปน ๒ องค คือ พระศิวะ กบั พระวิษณุ 2. พระอศิ วรหรือพระศิวะ เปนเทพอีกองคหนึ่งที่เกิดจากการแบงภาคของ พระรุทระ มีฐานะเทียบเทาพระพรหมตามลัทธิฮินดู เปนเทพที่ดุดันเหี้ยมโหดแม เครื่องประดับพระองคก็เปนกะโหลกศรีษะมนุษย โปรดเสวยแตโลหิตพระอิศวรหรือ พระศวิ ะนี้ จงึ เปน เทพท่มี อี ำนาจใหท ั้งโทษท้ังคณุ ๓. พระนารายณหรือพระวิษณุ เปนเทพอีกองคหนึ่งที่เกิดขึ้นจากการแบงภาค ของพระรุทระ ฐานะเทียบเทาพระพรหม เปนเทพเจาที่ออนโยนและมีเมตตากรุณา ซึ่งตรงกันขามกับพระศิวะ พระวิษณุ ประทับอยูที่เกษียรสมุทรบนหลังอนันตนาคราช ทรงครุฑเปนพาหนะมีหนาที่ชวยปราบยุคเข็ญ เพื่อใหโลกมนุษยและสวรรคสงบสุข ลัทธศิ าสนาฮินดู จึงมพี ระเจายง่ิ ใหญส ูงสดุ ๓ องค และสงู สุดเทา เทยี มกัน คอื พระพรหม พระศิวะ และพระวษิ ณุ เรียกวา “ตรมี รุ ต”ิ ๔. พระอมุ าเหมวดี หรือเรียกสน้ั ๆ วา พระอมุ า เปน พระชายาของพระศิวะซ่ึงมี ผูกลาววาเปนพระกนิษฐภคินี (นองสาว) ของพระศิวะเอง เปนเทพีที่มีความสำคัญและ ศักดิ์สิทธิม์ ากตามลัทธิศาสนาฮนิ ดู และเปนเทพที ี่ดดุ นั เหีย้ มโหด ไมแพพ ระสวามี จงึ มี อำนาจทั้งใหโทษและใหคุณ ศาสนิกชนถือวาการบวงสรวงบูชาเพื่อขอพรไดรวดเร็ว และสะดวกกวาบชู าพระศวิ ะ และเม่อื อาวตารลงมาสเู มืองมนษุ ยจะมชี ื่อวา เจา แมกาลี ตางก็นับถือและเกรงกลัวมาก เพราะสามารถไป-มาไดทุกหนแหง ตองบวงสรวงดวย “ศิวลงึ ค” ๕. พระพิฆเนศหรือพระพิฆเนศวร เปนพระโอรสองคแรกใน ๓ องค ของพระ ศิวะกับพระอุมา เปนเทพที่มีรูปรางผิดแปลกจากเทพทั้งหลาย เพราะมีเศียรเปนชาง แตเปนเทพเจาที่มีสติปญญาเฉียบแหลม มีความรอบรู มีความคิดที่เฉลียวฉลาดที่สุด ในบรรดาเทพเจาทัง้ หมด จงึ เปนเทพเจา แหงศลิ ปวิทยา พธิ ีไหว้ครูช่าง ๒๕๖5

๑๕ ในการประกอบพิธีการเชิญเทพยดาทั้ง ๕ องค นอกจากบทสวดกลาวเชิญแลว ตามแบบฉบบั ทั่วไป มักจะใชวงปพาทยท ำเพลงเชิญ เชน เพลงเสมอขา มสมุทรใชเชิญ พระพรหม เปนตน วงปพาทยน ้จี ำเปนจะตอ งรูข้ันตอนของพิธกี รรม สามารถทำเพลง ถูกตอง ถูกขั้นตอน มีเพลงที่ใชบรรเลงอยูประมาณ ๑๒ เพลงดวยกัน เชน เพลง เซนเหลา เพลงปฐมลูกศิษย (เพลงปลูกตนไม) เพลงเชิด เสมอ รัว เปนตน การกราบในพิธีนี้ก็เชนกัน ตองกราบหมอบตามเพลงเสมอ รัวของวงปพาทยตองมี ผกู ำกบั ดูแลเปน ผสู ่ัง ทั้งน้เี พื่อใหเกดิ ความพรอ มเพรียงและดสู วยงาม พธิ ไี หว้ครชู ่าง ๒๕๖5

๑๖ ประวัติและเร่ืองราวของพระวิษณุกรรม ประวัติขององคพระวิษณุกรรมนั้นมีดังนี้เทพแหงวิศวกรรม คือ \"พระวิศวกรรม\" ที่คนไทยเรานิยมเรียกสั้น ๆ วา\"พระวิศวกรรม\" หรือเรียกตามความคุนเคย (ซึ่งพองกับ ชื่อของพระวิษณุ) วา \"พระวิษณุกรรม\" หรืออีกหลายชื่อเชน “ พระพิษณุกรรม” “พระเวสุกรรม” “พระวิศวกรรมา” “ พระวิศวกรมัน” \"พระเพชฉลูกรรม\" \"ทาววิสสุกรรม\" \"ทาวเวสสุกรรม\" หรือ “ตวัสฤ” คนไทยเราเรียกพระวิศวกรรมาวา \"พระวษิ ณกุ รรม\" และในทส่ี ุดก็กรอนลงเหลือเพียง 'พระวิษณ'ุ ซ่ึงเปนชื่อของเทพท่ีคน ไทยเรารูจักมักคุนกันมากกวา ดังที่ไดกลาวแลวขางตนนี่เอง ทำใหหลายคนเขาใจวา พระวิษณุเปนเทพแหงวิศวฯ ซึ่งเปนความเขาใจที่คลาดเคลื่อน สำหรับเทพแหงวิศวฯ ตวั จรงิ คอื พระวิศวกรรมา หรือพระวิษณุกรรม นน้ั ทานเปน ทง้ั สถาปนกิ และวิศวกรท่ีมี พธิ ีไหวค้ รชู ่าง ๒๕๖5

๑๗ ความชำนาญงานชางทุกแขนง ในตำนานพทุ ธศาสนาเลา วา ทา นเปนผสู รา งอาศรมใหแก พระโพธิสัตวหลายพระองค (กอนที่จะอุบัติเปนพระพุทธเจา) เปนผูสรางบันไดเงิน บันไดทอง บนั ไดแกว ทอดจากสวรรคช ั้นดาวดึงสล งมายังโลกมนุษยท ี่เมืองสังกัสสนคร ซึ่งเปนเสนทางที่พระพุทธเจาใชเสด็จลงจากสวรรคชั้นดาวดึงส (หลังจากเสด็จขึ้นไป โปรดพุทธมารดาบนสวรรคในชวงเขาพรรษา) นอกจากจะเปนสถาปนิกและเปนวิศวกร ดานโยธาและสำรวจ ดังจะเห็นไดจากผลงาน ๒ ประการที่วานี้แลว พระวิศวกรรมายัง เปนวิศวกรเครื่องกลอีกดวย กลาวคือ ทานเปนผูสรางวาฬสังฆาตยนต ซึ่งเปนกงลอ หมุนรอบองคพระสถูป ปกปกรักษาปองกันมิใหบุคคลเขาใกลพระบรมสารีริกธาตุของ พระพุทธเจา เมื่อครั้งที่พระเจาอชาตศัตรูไดรับสวนแบงพระบรมสารีริกธาตุหลังพุทธ ปรินิพพานและอัญเชิญไปประดษิ ฐานไวในองคพระสถูปทีว่ านี้ ผลงานเดนอีกหนึ่งอยา ง กค็ อื \"กรุงเทพมหานคร อมรรตั นโกสินทร ฯ มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะทัต ติยวษิ ณุกรรมประสทิ ธ์\"ิ หมายถงึ กรุงเทพมหานคร เมืองแหง เทวดาน้นั พระวิษณุกรรม เปนผูสรา ง ตามพระบัญชาของพระอินทร จากผลงานสรรคสรา งที่ปรากฏมากมายน้ีเอง เทพองคน จี้ งึ ไดช่ือวา \"วิศวกรรมา\" ซึ่งมคี วามหมายตามรปู ศัพทวา \"ผทู ำทุกสิ่งทุกอยาง\" (the \"Universal Doer\") คือเปน \"นายชางแหงจักรวาล\" นั่นเอง ตำนานฮินดูกลาววา พระวิศวกรรมา มีพระเนตร ๓ ดวง มีกายสีขาว ทรงอาภรณสีเขียว โพกผา มือถือคทา แตไทยนิยมวาดหรือปนรูปพระวิศวกรรมา ทรงชฎา มือถือจอบหรือผึ่ง (เครื่องมือ สําหรบั ถากไมชนดิ หน่ึง รปู รางคลายจอบ แตมดี า มส้นั กวา ) และลูกดง่ิ ซึ่งเปนสัญลักษณ ทางชางอยางชัดเจนพวกชางชาวฮินดูจะประกอบพิธีบูชาบวงสรวงพระวิศวกรรมา เพอื่ ขอพรใหต นเองประสบความสำเร็จในหนา ท่กี ารงานกัน ในวนั ทพ่ี ระอาทิตยย า ยเขา สู ฤกษภัทรบท ในวันนี้พวกชางจะงดใชอุปกรณและเครื่องมือทางชางทุกชนิด พวกเขามี ความเชื่อวาพระวิศวกรรมาจะเขามาสถิตในใจ และดลบันดาลใหพวกตนมีความคิด ความอา นทจี่ ะสรา งสรรคผลงานใหมๆ ทด่ี ี มีคณุ ภาพอยเู สมอ ที่มา: https://www.kppmu.go.th/gallery/248 พธิ ไี หว้ครชู ่าง ๒๕๖5

๑๘ พระวิษณุกรรม “วิษณ”ุ ...เทพแหงชา ง พราหมณห รอื ฮนิ ดู เปน ศาสตรทีเ่ กา แกอันดับหน่ึงของโลก ปรัชญาของศาสตรน้ี ไดกำหนดองคเทพขึ้น เพื่อลุแกความเลื่อมใสของศาสนิกชนเปนระยะเวลาอันยาวนาน ความแกของกาลเวลา ยิ่งสะสมบารมีแหง ความศักดิ์สิทธิข์ องเหลาเทพ จากนั้นไดแพร ออกจากชมพูทวีปดินแดนแหงอารยธรรมโบราณ และดินแดนแหงศาสนาสูทั่วทุก มมุ โลก พระวิษณุกรรม ถือวาเปนเทพองคห นึ่งที่สำคัญของพราหมณ เปนเทพเจาที่สูงสดุ ตามความเชื่อของพราหมณหรือฮินดูตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน โดยเรียกเทพองคนี้วา Perumal ทาน ดร.พรหมศักดิ์ เจิมสวัสดิ์ อาจารยคณะอักษรศาสตรจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ไดคนควาเรื่องนี้จากคัมภีรพระเวทยที่เขียนขึ้นระหวางป ๑๐๐๐ Be (กอ นครสิ ตศักราช ๑๐๐๐) และไดบันทกึ ไวว า พระวิษณกุ รรม เปนเทพท่ียิ่งใหญ และเปนเทพแหงดวงอาทิตยองคหนึง่ ชื่อเดิม คือ “Sipiorista” เทพองคนี้ทำโลกใหสวา งดวยรัศมีของพระองค หมายถงึ วา พระองค คอื อาทิตยท่ีทำแสงสวา งใหโ ลกมนษุ ยน ่นั เอง กำเนิดของพระวิษณุกรรม อาศัยหลกั ฐาน “คัมภีรป ราณะ” ของพราหมณ พอสรุป ไดวา พระปรเมศวร หรือ “พระศิวะ” เปนผูสรางพระวิษณุขึ้นมา สาเหตุที่สรางเทพ องคน ้ีข้ึนมาเนอ่ื งจากวา พระศวิ ะ ประสงคท ี่จะสรางสวรรคแ ละแผน ดิน แตเ น่อื งจาก เปน งานใหญจ ำตองมผี ชู วย จงึ ไดส รา งข้นึ โดยเอาพระหตั ถซายมาลูบพระหตั ถขวาก็ บงั เกิดเปน เทพองคหนึ่งขึ้น จงึ ใหพระนามวา “พระวษิ ณุกรรม” พิธไี หว้ครูช่าง ๒๕๖5

๑๙ “พระวิษณุกรรม” เทพองคนี้เสด็จเขามาสูแผนดินสยามเมื่อใดนั้นไมมีหลักฐาน แนชัด แตใ นป พ.ศ.๒๔๕๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเลาเจาอยูหวั รัชกาลท่ี ๖ ไดสราง โรงเรียนเพาะชาง ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๕ เพื่อใหเปนแหลงศึกษาและผลิตชางศิลปหัตถกรรมไทยขึ้น ไดพระราชทาน สัญลักษณ เปนพระวิษณกุ รรมใหเ ปน ครูแหง ชางของสถาบันนีใ้ นพระอิริยาบถประทับนั่ง พระหัตถถือผึ่งและลูกดิ่ง ตอมาในการเรียนการสอนไดขยายวิชาชางออกหลายสาขา และเมื่อป พ.ศ. ๒๔๗๗ อุเทนถวายไดแยกตัวออกจาก โรงเรียนเพาะชา งมาเปน โรงเรียน ชางกอสรา งอุเทนถวาย และถือเปนโรงเรียนกอสรา งแหงแรกของประเทศไทย และได ทำพิธีอัญเชิญองคพระวิษณุกรรม มาประดิษฐานประจำสถาบันนี้ขึ้นอีกแหงหนึ่งใน พระอิริยาบถประทับยืนพระหัตถขวาทรงไมวาพระซาย ทรงไมฉาก และลูกดิ่ง เครื่องมือชางสำคัญ ๓ อยางน้ี ชางทั้งหลายทราบดีวาเปนเครื่องมือสำหรับวัดระยะ วัดความเที่ยงตรง โดยแฝงความหมายไปดวยปรัชญาในการดำรงชีวิต คือความแมนยำ เที่ยงตรง ไมเอนเอียง ในทางปฏิบัติ ซึ่งเปนที่มาของชางที่ดี คือ ความมีคุณธรรม ประจำใจ และมจี รรยาบรรณ แหงชางนน้ั พระวิษณกุ รรมทั้งที่ประทับนั่งและประทับยืน จึงยึดถือกันมาวา เปนพอครูหรือ เปนเทพเจาแหงงานชางทั้งหลาย ถือวาเปนมหาเทพาจารยแหงผูประกอบกิจการ ท้ังปวง อาทิ การประกอบงานชางงานอุตสาหกรรมใหญนอย งานศิลปการหัตกรรม ศิลปะการขาย - การคา การสรางตาง ๆ ในปจจุบัน พระวิษณุกรรมไดแพรหลายกัน ออกไปประดิษฐานในสถานศึกษา ทั้งในระดับอุดมศึกษาและอาชีวศึกษา เชน วิทยาลัยเทคนิค วิทยาลัยสารพัดชาง และวิทยาลัยการอาชีพทั่วประเทศ ที่จะตองใช รูปองคพระวิษณุกรรมนี้เปนที่รวมแหงศรัทธา และเปนศูนยรวมจิตใจของเหลาชาง ทุกสาขา และผูศรัทธาทุกๆ คน แรงแหงความศักดิ์สิทธิ์ขององคพระวิษณุกรรม ไดสำแดงอภินิหารบอยครั้ง โดยเฉพาะศิษยและผูศรัทธาทั้งหลาย ไดรับความสำเร็จ ในการสรา งไมวา จะเปน งานเลก็ งานใหญ ซึง่ ผูอ ยูในวงการกอ สรา งอุตสาหกรรมและ พิธไี หว้ครชู ่าง ๒๕๖5

๒๐ ชา งเหมาทั้งหลายจะมีการบวงสรวงองคพ ระวิษณกุ รรมหรือไมกม็ ีการบนบานศาล กลาวเพื่อใหงานนั้นๆ ลุลวงไปดวยดี และหลายคนลงความเห็นวา “พระวิษณุกรรม สรา งปาฏหิ าริย” หมายเหตุ นามเรยี กขานแตละพน้ื ท่ี / เขต / สถาบัน ๑. พระวิศวกรรม ๔. พระวิสสุกรรม ๒. พระวษิ ณกุ รรม ๕. พระเพชฉลุกรรม ๓. พระเวสสุกรรม ๖. พระเวสนุกรรม เมื่อครั้งเศียรพระกุมารศิวะบุตรหายไป พระวิษณุกรรมไดนำเศียรชางมาตอให พระกุมารศวิ บุตร และมีนามใหมว า “พระพิฆเณศ” ซึ่งนับเปนเทพศลิ ป องคสำคัญ ลำดบั ตอ มาอกี องคห นงึ่ ในการประกอบพิธีการเชิญเทพยดาทั้ง ๗ องค นอกจากบทสวดกลาวเชิญแลว ตามแบบฉบบั ทั่วไป มกั จะใชวงปพาทยท ำเพลงเชิญ เชน เพลงเสมอขา มสมุทร ใช เชิญพระพรหมเปนตน วงปพาทยนี้จำเปนจะตองรูขั้นตอนของพิธีกรรมนี้สามารถทำ เพลงถูกตอง ถูกขั้นตอน มีเพลงที่ใชบรรเลงอยูประมาณ ๑๒ เพลงดวยกัน เชน เพลงเซน เพลงปฐมลูกศษิ ย (เพลงปลกู ตนไม) เพลงเชิดเสมอรวั ของวงปพ าทยตองมี ผูกำกบั ดแู ลเปน ผูสง่ั ทงั้ น้เี พอ่ื ใหเ กดิ ความพรอมเพรียงและดูสวยงาม สมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจา ทรงตรสั ไววา “ทกุ สง่ิ ทุกอยา งในโลกนี้ไมม ีอะไรเที่ยง แทแนนอนเปนอนิจจัง ทุกขังอนัตตา” ซึ่งเปนสัจธรรมที่หลีกเลี่ยงไมพน เมื่อมีการ เกิดขึ้นบนในเบื้องตน ดำรงสถิตอยูในชวงกลาง และมีการดับไป ในบั้นปลายเปน กฎธรรมดา ที่ตองมีการเปลี่ยนแปลงฉันใด พิธีไหวครูก็เชนกัน ถาผูบริหารเห็นวาไม จำเปน หรือมีพิธีอื่นที่ดีกวานี้ก็ยอมทำได หากยังมองไมเห็นและยังไมพบรูปแบบไหว ครู ที่ดีกวานี้ ก็จงใชพิธีไหวครูชางแบบนี้ตอไป เพื่อประโยชนตอนักเรียน นักศึกษา ตอ ครอู าจารย ชมุ ชน และตอสถานศึกษาสบื ไป พิธไี หวค้ รูชา่ ง ๒๕๖5

๒๑ ไหวค รูชา ง นักศกึ ษา กลาวพรอ มกนั ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธธัสสะ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพุทธธัสสะ นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสัมพทุ ธธสั สะ นะโม ตสั สะ ตวั แทนนักเรยี นกลา วคำไหวค รู นกั เรยี น นักศึกษาทงั้ หมดวาตาม ดังน้ี สรวมชีพขายุคลบาท อภิวาทนอมประนม สมพุทธเทพยะธาดา สรวงเทวามา ทวั่ วงศ ทรงแสดงความสวัสดี เจริญศรีตามระบอบ หนง่ึ ขานอบพระธรรมสำหรับขจัด มืดมน สิ้นฉงนพนวิจิกิจฉา นำมาซึ่งศิริสวัสด์ิ แตสัตวในไตรภพ หนึ่งขานบในสงฆ ผูดำรงธรรมทายาท แหงมุนีนาถจอมธรรม ทำสิ่งสรรพสวสั ดี มีความชอบในตนเดชะ ผลเพื่อประนอม พัสดุสามสิ่งเลิศเปนท่ีเกิดศิริสวัสด์ิ จงขจัดอันตรายความสุขกายจิต พรอมเดชพระไตยรัตนน อ ม อยูเ กลากมลเกษมโสตถเิ์ ทอญฯ พิณพาทยทำเพลงสาธกุ าร ๓ จบ ผูกลาวนำบอกใหนักศึกษากราบ ๓ ครงั้ ประธานในพิธี จุดธูปเทียนที่หนาพระวิษณุ เมื่อประธานกลับมานั่ง ตัวแทน นกั เรยี น นกั ศกึ ษา กลาวนำไหวครดู งั นี้ โอมขยมบังคมบาท ไทเทวราชผูเรืองอิทธ์ิ ฤทธิ์มหิทธิอุดมเลิศ ประเสริฐสิทธิ พรหมมหันต เดชอนันตคุณคุมฟา ทั่วแหลงหลานิยม คือ พระสยมภูวนาถอุศุภราช พาหนะ พระพรดลทุกประการ อำนวยสารสุขเสพ อีกองคเทพมารดา คือ พระอุมา ภควดี ม่ิงมหิสีสนุ ทระลกั ษณ แหง องคอัครเทพนิ ทร ไทผทมสนิ ธอุ าสน คอื พระวษิ ณุ พิธีไหวค้ รชู า่ ง ๒๕๖5

๒๒ ราชธำรง ทรงครุฑเหินอัมพร ขจรพระเดชอะคราว ทาวจตุพักตร พรหมเมศวร ทรงไตรเพท เวทางคศาสตร อาสนหงสเ หนิ อมั พร อกี อมรผมู ีเดช คอื พระพฆิ เนศวร นิยม องคพระสยมภูวโรรส ปรากฏเศียรเปนคชา มายุรยาตรโอฬาร มหาศาลเทวราช สถติ อาสนพธิ ี แลรับพลี วรามสิ ขาตง้ั จิตจัดแตงตามตำแหนง นานา อาทิ ธูปเทียนทอง มาลีกรองแกมลาช ลว นสะอาดโอฬารตระการ กระยาชชั ชาโพด จงเงียบโสตถ์ิทรงสดับ พจนะคำนับสนอง เขือขาปองเผดียงพรสถาวร มงคล จงมาดลอยาลี้ ดวยบัดน้ี ประกอบการ เปนวาระฤกษอุดมดี จัดตั้งพิธีสรวงบูชา เชิญอมราธิราช ประสาน พระพรชัยศณี จงเกิดมีแกขาพเจา เหลาศิษยศิลปหัตถกรรม อันเปนผูทำการชาง ทั่วทุกอยางจงดี ใหมีความสามารถ อาจรับการฝกปรือ จนฝมือดียิ่ง ทุกสิ่งซ่ึง สรางสรรค ทั่วทกุ อันจงงาม สมดั่งความมุงหมาย ไดคาขายเกิดประโยชน อนึ่งโสตถ จงขจัด สัพพะอะปทวะทุกขโศก อีกทั้งสรรพโรคราคี จงอยาเกิดมีแกผูใด ในพวก ขาพระพุทธเจา ทุกค่ำเชาจงปรีดา เกิดปญญาที่จะเลาเรียน มีความเพียรกระทำการ งานชา งจงเจรญิ มาก สมพรปากขา สนอง ปองพึ่งเดชเทพไทชัยมงคลได ดั่งขา เชลงสาร โสตถิ์เทอญฯ พณิ พาทย ทำเพลง ๖ จบแลว ผนู ำกลา วนำไหวครู ดงั ตอไปนี้ โอมศรีสวัสดิ์ ขาจะตั้งสัจจะเคารพ นบนอบนอมบูชา แตมหาเทวาจารย แหง ศิลปะการหัตถกิจ คอื องคพ ระวิศวกรรม ผแู นะนำสงั่ สอน ในจิตรกรการชา ง เปน เยี่ยงอยางสืบมา แตในเวลาโบราณ จนถึงกาลปจจุบัน เปนวิชาอันเอกอุดม คนนยิ มร่ำเรยี น เพยี รกระทำตามอยา ง จงึ มีชา งกระทำการ งานสรางสงิ่ งดงาม ตามท่ี เปนอยูบ ดั นี้ เพราะ ธ ชว้ี ชิ าให ขอใหทานเทวฤทธิ์ มาสถิตเทพาอาสน รับเครื่องอังคาสพลี มีตนเทียนธูปทอง มาลีกรองแกมลาช ลวนสะอาดโอฬาร ตระการกระชาชัชชาโพด แลวจงเงี่ยโสตทรง สดบั พจนะคำนับสนอง เขอื ขา ปองพรชัย ในวาระฤกษพธิ ี เทพยจงมี จติ เกษมเปรม พธิ ไี หว้ครูชา่ ง ๒๕๖5

๒๓ ปรีดี รับเครื่องพลีบูชิต เห็นใดผิด จงเมตตา ผอนโทษานุโทษ ขอจงโปรดปกปก รักษาขาพระพทุ ธเจา เหลาศิษย ศิลปหัตถกรรม ใหสำราญชนมยืน ทุกวันคืนชื่นชม อดุ มวรรณผองฉวี มีกำลังแรงมากหากเม่ือประกอบการ งานชางอันใดก็ดี ใหมีฝมืองาม ท้ังใหมคี วามสามารถ อาจฝกหัดเหลาศิษย ในกิจจิตรกรรมหลาย ไดง า ยดายสมประสงค แมจ งพากเพยี ร เรยี นการสิ่งอันใด เชิญเทพไทย อวยพรปญญา มาชว ยใหร ูไ ว ไดดังใจ อยาของ ถึงจะตองลำบาก ทำการยากใดก็ดี ขอจงอยางมีความเกียจ เกลียดหนวย กิจการงาน มีแตความหมัน่ เพยี ร จำเนียรรกั วทิ ยา อันเทวาประสทิ ธ์ใิ ห อนง่ึ ไซขาขอ เคารพ นพนางนามปรากฏ นิลบรรพตเทพสุด นางกวกั มาซ่ึงสวุ รรณชัช สรรพสมบัติ โอฬาร จงแจงการพิธี มารับพลีทั้งหลายไซร แลจงใหพรศรีสวัสด์ิ ปตสรรพภัก ทุกประการ นำศฤงคารโภคา ทุกสิ่งมาตามแบบบรรพ นิยมกันสืบมาไซร อนึ่งขาขอ ไหวครูชางมีตางๆ แกกาล เชน เทพนางนพมาศ ผูมีอาสนเปนบัวบาน สมัยโบราณ สืบเชื้อ จงเอื้อเฟออวยผลพรมงคลใหสราญ แกลูกหลานเหลาชาง ทั่วทุกอยางใน ปจจุบัน ทุกสิ่งสรรพศิลปกร ใหสถาวรเจริญมาก สมพรปากขาพรอง เชิญสรรพา จารยของ แชใ หไ ชยเฉลิมโสตถิเ์ ทอญฯ พณิ พาทยทำเพลง ๒ เพลง ผนู ำกลาวบอกนักศกึ ษา กราบ 3 ครง้ั เชิญประธานในพิธี ครู-อาจารย พรอมแขกรับเชิญออกไปสรงน้ำพระวิษณุ (เปด เพลงสาธุการ) ผูเปนประธาน ในพิธียกเครื่องสังเวยถวาย ประธานโปรยขาวตอกดอกไม จุด ประทัดครู – อาจารยถวายดอกไม ประธานกลับเขาที่นั่งเรียบรอย ตัวแทนนักเรียน นกั ศกึ ษาบอกใหน ักเรยี น นกั ศกึ ษาทง้ั หมดจุดธปู เทียน เสรจ็ แลว กลา วนำ สัพพะทุกขาวินาทสันติ สัพพะระยาวินาทสันติ สัพพะโรคาวินาทสันติ พุทธะ เตเชนะ ธมั มะเตเชนะ สังฆะเตเชนะ อินทะเตเชนะ พรหมะเตเชนะ เทวะเตเชนะ ฯ ววิ าตะปะ ตวิ าทิโจ รัตตมิ า ภาตจิ ันทมิ า สนั นตั โถ ขตั ตโิ ยตุปะติ ทาติยะปะติ พราหมะโณ อะถะสัพพะ มะโหระตงั พทุ โธ ตะปะติ เตชะสาติ ฯ พธิ ีไหวค้ รชู า่ ง ๒๕๖5

๒๔ คณุ พระพทุ ธรัตนรงุ โรจน โชติยิ่งโสมสุริยะสองฟา เชิญพระปกเกศขา ขาดสิ้นภัย เกษมโสตถ์แิ ล ฯ ทวยเทพเปรมจิตอวย อำนวยพรพิเศษแท จงประสิทธิ์ทั่วแลว เลหเผดียงวอน ฉะนน้ั นา ฯ สิทธกิ ิจจงั ฯ สรรพจติ รกรการชาง ซง่ึ จดั สรา งสฤษดิ์ไว จงสำเร็จอยารูได ขัดของ แรมนาน เลยนา ฯ สทิ ธิกัมมัง ฯ สรรพราชการกจิ ผอง ซงึ่ สฤษดิ์ฉลองคณุ เจาหลา อยางเลิศอยาราง ขาชอบไดโ ดยผล อดุ มแล ฯ สิทธิการิยะ ตะถาคะโต พระทศพลทรงชนะมาร อาจยักษกรานกราบไหว ดัง ปองขาไซร จงแคลว ภยั ผอง แลนา ฯ สิทธิลาโภ นิรนั ไตร ฯ อทุ กปองไหลสสู มุทร บร หู ยดุ นานน้ำ จงสรรพลาภหลากล้ำ หล่งั ลน มานิรนั ดร ฉะนัน้ นา ฯ สรรพะสินธะ ภวันตะเม ฯ ทวยอมรอันมหาศาล สรรพาจารยทั่วไซร จงสัมฤทธ์ิ สิทธิพรใหแกขาทง้ั หลายปวงเทอญ ฯ อวยความสบายเกษมสุข เปล่ืองภัยทุกขทั่วหนา ชัยยะมงคลขาบาทพรอมจง ประสิทธ์ิ โสตถิ์เทอญ ฯ เพลงสาธุการ (กราบ 3 ครัง้ ) พธิ ีไหวค้ รูช่าง ๒๕๖5

๒๕ ขั้นตอนพธิ ศี ักด์สิ ทิ ธ์ิ พธิ ีท่ี ๑ อัญเชญิ รูปหลอลอยองค และเหรียญพระวิษณุกรรมเขาแผเมตตาอธิฐาน จติ ปลุกเสกเดีย่ ว พธิ ที ่ี ๒ อญั เชญิ รูปหลอลอยองค และเหรียญพระวิษณกุ รรมเขาพิธีบวงสรวงหนา พธิ สี รวงหนา องคพ ระวษิ ณุกรรม ณ วทิ ยาลยั การอาชพี หว ยยอด เครือ่ งบูชาพระวิษณกุ รรม ดอกไม , พวงมาลัยสีขาว - สเี หลือง , ธูป ๙ ดอก หรอื ๑๖ ดอก , เทียนคู เคร่อื งถวายพระวิษณุกรรม ผลไมตาง ๆ ไมจำกัด มกั เลอื กชือ่ ทเ่ี ปน มงคล (งดเวนมังคุด, พุทรา) ผลไม ๕ ชนิด หรอื ๙ ชนิด (ยกเวน มงั คุด, พุทรา) ไดแ ก มะพราวออ น , กลว ยนำ้ วา , สับปะรด , สม , และอ่ืนๆ อกี ๕ ชนิด (หาถวาย ๙ ชนิด) คาถาบชู าพระวษิ ณุกรรม (อนิ เดยี ) นโม ตัสสะ ภควโต อรหโต สมั มา สมั พทุ ธตสั สะ (๓ จบ) โอม วิษณุ นารายัณ วธิ ัมเห วาสเุ ทวายะ ทรุ ัส ปร โจทะยา (๓ จบ) (หลังจากนั้นใหอธิษฐานขอพรใหประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพ ทุกสาขาตามทตี่ นปฏิบัตอิ ยดู ีนักแล อีกทง้ั ยงั ขอพรใหประสบความสำเร็จดานการศึกษา วิชาชีพสาขาตาง ๆ ใหส ำเร็จรุง เรืองไดต ามประสงค) พธิ ไี หวค้ รูช่าง ๒๕๖5

๒๖ บทภาวนาปลุกเสก พระวษิ ณกุ รรมกอ นออกปฏบิ ัตงิ านท้งั หลาย นโม ตสั สะ ภควโต อรหโต สัมมา สัมพทุ ธตสั สะ (๓ จบ) โอม วิษณุ กำบัง สทิ ธพุทธัง สทิ ธธิ มั มงั สทิ ธเม (๓ จบ) พธิ ีไหวค้ รชู า่ ง ๒๕๖5

๒๗ เสร็จพิธไี หวครชู า ง ตอไปไหวค รูสามัญ คำกลา วพธิ ีไหวค รสู ามัญ ตวั แทนนักศึกษากลาวนำ : “ปาเจราจะรยิ าโหนตคิ ณุ ตุ ตะรานุสาสะกา” และกลาวนำตอ วา ขา ขอประณตนอมสักการ นักศึกษาทัง้ หมด กลาวพรอ มกัน : บรู พคณาจารย ผูก อเกดิ ประโยชนศกึ ษา ทั้งทานผปู ระสาทวชิ า อบรมจริยา แกขาในกาลปจจบุ ัน ขาขอเคารพอภิวันท ระลกึ คณุ อนันต ดวยใจนิยมบชู า ขอเดชกตเวทติ า อกี วิริยะพา ปญ ญาใหเ กิดแตกฉาน ศกึ ษาสำเรจ็ ทกุ ประการ อายยุ ืนนาน อยูในศลี ธรรมอันดี ใหไดเ ปนเกียรตเิ ปน ศรี ประโยชนทวี แกชาติและประเทศไทยเทอญ ตวั แทนนักศกึ ษากลาวนำ : “ปญญาวฑุ ฒกิ ะเรเต เต ทนิ โนวาเท นมามหิ ัง” พธิ ไี หวค้ รชู ่าง ๒๕๖5

๒๘ เมื่อจบบทสวดนี้แลวตัวแทนนักศึกษากลาวนำ คำปฏิญาณนำนักศึกษาใหกลาว ตามดงั น้ี “เราคนไทยใจกตัญู รูคุณชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย เรานักเรียน นักศกึ ษา จกั ตองประพฤติตนอยูในระเบียบวนิ ยั ของวทิ ยาลยั มคี วามซอ่ื สตั ยตอตนเอง และผูอื่น เรานักเรียน นักศึกษา จักตองไมกระทำตนใหเปนที่เดอื ดรอนแกตนเองและ ผอู ่นื ” พธิ ไี หวค้ รูช่าง ๒๕๖5

๒๙ “ไหวค ร”ู ดอกเขม็ ดอกมะเขอื หญา แพรก ขา วตอก และธูปเทียน ดอกเขม็ “ดอกเข็ม” มีปลายแหลม อนั เปรียบเสมอื นเขม็ ทม่ี ีความแหลมคม การนำ ดอกเข็มมาไหวครู เชื่อวาศิษยจะมีสติปญญาเฉียบแหลมและฉลาดรอบรูเปรียบเสมือน เหล็กแหลมทีไ่ ดรบั การฝนมาอยา งดี โดยคุณครผู มู ีความพยายามและอดทน ดอกมะเขือ “ดอกมะเขือ” เปนสัญลักษณของความเคารพ ความออนนอมถอมตน เปน ดอกไมท่บี านโนม ต่ำลงสพู ้ืนดนิ เหมือนนอ มรำลกึ ถึงพระคุณของดิน เหมือนผูอยูใน อาการแสดงความเคารพหรือคารวะบุคคลที่ตนเคารพบูชา ยกยองเพื่อศิษยจะได ออนนอมถอมตน พรอมที่จะเรียนวิชาความรูตางๆ นอกจากนี้มะเขือยังมีเมล็ดมากไป งอกงามไดงายในทุกที่ เชนเดียวกับหญาแพรกเปนเครื่องเตือนใจใหศิษย ระลึกไดอยู เสมอวาศิษยจักตอ งระลกึ ถงึ พระคุณครู และนอ มรับคำสง่ั สอนของครู พธิ ไี หวค้ รูช่าง ๒๕๖5

๓๐ หญา แพรก “หญาแพรก” เปนสัญลักษณของความอดทน คุณสมบัติพิเศษของหญา แพรก คือ ความอดทนเปนพืชทีท่ นตอ ความแหงแลง และที่สำคญั สามารถขยายพันธไุ ด รวดเร็วในทุกพื้นที่ แมถูกเหยียบย่ำก็ไมตาย เมื่อไดรับน้ำฝน ก็จะแตกใบขยายพันธุ ข้นึ อกี ศิษยจะตองมีความอดทนตอการเค่ียวเข็ญ ดุวา เฆี่ยนตี ของครู โดยไมถือ โกรธ ดจุ ดังหญา แพรก ศิษยท ่ีมีคณุ สมบตั ทิ ีด่ จี ะสอ แวววา เม่ือศึกษาเลา เรียนวิชาการใด ก็ตาม จะเปนผูที่สามารถเรียนไดสำเร็จตามหลักสูตรที่กำหนดและหากศิษยกระทำตวั เชนหญาแพรกได เมื่อเติบโตขึ้น ยอมสามารถดำรงชีวิตอยูไดในทุกสภาพสังคม ไดพบ กบั ความเจริญในชวี ิต ขาวตอก “ขาวตอก” เปนสัญลักษณของความมีระเบียบวินัย เหมือนการนำเมล็ดขาว ไปคว่ั ดว ยความรอนซึ่งผลลัพธท ี่ไดคือ ศิษยเปนคนดี มีความเจริญรงุ เรืองในชวี ิต เปรียบได กับสีขาวของขาวตอก และการแตกบาน ของขาวตอกแมว า โดยธรรมชาตแิ ลวคนเรามักจะ มีความซุกซนความเกียจคราน เปนสมบัติมากบาง นอยบางก็ตามแตเมื่อเขามีความ พธิ ีไหว้ครูช่าง ๒๕๖5

๓๑ ตองการศึกษาหาความรู เขาก็ตองรูจักควบคุมตนเองใหอยูในกรอบไดถูกเคี่ยวเข็ญท่ี เขมงวดมีการลงโทษเมื่อศิษย ไมประพฤติปฏิบัติตาม ในระเบียบหรือในกฎเกณฑท่ี สถาบนั ไดก ำหนดไว ใครกต็ ามหากตามใจตนเองไมสามารถควบคมุ ตัวเองได บุคคลน้ันก็ จะเปนเหมือนขา วเปลอื กที่ถกู คั่วแตไมม ีโอกาสไดเปน ขา วตอก ดอกไมธ ูปเทียน ใชธูปหอม ๓ ดอก เทียนไข ๑ เลม เอามามัดรวมกับดอกเข็ม ดอกมะเขือ หญาแพรก และขาวตอก เพื่อใชเปนเครื่องสักการบูชาในพิธีไหวครู ซึ่งถือวาเปน การแสดงความเคารพตอ ครูอยา งสงู สิ่งดังกลาวขางตน ลวนมีความหมายเฉพาะในการบูชาครูซึ่งนิยมนำมา จัดเปนพานดอกไมไหวครูเพื่อเปนการแสดงวาศิษยจะมีความออนนอมถอมตนตอครู อาจารย มีความอดทนที่จะตั้งใจศึกษาเลาเรียนตามที่ครูสั่งสอน ขณะเดียวกันก็มี ระเบียบวินัยและมคี วามประพฤติทีด่ ี พธิ ไี หว้ครชู า่ ง ๒๕๖5

๓๒ ประมวลภาพกจิ กรรมวันไหวค รู ปก ารศกึ ษา ๒๕63 พธิ ไี หวค้ รูช่าง ๒๕๖5

๓๓ ประมวลภาพกจิ กรรมวนั ไหวค รู ปก ารศกึ ษา ๒๕63 พิธีไหวค้ รชู ่าง ๒๕๖5

๓๔ ประมวลภาพกจิ กรรมวันไหวค รู ปก ารศกึ ษา ๒๕63 พธิ ไี หวค้ รูช่าง ๒๕๖5

๓๕ ประมวลภาพกจิ กรรมวนั ไหวค รู ปก ารศกึ ษา ๒๕63 พิธีไหวค้ รชู ่าง ๒๕๖5

๓๖ ประมวลภาพกจิ กรรมวันไหวค รู ปก ารศกึ ษา ๒๕63 พธิ ไี หวค้ รูช่าง ๒๕๖5

๓๗ ประมวลภาพกจิ กรรมวนั ไหวค รู ปก ารศกึ ษา ๒๕63 พิธีไหวค้ รชู ่าง ๒๕๖5

๓๘ “นอ มจิตวันทา บูชาคณุ ครู กตญั กู ตเวที” แมงานหนักเหน็ดเหนอื่ ยไมเคยบน สูอดทนสงเสรมิ ศษิ ยพ ิชติ ฝน สอู ุตสาหส ่งั สอนทุกวีว่ นั จติ มุงม่ันอบรมจรยิ า หวังเห็นศิษยก าวหนา ในชวี ติ โดยอุทิศแรงกายใหสมคา คำวาครูผทู ่ใี ชซ ึ่งปญ ญา แกปญหานานาประการ มีเมตตาปรานเี ปนที่ต้งั คอยเหนย่ี วรงั้ ศิษยรักทกุ สถาน คอยชแ้ี นะชวยเหลือและเจือจาน ศษิ ยจึงผา นอุปสรรคทกุ ส่งิ ไป แมงานหนักอยางไรไมเคยทอ เพยี งแตขอศิษยรักทเ่ี ตบิ ใหญ มีวิชาความรตู ลอดไป เพ่อื ไวใ ชเ ลี้ยงชพี สำหรับตน ขอนอมจติ วนั ทาบชู าครู ขอเชิดชปู ูชนยี ค ุณมากลน ขอกตัญูตอครูทกุ ทกุ คน ขอกศุ ลแหงความดีคมุ ครองครู ฯ พธิ ีไหว้ครูชา่ ง ๒๕๖5

๓๙ “พระคุณคร”ู ครูคอื ผชู นี้ ำทางความคดิ ใหรูถ กู รูผ ิดคิดอา นเขยี น ใหรทู กุ ขรูยากรพู ากเพียร ใหรูเปล่ียนแปลงสูร งู าน ครคู อื ผยู กระดับวิญญาณมนษุ ย ใหส งู สดุ กวา สตั วเดรัจฉาน ครคู ือผสู ่งั สมอุดมการณ มีดวงมานเพอ่ื มวลชนใชตนเอง ครจู งึ เปนนักสรา งผูยง่ิ ใหญ สรา งคนจริงสรา งคนกลา สรางคนเกง สรางคนใหไดเปนตวั ของตัวเอง พิธไี หวค้ รชู ่าง ๒๕๖5

๔๐ ประวัตกิ ารกอสรา ง : ฐานองคพระวษิ ณุกรรม 2541 วิทยาลยั การอาชพี หว ยยอด อำนวยการสราง ผอ.พศิ โนรี ออกแบบ คณุ ปฎิวัติ ราชภักดี คณุ ประสิทธ์ิ แสงเงนิ เขียนแบบ คุณจำเรญิ ชูสขุ ผสู ราง คณะนกั การ 2541 1 สิงหาคม 2541 พิธีไหวค้ รชู า่ ง ๒๕๖5

๔๑ บันทึก พธิ ีไหวค้ รชู า่ ง ๒๕๖5

๔๒ QR Code สจู บิ ตั ร “พิธีไหวครูชาง 2565” รวบรวม / เรยี บเรียง / พมิ พเขาเลม  นางสุชาดา อัตโถปกร  นายสุคนธ จนั ทรเสน  นายภาสกร รอดรนิ  นางสจุ ิรา ศรสี ง  นายโกศล แกวรัตน  นางมลิวลั ย คงอยู พธิ ีไหวค้ รูชา่ ง ๒๕๖5

๔๓ พธิ ไี หวค้ รูชา่ ง ๒๕๖5


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook