ระบบราชการไทยในบ ิรบทไทยแลนด ๔.๐ สาํ นักวจิ ัยและพัฒนาระบบงานบุคคล สํานักงาน ก.พ.
ระบบราชการไทยในบรบิ ทไทยแลนด ๔.๐ คํานํา ดวยรัฐบาลมีนโยบายในการนําโมเดลไทยแลนด ๔.๐ มาใชในการพัฒนาประเทศ สํานักวิจัยและพัฒนาระบบงาน บุคคล (สวพ.) จึงไดจัดหลักสูตรอบรม เร่ือง การเตรียมความ พรอมส.ูระบบบริหารทรัพยากรบุคคลในบริบทไทยแลนด ๔.๐ ภายใตร.างรัฐธรรมนูญฉบับใหม. เมื่อวันท่ี ๓๐ พฤศจิกายน, ๙, ๑๔ และ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ ณ หองประชุม สํานักงาน ก.พ. ใหแก.ขาราชการ สวพ. และขาราชการที่เก่ียวของ จากสํานัก/ศูนยต.าง ๆ ในสํานักงาน ก.พ. เพื่อจะไดมีความรู ความเขาใจพื้นฐานเก่ียวกับโมเดลไทยแลนด ๔.๐ เปAนการเตรียม ความพรอมในเบือ้ งตนใหสามารถปฏิบตั ริ าชการไดตามนโยบาย รัฐบาล เม่ือมีความรู ความเขาใจภาพกวางระดับประเทศแลว ในฐานะท่ีเปAนขาราชการ ก็ควรจะตองรับทราบเรื่องระบบ ราชการไทยในบริบทไทยแลนด ๔.๐ ดวย สวพ.จึงไดกําหนดไว เปนA หัวขอวิชาหนง่ึ ในหลกั สูตดงั กลา. ว สวพ. ไดสกัดองคความรูสําคัญเก่ียวกับระบบราชการ ไทยในบริบทไทยแลนด ๔.๐ ท่ีไดจากการจัดอบรมในช.วงเวลา ดังกล.าว และรวบรวมขอมูลจากเอกสารที่เก่ียวของกับระบบ ราชการ ๔.๐ มาศึกษาและนาํ เสนอผลการศึกษาในเชงิ วิเคราะห
ระบบราชการไทยในบรบิ ทไทยแลนด ๔.๐ และสังเคราะห เรอื่ ง ระบบราชการไทยในบรบิ ทไทยแลนด ๔.๐ ท่มี ีเนื้อหาส้นั กระชับ และอานเขาใจงาย โดยมีวัตถุประสงค เพอื่ เผยแพร. ใหขาราชการท่วั ไปไดมีความรู ความเขาใจพื้นฐาน เก่ียวกับระบบราชการ ๔.๐ และสามารถนําไปต.อยอดในการ ปฏิบัติงาน เพ่ือตอบสนองนโยบายรัฐบาลในฐานะผูปฏิบัติได อยา. งมีประสทิ ธิภาพ เอกสารวิชาการฉบับน้ี นําเสนอใน ๕ หัวขอเรื่อง คือ ๑) การปฏิรูประบบราชการไทย ๒) ความทาทายใหม.ของ การพัฒนาภาครัฐภายใตบริบทระบบราชการ ๓.๐ ไปส.ูระบบ ราชการ ๔.๐ ๓) องคประกอบของการกาวไปสู.ระบบราชการ ๔.๐ ๔) กรอบแนวทางการปฏริ ปู ระบบราชการเพ่อื รองรบั ไทยแลนด ๔.๐ และ ๕) ปGจจัยสําคัญต.อความสําเร็จของการพัฒนาไปส.ูระบบ ราชการ ๔.๐ สํานกั วจิ ยั และพฒั นาระบบงานบคุ คล มถิ ุนายน ๒๕๖๐
ระบบราชการไทยในบรบิ ทไทยแลนด ๔.๐ สารบญั หนา การปฏริ ปู ระบบราชการไทย ๓ ความทาทายใหมข. องการพฒั นาภาครฐั ภายใต ๕ บรบิ ทระบบราชการ ๓.๐ ไปสรู. ะบบราชการ ๔.๐ ๗ องคประกอบของการกาวไปสรู. ะบบราชการ ๔.๐ ๘ กรอบแนวทางการปฏิรปู ระบบราชการเพอ่ื ๑๒ รองรับไทยแลนด ๔.๐ ปจG จยั สาํ คญั ตอ. ความสาํ เรจ็ ของการพัฒนาไปส.ู ๑๔ ระบบราชการ ๔.๐ บทสรปุ
ระบบราชการไทยในบริบทไทยแลนด ๔.๐ ระบบราชการไทยในบริบทไทยแลนด ๔.๐ ดวยวิสยั ทศั นของประเทศไทยท่ีวา “ประเทศมีความม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป#นประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง”เพ่ือใหบรรลุวิสัยทัศนดังกลาว รัฐบาลจึงมีนโยบายท่ีจะใช โมเดลการขับเคล่ือนเศรษฐกิจดวยนวัตกรรมเพื่อพัฒนาประเทศไทยไปสู ความมั่นคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน หรือท่ีเรารูจักกันวา ไทยแลนด ๔.๐ หรือ ประเทศไทย ๔.๐ ดังนั้น ระบบราชการก็จะตองมีการปรับเปลี่ยน เพ่ือให สอดรบั และสงเสริมไทยแลนด ๔.๐ จงึ จาํ เป#นตองมกี ารปฏริ ปู ระบบราชการ และขาราชการซึ่งเป#นฟ:นเฟ;องสําคัญในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล สามารถปฏบิ ตั ิงานไดสอดคลองกบั ทศิ ทางการบริหารของประเทศ ดร.สุวิทย เมษนิ ทรยี ไดใหความเหน็ เก่ยี วกับเรื่องการปฏิรูประบบ ราชการไวใน Facebook วา “ระบบราชการเป#นเสาหลักของประเทศและ จะเป#นกําลังหลักในการขับเคล่ือนประเทศสู Thailand 4.0 แตหากเรา ปลอยใหระบบราชการออนแอลงเรื่อย ๆ ทํางานไดไมเต็มศักยภาพหรือไมมี ประสิทธิภาพมากพอ และไมเอ้ืออํานวยใหคนดีและคนเกงอยูในระบบได ในท่ีสุดก็จะสงผลกระทบตอประชาชนและกลายเป#นอุปสรรคตอความเจริญ กาวหนาของประเทศได” กอนที่จะกลาวถึงระบบราชการไทยในบริบทไทยแลนด ๔.๐ หรือ ระบบราชการ ๔.๐ เราควรจะเขาใจความสัมพันธในชวงเวลาของไทยแลนด ๑.๐ - ๔.๐ กบั การปฏิรปู ระบบราชการไทย ๑.๐ – ๔.๐ สรุปไดดวยแผนภาพดังนี้ ๑
ระบบราชการไทยในบรบิ ทไทยแลนด ๔.๐ ไทยแลนด ๑.๐ ไทยแลนด ๒.๐ ไทยแลนด ๓.๐ ไทยแลนด ๔.๐ เนน การเกษตรและ เนนอตุ สาหกรรมเบา เนนอุตสาหกรรมหนกั เนน นวัตกรรม ความคดิ สรางสรรค สงออกสินคาเกษตร อตุ สาหกรรมพนื้ ฐาน การสงเสรมิ เป#นหลัก ของประเทศ และการ การสงออก ใชแรงงานคนเป#นหลกั การลงทนุ และ การนําเขาเทคโนโลยี จากตางประเทศ ประเทศรายไดต่าํ ประเทศรายไดปานกลาง ประเทศรายไดสงู ขับเคลอ่ื นดวย ขบั เคลื่อนดวยประสทิ ธภิ าพ ขบั เคลื่อนดวย ทรพั ยากร นวัตกรรม ระบบราชการ๑.๐ ระบบราชการ๒.๐ ระบบราชการ๓.๐ ระบบราชการ๔.๐ การปฏิรปู แผนพัฒนาเศรษฐกจิ การปฏริ ปู ระบบ การปฏิรปู ระบบ ระบบราชการ และสงั คมแหงชาติ ราชการ ราชการเพ่ือรองรับ สมยั รัชกาลท่ี ๕ ไทยแลนด ๔.๐ ฉบบั ท่ี ๑ (พ.ศ.๒๕๔๕) (พ.ศ.๒๕๕๙เปน# ตนไป) (พ.ศ.๒๕๐๔) Face to face -Based Paper-Based Electronics-Based Innovation-driven ทม่ี า : ปรับจาก ศาสตราจารยพเิ ศษ ดร.ทศพร ศริ สิ ัมพนั ธ และสาํ นกั งาน ก.พ. ๒
ระบบราชการไทยในบรบิ ทไทยแลนด ๔.๐ การปฏริ ปู ระบบราชการไทย (Revolution of Thai Government) (คุณปรญิ ญ บุญดีสกลุ โชค, ๒๕๕๙) ระบบราชการ ๑.๐ รัชกาลที่ ๕ วางรากฐานประเทศและจัดโครงสรางการบริหารราชการ แผนดินตามแนวทางนานาอารยประเทศ มีการเปลี่ยนแปลงระบบกรม กองใหม และตัง้ กระทรวง กรม ใหเหมาะสมกับเวลาและสถานการณแวดลอม รชั กาลท่ี ๗ วางระบบขาราชการพลเรอื นสมัยใหม เนนระบบคุณธรรม (merit system) ระบบราชการ ๒.๐ ชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑ เป#นตนมา จนถึงยุครัฐบาลพลเอกชาติชาย ระบบราชการมีความ เขมแข็งและเปน# ผูนาํ การพัฒนาประเทศ การบริหารราชการเป#นไปตามแนวทาง คลาสสิคของ Max weber วาดวยความชอบธรรมทางการเมืองท่ีมาจากเหตุผล และกฎหมาย (Legal- Rational Legitimacy) ระบบราชการ ๓.๐ ปo ๒๕๔๐ ชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติฉบับท่ี ๘ เป#นตนมา วิกฤตตมยํากุง กระแส Democratization และ NPM ทําใหเกิดแนวคิดในเร่ือง Good Governance โดยการปฏิรูประบบ ราชการปo ๒๕๔๕ มุงเนนการทํางานใหเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพ เปดv กวาง เพื่อสรางการมสี วนรวม ๓
ระบบราชการไทยในบริบทไทยแลนด ๔.๐ ระบบราชการ ๔.๐ ประเทศไทยมุงสูไทยแลนด ๔.๐ มีการกําหนด ยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ปo ภาครฐั ตองปรับตวั ใหสามารถอาํ นวยความสะดวกในการ ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมยุคดิจิทัลทามกลางความเปลี่ยนแปลง ที่รวดเร็วและไมสามารถคาดเดาได จึงตองมุงเนนความคลองตัวเพื่อขับเคลื่อน ภารกิจพิเศษ (Agenda – Based) และนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาพลิกโฉมระบบ ราชการสู Government 4.0 ทีม่ า : การบรรยายโดยคณุ ปรญิ ญ บุญดสี กลุ โชค หัวขอวิชาระบบราชการไทยในบรบิ ท ไทยแลนด ๔.๐ วันพธุ ที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๙ ณ หองประชุม ๓ อาคาร สํานกั งาน ก.พ. ๔
ระบบราชการไทยในบริบทไทยแลนด ๔.๐ ความท0าทายใหม2ของการพัฒนาภาครัฐภายใต0บริบทระบบราชการ ๓.๐ ไปส2ูระบบราชการ ๔.๐ (คณุ ปรญิ ญ บญุ ดีสกุลโชค, ๒๕๕๙) ๑. จะทําอยางไรใหการบริการภาครัฐสามารถตอบโจทยไดตามความตองการ เฉพาะบุคคล (Personalization) มากข้ึน ในขณะท่ีการพัฒนาภาครัฐในบริบท ๓.๐ เพียงแคตองการยกระดับการบริการใหมีมาตรฐานเทานั้น ๒. จะทําอยางไรใหหนวยงานภาครัฐสามารถทํางานแบบบูรณาการรวมกนั ได อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหเกดิ การบริการท่ีลน่ื ไหล (Seamless) ซึ่งตางจากเดิม ทม่ี งุ เนนพัฒนาแตละหนวยงานสามารถใหบรกิ ารไดตามมาตรฐาน ๓. จะทําอยางไรใหภาครัฐขับเคล่ือนประเทศไดดวยการยึดภารกิจเชิงประเด็น (Agenda - based) โดยไมเกิดความซาํ้ ซอน ซ่ึงตางจากเดิมท่ีสงเสริมใหบุคลากร มคี วามเชีย่ วชาญเฉพาะสาขา (Functional Expertise) ๔. จะทําอยางไรใหภาครัฐขับเคลื่อน IT เพื่อพลิกโฉมทุกสวนของภาครัฐ อยางเป#นองครวม (Holistic Transformation) ซ่ึงตางจากเดิมที่ IT มีบทบาท เพยี งแคสนับสนุนการพัฒนาเป#นครั้งคราว ๕. จะทําอยางไรใหภาครัฐใชเทคโนโลยีในการปรับสมดุลระหวางความมี ประสิทธิภาพและความโปรงใส ซ่ึงตางจากเดิมที่ภาครัฐตองการเพียงแค การสรางกลไกการปฏบิ ัตงิ านใหมคี วามรัดกุม เพือ่ ปอ| งกันชองโหวของการทุจริต ทีม่ า : ปรับจากการบรรยายของคณุ ปรญิ ญ บญุ ดีสกลุ โชค หวั ขอวิชาระบบราชการไทย ในบรบิ ทไทยแลนด ๔.๐ วันพุธที่ ๑๔ ธนั วาคม ๒๕๕๙ ณ หองประชุม ๓ อาคาร สาํ นักงาน ก.พ. ๕
ระบบราชการไทยในบรบิ ทไทยแลนด ๔.๐ อาจกลาวไดวา ความทาทายของระบบราชการในบริบทไทยแลนด ๔.๐ คือ ทําอยางไรการบริหารราชการจึงจะมีธรรมาภิบาล เพื่อใหประชาชนมีความสุข จากการไดรบั การบริการของภาครัฐ โดยมีการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช ในการบรกิ ารประชาชน ดร.สุวทิ ย เมษินทรีย ไดใหความเห็นไววา การผลักดันภาครัฐไปสูระบบ ราชการ ๔.๐ ไดนั้น จะตองมีการปฏิรูปในเรื่องของทัศนคติและพฤติกรรม ควบคูไปกับการปฏิรูปโครงสรางและกฎ ระเบียบ “เพ่ือใหระบบราชการ สามารถตอบสนองตอความตองการของประชาชนและป:ญหาตาง ๆ ไดอยาง รวดเร็วและเป#นเสาหลักในการขับเคลื่อนประเทศแบบเชิงรุกใหเทาทันกับ การเปล่ยี นแปลงของโลกในอนาคตได” ๖
ระบบราชการไทยในบริบทไทยแลนด ๔.๐ องคประกอบของการก0าวไปสู2 ระบบราชการ ๔.๐ แบงไดเปน# ๓ มิติ ๑๐ ดาน (คุณปรญิ ญ บญุ ดสี กุลโชค, ๒๕๕๙) ดงั น้ี Government 4.0 Capability Areas Open & Connected Smart & High Citizen – centric & Performance Service - oriented - Traceable - Data-driven - Personalized - Participative - Agile - Seamless - Lean - Proactive - Automated - Innovative ทีม่ า : ปรับจากการบรรยายของคุณปรญิ ญ บุญดีสกลุ โชค หวั ขอวิชาระบบราชการไทย ในบริบทไทยแลนด ๔.๐ วนั พุธท่ี ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๙ ณ หองประชุม ๓ อาคาร สํานกั งาน ก.พ. องคประกอบดังกลาวเป#นที่มาของการวางระบบและวิธีการทํางานใหม ของระบบราชการ ๔.๐ ซึง่ เป#นสวนหน่ึงของการปฏิรูประบบราชการ ดังจะ ไดนําเสนอภาพรวมในหนาถดั ไป ๗
ระบบราชการไทยในบรบิ ทไทยแลนด ๔.๐ กรอบแนวทางการปฏิรูประบบราชการ เพื่อรองรับไทยแลนด ๔.๐ สํานักงาน ก.พ.ร. ไดจัดทํากรอบแนวทางการปฏิรูประบบราชการ เพื่อ รองรบั ไทยแลนด ๔.๐ ไว ดงั นี้ การวางระบบและวธิ กี ารทํางานใหม โดยยดึ การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทํางาน คุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคในการบรหิ ารงาน ใหม โดยการสรางจติ สํานกึ และความ ภาครัฐหรอื หลักการบริหารราชการแผนดนิ ทด่ี ี รบั ผิดชอบ ในการปฏบิ ตั หิ นาท่ี มงุ เนน - ภาครัฐทเ่ี ปvดกวางและเช่อื มโยงกนั ความซื่อสตั ยสจุ รติ และประโยชนสวนรวม (Open and Connected Government) - ภาครฐั ทยี่ ดึ ประชาชนเปน# ศนู ยกลางการ ระบบราชการ ๔.๐ ภาครัฐหรอื ระบบราชการจะต0อง บรกิ ารและเขาถงึ ความตองการในระดับ ทํางานโดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล ป:จเจก (Citizen – Centric and เพื่อประโยชนสุขของประชาชน Service – Oriented Government) - ภาครฐั อจั ฉรยิ ะ (Smart and High (Better Governance, Performance Government) Happier Citizens) การจัดระเบยี บโครงสรา# งใหม เพื่อสรางสมดลุ และจัดการความสมั พันธระหวางกลไกภาครฐั ภาคเอกชน และภาคสวนอื่นๆ ใหเปน# ไปอยางเหมาะสม รวมทง้ั ออกแบบโครงสรางภายใน ภาครฐั เองใหกระชับและไมเกดิ ความซาํ้ ซอน ทีม่ า : ศาสตราจารยพเิ ศษ ดร.ทศพร ศริ สิ มั พนั ธ ๘
ระบบราชการไทยในบรบิ ทไทยแลนด ๔.๐ สําหรับการวางระบบและวิธีการทํางานใหม โดยยึดคุณลักษณะท่ี พงึ ประสงคในการบรหิ ารงานภาครัฐหรือหลักการบริหารราชการแผนดินที่ดี ใหสามารถเป#นท่ีเชอ่ื ถือ ไววางใจ และเปน# ท่ีพึง่ ของประชาชนไดอยางแทจริง (ศาสตราจารยพิเศษ ดร.ทศพร ศริ ิสัมพนั ธ) มีองคประกอบอยู ๓ ดาน คือ ๑. ภาครัฐท่ีเปด[ กว0างและเชื่อมโยงกนั (Open and Connected Government) สรุปลกั ษณะสําคญั ไดดังน้ี - การทํางานตองเปvดเผยและโปรงใส โดยบุคคลภายนอก : เขาถึงขอมูลขาวสารของทางราชการได : มีการแบงปน: ขอมลู ซ่งึ กนั และกัน : สามารถเขามาตรวจสอบการทาํ งานได - เปvดกวางใหกลไกหรือภาคสวนอ่ืน ๆ เชน ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม เขามามีสวนรวม - โอนถายภารกจิ ทีภ่ าครัฐไมควรดาํ เนนิ การเองไปใหภาคสวนอนื่ ดําเนินการแทน - จัดโครงสรางใหสอดรับกับการทํางานแนวระนาบ ในลักษณะเครือขาย มากกวาสายการบังคบั บัญชาในแนวดิ่ง - เช่ือมโยงการทํางานราชการบริหารสวนกลาง สวนภมู ิภาค และ สวนทองถน่ิ ใหมีเอกภาพและสอดรบั ประสานกัน ๙
ระบบราชการไทยในบริบทไทยแลนด ๔.๐ ๒. ภาครัฐทยี่ ดึ ประชาชนเปน\\ ศนู ยกลางการบริการและเขาถึงความตองการ ในระดับปจ: เจก (Citizen – Centric and Service – Oriented Government) สรุปลกั ษณะสําคญั ไดดังน้ี - ทํางานในเชิงรุกและมองไปขางหนา ตั้งคําถามกับตนเองเสมอวา ประชาชนจะไดอะไร - มุงเนนแกไขปญ: หาใหประชาชน - ใหบริการเชงิ รกุ ตอบสนองความตองการของประชาชน โดยไมตอง รอใหเขามาติดตอหรอื รองขอ - ใชประโยชนจากขอมูลภาครัฐในการจัดการบริการสาธารณะที่ตรง กบั ความตองการประชาชน - ใชระบบดิจิทัลสมัยใหมในการจัดการบริการสาธารณะที่ตรงกับ ความตองการประชาชน ๑๐
ระบบราชการไทยในบรบิ ทไทยแลนด ๔.๐ ๓. ภาครัฐอัจฉริยะ – มีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย (Smart and High Performance Government) สรุปลกั ษณะสาํ คญั ไดดังน้ี - ตองทาํ งานอยางเตรียมการไวลวงหนา มีการวิเคราะหความเส่ียง - สรางนวัตกรรมหรือมีความคิดริเร่ิมและประยุกตองคความรูใน แบบสหสาขาวิชา เพื่อตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงในสถานการณ ตาง ๆ ไดอยางทนั เวลา - เปน# องคกรท่มี ีขีดสมรรถนะสูง ปรบั ตัวใหเป#นสาํ นกั งานที่ทันสมัย - ทําใหขาราชการมีความผูกพันตอการปฏิบัติงานไดเหมาะสมกับ บทบาทของตนเอง ๑๑
ระบบราชการไทยในบริบทไทยแลนด ๔.๐ ปจ` จัยสําคัญตอ2 ความสําเรจ็ ของการพฒั นาไปสู2 ระบบราชการ ๔.๐ สํานักงาน ก.พ.ร. ไดกําหนดป:จจัยสําคัญอยางนอย ๓ ประการตอ ความสําเร็จของการพฒั นาไปสู ระบบราชการ ๔.๐ โดยสรปุ ดังนี้ ๑. การสานพลังระหวา2 งภาครัฐและภาคสว2 นอนื่ ๆ ในสังคม (Collaboration) เป#นการยกระดับการทํางานจากการประสานงานกัน (Coordination) หรือ ทาํ งานดวยกนั (Cooperation) ไปสู2 การรวมมือกัน (Collaboration) เปน# การบรหิ ารกจิ การบานเมืองในรูปแบบ “ประชารัฐ” ๒. การสร0างนวัตกรรม (Innovation) เป#นการคิดคนและหาวิธีการ หรือ ศึกษาเรื่องใหมๆ เพ่ือใหเกิดผลกระทบใหญตอการตอบสนองความตองการ ของประชาชนไดอยางมคี ณุ ภาพ โดยใหประชาชนเขามามีสวนรวมเพื่อสราง ความเขาใจ การเขาถึงความรูสึกนกึ คิด ๓. การปรับเข0าส2ูความเป\\นดิจิทัล (Digitalization) เป#นการผสมผสาน การจัดเก็บและประมวลผลขอมูลผานระบบคลาวด อุปกรณสมารทโฟน และ เคร่อื งมือทใ่ี ชในการทํางานรวมกนั เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับการดําเนินการ การใหบริการของราชการ สามารถตอบสนองความตองการของประชาชนได ในทุกเวลา ทุกสถานท่ี ทุกอุปกรณและทุกชองทางไดอยางมั่นคง ปลอดภัย และประหยดั ๑๒
ระบบราชการไทยในบริบทไทยแลนด ๔.๐ สําหรบั ขา0 ราชการและเจ0าหน0าทขี่ องรัฐ ตองไดรับการปรับเปล่ียน กระบวนการทางความคิด (Mindset) ใหตนเองมีความเป#นผูประกอบการ สาธารณะ (Public Entrepreneurship) เพม่ิ ทกั ษะ สมรรถนะที่จําเป#นและ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซึ่งจะสงผลตอการแสดงบทบาทของการเป#นผูนํา การเปล่ยี นแปลง (Change Leader) เพ่ือสรางคุณคา (Public Value) และ ประโยชนสขุ ใหแกประชาชน ๑๓
บทสรุป จากการศกึ ษา เรื่อง การวางระบบและวธิ ีการทํางานของระบบราชการ ๔.๐ ซ ท่สี ํานกั งาน ก.พ.ร. ไดจ! ดั ทาํ ไว! สามารถสรปุ เพือ่ ให!เขา! ใจได! ดงั น้ี ระบบและวธิ กี ารทาํ งานของระบบราชการ ๔.๐ คือการบร ระบบราชการจะตองเปนทพ่ี ึ่งของประชาชนและเช ภาครฐั ท่ีเปด$ กวางและเชื่อมโยงกนั ภาครัฐท่ียดึ ประ (Open and Connected Government) เขา! ถึง (Citizen – Centric a - การทํางานต!องเปด- เผยและโปรง1 ใส - ทํางานโดยมองไป - เป-ดกวา! งใหก! ลไกหรอื ภาคสว1 นอนื่ ๆ เข!ามามสี ว1 นร1วม - มุ1งเน!นแกไ! ขปญ< หา - โอนถ1ายภารกิจท่ีภาครัฐไมค1 วรดําเนนิ การเองไปให!ภาคส1วนอืน่ ดําเนนิ การแทน - ใหบ! รกิ ารเชิงรกุ ไ - จัดโครงสร!างการทํางานเป3นแนวระนาบ มากกว1าสายการบังคับบัญชา - จัดบรกิ ารสาธารณ ในแนวดิง่ - เช่ือมโยงการทํางานราชการบริหารส1วนกลาง ส1วนภูมิภาค และส1วน ทอ! งถิน่ ใหม! เี อกภาพและสอดรับประสานกัน Government 4.0 Key Success Factors : ขาราชการและเจาหนาท กระบวนการทางความคดิ (Mindset) + ตนเองใหมีควา การเปนผูนําการเปลี่ย สรางคณุ คา] (Public Val
ระบบราชการไทยในบริบทไทยแลนด: ๔.๐ ซง่ึ เป3นสว1 นหนง่ึ ของกรอบแนวทางการปฏิรูประบบราชการเพ่ือรองรับไทยแลนด: ๔.๐ รหิ ารงานโดยยดึ หลกั ธรรมาภิบาลเพอื่ ประโยชนสP ุขของประชาชน ชือ่ ถอื ไววางใจได (Credible & Trusted Government) ะชาชนเปนศนู ยกP ลางการบริการและ ภาครฐั อจั ฉริยะ – มีขดี สมรรถนะสูงและทันสมยั งความตอ! งการ ในระดบั ปจ< เจก (Smart and High Performance Government) and Service – Oriented Government) ปขา! งหน!า (คิดเสมอวา1 ประชาชนจะได!อะไร) - การทาํ งานต!องมกี ารวเิ คราะห:ความเสีย่ งเพอื่ เตรยี มการ าใหป! ระชาชน ลว1 งหนา! ไมต1 อ! งรอให! มาขอความชว1 ยเหลอื ณะทตี่ รงกบั ความตอ! งการประชาชน - นําองคค: วามรท!ู เ่ี ป3นสหสาขาวชิ า มาสรา! งนวัตกรรมหรือ ประยุกตเ: พ่ือตอบสนองการเปลย่ี นแปลงได!ทันเวลา - ปรับตัวใหเ! ปน3 สํานักงานที่ทันสมยั มขี ีดสมรรถนะสูง - สร!างความผกู พันการปฏิบัติงานของขา! ราชการ : Collaboration + Innovation + Digitalization ทขี่ องรัฐ ตองไดรับการปรบั เปลี่ยน ามเปนผปู ระกอบการสาธารณะ (Public Entrepreneurship) ยนแปลง (Change Leader) lue) ประโยชนสP ขุ ใหแกป] ระชาชน ๑๔
ระบบราชการไทยในบรบิ ทไทยแลนด ๔.๐ บรรณานกุ รม สวุ ิทย เมษินทรยี . ๒๕๖๐. ระบบราชการ ๔.๐. http://www.facebook.com/drsuvitpage/photos/pcb.1449 247252048667/144924721538... ซี 12. ๒๕๖๐. มมุ ขาราชการออนไลน. ระบบราชการ ๔.๐. http://www.thairath.co.th/content/937042 ธนิต โสรตั น. ๒๕๕๙. ไทยแลนด ๔.๐ ตองเรม่ิ ท่ีปฏริ ูประบบราชการ www.tanitsorat.com ทศพร ศริ ิสัมพันธ. ๒๕๖๐. การขับเคล่ือนระบบราชการส.ู Government 4.0. สํานกั งาน ก.พ.ร. สํานักงาน ก.พ. ๒๕๖๐. ประเทศไทยในบรบิ ทไทยแลนด ๔.๐ ภายใตรฐั ธรรมนญู แหง. ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐.
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: