รายงานผลการปฏิบตั ิงานนเิ ทศ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2562 สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลาเขต 3 การนิเทศบูรณาการโดยใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐาน เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษา สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 3 โทรศพั ท์ : 073232443-105 , https://sites.google.com/view/nitesyala3 กลุ่มนิเทศฯ สพป.ยะลา เขต 3
รายงานผลการปฏบิ ัตกิ ารนเิ ทศ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562 กล่มุ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ............................................................................................................ 1. รายงานผลการนิเทศ เรอื่ ง การนิเทศบรู ณาการโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐานเพ่อื พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 2. ผนู้ เิ ทศ 1. นายวัชระ จนั ทรตั น์ ผอู้ ำนวยการกล่มุ นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา 2. นางสภุ าพร จันทรัตน์ ศึกษานเิ ทศก์ วทิ ยฐานะชำนาญการพิเศษ 3. นางมารยี านี บาฮา ศึกษานเิ ทศก์ วทิ ยฐานะชำนาญการ 4. คณะกรรมการนเิ ทศจติ อาสา ระดับเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา ประกอบด้วย 1) ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาจิตอาสา 2) ประธานศนู ยเ์ ครือข่ายพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาทุกศูนย์เครือขา่ ยฯ 5. คณะกรรมการ กต.ปน. 3. ความเป็นมาและความสำคัญ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเป็นกระบวนการเปล่ียนแปลง หรือปรับปรุง พัฒนาการจัดการศึกษาเพ่ือ สร้างผลผลิต ผลลัพธ์ให้เกิดกับผู้เรียนได้อย่างสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ ในช่วงของแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) และยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ซึ่งได้ระบุ สาระสำคัญเกี่ยวกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์ ของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีสามารถตอบสนองต่อ เป้าหมายของการพัฒนาประเทศได้ทั้งมิติความมั่นคง มิติเศรษฐกิจ มิติสังคม และมิติการบริหารจัดการภาครัฐ ได้ อย่างเป็นรูปธรรม กระบวนการจัดการศึกษาจึงมีความสำคัญภายใต้การเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นตามสถานการณ์ ปัจจุบันของสังคมไทย การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา มีความรู้ มีคณุ ธรรม และสืบทอดวัฒนธรรม สามารถดำรงชวี ิตอยู่ร่วมกับผอู้ ื่นได้อยา่ งมีความสขุ ส่งเสริม ให้ประชาชนพ่ึงตนเองได้ สอดคล้องตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ท่ีระบุคติพจน์ประจำชาติว่า “มั่นคง ม่ังคั่ง ย่งั ยืน” โดยมุ่งหวงั ให้ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคงั่ ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแลว้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง การพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีองค์ประกอบสำคัญหลายประการ การนิเทศการศึกษาเป็นหนึ่งใน องค์ประกอบสำคัญของการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การนิเทศการศึกษาเป็นกลไกสำคัญท่ีจะเร่งรัด ปรับปรุง คุณภาพการศึกษา เป็นกระบวนการท่ีช่วยให้การจัดการเรียนการสอนของครูมปี ระสิทธิภาพและส่งผลให้นักเรียนมี คุณภาพตามมาตรฐานหลักสูตร การนิเทศการศึกษาจะสำเร็จได้ผลดีเพียงไรน้ันย่อมขึ้นอยู่กับ ทักษะและ ความสามารถในการนิเทศของศึกษานิเทศก์ โดยการทำงานด้านพัฒนาการจัดการเรียนรู้ร่วมกับครู เพราะ \"ศึกษานิเทศก์ คือ ผู้ทำหน้าท่ีนิเทศ-แนะนำ-ชี้นำ-กระตุ้นให้ครูและผู้บริหารสถานศึกษา เกิดความรู้ ความตระหนัก
๒ และมีทักษะในการจัดการเรียนการสอนและการบริหารจัดการศึกษา รวมทั้งเป็นท่ีปรึกษาทางวิชาการสำหรับนัก บรหิ ารระดับสงู ในองค์กรที่สงั กัด ศกึ ษานิเทศกจ์ งึ เปน็ ผู้มีความรู้ ความสามารถ มีทักษะการพัฒนางานวชิ าการ กระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ประสบผลสำเร็จ ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ประการ คือ กระบวนการบริหารการศึกษา กระบวนการเรียนการสอนและกระบวนการนิเทศการศึกษา สำหรับกระบวนการ นิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการท่ีผู้นิเทศใช้ข้อมูลจากการติดตาม ตรวจสอบและ ประเมินผล สำหรับการวางแผน ในการให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ ร่วมคิด ร่วมทำ และสนับสนุน ให้มีการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สูงข้ึนตรงตาม สภาพความต้องการท่ีแท้จริงของการพัฒนา โดยผ่านครูผู้สอนและ ผู้บริหารโรงเรียน รวมท้ังการช้ีแจง การแสดง หรือการแนะนำเกี่ยวกับการสอน การนิเทศการศึกษาจึงเป็น ภารกิจท่ีจำเป็นต่อการจัดการศึกษา ท่ีต้องอาศัยความ ร่วมมือจากบุคคลหลายฝ่าย เพ่ือช่วยเหลือ สนับสนุนให้กระบวนการบริหาร และการบวนการเรียนการสอนมี คุณภาพและให้ทันต่อสภาพความเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึน ได้แก่ ความเปลี่ยนแปลงของสังคม รวมทั้งความ เจริญกา้ วหนา้ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยที ีเ่ ปน็ ไปอย่างรวดเร็ว กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ตระหนักและเหน็ ความสำคัญของการนิเทศการศึกษา จึงได้ดำเนินการนเิ ทศบรู ณาการโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐานเพ่ือ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 ระหวา่ งเดือนพฤศจิกายน 2562 - มีนาคม 2563 โดยใช้ฐานข้อมูลสารสนเทศ จากการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล ซ่ึงได้ดำเนินการในภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2562 และการประเมินการอ่านการเขียนเพ่ือคัดกรองนักเรียนกลุ่มปรับปรุง ในเดือนพฤศจิกายน 2562 รวมทั้งนำนโยบายและจุดเน้นของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปี 2562 มาใช้เป็น แนวทางในการขับเคลื่อนการดำเนินการนิเทศบูรณาการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดย สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ได้ดำเนินการให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ หลักสูตร และ องค์ประกอบต่าง ๆ เพื่อยกระดับมาตรฐานทางการศึกษาให้ได้มาตรฐาน และนำผลการดำเนินการนิเทศมาจัดทำ รายงานผลการดำเนนิ งานดังกล่าวขนึ้ 4. วัตถุประสงค์ของการนเิ ทศ เพื่อนิเทศ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของโรงเรียนเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาใน ประเดน็ การนิเทศทก่ี ำหนด 5. เป้าหมาย 5.1 เชงิ ปรมิ าณ 1) ร้อยละ 100 ของสถานศึกษาในสังกัดได้รับการนิเทศด้านการอ่านออกเขียนได้ การจัดการ เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การนิเทศภายในโรงเรียน การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ การจัดการเรียนรู้เพื่อ พัฒนากระบวนการคิด การจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ (Coding) การส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อยกระดับการ ประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับนานาชาติ (PISA) การประกันคุณภาพการศึกษา การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี นของผเู้ รียน และการนเิ ทศบูรณาการโดยใช้พนื้ ทเี่ ปน็ ฐานเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 2) ร้อยละ 100 ของสถานศกึ ษากลุ่มเป้าหมายโรงเรียนในโครงการพิเศษและโรงเรียนในเขตพ้ืนท่ี พเิ ศษไดร้ บั การนเิ ทศตดิ ตามการขบั เคลอ่ื นการจดั การศึกษาของโรงเรยี นทกุ โรง 3) รอ้ ยละ 100 ของสถานศกึ ษาท่ไี ดร้ ับการนเิ ทศการจดั การเรยี นรู้เชงิ รกุ (Active Learning)
๓ 4) รอ้ ยละ 100 ของผู้บรหิ ารสถานศึกษาในสงั กัดมกี ารนเิ ทศภายในโรงเรยี นโดยยดึ หอ้ งเรียนเป็น ฐานเพือ่ พฒั นคุณภาพการศกึ ษาทุกห้องเรยี น 5.2 เชงิ คณุ ภาพ 1) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 นิเทศ ติดตาม ประเมินผล ส่งเสริม และสนับสนุนการขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดด้านการอ่านออกเขียนได้ การ จัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) การนิเทศภายในโรงเรียน การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ การจัดการ เรียนรู้เพ่ือพัฒนากระบวนการคิด การจัดการเรยี นรู้วิทยาการคำนวณ (Coding) การสง่ เสริมการเรยี นรู้เพ่ือยกระดับ การประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับนานาชาติ (PISA) การประกันคุณภาพการศึกษา การยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของผู้เรียน การจัดการศึกษาของโรงเรียนในโครงการพิเศษ โรงเรียนในเขตพื้นท่ีพิเศษ และการนิเทศ บูรณาการโดยใช้พ้ืนที่เป็นฐานเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตามบริบทของสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ 2) ผู้บริหารสถานศึกษานิเทศครูทุกคนโดยยึดห้องเรียนเป็นฐานในทุกห้องเรยี นได้อย่างเป็นระบบ และมปี ระสทิ ธิภาพ 3) ครูในสังกดั ทุกโรงที่ได้รับการนิเทศการจัดการเรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning) สามารถจัดการ เรยี นรู้ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 6. ระยะเวลาดำเนนิ การนิเทศ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562 (พฤศจิกายน 2562 - มีนาคม 2563) 7. ประเด็นการนเิ ทศบูรณาการโดยใชพ้ ้นื ท่ีเป็นฐาน 7.1 การอา่ นออกเขยี นได้ 7.2 การจัดการเรยี นรู้เชงิ รกุ (Active Learning) และการใช้ส่ือ DLTV/DLIT 7.3 การนเิ ทศภายในโรงเรียน 7.4 การจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 7.5 การจดั การเรียนรูว้ ิทยาการคำนวณ (Coding) 7.6 การประกันคุณภาพการศึกษา 7.7 การยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของผเู้ รียน 7.8 โรงเรียนในโครงการพิเศษ 1) โรงเรยี นคุณภาพประจำตำบล 2) โรงเรียนประชารฐั 3) โรงเรยี นประชารฐั จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 7.9โรงเรียนในเขตพื้นที่พเิ ศษ 1) โรงเรยี นในเขตสามเหลี่ยมมัน่ คง มง่ั ค่งั ยง่ั ยนื 2) โครงการโรงเรียนพนื้ ทนี่ วัตกรรมการศึกษา
๔ 8. นิยามศัพท์ 1) การนิเทศบูรณาการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน หมายถึง การให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ ช้ีแนะ เพื่อแก้ไข ปรับปรงุ พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของครูที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในระดับโรงเรยี น และระดับหอ้ งเรียน โดย มุ่งน้ันให้เกิดการทำงานร่วมกันด้วยการประสานงาน ประสานคน ประสานวิธีการทำงาน และประสานงบประมาณ การทำงานร่วมกัน เพื่อลดความซ้ำซ้อนในการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การดำเนินงานตามนโยบาย และจุดเน้นสำคัญเพือ่ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 2) การนิเทศภายใน หมายถึง การให้คำแนะนำ ช่วยเหลือ เพ่ือแก้ไข ปรับปรุง พัฒนาการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ของครูให้มีประสิทธิภาพ ที่ส่งผลให้นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานของหลักสูตร โดยผู้บริหารสถานศึกษา คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษา ศึกษานเิ ทศก์ คณะกรรมการสถานศกึ ษาและคณะกรรมการนเิ ทศจติ อาสา 3) ห้องเรียนเป็นฐาน หมายถึง การคำนึงถึงคุณภาพของห้องเรียนที่มีคุณภาพของครูและผู้เรียนโดยครู จัดการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในห้องเรียนหรือนอกห้องเ รียนท่ี มุ่งเน้นการจัดการเรยี นรูเ้ ชงิ รุก (Active Learning) ครูมีการนำผลการวัดแลประเมนิ ผลการเรียนรู้ไปใช้พัฒนาผเู้ รยี น ที่คำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคล มุ่งให้ผู้เรียนทุกคนในห้องเรียน เป็นห้องเรียนแห่งการเรียนรู้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ด้วยตัวของผู้เรียนเอง ผู้เรียนมีคุณภาพเป็นไปตามท่ีหลักสูตรต้องการ มี ทักษะทางวิชาการ ทกั ษะอาชีพ และทักษะชวี ติ 4) คุณภาพการศึกษา หมายถึง ความสำเร็จที่เกิดจากการบริหารและการจัดการศึกษาปฐมวัยและระดับ การศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามนโยบาย เป้าหมายของทิศทางการขับเคล่ือนคุณภาพการศึกษาของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และประสิทธิภาพท่ีเกิดข้ึนกับผู้เรยี นท่ีแสดงถึงสมรรถนะท่ีจำเป็นในศตวรรษท่ี 21 และตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตามหลักสูตรและมาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน สถานศกึ ษา 5) การอ่านออกเขียนได้ หมายถึง ความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนในด้านภาษาท่ีมีสมรรถนะในด้านการ อ่าน การเขยี นไดต้ ามระดบั ชั้น 6) การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) หมายถึง การออกแบบการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ ท่เี นน้ ใหผ้ เู้ รยี นปฏบิ ัติจริง สรา้ งองคค์ วามรู้ ผ่านการคิดข้ันสงู สร้างสรรคง์ านและนำเสนองานด้วยตนเอง 7) การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน หมายถึง การท่ีโรงเรียนและครูผู้สอนมีการร่วมกัน วิเคราะห์ปัญหา สาเหตุของปัญหา และแนวทางการแก้ไขปัญหา และร่วมกันตัดสินใจเลือกวิธีการแก้ปัญหาในการ พัฒนาผู้เรียนให้มคี วามก้าวหนา้ ในการเรยี นอย่างตอ่ เนือ่ ง โดยคำนงึ ถึงความแตกตา่ งของผูเ้ รียนเป็นรายบุคคล 8) การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา หมายถึง การที่โรงเรียนมุ่งให้เกิดคุณภาพของโรงเรยี นโดยโรงเรียนมกี าร จัดทำมาตรฐานของสถานศึกษา มีการพัฒนาโรงเรียนให้ได้ตามมาตรฐานการศึกษา มีการประเมินผลและการ ติดตาม ตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีกลไกการควบคุม ตรวจสอบระบบการ บริหารคุณภาพการศึกษาท่ีโรงเรียนจัดข้ึน เพื่อให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเช่ือม่ันให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและ สาธารณชน 9) การจัดการศึกษาของโรงเรียนในโครงการพิเศษ หมายถึง โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ท่ีเข้าร่วมโครงการพิเศษต่าง ๆ ตามพระบรมราโชบายของพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 และพระบรมวงศานุวงศ์ และโรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการพิเศษต่าง ๆ ของหน่วยงานหรือองค์กรอื่น ๆ ตามนโยบายของรฐั บาล กระทรวงศึกษาธิการ และสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
๕ 10) การจัดการศึกษาของโรงเรียนในเขตพ้ืนท่ีพิเศษ หมายถึง โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ท่ีดำเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการท่ีได้ประกาศจัดต้ังข้ึนตาม วัตถปุ ระสงค์เฉพาะกจิ หรือเฉพาะดา้ น โดยมหี น่วยงาน/องคก์ รที่รบั ผดิ ชอบในการดำเนนิ งาน ไดแ้ ก่ (1) โรงเรยี นในเขตสามเหล่ียมมน่ั คง ม่งั คั่ง ยัง่ ยืน (2) โรงเรียนในเขตพนื้ ท่ีนวัตกรรมการศึกษา 9. เคร่ืองมอื นิเทศ 9.1 แบบนเิ ทศติดตามและรายงานผลการดำเนินงานตามนโยบาย สพฐ. 9.2 แบบสังเกตการสอน 9.3 ค่มู ือนิเทศภายในโรงเรียน 9.4 แบบรายงานผลการนเิ ทศออนไลน์ 9.5 แบบบนั ทกึ ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) 9.6 แบบบันทกึ การนิเทศ 10. กระบวนการนิเทศ กล่มุ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ได้ดำเนินการนิเทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนที่เป็นฐานสู่การนิเทศภายในโรงเรียนโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานเพ่ือ พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา โดยใช้ กระบวนการนเิ ทศ 9 ข้ัน นำสหู่ อ้ งเรียนคุณภาพ ดงั น้ี
๖ ขั้นการวางแผน (Plan) เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษากับโรงเรียนรว่ มกนั วิเคราะห์สภาพปจั จุบนั และความตอ้ งการพัฒนา คุณภาพการศึกษา เพื่อหาแนวทางในการปรบั ปรงุ และพัฒนา และจดั ทำข้อมูลสารสนเทศ 1. วิเคราะหป์ ัญหา (Analysis problem) ประชุมคณะกรรมการ ก.ต.ป.น. คณะกรรมการนิเทศจติ อาสาระดับเขตพนื้ ที่ และผมู้ ีส่วน เกีย่ วข้องร่วมกบั โรงเรียนในสังกดั เพ่ือวางแนวทางในการดำเนนิ งานร่วมกัน และจดั ทำคู่มือ 2. ระดมสมอง (Brain Storming) ใหค้ วามร้คู คู่ วามตระหนกั เกีย่ วกับการนเิ ทศการศึกษา ใหแ้ ก่ ทมี นิเทศจติ อาสา ระดับเขต พน้ื ที่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครผู นู้ ิเทศ เพือ่ ใหก้ ารนิเทศภายในสถานศึกษามีประสิทธภิ าพ ขน้ั การปฏบิ ตั งิ าน (Do) และเป็นระบบ โดยใชค้ ูม่ อื นิเทศภายในโรงเรยี นเปน็ สอ่ื 3. ให้ความรู้ (Informing) 4. จบั คูร่ ่วมพฒั นา จับคู่ “โรงเรยี นพี่ โรงเรยี นนอ้ ง” ท่มี ีบรบิ ทคล้ายกนั ร่วมกนั พฒั นาระบบการนเิ ทศภายใน (Collaboration) สถานศึกษา ดำเนินการนเิ ทศโดยใชร้ ะบบพีเ่ ลยี้ ง (Coaching and Mentoring) 5. สร้างเครอื ข่าย สรา้ งเครอื ข่ายในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา รว่ มกันจดั กิจกรรม ใหโ้ รงเรยี นไดเ้ รยี นรู้ (Network) ประสบการณ์การจดั กจิ กรรม ปญั หาอปุ สรรค และแนวทางการแกป้ ญั หา จากโรงเรยี น เครือข่าย โดยการศึกษาดงู าน และใชก้ ารนเิ ทศ ICT 6. แลกเปลีย่ นเรียนรู้ เขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาและโรงเรยี น รว่ มกันรายงานผลและนำเสนอผลการดำเนนิ การนิเทศ (Sharing) ภายในสถานศกึ ษา โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร (ICT) ใชว้ ธิ กี ารทบทวน หลงั การปฏิบตั ิ (AAR) และวิธีการถอดประสบการณ์ 7. รว่ มนิเทศ 100 % เขตพื้นท่ีการศึกษาปฏิบัติการนิเทศบูรณาการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School Based (Supervision) Management) และนิเทศการจัดการเรียนรู้ของครู โดยใช้ห้องเรียนเป็นฐาน (Classroom Based Management) โดยการสังเกตการจัดการเรียนรู้ของครู ด้วยวิธีการโค้ชสะท้อนคิด (Reflective Coaching) และใหก้ ารเสรมิ แรง (Reinforcement) ข้นั ตรวจสอบ (Check) 8. ประเมินผล ดำเนินการประเมินห้องเรียนคุณภาพ และตรวจสอบคุณภาพการศึกษา โดยใช้การมีส่วนร่วม (Evaluation) ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ไดแ้ ก่ คณะกรรมการ ก.ต.ป.น. คณะกรรมการนิเทศจิตอาสา ระดับ เขตพ้ืนท่ี คณะกรรมการสถานศึกษา และคณะกรรมการนิเทศภายในสถานศกึ ษา และให้รางวัล ขน้ั ปรบั ปรุงและนำไปใช้ (Act) 9. รายงานผลการ นำผลจากการประเมิน มาปรับปรงุ และพัฒนาการจัดกจิ กรรมให้มปี ระสทิ ธิภาพ และ พัฒนา (Report) รายงานเผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์ และขยายผลสสู่ าธารณชน
๗ 11. วธิ ีดำเนนิ การนเิ ทศ วิธีดำเนินการ ประเดน็ การนิเทศ ด้านการส่งเสรมิ สนับสนนุ สร้างความร้คู วาม ด้านการนเิ ทศ ชี้แนะ ชว่ ยเหลอื โรงเรยี น เข้าใจกบั โรงเรียน และนำผลการนเิ ทศไปใชใ้ นการพัฒนา 1. การอ่านออก สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา เขียนได้ ยะลา เขต 3 มีข้อมูลและมแี นวทาง/วธิ กี าร ยะลา เขต 3 มีระบบนิเทศ ช้ีแนะ ส่งเสรมิ สนับสนุน สรา้ งความรู้ความเขา้ ใจ การ ชว่ ยเหลือโรงเรียนในการอ่านออกเขยี นได้ แกป้ ัญหาการอ่านออกเขียนได้ การสรา้ ง และนำผลการนเิ ทศไปใชใ้ นการพัฒนา นวตั กรรมให้กับโรงเรยี น ดงั นี้ ดงั น้ี 1. ประชุมคณะกรรมการการนเิ ทศ 1. จัดทำแผนนเิ ทศบรู ณาการโดยใช้ บรู ณาการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เพ่ือการ โรงเรียนเป็นฐาน ภาคเรียนที่ 2 ปี พัฒนาคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย คณะ การศึกษา 2562 ระดบั เขตพน้ื ท่ี ศกึ ษานเิ ทศก์ คณะกรรมการ ก.ต.ป.น. การศึกษา เพ่ือใชเ้ ป็นแนวทางในการนเิ ทศ คณะกรรมการนิเทศจิตอาสา ประธานศูนย์ ชี้แนะ ช่วยเหลือโรงเรยี น เครอื ข่ายพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ในวันท่ี 23 2. นเิ ทศ ตดิ ตามการกำหนดมาตรการ ธนั วาคม 2562 ณ ห้องบาลา-ฮาลา สำนักงาน เร่งรดั แกป้ ญั หา การอ่านออกเขยี นได้ เขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ของโรงเรยี นในสังกดั 2. จัดทำสารสนเทศด้านการอ่านออกเขียน 3. นิเทศ กำกับ ตดิ ตาม การอา่ นออก ได้จากผลการประเมินทผี่ ่านมา เขียนได้ของทกุ โรงเรยี นในสังกดั พร้อมทง้ั และผลการประเมนิ เดือนพฤศจิกายน 2562 ใหค้ ำแนะนำในการแก้ปัญหา และการ (ครั้งที่ 2 /2562) เพ่ือนำไปใชใ้ นการวาง พฒั นาสือ่ การสอน/นวัตกรรมในการ แผนการขับเคลอ่ื น นิเทศ กำกบั ตดิ ตาม แกป้ ญั หาของผูเ้ รียนเปน็ รายบุคคลอยา่ ง 3. ส่อื สาร สรา้ งความเข้าใจให้กบั ผบู้ ริหาร ต่อเนอื่ ง สถานศึกษาในการนำผลจาการสอบ คดั กรอง 4. ให้การนเิ ทศรายบุคคลสำหรบั ครตู าม นกั เรียนและหามาตรการพัฒนานกั เรยี นโดยใช้ ความตอ้ งการจำเปน็ ของแต่ละโรงเรยี น กระบวนการ PLC และให้ครูผู้สอนวิเคราะห์ โดยใช้วิธกี ารนิเทศทหี่ ลากหลาย เช่น ผเู้ รยี นรายบุคคล การสังเกตการสอน การสาธติ การสอน แบ่งนกั เรยี นเปน็ กลุ่มเก่ง ปานกลางและกลมุ่ การช้ีแนะสะท้อนคดิ เป็นต้น ออ่ น พรอ้ มทั้งหาวธิ ีการพัฒนาและสง่ เสรมิ 5. จัดส่อื พฒั นาการอ่านออกเขียนได้ และ ผ้เู รยี นเปน็ รายบคุ คล แนะนำให้โรงเรียนท่ีมีปัญหานักเรียนอา่ น 4. สนบั สนุนสอ่ื การเรียนการสอนโดย ไมอ่ อกเขยี นไม่ได้นำไปทดลองใช้ แลกเปล่ยี นเรยี นรูท้ างไลนก์ ลุ่ม 6. แลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ ละแนะนำส่ือที่ 5. ครูนำเสนอผลการปฏบิ ัตทิ ่ีดดี ้านการ น่าสนใจจากเว็บไซต์ตา่ ง ๆ ผ่านระบบ อ่านการเขยี น นิเทศออนไลน์ เชน่ Line, Facebook
๘ วธิ ีดำเนินการ ประเด็นการนเิ ทศ ดา้ นการส่งเสริม สนับสนุน สรา้ งความรูค้ วาม ด้านการนเิ ทศ ชแี้ นะ ชว่ ยเหลอื โรงเรียน เข้าใจกับโรงเรยี น และนำผลการนเิ ทศไปใช้ในการพฒั นา 2. การจัดการ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษา เรยี นรเู้ ชงิ รกุ ยะลา เขต 3 ได้ดำเนนิ โครงการการจัดการ ยะลา เขต 3 มรี ะบบนิเทศ ช้ีแนะ (Active Learning) เรยี นรู้แบบ Active Learning เพื่อยกระดบั ชว่ ยเหลือโรงเรียนในการจดั การเรียนรู้เชงิ และการใชส้ ่ือ คณุ ภาพการศึกษา ส่คู ุณภาพไทยแลนด์ 4.0 รุก (Active Learning) อยา่ งเปน็ ระบบ DLIT/DLTV โดยยดึ หลัก “ศาสตรพ์ ระราชา” ใหก้ ับโรงเรียน ตอ่ เนื่อง และนำผลการนเิ ทศไปใชใ้ นการ ดงั น้ี พัฒนาและแก้ปัญหา โดยดำเนินการ ดังนี้ 1. ประชมุ คณะศกึ ษานิเทศก์ 1. จัดทำแผนนเิ ทศบรู ณาการโดยใช้ คณะกรรมการ ก.ต.ป.น. คณะกรรมการนิเทศ พ้ืนทีเ่ ป็นฐาน ระดับเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา จติ อาสา และผู้ทเี่ กี่ยวข้อง เพื่อวางแผนการ เพ่อื ใช้เป็นแนวทางในการนเิ ทศ ช้ีแนะ ขบั เคลือ่ นในระดับเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา ช่วยเหลือโรงเรยี น 2. สอื่ สารสรา้ งความเขา้ ใจกบั โรงเรียนใน 2. นิเทศตามปฏทิ ินการนิเทศ ให้คำ การจดั การเรียนร้เู ชิงรกุ (Active Learning) ชแี้ นะ ชว่ ยเหลือโรงเรยี นในการพฒั นาการ ทุกกลุ่มสาระ จดั การเรยี นรเู้ ชิงรกุ (Active Learning) 3. จดั การอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร ระดับ โดยคณะกรรมการนเิ ทศจิตอาสา โรงเรยี น เชน่ อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสรมิ การ 3. แลกเปลยี่ นเรียนรู้ ดา้ นการจดั การ ทำวิจัยโดยใชก้ ระบวนการ PLCระหว่างวันท่ี เรยี นการสอนแบบ Active Learning 22 -23 กุมภาพันธ์ 2563 ณ หอ้ งประชุม ผ่านระบบไลนก์ ลุ่ม PLC บาลา-ฮาลา สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา 4. คณะกรรมการนิเทศจติ อาสาสงั เกต ประถมศกึ ษายะลา เขต 3 การจัดการเรยี นรู้ของครผู ูส้ อนทุกโรง และ 4. สง่ เสริมการเขา้ ร่วมกิจกรรมอบรม ใหค้ ำช้ีแนะเพ่ือการพัฒนา ทำใหค้ รูมี พัฒนาการจัดการเรียนการสอนกลุม่ สาระการ ความกระตอื รือรน้ มากขน้ึ เรยี นรูต้ า่ ง ๆ ทีจ่ ดั โดยหน่วยงานอนื่ ๆ 3. การยกระดับ สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษา สำนกั งานเขตพื้นท่ีมรี ะบบนเิ ทศ ชแี้ นะ ผลสัมฤทธิท์ างการ ยะลา เขต 3 มีข้อมลู และมีแนวทาง/วิธีการ ช่วยเหลอื โรงเรยี นในการยกระดบั เรียนของผู้เรียน ส่งเสริม สนบั สนุน สร้างความรู้ ความเข้าใจกับ ผลสมั ฤทธอ์ิ ยา่ งเป็นระบบ ต่อเนอ่ื ง และ โรงเรียนในการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ รวมทัง้ การ นำผลการนเิ ทศไปใชใ้ นการพัฒนาและ สร้างนวตั กรรมใหก้ บั โรงเรยี น ดงั นี้ แก้ปัญหา ดังนี้ 1. ประชุมส่อื สารสรา้ งความเข้าใจการ 1. ปฏิบตั กิ ารนเิ ทศ ใหข้ ้อเสนอแนะ วเิ คราะหผ์ ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนในรอบปที ่ี เก่ียวกบั การจดั การเรยี นการสอนของครู ผา่ นมา 2. พบปะกลุ่มย่อยระดบั เครือขา่ ย 2. ประชมุ คณะทำงานเพ่ือกำหนดกรอบ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ แนวคดิ การนิเทศโดยสร้างเครือข่ายการนิเทศ 3. แนะนำการวิเคราะหผ์ ลการสอบโดยใช้
๙ วธิ ดี ำเนินการ ประเด็นการนิเทศ ด้านการส่งเสรมิ สนบั สนนุ สร้างความร้คู วาม ดา้ นการนิเทศ ช้ีแนะ ช่วยเหลอื โรงเรยี น เข้าใจกบั โรงเรยี น และนำผลการนิเทศไปใช้ในการพัฒนา 3. รวบรวมเอกสารทีส่ ำคัญ/แนวข้อสอบที่ แผนผังข้อสอบ (Test Blue Print) ในการ ได้มาตรฐานจากแหล่งตา่ ง ๆ ใส่ในคลังข้อสอบ นำไปสอนสอดแทรกในรายวิชาตา่ ง ๆ ใน โอกาสทีม่ ีการประชุมผูบ้ ริหารและครู วชิ าการ และครผู ู้สอนในการอบรมต่าง ๆ 4. แนะนำการวเิ คราะห์จดุ ดี จดุ เดน่ ของ ผลการสอบแตล่ ะรายวิชาในเชงิ ลึก 4. การประกนั สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษา สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา คุณภาพการศึกษา ยะลา เขต 3 มขี ้อมลู และมีแนวทาง/วธิ ีการ ยะลา เขต 3 มรี ะบบนิเทศ ชี้แนะ ส่งเสริม สนบั สนนุ สร้างความรู้ ความเขา้ ใจกบั ชว่ ยเหลอื โรงเรียนในการดำเนนิ งาน โรงเรียนในการสร้างระบบประกนั คุณภาพ ประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาอย่าง ภายในสถานศึกษา ดงั น้ี เปน็ ระบบ ต่อเน่ือง และนำผลการนิเทศ 1. ประชมุ คณะกรรมการ ก.ต.ป.น. คณะ ไปใชใ้ นการพัฒนา ดังนี้ ศึกษานเิ ทศก์ คณะกรรมการนิเทศ จติ อาสา 1. นเิ ทศ ตดิ ตาม และซักซ้อมการ และผทู้ ีเ่ ก่ียวข้อง และรว่ มวางแผนการ ประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ี (Mock ขับเคลื่อนระบบประกนั คุณภาพภายใน Assessment) เพื่อให้สถานศึกษา ได้แก่ สถานศึกษา โรงเรียนบา้ นราโมง โรงเรยี นบ้านแหร 2. สอ่ื สารสรา้ งความเข้าใจใหก้ บั ผบู้ รหิ าร โรงเรียนอนุบาลเบตง (สุภาพอนสุ รณ์) มี สถานศกึ ษาและผู้รบั ผิดชอบระดับโรงเรยี น ความพร้อมรบั การประเมินคุณภาพ 3. อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการการพัฒนาระบบ ภายนอกรอบส่ีจาก สมศ. ประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา เพื่อรองรับ 2. ปฏิบัติการนเิ ทศ ให้ข้อเสนอแนะ การประเมินภายนอกรอบสี่ ให้แก่ โรงเรียน เก่ยี วกับการประเมินภายนอกรอบสี่ และ บ้านราโมง โรงเรียนบา้ นแหร และโรงเรียน แนะนำการเขยี นรายงานประจำปีของ อนุบาลเบตง (สภุ าพอนสุ รณ์) สถานศกึ ษา (SAR) ประจำปกี ารศึกษา 4. จดั ทำคมู่ อื การดำเนินงานประกันฯ 2562 5. ใหค้ วามรู้เกย่ี วกับแนวทางการประเมนิ 3.ติดตามการประเมินคุณภาพภายใน คุณภาพภายนอกรอบสใ่ี หก้ ับโรงเรียนที่สนใจ ของสถานศึกษาให้เป็นระบบและมคี วาม เพ่ือเตรยี มความพรอ้ มก่อนรบั การประเมิน ตอ่ เนือ่ ง โดยส่งเสรมิ ใหค้ ณะกรรมการ คณุ ภาพภายนอกรอบส่ี ได้แก่ โรงเรยี นในศนู ย์ สถานศึกษาและชุมชนเข้ามามีสว่ นร่วม เครอื ข่ายพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาอยั เยอร์เวง 4. เข้าร่วมสงั เกตการณแ์ ละรับฟัง ณ โรงเรียนบ้านอัยเยอรเ์ วง คำแนะนำจากคณะกรรมการ สมศ. ทีม่ า ประเมินโรงเรียนบา้ นราโมง โรงเรยี นบา้ น แหร โรงเรียนอนบุ าลเบตง (สุภาพ
๑๐ วิธีดำเนินการ ประเด็นการนิเทศ ดา้ นการสง่ เสรมิ สนับสนนุ สรา้ งความรูค้ วาม ดา้ นการนเิ ทศ ชีแ้ นะ ชว่ ยเหลอื โรงเรยี น เขา้ ใจกบั โรงเรียน และนำผลการนิเทศไปใชใ้ นการพัฒนา อนสุ รณ์) เพอื่ เปน็ ขวัญและกำลงั ใจใหค้ รูท่ี รบั การประเมิน และนำข้อแนะนำไปช้ีแนะ ใหก้ ับโรงเรยี นอน่ื ๆ 5.การนิเทศภายใน สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษา สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษา โรงเรยี นโดยใช้ ยะลา เขต 3 มวี ิธีดำเนินการ รายละเอียด ดังนี้ ยะลา เขต 3 มรี ะบบนิเทศ ชี้แนะ ห้องเรยี นเปน็ ฐาน 1. ประชุมชแี้ จงผบู้ ริหารสถานศึกษาในการ ชว่ ยเหลอื โรงเรยี นในการดำเนินงานนิเทศ ของผู้บริหาร ประชมุ ผ้บู ริหารประจำเดือนโดยให้ผูบ้ รหิ าร ภายในโรงเรยี นโดยใชห้ ้องเรยี นเป็นฐาน สถานศึกษาและ ดำเนินการนเิ ทศครทู ุกห้องเรียนและรายงานผล ของผบู้ ริหารสถานศกึ ษาและ คณะกรรมการ การนเิ ทศผ่านระบบออนไลน์ คณะกรรมการนเิ ทศภายในอยา่ งเปน็ นเิ ทศภายใน 2. สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา ระบบ ตอ่ เนื่อง และนำผลการนเิ ทศไปใช้ ประถมศกึ ษายะลา เขต 3 จัดเรียงลำดับ ในการพฒั นา ดังนี้ ผบู้ ริหารและคณะกรรมการนิเทศภายใน 1.นิเทศตดิ ตามการขับเคลื่อนการ โรงเรยี นที่มีการนเิ ทศหอ้ งเรยี นมากทส่ี ุด ให้ นเิ ทศภายในโดยผู้บริหารสถานศึกษาและ ไดร้ บั เกียรติบตั รเชิดชเู กียรติในแต่ละภาคเรยี น คณะกรรมการภายในโรงเรยี น 3.จดั ทำคู่มอื การนเิ ทศภายในโรงเรยี นเพอ่ื 2. ให้คำชแ้ี นะเทคนิคในการนิเทศที่ เปน็ แนวทางในการนิเทศของผ้บู ริหารและ เหมาะสมกบั บรบิ ท คณะกรรมการนเิ ทศภายในโรงเรียน 6.การจดั การ สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา เรยี นรู้ ยะลา เขต 3 มีวธิ ีดำเนนิ การ รายละเอยี ดดังนี้ ยะลา เขต 3 มรี ะบบนิเทศ ช้ีแนะ ภาษาอังกฤษ 1. อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารสง่ เสริมการทำวิจัย ชว่ ยเหลอื โรงเรียนในการดำเนนิ งาน โดยใชก้ ระบวนการ PLC ระหว่างวนั ท่ี 22 – พฒั นาการจดั การเรียนรภู้ าษาองั กฤษ 23 กมุ ภาพนั ธ์ 256 สำหรับครูผชู้ ว่ ย เพ่ือนำ อย่างเปน็ ระบบ ตอ่ เน่ือง และนำผลการ ความรูไ้ ปใชใ้ นการพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ นิเทศไปใชใ้ นการพฒั นา ดงั นี้ ภาษาอังกฤษ 1. นิเทศตดิ ตามการจัดการเรียนรู้ 2. จัดทำสื่อภาษาอังกฤษให้ครนู ำไปใช้ใน ภาษาอังกฤษของครทู ่ผี า่ นการอบรม การจดั การเรียนร้ภู าษาองั กฤษ Boot Camp และครูผ้ชู ว่ ยทส่ี อน 3.ส่ือสารและประสานงานต่าง ๆ ที่ ภาษาองั กฤษโดยการสังเกตการจัดการ เกี่ยวข้องกบั การจัดการเรียนรู้ภาษาองั กฤษผา่ น เรียนรทู้ กุ โรง โดยคณะกรรมการนิเทศ Line กลมุ่ ครูภาษาองั กฤษอย่างตอ่ เนื่องและ ระดับเขตพนื้ ท่ีการศึกษา สมำ่ เสมอ 2. ให้คำช้ีแนะแนวทางการจดั การ 4. แลกเปลีย่ นเรยี นรโู้ ดยใช้สอ่ื จากเวบ็ ไซต์ เรียนรู้เชิงรกุ (Active Learning) ใหก้ บั ครู
๑๑ วธิ ดี ำเนนิ การ ประเดน็ การนิเทศ ดา้ นการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ สร้างความรคู้ วาม ด้านการนเิ ทศ ชี้แนะ ชว่ ยเหลือโรงเรยี น เขา้ ใจกับโรงเรยี น และนำผลการนเิ ทศไปใช้ในการพัฒนา 7. การจดั การ สำนกั งานเขตพน้ี ที่การศึกษาประถมศึกษา สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา เรยี นรวู้ ทิ ยาการ ยะลา เขต 3 มีวธิ ดี ำเนินการ รายละเอียดดังน้ี ยะลา เขต 3 มีระบบนิเทศ ช้ีแนะ คำนวณ (Coding) 1.จดั การอบรมเชิงปฏบิ ัติการการสรา้ งส่ือ ช่วยเหลือโรงเรียนในการดำเนนิ งาน การสอนโปรแกรมมิ่งโรงเรยี น (Coding at จัดการเรยี นรู้วิทยาการคำนวณ (Coding) school) ในวันที่ 13-14 กรกฎาคม 2562 ณ อย่างเปน็ ระบบ ต่อเนื่อง และนำผลการ หอ้ งประชมุ บาลา-ฮาลา สำนักงานเขตพนื้ ที่ นิเทศไปใช้ในการพัฒนา ดงั นี้ การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 3 1.จัดทำแผนการนเิ ทศการจดั การ 2.สง่ เสรมิ ให้ครูที่ผา่ นการอบรมไปขยายผล เรียนรู้วทิ ยาการคำนวณ (Coding) ใหค้ รูภายในสถานศึกษาทุกช้ันเรยี นเพ่อื นำสู่ การปฏบิ ัตโิ ดยเน้นให้ใช้วธิ ี Unplugged ในช้ัน 2.นิเทศตดิ ตามการขับเคลอ่ื นการ จัดการเรยี นรวู้ ิทยาการคำนวณ (Coding) ประถมศกึ ษาปที ี่ 1-3 เพ่ือปูพ้นื ฐาน หาก ของสถานศกึ ษาในสงั กัด สถานศึกษาใดไมม่ ีความพร้อมด้านคอมพวิ เตอร์ และอนิ เตอร์เน็ต สามารถเรียนร้โู ดยวิธี 2. ให้คำช้แี นะแนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนรูว้ ทิ ยาการคำนวณ Unplugged ในทุกชนั้ เรยี น และสอดแทรกใน (Coding) ทั้งการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ สาระการเรยี นรู้อืน่ ได้ กรณมี ีความพร้อมให้ เรยี นร้ดู ว้ ยคอมพวิ เตอร์ และการเรยี นรู้โดยวิธี Unplugged และ การสอดแทรกในรายวิชาอ่ืน ๆ เพ่อื พฒั นา ทักษะการคดิ เป็นผา่ นการเรีนรดู้ ้วยวธิ ี Coding ให้กับครูทุกวชิ า 8. การจดั การ สำนกั งานเขตพนี้ ที่การศึกษาประถมศึกษา สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา ศึกษาของโรงเรียน ยะลา เขต 3 มีวิธีดำเนนิ การ ดังนี้ ยะลา เขต 3 มรี ะบบนิเทศ ชี้แนะ ในโครงการพิเศษ 1.ประชุมคณะกรรมการนิเทศบูรณาการ ช่วยเหลือโรงเรยี นในการจดั การศึกษาของ 1) โรงเรยี น โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพอื่ พัฒนาคณุ ภาพ โรงเรียนในโครงการพิเศษ อย่างเป็นระบบ คุณภาพประจำ การศกึ ษา ประกอบด้วย คณะศึกษานเิ ทศก์ ต่อเนอ่ื ง และนำผลการนเิ ทศไปใชใ้ นการ ตำบล คณะกรรมการ กต.ปน. คณะอนกุ รรมการ พฒั นา ดงั น้ี 2) โรงเรยี น กต.ปน. คณะกรรมการนเิ ทศจิตอาสา และ 1. จดั ททำแผนนเิ ทศบรู ณาการโดยใช้ คุณธรรม ผเู้ ก่ยี วข้อง ในวันท่ี 23 ธนั วาคม 2563 ณ โรงเรยี นเป็นฐาน ระดับเขตพื้นทกี่ ารศึกษา 3) โรงเรียน หอ้ งประชมุ บาลา-ฮาลา สำนักงานเขตพน้ื ที่ เพอื่ เป็นแนวทางการนิเทศ ชี้แนะ สจุ รติ การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 3 เพอื่ ช่วยเหลอื โรงเรยี น ขับเคลือ่ นการดำเนนิ งานตามนโยบาย สพฐ. 2.นเิ ทศ ตดิ ตามการขับเคลื่อน และจุดเนน้ ของเขตพื้นที่ รวมทั้งการติดตาม นโยบายและจุดเนน้ สพฐ. ตามปฏทิ นิ การ การดำเนินงานของโรงเรียนในโครงการพเิ ศษ นิเทศ โดยคณะกรรมการ กต.ปน. 2. มกี ารแบ่งกลุ่มคณะกรรมการ กต.ปน. คณะอนุกรรมการ กต.ปน. ศกึ ษานเิ ทศก์
๑๒ วิธดี ำเนนิ การ ประเด็นการนเิ ทศ ดา้ นการสง่ เสริม สนับสนนุ สร้างความรู้ความ ดา้ นการนิเทศ ช้ีแนะ ช่วยเหลือโรงเรยี น เข้าใจกบั โรงเรยี น และนำผลการนเิ ทศไปใชใ้ นการพัฒนา และคณะอนกุ รรมการ กต.ปน. ตลอดจน และคณะกรรมการจติ อาสา โดยการนเิ ทศ คณะกรรมการจติ อาสา ระดบั ศนู ยเ์ ครอื ขา่ ย ทงั้ ระดับเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาและระดับ คณุ ภาพการศึกษา เพ่อื รว่ มกันวางแผนและ ศูนยเ์ ครอื ขา่ ยคุณภาพการศึกษา กำหนดปฏทิ นิ การนิเทศติดตามการขับเคล่อื น คณุ ภาพการศึกษาของสำนักงานเขตพืน้ ที่ การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ของแต่ละ ศูนย์เครอื ขา่ ยคุณภาพการศึกษา 9. การจดั การ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา สำนักงานเขตพน้ื ที่มีระบบนเิ ทศ ช้ีแนะ ศกึ ษาของโรงเรียน ยะลา เขต 3 มวี ธิ ดี ำเนนิ การ รายละเอียดดังนี้ ชว่ ยเหลือโรงเรยี นในการดำเนินงาน ในโครงการในเขต โครงการพิเศษอยา่ งเปน็ ระบบ ต่อเนื่อง พนื้ ที่พเิ ศษ 1. ประชมุ คณะศกึ ษานิเทศก์ และนำผลการนเิ ทศไปใช้ในการพัฒนา คณะกรรมการ ก.ต.ป.น. คณะกรรมการนเิ ทศ -โรงเรยี นพืน้ ที่ จติ อาสา และผ้ทู เี่ กย่ี วข้อง 1. นเิ ทศติดตามการขับเคล่ือน นวตั กรรม โครงการของโรงเรยี นท่เี ข้าร่วมโครงการ การศกึ ษา 2. อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารการปรบั หลกั สตู ร สถานศกึ ษาไปปรบั ใชกบั การจดั การศึกษาใน 2. ให้คำชี้แนะในการปรบั หลกั สูตรที่ สถานศกึ ษานำรอ่ งให้เหมาะสมกับพ้ืนที่ เหมาะสมกับพนื้ ทน่ี วตั กรรม นวตั กรรม โดยมีวตั ถุประสงค์เพ่ือปรบั หลักสูตร สถานศึกษาไปปรบั ใช้กบั การจัดการศึกษาใน สถานศกึ ษานำร่องให้เหมาะสมกับพ้ืนที่ นวัตกรรมและเพ่ือคดิ คน้ และพัฒนานวัตกรรม การศึกษาและการเรยี นรู้ เพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธ์ทิ างการศกึ ษาของผูเ้ รยี น ในวันท่ี 14 – 15 กุมภาพันธ์ 2563 3. สือ่ สารสรา้ งความเข้าใจให้กบั ผู้บริหาร สถานศกึ ษาและผูร้ ับผดิ ชอบระดับโรงเรียน
๑๓ 12. กิจกรรมการนเิ ทศบรู ณาการโดยใช้โรงเรยี นเปน็ ฐานและห้องเรยี นเปน็ ฐาน ท่ี กิจกรรม ผู้รบั ผิดชอบ สอ่ื เครอื่ งมอื ค่มู ือนิเทศภายในโรงเรียน 1 คณะนิเทศพบปะผู้บรหิ ารสถานศึกษา ช้แี จง คณะกรรมการนิเทศจิตอาสา แบบสอบถามเพื่อการนิเทศ วตั ถุประสงค์ ขอบขา่ ย และวิธกี ารนิเทศ ระดับเขตพนื้ ท่ีการศึกษา ตดิ ตามการขับเคลื่อน นโยบาย สพฐ. เพือ่ พฒั นา 2 1. โรงเรียนนำเสนอผลการดำเนนิ งานการ 1. ผู้บริหารสถานศึกษา/ครู คณุ ภาพการศึกษา ขับเคลอื่ นนโยบายและจดุ เนน้ ของสำนักงาน ผรู้ บั ผดิ ชอบนำเสนอ 1. เครื่องมอื บนั ทึกภาพ 2. แบบบนั ทกึ การเยยี่ มช้นั คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เรียน 2. คณะนเิ ทศสัมภาษณ์ สอบถามข้อมูลเพม่ิ เติม 2. คณะกรรมการนิเทศจติ 1. แบบสังเกตการสอน อาสา ระดับปฐมวัย ตามประเด็นการนเิ ทศ 2. แบบสังเกตการสอน ระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน 3 คณะนิเทศเยีย่ มชน้ั เรยี นทกุ ระดับช้ัน และให้ คณะกรรมการนเิ ทศจิตอาสา -แบบบนั ทกึ การนิเทศ กำลงั ใจครผู ู้สอน 4 สงั เกตการจดั การเรียนร้เู ชงิ รุก (Active Learning) 1. คณะกรรมการนิเทศจิต ระดับปฐมวัยและระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน อาสา และนเิ ทศชแ้ี นะสะทอ้ นคิด 2. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา 3. ประธานคณะกรรมการ สถานศกึ ษา 4. คณะกรรมการนเิ ทศ ภายในโรงเรยี น 5 คณะนิเทศสรุปผลการนเิ ทศและให้ข้อเสนอแนะ คณะกรรมการนเิ ทศจิตอาสา เพอื่ การพัฒนา
13. ปฏิทนิ การนิเทศ ที่ ประเดน็ การนเิ ทศ เป้าหมาย ระยะเวลา สถาน การนิเทศ 1 การจดั การเรยี นการ ครูผชู้ ่วยในสังกัด พ.ย.62 โรงเรียนทม่ี คี สอนทีเ่ น้น Active โรง Learning และการ ประยกุ ตใ์ ช้DLTV/DLIT 2. การอ่านออกเขียนได้ โรงเรียนที่มีนักเรยี น ธ.ค.62 - กพ. โรงเรียนที่มีผล อ่านไม่ออกเขียนได้ 63 ประเมินอ่านเข เขยี นได้ 10 ลำดบั ลำดับสุดทา้ ยข สดุ ท้ายจากผลการ พน้ื ท่กี ารศกึ ษา ประเมินอ่านเขียน คร้ัง ที่ 2 เดอื นพฤศจิกายน 2562 3. การประกนั คณุ ภาพ โรงเรยี นท่ีรับการ ธ.ค.62 1.โรงเรียนอนุบ ภายในสถาน ประเมินภายนอกรอบส่ี (สุภาพอนสุ รณ 2.โรงเรยี นบา้ น 3.โรงเรยี นบา้ น 4. การจัดการเรียนการ -ครทู ี่ผา่ นการอบรม ธ.ค. 62 -โรงเรยี นท่ีมีค สอนภาษาอังกฤษ Boot Camp อบรม Boot C -ครผู ชู้ ่วยทกุ คน -โรงเรียนทีม่ ีค 5. การนเิ ทศภายใน ผู้บรหิ ารและ ธ.ค.62-มี.ค. โรงเรียนในสัง โรงเรียนโดยใช้ หอ้ งเรยี นเปน็ ฐาน คณะกรรมการนเิ ทศ 63 ภายในโรงเรยี นทกุ โรง
นที่ วิธีการนเิ ทศ เครือ่ งมอื นิเทศ ผูน้ เิ ทศ ครูผชู้ ว่ ยทกุ -สังเกตการสอนและ -แบบสังเกตการสอน ศน.ทุกคน ง ชแี้ นะสะท้อนคดิ -แบบบันทกึ การ คณะกรรมการจิตอาสา นเิ ทศ ลการ -เย่ียมช้ันเรยี น -แบบเยี่ยมช้นั เรียน ศน.ทุกคน ขยี น 10 -สงั เกตการสอนและ -แบบสงั เกตการสอน คณะกรรมการจติ อาสา ของเขต ชี้แนะสะท้อนคิด -แบบบนั ทกึ การ า นเิ ทศ บาลเบตง กัลยาณมติ ร แบบนิเทศติดตาม ศน.ทุกคน ณ์) นแหร -เย่ียมช้ันเรียน -แบบเยีย่ มชั้นเรยี น ศน.ทุกคน นราโมง -สังเกตการสอนและ -แบบสงั เกตการสอน คณะกรรมการจติ อาสา ชีแ้ นะสะท้อนคิด ครทู ่ีผา่ นการ -แบบบันทึกการ Camp นิเทศ ครูผ้ชู ่วย งกดั ทกุ โรง -กัลยาณมติ ร -แบบนเิ ทศตดิ ตาม ศน.ทกุ คน -นิเทศออนไลน์ -แบบรายงานการ คณะกรรมการจติ อาสา นิเทศออนไลน์
6. การยกระดับผลสัมฤทธิ์ โรงเรยี นทีม่ ผี ลสมั ฤทธ์ิ ม.ค.63-ม.ี ค. โรงเรียนที่มีผล 63 ทางการเรยี น ทางการเรยี น ทางการเรียน ปี ตำ่ กว่าระดับเข โรงสดุ ท้าย -การทดสอบ NT 2561 ตำ่ กว่าระดบั ก.พ. 63 โรงเรียนในสงั -การทดสอบ O-NET เขตพื้นท่ี 10 โรง -การทดสอบ I-NET สุดท้าย -การทดสอบ RT 7. การจดั การเรียนการ -ครูทผ่ี ่านการอบรม สอนวิชาวิทยาการ การสอน Coding คำนวณ (Coding) 8. การจดั การศึกษาของ โรงเรยี นในสังกดั ทุกโรง ม.ค.-ก.พ.63 โรงเรียนในสัง โรงเรียนในโครงการ พเิ ศษ 1) โรงเรียนคุณภาพ ประจำตำบล 2) โรงเรยี นคุณธรรม 3) โรงเรียนสจุ ริต 9. 9. การจดั การศึกษา โรงเรียนท่สี มัครเขา้ ม.ค.-ก.พ.63 โรงเรยี นท่สี ม ของโรงเรยี นใน รว่ มโครงการ จำนวน โครงการ จำน โครงการในเขตพื้นท่ี 14 โรง พิเศษ -โรงเรยี นพน้ื ท่ี นวัตกรรมการศึกษา หมายเหตุ กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามภารกิจของราชการ
๑๕ ลสัมฤทธ์ิ กัลยาณมิตร -แบบนเิ ทศตดิ ตาม ศน.ทุกคน ปี 2561 ขตพนื้ ที่ 10 -Test Blueprint คณะกรรมการจิตอาสา งกดั ทุกโรง -สงั เกตการสอนและ -แบบสงั เกตการสอน ศน.ทุกคน ชีแ้ นะสะท้อนคดิ -แบบบันทึกการ คณะกรรมการจติ อาสา นเิ ทศ งกัดทกุ โรง -กัลยาณมิตร -แบบนเิ ทศตดิ ตาม ศน.ทกุ คน -เยี่ยมชั้นเรยี น -แบบบนั ทึกการ คณะกรรมการ กต.ปน. คณะอนุกรรมการ กต.ปน. นิเทศ คณะกรรมการจิตอาสา มัครเข้าร่วม -กลั ยาณมติ ร -แบบนเิ ทศตดิ ตาม ศน.ทุกคน นวน 14 โรง คณะกรรมการ กต.ปน. คณะอนกุ รรมการ กต.ปน. คณะกรรมการจิตอาสา
16 14. ผลการดำเนนิ การนิเทศบรู ณาการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา จากการดำเนินการนิเทศบูรณาการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ โดยภาพรวม พบว่า สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 มีการดำเนินการขับเคล่ือน นโยบายและจดุ เนน้ ของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2562 ดังน้ี 14.1 การยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 1) โรงเรียนมกี ารแจ้งแนวดำเนนิ การยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ใน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ (ภาษาไทย, คณิตศาสตร์, วทิ ยาศาสตร์, ภาษาอังกฤษ, สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม) ให้ครูทราบ โดยใช้ กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี (PLC) ตามบริบทของโรงเรยี น 2) โรงเรยี นมกี ารเร่งรัดให้ครูมฐี านขอ้ มูลคุณภาพและผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรียนเปน็ รายบุคคล 3) โรงเรียนได้ดำเนินการวิเคราะหผ์ ลการเรยี น ปกี ารศกึ ษา 2561 เพื่อนำข้อมูลจาการ วิเคราะห์ ปีการศกึ ษา 2561 มาหาสาเหตุและหาแนวทางในการพฒั นาคณุ ภาพการจัดกาดรศึกษาของโรงเรียน ในปกี ารศึกษา 2562 เพือ่ จัดทำแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรยี น 3) โรงเรียนดำเนินการยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น โดยดำเนนิ การตามแผนปฏิบตั ิการ ตาม โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน โดยมกี จิ กรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน O-net I -net NT เพอ่ื กระตุ้นความเขา้ ใจของนักเรยี นกอ่ นการสอบจริง และมีการวิเคราะห์จากโครงสรา้ งเครื่องมอื ในการทดสอบคุณภาพ ผเู้ รยี นระดับชาติ Test blue print และการวเิ คราะหผ์ ู้เรียนเปน็ รายบุคคล ทดสอบก่อนเรียน จดั กจิ กรรมตาม กระบวนการเรยี นรู้ทดสอบหลงั เรยี น วิเคราะหแ์ ละปรับปรุงพฒั นาผเู้ รียนตามมาตรฐาน ตวั ช้วี ดั ตามหลักสูตร สถานศึกษา 4) จดั กจิ กรรมยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 5 กล่มุ สาระ ไดแ้ ก่ วชิ าภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ วิทยาศาสตร์ และสังคมศกึ ษา ซ่ึงในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรยี นรู้จะมีกจิ กรรมทีห่ ลากหลาย ดงั น้ี - กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีการจัดกจิ กรรม เช่น วางทกุ งานอ่านทุกคน ท่องอาขยาน ซ่อมเสริม อา่ นเขียน คำพื้นฐานวนั ละ 5 คำ ภาษาไทยวันละ คำ - กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาองั กฤษ มีการจดั กิจกรรม เชน่ อา่ นและเขียนคำ พนื้ ฐานวนั ละ 5 คำ - กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ มกี ารจัดกิจกรรม เช่น คณติ คิดเร็ว เสริม ทกั ษะคณติ ศาสตร์ - กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มกี ารจัดกจิ กรรม เชน่ โครงงานวิทยาศาสตร์ ตอบปัญหาวิทยาศาสตร์เสรมิ ทกั ษะวิทยาศาสตร์ - กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มกี ารจัดกจิ กรรม เช่น ทัศนศึกษาแหลง่ เรยี นรู้ และภูมิปัญญาท้องถ่ิน เศรษฐกิจพอเพยี ง 5) โรงเรยี นดำเนนิ ตามแผนปฏิทินประจำปขี องโรงเรยี นตามโครงการยกผลสมั ฤทธิ์ทางการศกึ ษา 6) โรงเรียนส่วนใหญ่มกี ารจดั ทำโครงการยกระดบั สัมฤทธิ์ทางการเรียนทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ในแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี
๑๗ 14.2 การจัดการเรียนรู้เชงิ รกุ (Active Learning) และการใชส้ ื่อ DLTV/DLIT 1) โรงเรียนมกี ารสนับสนนุ /สง่ เสรมิ ใหค้ รผู สู้ อนจดั การเรยี นรเู้ ชิงรุก (Active Learning) ผ่าน กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มุ่งส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นการปฏิบัติ ให้ ผู้เรียนผ่านกระบวนการคิด การปฏิบัติจริง เพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและคงทน ตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของ หลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลดำเนินการตรวจสอบและ ประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็น ระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้จัดกิจกรรมได้จริง มีการใช้ส่ือและ แหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย มีการบริหารช้ันเรียนเชิงบวก เพ่ือให้นักเรียนรักการเรียนและเรียนรู้ร่วมกันอย่างมี ความสุข 2) โรงเรียนมกี ารสนบั สนุนครูใหจ้ ัดกระบวนการเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) มีการจดั การ เรียนรู้ท่ีเน้นภาษาและเน้นการมีส่วนร่วมของนักเรียน และการลงมือปฏิบัติมากขึ้น ให้นักเรียนหาข้อสรุปผลการ เรยี นรแู้ ละสร้างองค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง 3) โรงเรยี นมกี ารนสนับสนุนบคุ ลากรใหม้ กี ารแลกเปลีย่ นเรียนรู้ โดยส่งครเู ข้ารบั การอบรมการ พัฒนา โครงการจัดการเรยี นร้เู พื่อยกระดับคณุ ภาพการศึกษา 4) มกี ารนิเทศภายในสถานศึกษา และแลกเปลย่ี นเรียนรู้ผ่านกระบวนการ PLC อยา่ งเปน็ ระบบ ตอ่ เนอื่ ง 5) มีการสร้างสภาพแวดลอ้ มในหอ้ งเรียนทเ่ี อ้อื ต่อการจดั การเรียนรู้เชงิ รุก (Active Learning) 6) สง่ เสรมิ ให้มีการนำผลการเรียนรเู้ ข้าสู่กระบวนการขยายและแปลงความรลู้ งส่นู วัตกรรม 7) ครูมีการใชส้ ื่อ DLTV/DLIT ประกอบการจัดการเรยี นรไู้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับแผนการจัดการ เรยี นร้ทู ไี่ ด้ออกแบบไว้ 8) โรงเรียนมีการส่งเสริมสนับสนนุ ให้มกี ารสือ่ DLIT และสือ่ จากเว็บไซตต์ ่าง ๆ รวมท้ังส่งเสริมการ สรา้ งนวัตกรรมโดยครผู ้สู อนมากขึน้ 14.3 การอา่ นออกเขยี นได้ 1) โรงเรียนมีการสร้างความตระหนกั พฒั นาความรู้ นำสกู่ ารปฏิบัติ โดยมีกจิ กรรมทีห่ ลากหลาย เช่น ฝึกอา่ นทุกวัน ฝกึ การอา่ นควบค่กู บั การเขยี น ฝกึ คัดลายมือ ฝึกแต่งประโยค เขียนคำ แต่งเรือ่ งจากภาพ ฯลฯ 2) โรงเรียนมีการนิเทศ กำกับติดตาม และสรุปรายงานผลการพฒั นาการอา่ นการเขยี น และ ส่งเสริมการคดิ เลขเป็น 3) โรงเรยี นดำเนนิ การคัดกรองนักเรียน โดยใชเ้ ครื่องมือจากสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน เพื่อจัดกลุ่มนักเรยี นที่อ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ อ่านไมค่ ล่อง เขยี นไม่คลอ่ ง โดยวเิ คราะห์หาสาเหตแุ ละระดับ ของปญั หาพร้อมจดั กล่มุ นักเรียนทีอ่ า่ นไม่ออก เขียนไม่ได้ตามระดบั ของปัญหา 4) สนบั สนุนบุคลากรใหม้ ีการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ โดยสง่ ครูภาษาไทยเขา้ รบั การอบรมการพัฒนา โครงการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เพ่อื ยกระดับคุณภาพการศึกษา 5) มกี ารสง่ เสริมการนเิ ทศภายในโรงเรยี น และจดั กิจกรรมแลกเปลยี่ นเรียนรู้ PLC ที่เปน็ ระบบ และต่อเนื่อง
๑๘ 6) โรงเรยี นมีการดำเนินการตามโครงการอา่ นออกเขียนได้ทุกคน และโครงการยกผลสัมฤทธ์ิ ทางการศกึ ษา 7) โรงเรียนจัดทำสือ่ การสอน เพ่อื ใช้ในการพฒั นาการอ่านการเขยี นของนักเรียนมีการพัฒนาสอน เสริมนกั เรยี นและมีการพฒั นาสอนเสริมนกั เรยี นท่ยี ังอ่อน 14.4 ระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา 1) โรงเรียนมีการสรา้ งการรบั รูส้ รา้ งความเขา้ ใจ เรื่องการกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของ สถานศกึ ษา การจดั ทำแผนพัฒนาการศกึ ษา แผนปฏิบตั ิการประจำปที มี่ ุ่งพฒั นาคุณภาพตามาตรฐานการศึกษา และการจดั ทำแผนพฒั นาการศกึ ษา แผนปฏิบตั ิการประจำปี ท่ีมุง่ พฒั นาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และการ จดั ทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 2) โรงเรียนร่วมกับชมุ ชนและองค์การบริหารส่วนตำบลในการดำเนินการให้ผูเ้ รยี นทุกคนได้รบั การ บริการทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพจากโรงเรยี น เพือ่ พัฒนาความรู้ ความสามารถและคุณลักษณะที่พงึ ประสงคต์ ามท่ี กำหนดในมาตรฐานหลกั สตู ร 3) โรงเรียนมกี ารดำเนินงานเก่ียวกับระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาโดยการสร้าง การรบั รสู้ รา้ งความเข้าใจ เร่ืองการกำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา การจดั ทำแผนการพฒั นาการศึกษา แผนการปฏิบตั กิ ารประจำปมี ุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และการจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเอง ของสถานศกึ ษา (SAR) ระดับปฐมวยั และระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน การแกป้ ญั หาการจัดการศกึ ษาภายในและ ภายนอกโรงเรียน ใหท้ กุ คนมีสว่ นร่วม แสดงความคิดเหน็ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ และดำเนินการตามโครงการท่ี สอดคลอ้ งตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบ 4) โรงเรยี นได้ดำเนนิ การประกาศมาตรฐานของสถานศึกษา และตง้ั เป้าหมายตามมาตรฐาน การศกึ ษาของสถานศึกษา และประเมนิ ผลตามมาตรฐานการศกึ ษา รวมถึงกำกับ ติดตาม ประเมินผล ตามปฏิทิน การนิเทศของสถานศึกษา 5) ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน คณะครู และบุคลากรทเี่ กีย่ วข้อง จดั ทำคำส่ัง คณะกรรมการดำเนนิ งาน รวบรวมขอ้ มลู ตามตวั ช้วี ดั วิเคราะห์ สรุปผล และรายงานผล 6) โรงเรียนดำเนินการพฒั นาการศกึ ษาให้ได้มาตรฐานตามระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา 7) โรงเรยี นมคี วามพร้อมรับการประเมนิ รอบสีจ่ ากคณะกรรมการประเมนิ ภายนอก จากการ ซกั ซ้อมของคณะนิเทศจากเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 14.5 การจัดการเรยี นรู้วิชาวิทยาการคำนวณ (Coding) 1. ผู้บริหารและครผู ู้สอนมคี วามรคู้ วามเข้าใจในการเรยี นรู้วทิ ยาการคำนวณ (Coding) มากข้ึน 2. โรงเรยี นมีความพร้อมในด้านการสอนโปรแกรมม่งิ โรงเรยี น (Coding at school) มากยง่ิ ขึน้ 3. ผบู้ ริหารโรงเรียนมีการสรรหางบประมาณจากองคก์ รภายนอก เพอื่ จดั ซือ้ คอมพวิ เตอร์เพ่ือใช้ใน การจัดการเรยี นการสอน 4. โรงเรียนมีการเตรียมความพร้อมครผู ้สู อนของโรงเรียนในการสร้างสอ่ื การสอนโปรแกรมมง่ิ โรงเรยี น (Coding at school)
๑๙ 14.6 การจัดการเรยี นรู้ของครูทผี่ า่ นการอบรม Boot Camp 1) โรงเรียนมีการส่งเสริมสนับสนุนส่ือประกอบการจัดการเรียนการสอนของครูท่ีผ่านการอบรม Boot Camp 2) ครมู ีการพัฒนารูปแบบการสอนภาษาอังกฤษท่ดี ขี ึ้น มกี จิ กรรมที่หลากหลายมากขึน้ 3) ครมู กี ารใช้ภาษาองั กฤษในชัน้ เรยี นมากขนึ้ 4) ครูมีเทคนคิ ในการบริหารจดั การชน้ั เรยี นไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ มเี ทคนคิ การให้คะแนน 5) นกั เรยี นสนใจเรยี นภาษาอังกฤษมากขึน้ เรยี นรอู้ ย่างมคี วามสุข และกลา้ ใช้ภาษาองั กฤษในการ สื่อสารมากขน้ึ 6) ครูท่ีผ่านการอบรม Boot Camp สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีและเป็นวิทยากรแกนนำให้กบั ครูท่ี ไม่ผ่านการอบรม Boot Camp ได้ 14.7 ระบบการนเิ ทศภายในสถานศึกษา “การนิเทศภายในโรงเรียนยุคใหม่...หัวใจหอ้ งเรยี นคณุ ภาพ” 1) โรงเรียนดำเนนิ การจดั ทำโครงการนเิ ทศภายในสถานศึกษา วางแผนการนิเทศภายในสถาน ศึกษา โดยการวิเคราะห์ความต้องการและความจำเปน็ ในการพัฒนาสถานศกึ ษา ทั้งโครงการบริหารโรงเรียน หลักสตู รครผู สู้ อน ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น กจิ กรรม/โครงการตา่ ง ๆ 2) โรงเรยี นมกี ารแต่งตง้ั คณะกรรมการนิเทศภายในโรงเรยี น กำหนดกระบวนการทำงาน จดั ทำ ปฏทิ นิ การลงนเิ ทศภายใน และดำเนินการนเิ ทศดว้ ยเทคนคิ การนิเทศทีห่ ลากหลาย ตามปฏิทินการนเิ ทศท่ีกำหนด 3) โรงเรียนมกี ารดำเนินการนิเทศภายใน โดยการประชมุ ก่อนเปิดภาคเรียน เย่ยี มชนั้ เรียน สงั เกต การสอน นเิ ทศติดตามการสอนซ่อมเสรมิ 4) ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษามีการนเิ ทศภายในโรงเรยี นโดยยดึ ห้องเรยี นเปน็ ฐานทุกหอ้ งเรียน 5) โรงเรยี นมกี ารรายงานผลการนิเทศผา่ นระบบออนไลนป์ ระจำเดอื นให้เขตพนื้ ที่การศึกษา 6) เขตพนื้ ท่ีการศึกษามอบเกียรตบิ ัตรผ้บู ริหารและครูผู้นิเทศภายในโรงเรยี นดเี ดน่ จากการรายงาน การนเิ ทศออนไลน์จำนวนมากทีส่ ุดสามลำดับแรก 14.8 การจดั การเรยี นรู้ในโรงเรยี นในโครงการพเิ ศษ 14.7.1 โครงการน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรชั กาลที่ 10 สกู่ ารปฏบิ ตั ิ (การมีทศั นคตทิ ่ถี ูกต้องตอ่ บ้านเมือง/มีพน้ื ฐานชวี ิตทม่ี น่ั คง มคี ุณธรรม/ มีงานทำ มอี าชพี /เปน็ พลเมืองดี) 1) โรงเรยี นได้ดำเนินการสอนให้นักเรียนมีทศั นคตทิ ถ่ี กู ต้องต่อบา้ นเมืองให้มพี ้นื ฐานชวี ติ ท่ีมั่นคง มีงานทำ เป็นพลเมืองดี โดยส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมการทำหน้าท่ีพลเมืองดี การมีน้ำใจ และงานบำเพ็ญประโยชน์รู้จักแยกแยะถูกผิด สอนให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจท่ีดีต่อชาติบ้านเมือง ยึดมนั่ ในศาสนา ม่ันคงในสถานบนั พระมหากษตั ริย์ มคี วามเออ้ื อาทรต่อครอบครวั และชุมชนของตน และมีจิตอาสา 2) โรงเรียนมีการจดั ทำหลกั สตู รการเรยี นการสอนเพอื่ ให้นักเรยี น รักงานสงู้ าน มีความ อดทนทำงานจนสำเรจ็ อบรมการเรยี นรกู้ ารทำงานให้สามารถเลี้ยงตัวเองและครอบครวั ได้ 3) โรงเรยี นมีการส่งเสรมิ ใหท้ ุกคนมโี อกาสเป็นพลเมอื งดี มนี ้ำใจ มคี วามเอือ้ อาทร 4) โรงเรยี นมีพนื้ ฐานชวี ติ ท่มี นั่ คง มคี ุณธรรม โดยการจดั คา่ ยคุณธรรมเรยี นร้ปู ระจำฐาน แล้วนำไปปฏบิ ตั จิ ริงและจัดระเบยี บนกั เรียนเกี่ยวกับเขา้ แถวเคารพธงชาติ
๒๐ 5) โรงเรียนมกี ารดำเนินงาน การมีงาน มีอาชีพ โดยบริบทหมู่บ้านส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพเกษตรกร ซ่ึงทางโรงเรียนได้นำพื้นฐานของนักเรียนท่ีเห็นและปฏิบัติเป็นประจำจากผู้ปกครองนักเรียน มา สอนและเตมิ เตม็ ให้กบั นกั เรียน 6) โรงเรียนมกี ารส่งเสริมการเปน็ พลเมืองที่ดี โดยการเคารพกฎระเบยี บของโรงเรียน เคารพสิทธิและเสรภี าพของตนเองและผู้อน่ื 7) โรงเรยี นมกี ารส่งเสริมการจดั กิจกรรมใหน้ กั เรียนมีงานทำ มอี าชพี การฝึกอบรมท้งั ในหลักสตู รและนอกหลกั สูตร มกี ารกำหนดจดุ มงุ่ หมายให้ผเู้ รยี นทำงานเปน็ และมีงานทำในทีส่ ุด 8) โรงเรยี นมีการจัดทำโครงงานคุณธรรมของนักเรยี น นำสกู่ ารปฏบิ ัติทดี่ ขี องโรงเรยี น 14.7.2 โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล 1) โรงเรยี นมกี ารจัดทำคู่มอื การดำเนินงานโครงการสามเหล่ยี ม “มนั่ คง มั่งค่ัง ยั่งยนื ” 2) โรงเรียนมกี ารดำเนนิ งานและรายงานผลตามแผนงาน/โครงการ และดำเนินการอยา่ ง ตอ่ เน่อื ง 14.7.3 โรงเรียนประชารัฐ 1) โรงเรยี นมกี ารดำเนนิ งานและรายงานผลตามแผนงาน/โครงการ 14.7.4 โรงเรียนสจุ ริต 1) โรงเรียนต้นแบบสุจริตมีการดำเนนิ การจัดกิจกรรมตามแผนงาน/โครงการ 2) โรงเรยี นมกี ารส่งเสริมให้นักเรียนเขา้ รว่ มประกวดกจิ กรรมนำเสนอผลงานกับ หน่วยงานอ่นื 14.7.5 โรงเรียนคณุ ธรรม 1) โรงเรยี นมีการดำเนนิ การจัดทำโครงงานคุณธรรมโดยนกั เรยี น 2) โรงเรียนมีการรายงานผลตามแผนงาน/โครงการ และดำเนินการอย่างเปน็ รูปธรรม 14.9 การจัดการเรียนรูใ้ นโรงเรยี นเขตพนื้ ที่พิเศษ 14.8.1 โครงการสามเหล่ยี ม “มั่นคง มง่ั ค่งั ย่งั ยืน” พบว่า กลมุ่ เป้าหมายมีการดำเนินการได้ ตามบรบิ ทโรงเรยี น และมีการดำเนนิ งานทต่ี ่อเน่อื ง ดังน้ี 1) โรงเรียนดำเนนิ การขับเคลื่อนนโยบาย “สามเหลี่ยมมน่ั คง ม่ังคงั่ ย่งั ยนื ” โดยการสร้าง การรับรู้นโยบายและแนวทางการปฏิบตั ิใหแ้ ก่ครู บคุ ลากรทางการศึกษา ปรับปรงุ หลักสูตรสถานศกึ ษา ให้ สอดคล้องตามแนวทางการดำเนินงาน ผา่ นโครงการการจัดการศึกษารองรบั การพัฒนาเมืองต้นแบบสามเหลยี่ ม “มง่ั คง มงั่ คง่ั ย่งั ยนื ” 2) โรงเรยี นมกี ารประชมุ คณะครแู ละคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พัฒนา หลักสูตรท้องถนิ่ ใหส้ อดคลอ้ งกับหลกั สตู รสถานศึกษา 3) จดั ทำโครงการสร้างหลักสูตรสถานศกึ ษา เมอื งต้นแบบการพง่ึ พาตนเองอย่างยั่งยืนที่ สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์แบบบูรณาการดา้ นการศึกษาเพ่ือรองรบั การพัฒนาเมอื งตน้ แบบสามเหลี่ยม “มั่งคง มง่ั คง่ั ยงั่ ยืน” 4) โรงเรียนมีการจดั กิจกรรมบูรณาการกบั กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียนใหก้ ับนักเรยี นเขา้ รว่ ม
๒๑ โครงการส่งเสรมิ การทำมาค้าขาย นำอาหารท้องถิ่นสทู่ กั ษะอาชีพ เช่น โรตกี รอบ, ปลาส้มสมุนไพร, ทุเรียนทอด ฯลฯ เพื่ออนุรกั ษ์อาหารในท้องถนิ่ ส่งเสรมิ การใช้วสั ดุในท้องถน่ิ ให้มมี ลู ค่าเพ่ิม เช่น ตะกร้าสานไมไ้ ผ,่ ไม้กวาดดอก หญา้ ฯลฯ โดยเปดิ เป็นกจิ กรรมชุมนมุ กิจกรรมลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู้ และจดั การเรยี นการสอนแบบบรู ณาการ 14.8.2 โครงการโรงเรยี นพื้นทน่ี วตั กรรมการศกึ ษา 1) โรงเรยี นกลุ่มเปา้ หมายมีความร้คู วามเขา้ ใจจากการอบรมไปใช้ในการขับเคลื่อน โครงการพ้ืนทนี่ วัตกรรมมากข้ึน 2)โรงเรียนกล่มุ เปา้ หมายมีแผนงาน/โครงการและดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ 3) โรงเรียนมกี ารปรับหลกั สตู รสถานศกึ ษา ไปปรบั ใช้กับการจดั การศกึ ษาในสถานศึกษา ทเ่ี หมาะสมกับบริบทของแต่ละโรงเรียน 4) โรงเรียนมีการใช้กระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาการชพี (PLC) เพื่อคดิ คน้ และพฒั นานวตั กรรมการศกึ ษาและการเรยี นรู้เพื่อยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการศกึ ษาของผเู้ รยี น 15. สรปุ ผลการนิเทศบรู ณาการโดยใชพ้ น้ื ท่ีเปน็ ฐาน 15.1 ผลการนเิ ทศบูรณาการตามประเดน็ การนิเทศ ไดด้ งั นี้ ประเดน็ การนิเทศ ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ เชงิ คุณภาพ 1. การอา่ นออก 1.โรงเรียนในสงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ท่ี 1. ครมู กี ารสรา้ งสอ่ื การสอนนวัตกรรมการ เขยี นได้ การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 จำนวน แกป้ ัญหาการอ่านออก เขยี นได้ 32 โรงเรียน มมี าตรการแก้ปัญหาการอ่าน 2. โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ ออกเขียนได้ของนักเรียนทกุ คน การศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต 3 จำนวน 2.โรงเรยี นในสังกดั สำนกั งานเขตพื้นท่ี 32 โรงเรยี น สามารถแก้ปญั หาการอา่ นออก การศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต 3 จำนวน เขียนได้ของผู้เรยี นอย่างมีคุณภาพ สง่ ผลให้ 32 โรงเรียน ได้รับการนิเทศพัฒนาการอา่ น นักเรียนอา่ นออกเขยี นไดส้ ูงข้ึน ออกเขยี นไดข้ องนักเรียน 3. ครูมีการสร้างส่ือการสอนนวัตกรรมการ 3. โรงเรียนในสงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนที่ แกป้ ญั หาการอา่ นออกเขียนได้ การศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต 3 จำนวน 4.โรงเรยี นมวี ธิ ปี ฏิบตั ิทด่ี ดี ้านการพัฒนาการ 32 โรง มีวิธีปฏบิ ัติทดี่ ดี ้านการพัฒนาการ อ่านการเขียนท่ีเปน็ แบบอย่างได้ อา่ นการเขยี นที่เหมาะสมกบั บริบทของ 5. โรงเรียนในสงั กัดมนี ักเรยี นท่อี ่านไม่ออก โรงเรยี น เขียนไม่ไดล้ ดลง 2. การจดั การ 1.โรงเรียนในสังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนที่ 1. ครูผ้สู อนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั การ เรียนรูเ้ ชงิ รุก การศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต 3 จำนวน จดั การเรยี นรแู้ บบ Active Learning (Active Learning) 32 โรงเรยี น ไดร้ บั การพฒั นาจดั การเรียนรู้ 2. ครผู สู้ อนได้รับการนิเทศ ติดตามการจดั การ และการใชส้ ่ือ แบบ Active Learning เพ่ือยกระดบั เรยี นรู้ที่จดั การเรยี นรู้แบบลงมอื ทำ (Active DLTV/DLIT คณุ ภาพการศึกษา สคู่ ุณภาพไทยแลนด์ 4.0 Learning)
๒๒ ประเดน็ การนเิ ทศ ผลการดำเนนิ งาน เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ โดยยึดหลัก “ศาสตร์พระราชา” 3. ครูผสู้ อนมีการจดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ (Active 2.โรงเรยี นในสังกดั สำนักงานเขตพ้นื ที่ Learning) ส่งผลให้คุณภาพผู้เรียนสูงข้ึน การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 จำนวน 4.โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพน้ื ที่ 32 โรงเรยี น มคี วามเข้าในกระบวนการ การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 จำนวน จดั การเรียนรเู้ ชงิ รุก (Active Learning) 32 โรงเรียน มีการจดั การเรียนร้เู ชิงรกุ (Active 3. โรงเรยี นสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี Learning) ส่งผลให้คุณภาพผู้เรยี นสูงขึ้น การศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต 3 จำนวน 5. ครูสามารถนำสื่อ DLTV/DLIT มาใชใ้ นการ 32 โรง มีการสง่ เสรมิ ใหม้ ีการใช้สอื่ จัดการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสมกบั DLVT/DLIT ประกอบการสอนท่ีเน้นการ แผนการจัดการเรียนรู้ทคี่ รอู อกแบบไว้ จัดการเรยี นรเู้ ชิงรกุ 3. การยกระดบั 1.โรงเรียนในสังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ที่ 1. โรงเรยี นในสังกดั สำนักงานเขตพ้นื ท่ี ผลสมั ฤทธทิ์ างการ การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 จำนวน การศกึ ษาประถมศกึ ษายะลา เขต 3 จำนวน เรียน 32 โรงเรยี น ได้รับการนิเทศตดิ ตามและมี 32 โรงเรียน จดั กิจกรรมการเรียนการสอนตาม แนวทางในการยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการ แนวทางในการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการ เรยี นของผ้เู รียน เรยี นของผเู้ รยี นส่งผลใหผ้ ลสัมฤทธ์ิสูงข้นึ 4. การประกนั 1.โรงเรียนในสังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนท่ี 1.โรงเรียนในสังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนที่ คุณภาพการศึกษา การศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต 3 จำนวน การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 จำนวน 32 โรงเรยี น ได้รบั การนเิ ทศติดตามและมี 32 โรงเรยี น มกี ารดำเนินงานระบบประกัน ความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกับระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษาท่ีเขม้ แข็งและมี คณุ ภาพภายในสถานศึกษา คณุ ภาพ 5.การจัดการ 1. โรงเรยี นในสังกัดสำนกั งานเขตพืน้ ท่ี 1. โรงเรยี นที่มคี วามพร้อมดา้ นคอมพิวเตอร์ เรยี นรู้วชิ า การศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต 3 ส่วนใหญ่ และอนิ เตอร์เนต็ สามารถจดั การเรียนการสอน วทิ ยาการคำนวณ วชิ าวทิ ยาการคำนวณโดยใชค้ อมพิวเตอร์ได้ทกุ (Coding) สามารถจดั การเรยี นการสอนรายวชิ า โรง 2.โรงเรียนทไ่ี ม่มีความพรอ้ มด้านคอมพวิ เตอร์ วทิ ยาการคำนวณในระดับช้ัน ป.1 - ป.6 ได้จดั การเรียนการสอนวชิ าวทิ ยาการคำนวณ โดยไมใ่ ชค้ อมพิวเตอร์ทุกโรง (Unplugged) โดยใช้คอมพวิ เตอร์ 2.โรงเรียนในสงั กดั สำนกั งานเขตพนื้ ที่ การศึกษาประถมศกึ ษายะลา เขต 3 บางโรงถ จัดการเรียนการสอนรายวิชาวทิ ยาการ คำนวณในระดับชั้น ป.1 - ป.6 โดยไมใ่ ชค้ อมพิวเตอร์ (Unplugged)
๒๓ ประเดน็ การนเิ ทศ ผลการดำเนนิ งาน เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ 6.การจดั การเรียน 1.ครผู ูส้ อนภาษาอังกฤษทกุ คนท่ีผา่ นการ 1. ครูผูส้ อนภาษาองั กฤษสามารถออกแบบการ การสอน อบรม Boot Camp มีการเปลย่ี นแปลง จัดการเรยี นรเุ้ ชงิ รุก (Active Learning) ได้ ภาษาองั กฤษของ พฤติกรรมการสอนท่ีเน้นการจัดการเรียนร้เู ชงิ อย่างมีประสิทธิภาพ ครูทีผ่ ่านการอบรม รกุ มากขึน้ 2. ครมู ีความมัน่ ใจในการใช้ภาษาอังกฤษในชนั้ Boot Camp 2. ครผู สู้ อนภาษาอังกฤษทกุ คนท่ีผ่านการ เรยี นมากขนึ้ อบรม Boot Camp มีการใช้ภาษาองั กฤษใน 3.นักเรยี นมโี อกาสในภาษาอังกฤษในชน้ั เรยี น ช้ันเรยี นมากขน้ึ มากข้ึน และกลา้ ใช้ภาษาองั กฤษในการสอ่ื สาร มากขึ้น 4. นกั เรยี นเขา้ ใจและมีเจตคตทิ ีด่ ตี อ่ การเรียน ภาษาองั กฤษมากขนึ้ 7.การจัดการ 1. ครผู สู้ อนคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ 1. โรงเรยี นคุณภาพประจำตำบลมคี วามพร้อม เรยี นรู้ในโรงเรยี น คอมพวิ เตอร์ ของโรงเรียนคุณภาพประจำ ในด้านการสอนโปรแกรมม่ิงโรงเรียน (Coding โครงการพเิ ศษ ตำบล จำนวน 9 โรงเรียน ไดร้ บั การพัฒนา at school) สร้างสอื่ การสอนโปรแกรมม่ิงโรงเรยี น 2. ครูทเ่ี ข้ารับการอบรม มีความรคู้ วามเข้าใจ (Coding at school) และสามารสรา้ งสื่อการสอนโปรแกรมม่ิง 2. นักเรียนของโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล โรงเรยี น (Coding at school) จำนวน 9 โรงเรียน ได้รับการพฒั นาสร้างสอ่ื 3. นักเรียนทีเ่ ข้ารับการอบรม มคี วามรคู้ วาม การสอนโปรแกรมมงิ่ โรงเรยี น (Coding at เขา้ ใจและสามารสร้างสือ่ การสอนโปรแกรมมิ่ง school) โรงเรียน (Coding at school) 8. การจัดการ 1. ครูผสู้ อนคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และ 1. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาและครมู ีความรคู้ วาม เรียนร้ใู นโรงเรียน คอมพิวเตอร์ ของโรงเรียนใน ในสงั กดั เข้าใจเกีย่ วกับหลกั สตู รทำมาค้าขาย “การมี เขตพนื้ ทพ่ี ิเศษ จำนวน 32 โรงเรยี น ไดร้ ับการพัฒนา งานทำ มีอาชพี ” ตามพระบรม- หลักสูตรทำมาค้าขาย “การมีงานทำ มี ราโชบาย ด้านการศึกษาของในหลวงรชั กาลท่ี อาชีพ” 10 2. โรงเรียนในโครงการสามเหล่ียม “มัน่ คง 2. โรงเรียนมีหลักสตู รทำมาคา้ ขาย “การมี มั่งคัง่ ยั่งยืน” ในสงั กดั จำนวน 18 โรงเรยี น งานทำ มีอาชพี ” ตามพระบรมราโชบายดา้ น ไดร้ ับการนิเทศตดิ ตามการจัดการเรยี นรูโ้ ดย การศกึ ษาของในหลวงรชั กาลที่ 10 ใช้หลักสูตรเมอื งตน้ แบบสามเหลีย่ ม “ม่ันคง 3. โรงเรียนพ้นื ที่นวัตกรรมการศกึ ษา ไดร้ ับการ ม่งั คงั่ ยั่งยนื ” เพ่ิมคุณภาพและประสิทธภิ าพในการจดั 3. โรงเรยี นพ้นื ท่ีนวัตกรรมการศกึ ษา จำนวน การศกึ ษาลดความเหลอ่ื มล้ำ ส่งเสรมิ ให้ทุกภาค 13 โรงเรยี น ได้รับการนเิ ทศตดิ ตามการ ส่วนมสี ว่ นร่วมในการจดั การศึกษา จังหวดั จัดทำนวัตกรรมการศึกษา ชายแดนภาคใต้
๒๔ ประเดน็ การนิเทศ ผลการดำเนินงาน เชงิ ปรมิ าณ เชิงคุณภาพ 9. ระบบการนเิ ทศ 1. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา จำนวน 32 โรง มี 1. โรงเรยี นในสังกดั มรี ะบบการนิเทศภายใน ภายในสถานศกึ ษา การนิเทศการจดั การเรียนรูข้ องครทู ุก โรงเรยี นท่ีเป็นระบบและมกี ารนิเทศอย่าง ห้องเรียน ต่อเน่อื ง ส่งผลให้ครผู ู้สอนมีการพัฒนาการ 2. ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา จำนวน 32 โรง มี จัดการเรยี นรูท้ ีเน้น Active Learning มากขึ้น การรายงานผลการนเิ ทศประจำเดือนผา่ น และนักเรยี นไดเ้ รียนรผู้ า่ นการปฏบิ ัติมากขึน้ ระบบออนไลน์ทุกเดือน 2. ผบู้ ริหารสถานศึกษามีทกั ษะการนเิ ทศ ภายในห้องเรยี นโดยใชว้ ธิ กี ารนเิ ทศแบบชแี้ นะ สะทอ้ นคิดไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 15.2 ผลการนิเทศบูรณาการโดยสรปุ 15.2.1 เชิงปรมิ าณ 1) ร้อยละ 100 ของ โรงเรียนในสังกดั ไดร้ บั การนเิ ทศตามประเด็นการนเิ ทศอยา่ งท่วั ถงึ 2) ร้อยละ 100 ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาในสงั กัดมีการนเิ ทศการจดั การเรียนรโู้ ดยยดึ หอ้ งเรียนเป็นฐานทุกหอ้ งเรียน 3) รอ้ ยละ 100 ของโรงเรยี นในสงั กดั ได้รบั สงั เกตการสอนการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ รุกระดับ ปฐมวยั และระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน 4) รอ้ ยละ 100 ของโรงเรยี นมวี ธิ ีปฏบิ ตั ิท่ดี ดี า้ นการอา่ นการเขียน 15.2.2 เชงิ คณุ ภาพ 1) โรงเรียนในสังกัดมกี ารขับเคลือ่ นการดำเนนิ งานตามนโยบายและจดุ เนน้ สพฐ. และ สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 2) ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาในสงั กัดสามารถดำเนินการนเิ ทศโดยยึดหอ้ งเรียนเปน็ ฐานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 3) โรงเรียนในสงั กดั มีมีการปรับวธิ ีเรยี นเปลยี่ นวิธสี อนจาก Passive Learning เป็น Active Learning 4) นกั เรียนอา่ นไม่ออกเขียนไมไ่ ด้ลดลง 16. ปัญหา อุปสรรค -ศึกษานิเทศก์และคณะกรรมการนเิ ทศมภี ารกจิ ซ้ำซ้อน จงึ มีการปรับเปลย่ี นกำหนดการตามความเหมาะสม -ศกึ ษานเิ ทศก์มจี ำนวนนอ้ ย (3 คน)
๒๕ 17. ข้อเสนอแนะ 1) ควรมกี ารประเมินความพงึ พอใจของผรู้ บั การนเิ ทศเพื่อเป็นขอ้ มูลในการพัฒนาการนิเทศในครั้งตอ่ ไป 2) ควรสง่ เสริมใหบ้ คุ ลากรในสถานศกึ ษาเข้ารบั การอบรมเกยี่ วกบั แนวทางการดำเนินการนิเทศภายใน สถานศึกษาขั้นพนื้ ฐานอย่างต่อเนื่อง ด้านการวิเคราะห์จดุ เด่นจดุ ด้อยเพือ่ กำหนดจุดพัฒนา 3) ควรจัดประชุมคณะกรรมการนเิ ทศระดับเขตพน้ื ท่แี ละระดบั โรงเรยี นเพอ่ื ร่วมกนั วิเคราะหจ์ ุดเดน่ จดุ ด้อยเพื่อกำหนดจดุ พฒั นาในการดำเนนิ งานนิเทศภายในอย่างเป็นระบบ 4) คณะกรรมการนเิ ทศจิตอาสาควรมกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรู้/ถอดบทเรียนจากการเปน็ คณะกรรมการนิเทศ เพ่อื เป็นประโยชนต์ อ่ การพัฒนารปู แบบการนเิ ทศของสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 5) ควรมกี ารใชก้ ระบวนการ PLC ในทกุ ประเด็นการขบั เคล่อื นนโยบาย และควรดำเนนิ การอยา่ งสม่ำเสมอ ลงชอ่ื ผู้รายงาน (นางมารียานี บาฮา) ศึกษานเิ ทศก์ ลงชอ่ื ผู้ตรวจสอบรายงาน ( นายวชั ระ จนั ทรตั น์ ) ผูอ้ ำนวยการกล่มุ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ลงชอื่ ผ ผู้ตรวจสอบรายงาน ( นายเชาวลิต เพ็ชรหวล ) รองผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3 ลงชอ่ื ผู้ ผู้รับรองการรายงาน ( นายโกมุท รยุ อ่อน ) ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3
ภาพกจิ กรรม การนิเทศบรู ณาการโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐานเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2562
การนิเทศโดยการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร เพือ่ สร้างความรู้ความเขา้ ใจ ส่งเสรมิ สนับสนนุ การขับเคลอ่ื นนโยบายต่าง ๆ การอบรมครภู าษาไทยเพ่ือพัฒนาการอา่ นออกเขียนได้ ณ หอ้ งประชุมร่มเย็น สพป.ยะลา เขต 3
อบรมการจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสารสำหรับครูภาษาอังกฤษและครปู ฐมวยั (ขยายผลโครงการ Boot Camp) ณ ห้องประชุมบาลา - ฮาลา สพป.ยะลา เขต 3
การอบรมเชิงปฏบิ ัติการปรับหลักสูตรสถานศกึ ษาไปปรับใช้กับการจดั การศึกษาในสถานศึกษานำร่อง ใหเ้ หมาะสมกับพ้นื ท่ีนวตั กรรมการศึกษา โครงการขับเคลอ่ื นพ้นื ท่ีนวัตกรรม ณ หอ้ งประชุมบาลา-ฮาลา สพป.ยะลา เขต 3
ประชุมคณะกรรมการ กต.ปน. และอนกุ รรมการ กต.ปน.ขบั เคลื่อนคุณภาพการศกึ ษา ณ ห้องประชุมบาลา-ฮาลา
การอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาความสามารถทางการทำวิจยั ของครูส่คู รูมืออาชีพ โดยการสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC)
การประชมุ ชแ้ี จงคณะกรรมการจดั สอบ I-NET ปกี ารศกึ ษา 2562 เพ่อื สร้างความรู้ความเขา้ ใจในบทบาท หน้าทข่ี องคณะกรรมการดำเนนิ การจัดสอบให้เป็นไปตามคู่มือการจดั สอบของ สทศ. โดยเครง่ ครัด
การประชมุ ชแ้ี จงคณะกรรมการจดั สอบ NT ปีการศกึ ษา 2562 เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจในบทบาท หน้าทขี่ องคณะกรรมการดำเนินการจัดสอบใหเ้ ป็นไปตามคมู่ อื การจดั สอบของ สทศ. โดยเครง่ ครัด
การประชุมชแี้ จงคณะกรรมการจดั สอบ RT ปีการศึกษา 2562 เพือ่ สร้างความรู้ความเขา้ ใจในบทบาท หน้าทขี่ องคณะกรรมการดำเนินการจดั สอบให้เป็นไปตามคู่มือการจัดสอบของ สทศ. โดยเครง่ ครดั
การประชุมชแ้ี จงการจดั ทำแนวปฏบิ ัตใิ นการจดั ประสบการณ์/การจัดการเรียนรใู้ นสถานการณ์การแพร่ ระบาดขงอโรคติดเชือ้ โคโรนา่ ไวรัส -19 ณ ห้องประชุมบาลา-ฮาลา สพป.ยะลา เขต 3
การซักซอ้ มการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบส่ี (Mock Assessment) โดยคณะกรรมการนิเทศจิตอาสา ณ โรงเรยี นบ้านแหร อ.ธารโต จ.ยะลา
การเข้ารว่ มสังเกตการณ์ ในการรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสี่ จาก สมศ. เพ่ือเปน็ ขวญั และกำลงั ใจผบู้ รหิ ารและครู ณ โรงเรียนอนุบาลเบตง (สภุ าพอนุสรณ์) อ.เบตง จ.ยะลา
ศึกษานเิ ทศกเ์ ข้ารว่ มรับฟังการสรุปการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบส่ีด้วยวาจา โดยคณะกรรมการประเมินจาก สมศ. ณ โรงเรียนอนบุ าลเบตง (สุภาพอนุสรณ)์
การเขา้ รว่ มสงั เกตการณ์ ในการรบั การประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบส่ี จาก สมศ. เพอื่ เปน็ ขวัญและกำลังใจผบู้ รหิ ารและครู ณ โรงเรียนบา้ นราโมง อ.เบตง จ.ยะลา
การเข้ารว่ มสังเกตการณ์ ในการรบั การประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสี่ จาก สมศ. เพ่อื เป็นขวัญและกำลังใจผบู้ รหิ ารและครู ณ โรงเรียนบา้ นแหร อ.ธารโต จ.ยะลา
ทมี ศกึ ษานิเทศก์ เยยี่ มชน้ั เรียน และช้ีแนะการพฒั นาการอา่ นการเขยี น พรอ้ มมอบส่อื หนงั สอื ส่งเสริมการอ่าน ณ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนปาโจแมเราะ อ.ธารโต จ.ยะลา
การนิเทศบรู ณาการโดยคณะกรรมการ กต.ปน. และคณะกรรมการนิเทศระดับศนู ยเ์ ครอื ข่ายฯ เพื่อนเิ ทศ ติดตาม การขับเคลื่อนนโยบาย และสังเกตการสอน ณ โรงเรยี นในศูนย์เครือขา่ ย พัฒนาคณุ ภาพการศึกษาตาเนาะแมเราะ อ.เบตง จ.ยะลา
การนเิ ทศบูรณาการโดยคณะกรรมการ กต.ปน. และคณะกรรมการนเิ ทศระดับศูนย์เครือข่ายฯ เพ่อื นเิ ทศ ติดตาม การขับเคลอื่ นนโยบาย และสังเกตการสอน ณ โรงเรยี นในศูนย์เครือข่าย พัฒนาคุณภาพการศกึ ษายะรม อ.เบตง จ.ยะลา
การนิเทศบูรณาการโดยคณะกรรมการ กต.ปน. และคณะกรรมการนิเทศระดับศนู ย์เครอื ข่ายฯ เพื่อนเิ ทศ ตดิ ตาม การขับเคล่ือนนโยบาย และสังเกตการสอน ณ โรงเรยี นในศูนย์เครือขา่ ย พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาธารน้ำทพิ ย์ อ.เบตง จ.ยะลา
การนเิ ทศบูรณาการโดยคณะกรรมการ กต.ปน. และคณะกรรมการนเิ ทศระดับศูนยเ์ ครือข่ายฯ เพื่อนเิ ทศ ตดิ ตาม การขับเคล่ือนนโยบาย และสังเกตการสอน ณ โรงเรยี นในศูนย์เครอื ขา่ ย พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาธารครี ี อ.ธารโต จ.ยะลา
คณะศกึ ษานิเทศก์ และคณะกรรมการนิเทศภายในโรงเรยี น ไดน้ ิเทศโดยการสงั เกตการสอน ช้แี นะการจดั การเรียนรู้ของครผู สู้ อน ณ โรงเรียนบ้านตาเนาะแมเราะ
คณะศกึ ษานเิ ทศก์ และคณะกรรมการนิเทศภายในโรงเรยี น ได้นิเทศโดยการสงั เกตการสอน ช้แี นะการจดั การเรียนรู้ของครผู สู้ อน ณ โรงเรียนบ้านเยาะ
Search