91 ใบความรู้ท่ี 6 เร่ือง การหาคุณภาพเคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการวจิ ัย ******************************************************** หลงั จากท่ีครูผูว้ ิจยั สามารถกาหนดและสร้างเครื่องมือท่ีใช้ในการแกป้ ัญหา/พฒั นา และ เครื่องมือท่ีใชใ้ นการวดั ผลการเรียนรู้/เก็บรวบรวมขอ้ มูลไดแ้ ลว้ เพ่ือทาให้ขอ้ คน้ พบมีความน่าเชื่อถือ เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจยั ต้องมีคุณภาพ สาหรับการวิจยั ในช้ันเรียน ครูผูท้ าการวิจยั ควรใช้วิธีการหา คุณภาพของเคร่ืองมืออย่างง่าย ๆ ไม่มีความสลบั ซับซ้อน เพียงนาเคร่ืองมือที่สร้างข้ึนให้ผูท้ รงคุณวุฒิ จานวน 3-5 ท่าน ตรวจแกไ้ ขและนาขอ้ เสนอแนะของผูท้ รงคุณวุฒิมาปรับปรุงแกไ้ ข ก็นับว่าเพียงพอ แลว้ 6.1 การหาคุณภาพของนวตั กรรม วิธีการหรือหรือนวตั กรรมที่ใชใ้ นการพฒั นาการเรียนรู้ เช่น ชุดการสอน แบบฝึ ก แผนการ จดั การเรียนรู้ แบบเรียนสาเร็จรูป หรือกิจกรรมการเรียนรู้ใหม่ ๆ ท่ีผสู้ อนพฒั นาข้ึน ควรมีความถูกตอ้ ง ดา้ นเน้ือหา เท่ียงตรงและครอบคลุมเน้ือหาตามจุดมุ่งหมายของหลกั สูตร ตลอดจนภาษา ถอ้ ยคา รูปภาพ และข้นั ตอนท่ีกาหนดข้ึนควรเหมาะสมกบั นกั เรียนดว้ ย ซ่ึงผสู้ อนสามารถหาประสิทธิภาพของ เคร่ืองมือได้ ดงั น้ี (กรมวชิ าการ, 2545ก : 63) 1. ใหผ้ เู้ ช่ียวชาญพิจารณา ตรวจสอบดา้ นเน้ือหาและรูปแบบ เช่น สร้างแบบฝึกทกั ษะ การคิดเลขเร็วข้ึน แลว้ นาไปใหผ้ เู้ ช่ียวชาญจานวน 3 คนตรวจสอบ ถา้ มีความเห็นสอดคลอ้ งกนั 2 คน ข้ึนไป แสดงวา่ เน้ือหาและรูปแบบมีความถูกตอ้ งเที่ยงตรงและครอบคลุม 2. หาประสิทธิภาพของส่ือหรือนวตั กรรมการเรียนรู้ โดยการวิเคราะหห์ าค่า ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1 ) และค่าประสิทธิภาพแห่งผลลพั ธ์ (E2) ดงั น้ี X E1 = N 100 A เม่ือ E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ X แทน คะแนนรวมของแบบฝึ กหดั หรืองาน A แทน คะแนนเตม็ ของแบบฝึ กหดั รวมกนั N แทน จานวนนกั เรียน นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพเิ ศษ
92 F E2 = N 100 B เม่ือ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลพั ธ์ แทน คะแนนรวมของผลลพั ธ์หลงั เรียน F แทน คะแนนเตม็ แบบทดสอบหลงั เรียน แทน จานวนนกั เรียน B N ตวั อย่าง การสร้างและหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง พ้ืนที่ผวิ และปริมาตร สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 แบบเดี่ยว ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ (E1 / E2) ของเอกสารประกอบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เร่ือง พ้ืนที่ผิวและปริมาตร สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3 แบบเดี่ยวท่ีได้ทดลองใช้กับนักเรียน จานวน 3 คน ปรากฏผลดงั ตารางท่ี 6.1 ตารางท่ี 6.1 แสดงค่าการหาประสิทธิภาพของเอกสารประกอบการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เร่ือง พ้ืนท่ีผิวและปริมาตร สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 จากการทดลองใช้ แบบเด่ียว เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ รวม ่กอนเ ีรยน (20) ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 หลังเ ีรยน (20) 55555555 1 3 3 4 4 3 3 3 3 26 9 13 2 3 3 3 2 3 4 3 3 24 8 12 3 4 3 3 3 3 3 3 3 25 7 12 รวม 10 9 10 9 9 10 9 9 75 24 37 ร้อยละ 66.67 60.00 66.67 60.00 60.00 66.67 60.00 60.00 62.50 40.00 61.67 ประสิทธภิ าพเอกสารประกอบการเรียน 62.50/61.67 นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ
93 หาคา่ ดชั นีประสิทธิผล (E.I.) โดยใชส้ ูตร ดงั น้ี คะแนนทดสอบหลงั เรียน - คะแนนทดสอบก่อนเรียน คา่ ดชั นีประสิทธิผล = (จานวนนกั เรียนคะแนนเตม็ ) - คะแนนทดสอบก่อนเรียน = ( 37− 24 24 320) − = 13 36 = 0.3611 จากตารางที่ 6.1 พบว่า ผลการสอบระหว่างเรียนหรือผลของกระบวนการไดค้ ่าร้อยละ 62.50 และผลการสอบผลลพั ธ์หรือผลการทดสอบหลงั การจดั กิจกรรมดว้ ยเอกสารประกอบการเรียน มีค่า เท่ากบั 61.67 แสดงวา่ เอกสารประกอบการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์ เร่ือง พ้ืนท่ีผิวและปริมาตร สาหรับ นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 (E1 / E2) มีประสิทธิภาพเท่ากบั 62.50/61.67 ตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 และไดค้ ่าดชั นีประสิทธิผล (E.I.) เท่ากบั 0.3611 แสดงวา่ นกั เรียนมีความกา้ วหนา้ ในการเรียนเพ่ิมข้ึน คิดเป็นร้อยละ 36.11 แสดงว่า เอกสารประกอบการเรียนท่ีสร้างข้ึนมีประสิทธิภาพ ต่ากว่าเกณฑ์ 80/80 ที่ต้งั ไว้ ผูว้ ิจยั ได้สังเกตและสอบถามนักเรียน 3 คน หลงั จากที่ได้ทดลองใช้ แบบเดี่ยวเสร็จแลว้ จากการ วิเคราะห์หาขอ้ บกพร่องต่าง ๆ ของเอกสารประกอบการเรียน โดยตรวจสอบขอ้ บกพร่องของเวลาใน การปฏิบตั ิกิจกรรม ขอ้ บกพร่องของเอกสารประกอบการเรียน ความชดั เจนของคาสั่ง เน้ือหาสาระ กิจกรรมการเรียน ขอ้ คาถามในใบกิจกรรม ใบงาน ส่วนแบบทดสอบแต่ละชุดน้นั ขอ้ คาถามบางขอ้ ไม่ ชดั เจน และตอ้ งปรับปรุงตวั เลือกบางขอ้ ผวู้ ิจยั ไดด้ าเนินการแกไ้ ขปรับปรุงเอกสารประกอบการเรียน แตล่ ะชุด ดงั น้ี นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ
94 ใบงานที่ 10 เรื่อง การหาประสิทธิภาพของนวตั กรรม ************************************** คาชีแ้ จง ใหผ้ เู้ ขา้ รับการอบรมหาประสิทธิภาพและประสิทธิผลของชุดการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ รวม ่กอนเ ีรยน (20) ท่ี 1 2 3 4 5 6 7 8 หลังเ ีรยน (20) 55555555 1 43444444 9 13 2 34353333 6 16 3 43333433 5 15 4 42444444 8 15 5 34444444 9 12 6 44444444 6 13 7 44435454 8 18 8 34334542 9 16 9 33344444 6 15 รวม ร้อยละ ประสิทธภิ าพเอกสารประกอบการเรียน ......................... หาค่าดชั นีประสิทธิผล (E.I.) โดยใชส้ ูตร ดงั น้ี คะแนนทดสอบหลงั เรียน - คะแนนทดสอบก่อนเรียน ค่าดชั นีประสิทธิผล = (จานวนนกั เรียนคะแนนเตม็ ) - คะแนนทดสอบก่อนเรียน = ……………………………………………………………….. = ………………………………………………………………... พบว่า ผลการสอบระหว่างเรียนหรือผลของกระบวนการได้ค่าร้อยละ...........และผลการ ทดสอบหลงั การจดั กิจกรรมดว้ ยชุดการเรียน มีค่าเท่ากบั ........แสดงว่า ชุดการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ (E1 / E2) มีประสิทธิภาพเท่ากับ ............./............. ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 และได้ค่าดัชนี ประสิทธิผล (E.I.) เทา่ กบั .................. แสดงวา่ นกั เรียนมีความกา้ วหนา้ ในการเรียนเพิม่ ข้ึนคดิ เป็น ร้อยละ ............................... นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพเิ ศษ
95 6.2 การหาคณุ ภาพแบบทดสอบ แบบทดสอบถือเป็ นส่วนหน่ึงในการพฒั นาบทเรียนเนื่องจากจะต้องใช้แบบทดสอบวดั พฤติกรรมผูเ้ รียนในด้านสมอง (cognitive domain) เพ่ือทราบว่าหลงั จากผ่านการเรียนรู้เน้ือหาจาก บทเรียนแล้วผูเ้ รียนมีการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมเป็ นอย่างไร การวดั พฤติกรรมของผูเ้ รียนด้วย แบบทดสอบสามารถวดั ได้ท้ังก่อนเรียน หลังเรียนและระหว่างเรียน อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะใช้ แบบทดสอบวดั ในช่วงเวลาใด แบบทดสอบทุกชนิดท่ีจะนามาใชใ้ นบทเรียนจะตอ้ งผ่านการหาคุณภาพ ก่อนที่จะนาไปใช้ในบทเรียน เนื่องจากแบบทดสอบเป็ นเครื่องมือในการวดั พฤติกรรมของผูเ้ รียน ถา้ แบบทดสอบมีคุณภาพดีจะส่งผลให้บทเรียนมีคุณภาพเช่นกัน คุณภาพของแบบทดสอบเกี่ยวข้องกบั องคป์ ระกอบท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ ความเที่ยงตรง (validity) ความเช่ือมน่ั (reliability) ความยากงา่ ย (difficulty) อานาจจาแนก (discrimination)และความเป็นปรนยั (objectivity) ความเที่ยงตรง ความเท่ียงตรงเป็นคุณภาพของแบบทดสอบ หมายถึง แบบทดสอบที่ผสู้ อนไดส้ ร้างไว้ สามารถวดั ไดต้ รงตามวตั ถุประสงคท์ ี่ตอ้ งการจะวดั แบบทดสอบทกุ ชนิดจะตอ้ งนาไปทดสอบเพอ่ื หา คุณภาพดา้ นความเท่ียงตรง จะถือไดว้ า่ เป็นแบบทดสอบท่ีมีคุณภาพตามวตั ถุประสงคท์ ่ีจะวดั และผลที่ ไดจ้ ากการวดั จะถกู ตอ้ งตรงตามความตอ้ งการ ความเที่ยงตรงของแบบทดสอบ ไดด้ งั น้ี 1. ความเทีย่ งตรงตามเนื้อหา ความเท่ียงตรงตามเน้ือหา (content validity) หมายถึง การท่ีผสู้ อนออกแบบทดสอบได้ ตรงตามเน้ือหาท่ีสอน ในการทดสอบความเที่ยงตรงตามเน้ือหาสามารถดาเนินการไดโ้ ดยใชผ้ เู้ ช่ียวชาญ ในดา้ นเน้ือหา พิจารณาถึงความสอดคลอ้ งระหวา่ งวตั ถปุ ระสงคก์ บั แบบทดสอบโดยพจิ ารณาเป็นรายขอ้ วธิ ีการพิจารณาแบบน้ีจะเรียกวา่ การหาคา่ สัมประสิทธ์ิความสอดคลอ้ ง (Index of Item – Objective Congruence : IOC) โดยมีสูตรการคานวณดงั น้ี IOC = R N เม่ือ IOC คือ ความสอดคลอ้ งระหวา่ งวตั ถปุ ระสงคก์ บั แบบทดสอบ R คือ ผลรวมของคะแนนจากผูเ้ ชี่ยวชาญท้งั หมด N คือ จานวนผเู้ ช่ียวชาญ การตรวจสอบคา่ ความเที่ยงตรงดา้ นเน้ือหาสามารถกระทาโดย นาแบบทดสอบให้ ผเู้ ชี่ยวชาญพจิ ารณาวา่ ขอ้ สอบแต่ละขอ้ มีความสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมหรือไม่อยา่ งไร ถา้ มีความสอดคลอ้ งผเู้ ช่ียวชาญจะใหค้ า่ เป็น “+1” แตถ่ า้ ผเู้ ช่ียวชาญเห็นวา่ ขอ้ สอบขอ้ น้นั ไมม่ ีความ นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพเิ ศษ
96 สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคจ์ ะใหค้ ่าเป็น “-1” และในกรณีที่ผเู้ ชี่ยวชาญไม่แน่ใจวา่ ขอ้ สอบขอ้ น้นั มีความ สอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคห์ รือไมก่ ็จะใหค้ ่าเป็น “0” ตวั อยา่ งวิธีการทดสอบความเท่ียงตรงดา้ นเน้ือหาโดยหาค่า IOC อธิบายไดด้ งั น้ี จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อสอบ ระดบั การพจิ ารณา +1 0 -1 เมื่อเรียนจบเน้ือหาผเู้ รียน 1. ระบบคอมพิวเตอร์จดั แบง่ ออกเป็น สามารถบอกองคป์ ระกอบ องคป์ ระกอบอะไรบา้ ง ของระบบคอมพวิ เตอร์ ก. hardware, software, people ไดถ้ กู ตอ้ ง ข. hardware, software ค. hardware, people ง. hardware, softwnw, internet นาแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน จานวน 20 ขอ้ ใหผ้ เู้ ช่ียวชาญ 5 ทา่ น เพือ่ ตรวจสอบความสอดคลอ้ งกบั จุดประสงค์ โดยกาหนดคะแนนเป็น +1 หรือ 0 หรือ -1 ไดผ้ ล ดงั น้ี ผู้เช่ียวชาญ ผลรวมของคะแนน R หมายเหตุ ข้อท่ี คนท่ี 1 คนท่ี 2 คนท่ี 3 คนที่ 4 คนท่ี 5 (R) N 1 +1 +1 0 +1 +1 4 0.80 ใชไ้ ด้ 2 0 +1 -1 -1 +1 0 0.00 ตดั ทิ้ง 3 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 ใชไ้ ด้ 4 -1 +1 +1 +1 -1 1 0.20 ตดั ทิง้ 5 +1 +1 +1 -1 +1 3 0.60 ใชไ้ ด้ 20 +1 0 +1 +1 -1 2 0.40 ปรับปรุง **ขอ้ สอบที่ใชไ้ ด้ ตอ้ งมีค่า IOC ต้งั แต่ 0.50 ข้ึนไป ผลการตรวจสอบความคิดเห็น ขอ้ 1 ปรากฏวา่ มีผเู้ ช่ียวชาญเห็นดว้ ยกบั ความสอดคลอ้ ง ของขอ้ สอบจานวน 4 คนและไมเ่ ห็นดว้ ยกบั ความสอดคลอ้ งของขอ้ สอบจานวน 1 คน ผลรวมของ คะแนนพิจารณา (R) จะไดเ้ ท่ากบั 4 ดงั น้นั คา่ IOC จึงหาไดจ้ าก นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ
97 ค่า 0.80 แสดงถึงขอ้ สอบขอ้ น้ีมีความสอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์ เนื่องจากมีคา่ 0.8 ซ่ึง เขา้ ใกลค้ ่า 1 ท้งั น้ีคา่ IOC ท่ียอมรับไวว้ า่ ขอ้ สอบมีความเท่ียงตรงคือมีคา่ ต้งั แต่ 0.5 ข้ึนไป ถา้ หากมีค่า นอ้ ยกวา่ 0.5 ถือวา่ ขอ้ สอบขอ้ น้นั ไมม่ ีความสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม จะตอ้ งตดั ขอ้ สอบ น้นั ออกไปหรือทาการปรับปรุงขอ้ สอบขอ้ น้นั ใหม่ นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ
98 ใบงานท่ี 11 เรื่อง การวิเคราะห์คุณภาพของเคร่ืองมือประเมนิ ความสอดคล้องของข้อสอบกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้ (ของผู้เชี่ยวชาญรายบคุ คล) ************************************** คาชี้แจง 1. ใหผ้ เู้ ขา้ อบรมแต่ละคน นาขอ้ สอบแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ท่านสอน มาใหเ้ พื่อนเป็น ผเู้ ชี่ยวชาญ จานวน 3 คน พิจารณาและวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งของขอ้ สอบกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 2. ผเู้ ขา้ รับการอบรมแตล่ ะคนเป็นผเู้ ชี่ยวชาญในการวเิ คราะหค์ วามสอดคลอ้ งของขอ้ สอบกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ใหก้ บั เพื่อนในกลุ่มไม่ต่ากวา่ 3 คน 3. ผเู้ ขา้ รับการอบรมแตล่ ะคนบนั ทึกผลการพจิ ารณาจากผเู้ ชี่ยวชาญแตล่ ะคนสรุปลงในใบงานที่ 12 และคานวณคา่ ดชั นีความสอดคลอ้ งของเครื่องมือ ข้อ จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม ข้อสอบ ระดบั การพจิ ารณา +1 0 -1 0 ผเู้ รียนสามารถหา ห.ร.ม. ของ ห.ร.ม. ของ 2 และ 3 คอื ขอ้ ใด จานวนนบั ได้ ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 6 1 2 3 ลงช่ือ..............................................................ผเู้ ช่ียวชาญ (.............................................................) นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพเิ ศษ
99 ใบงานที่ 12 เรื่อง การประเมินความสอดคล้องของข้อสอบกบั จุดประสงค์การเรียนรู้ (ของผู้เช่ียวชาญรายบคุ คล) ************************************** คาชีแ้ จง ใหผ้ เู้ ขา้ อบรมนาขอ้ สอบแต่ละกลุม่ สาระการเรียนรู้ที่ท่านสอน มาหาคา่ ดชั นีความสอดคลอ้ ง (IOC) ความคดิ เหน็ ของ ข้อ ข้อสอบ ผู้เชี่ยวชาญ รวม ค่า IOC สรุปผล สอดคลอ้ ง 0 ห.ร.ม. ของ 2 และ 3 คอื ขอ้ ใด คนที่ 1 คนท่ี 2 คนที่ 3 ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 6 +1 0 +1 2 2 =0.67 3 1 2 3 4 5 6 หมายเหตุ เกณฑก์ ารพิจารณา คา่ IOC ตอ้ งมีคา่ ต้งั แต่ 0.5 ข้ึนไป นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ
100 6.3 การวิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบเป็ นรายข้อ การหาค่าความยากง่าย ( P ) การวเิ คราะห์ความยากงา่ ย เป็นการวิเคราะห์ขอ้ สอบเป็นรายขอ้ สูตรในการคานวณ P= H+L NH + NL P คือ ดชั นีความยากของขอ้ สอบ H คือ จานวนนกั เรียนที่ตอบขอ้ สอบน้นั ถกู ในกลมุ่ สูง L คือ จานวนนกั เรียนที่ตอบขอ้ สอบน้นั ถกู ในกลุ่มต่า NH คือ จานวนนกั เรียนในกล่มุ สูง LH คือ จานวนนกั เรียนในกลุ่มต่า เกณฑค์ วามยากงา่ ยที่ยอมรับไดม้ ีคา่ อยรู่ ะหวา่ ง 0.20 - 0.80 ถา้ คา่ P มีคา่ นอกเกณฑท์ ่ีกาหนด จะตอ้ งปรับปรุงขอ้ สอบน้นั หรือตดั ทิง้ ไป (กรมวชิ าการ. 2545 : 66) เกณฑใ์ นการแปลความหมายค่าความยากงา่ ย 0.00-0.19 หมายความวา่ ขอ้ สอบขอ้ น้นั ยากเกินไป 0.20-0.39 หมายความวา่ ขอ้ สอบขอ้ น้นั คอ่ นขา้ งยาก 0.40-0.59 หมายความวา่ ขอ้ สอบขอ้ น้นั ยากงา่ ยปานกลาง 0.60-0.79 หมายความวา่ ขอ้ สอบขอ้ น้นั คอ่ นขา้ งง่าย 0.80-1.00 หมายความวา่ ขอ้ สอบขอ้ น้นั งา่ ยเกินไป การหาค่าอานาจจาแนก ( r ) เป็นการวิเคราะห์ค่าอานาจจาแนก เป็นการดูความเหมาะสมของรายขอ้ วา่ ขอ้ คาถามสามารถ จาแนกกลุม่ เก่งและกลมุ่ อ่อนไดจ้ ริง หรือจาแนกผทู้ ี่มีคุณลกั ษณะสูงจากผมู้ ีคณุ ลกั ษณะต่าได้ สูตรในการคานวณ r = H-L N r คือ ค่าอานาจจาแนก H คือ จานวนนกั เรียนในกลุ่มสูงที่ตอบถูก L คือ จานวนนกั เรียนในกลุ่มต่าท่ีตอบถกู N คือ จานวนนกั เรียนในกล่มุ สูงหรือกลุม่ ต่า เกณฑอ์ านาจจาแนกที่ยอมรับไดจ้ ะมีค่าต้งั แต่ 0.20 ข้นึ ไป ถา้ ค่าอานาจจาแนกต่ากวา่ 0.20 จะตอ้ งปรับปรุงแบบทดสอบขอ้ น้นั หรือตดั ทิ้งไป (กรมวิชาการ. 2545 : 68) นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ
101 เกณฑใ์ นการแปลความหมายค่าอานาจจาแนก 0.00-0.19 หมายความวา่ ขอ้ สอบขอ้ น้นั จาแนกไม่ไดเ้ ลย 0.20-0.39 หมายความวา่ ขอ้ สอบขอ้ น้นั จาแนกไดเ้ ลก็ นอ้ ย 0.40-0.59 หมายความวา่ ขอ้ สอบขอ้ น้นั จาแนกไดป้ านกลาง 0.60-0.79 หมายความวา่ ขอ้ สอบขอ้ น้นั จาแนกไดด้ ี 0.80-1.00 หมายความวา่ ขอ้ สอบขอ้ น้นั จาแนกไดด้ ีมาก ตัวอย่าง การหาค่าความยากง่าย ( P ) และค่าอานาจจาแนก ( r) ของแบบทดสอบ ตาราง 6.2 แสดงการหาค่าความยากง่าย ( P ) และค่าอานาจจาแนก ( r ) ของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนสาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม กบั นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียน…………………..จานวน…….คน จานวนนกั เรียนท่ตี อบถูก ข้อท่ี กลุ่มสูง กล่มุ ตา่ ค่า P ค่า r ผลการพจิ ารณา (N= 12) (N= 12) คดั เลือกไว้ คดั เลือกไว้ 1 10 3 0.54 0.58 คดั ออก คดั ออก 29 5 0.58 0.33 คดั เลือกไว้ คดั เลือกไว้ 31 1 0.08 0.00 คดั เลือกไว้ คดั เลือกไว้ 40 3 0.13 -0.25 คดั เลือกไว้ คดั ออก 5 11 7 0.75 0.33 6 11 7 0.75 0.33 7 11 4 0.63 0.58 8 11 5 0.67 0.50 9 11 5 0.67 0.50 10 10 9 0.79 0.08 คดั เลือกไวเ้ ป็นแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ กลุม่ สาระการ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม จานวน 7 ขอ้ นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ
102 คานวณหาคา่ ความยากงา่ ยของขอ้ สอบ ขอ้ ท่ี 1 จากสูตร P = H+L r = H–L แทนค่า NH + NL N P= 10 + 3 10 – 3 24 r = 12 P= 13 r = 7 24 12 P = 0.54 r = 0.58 ขอ้ สอบขอ้ ที่ 1 ค่าความยากงา่ ยมีคา่ อยใู่ นเกณฑท์ ี่กาหนด ใหค้ ดั เลือกไว้ นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ
103 ใบงานที่ 13 เร่ือง การวิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบเป็ นรายข้อ ( การหาค่าความยากง่ายและค่าอานาจจาแนก ) *************************** คาชี้แจง ใหผ้ เู้ ขา้ อบรมหาค่าความยากงา่ ยและคา่ อานาจจาแนก จานวนคนกล่มุ จานวนคนกล่มุ ค่าความยากง่าย ค่าอานาจจาแนก ข้อ ตวั เลือก สูงทเ่ี ลือก ตา่ ที่เลือก ผลการพจิ ารณา (H) (20) (L) (20) p= H + L r=H − L NH + NL NH 1ก 4 6 4+6 4−6 ข* 9 20 + 20 = 0.25 20 = −0.10 3 ค3 5 ง4 6 2 ก* 11 9 ข2 4 ค3 5 ง4 2 3ก 1 5 ข2 1 ค9 4 ง* 8 10 4ก 7 4 ข7 9 ค* 2 6 ง4 1 5 ก* 12 3 ข2 5 ค5 8 ง1 4 นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ
104 ค่าความเชื่อมนั่ (Reliability) การหาค่าความเช่ือมนั่ เป็ นการตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบท้งั ฉบบั ความเชื่อมน่ั หมายถึง ความคงเส้นคงวาของผลการวดั จากการที่นาแบบทดสอบชุดน้ันไป ทดสอบกบั ผูเ้ รียนไม่ว่าจะทดสอบจานวนก่ีคร้ังคะแนนท่ีไดจ้ ะไม่แตกต่างกัน ความเชื่อมน่ั สามารถ คานวณเป็นตวั เลขไดห้ ลายวิธี และแต่ละวิธีจะไดค้ ่าไม่เกิน 1 ถา้ ค่าที่คานวณไดม้ ีค่าเขา้ ใกล้ 1 แสดงว่า แบบทดสอบน้นั มีคา่ ความเช่ือมน่ั สูง วิธีการคานวณหาค่าความเช่ือมน่ั สามารถคานวณหาคา่ ไดห้ ลายวิธี ดงั น้ี 1. วธิ ีการของบคูเดอร์ - ริชาร์ดสัน การหาความเช่ือมนั่ โดยวิธีของคูเดอร์ - ริชาร์ดสนั (Kuder – Richardson : KR) โดยวธิ ีการน้ี จะไม่ไดใ้ ชก้ ารหาค่าสหสัมพนั ธ์เพ่ือทดสอบความเชื่อมนั่ แต่จะใชว้ ิธีหาความสัมพนั ธ์ระหว่างองคป์ ระกอบ ภายในไดแ้ ก่ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งขอ้ สอบในฉบบั เดียวกนั และการคานวณหาค่าความสัมพนั ธค์ ะแนน ของขอ้ สอบแต่ละขอ้ จะตอ้ งแปลงใหเ้ ป็นคะแนน 2 ค่าเท่าน้นั ไดแ้ ก่ ถา้ ถูกจะไดค้ ่า 1 และถา้ ผิดจะไดค้ า่ 0 สูตรในการหาความเชื่อมน่ั แบบคูเดอร์ – ริชาร์ดสัน จะจาแนกเป็น 2 สูตรดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี 1.1 KR–20 เป็นสูตรในการหาคา่ ความเช่ือมนั่ ท่ีเหมาะสาหรับแบบทดสอบที่มีคา่ ความ ยากง่ายในลกั ษณะกระจาย สูตรที่ใชใ้ นการหามีรูปแบบดงั น้ี rt= n n 1 1 − S2tpq − S2t = N X2N−2( X)2 เมื่อ rt คือ สัมประสิทธ์ิของความเชื่อมน่ั ของแบบทดสอบท้งั ฉบบั n คอื จานวนขอ้ ของแบบทดสอบ p คือ สัดส่วนของผเู้ รียนที่ทาขอ้ สอบขอ้ น้นั ถกู กบั ผเู้ รียนท้งั หมด q คือ สัดส่วนของผเู้ รียนท่ีทาขอ้ สอบขอ้ น้นั ผิดกบั ผเู้ รียนท้งั หมด S2t คอื ความแปรปรวนของคะแนนสอบท้งั ฉบบั N คอื จานวนผเู้ รียน นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ
105 จากสูตรสามารถอธิบายวิธีการคานวณหาค่าความเช่ือมนั่ ได้ โดยใชข้ อ้ มูลท่ีแสดงตามตาราง ดงั น้ี ข้อท่ี 1 2 3 4 5 คะแนนรวม X2 ผ้เู รียน (X) 1 11111 5 25 2 11111 5 25 3 11111 5 25 4 00011 2 4 5 10010 2 4 6 00010 1 1 รวม 4 3 3 6 4 X =20 ������������ = 84 p 0.67 0.50 0.50 1.00 0.67 X = 3.33 q 0.33 0.50 0.50 0.00 0.33 pq 0.22 0.25 0.25 0.00 0.22 pq =0.94 จากขอ้ มูลท่ีคานวณไดใ้ นตาราง เม่ือนาไปคานวณหาคา่ ความแปรปรวน และค่า ความเช่ือมน่ั จะไดค้ า่ ดงั น้ี S2t = N X2N−2( X)2 S2t 6(84)− (20x20) = (6x6) และ S2t = 2.89 rt= n n 1 1 − S2tpq − 5 0.94 rt = 5 − 1 1 − 2.89 rt = 1.25x0.67 rt = 0.84 นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพเิ ศษ
106 จากค่าท่ีไดค้ ือ 0.84 หมายถึง แบบทดสอบชุดน้ีมีความเชื่อมน่ั สูง เนื่องจากคา่ ความเช่ือมนั่ ที่ คานวณไดม้ ีค่าเขา้ ใกล้ 1 แสดงวา่ มีความเชื่อมนั่ สูงมาก ท้งั น้ีแบบทดสอบท่ีมีค่า ความเช่ือมนั่ มีค่าระหวา่ ง 0.6 ถึง 1.0 1.2 KR–21 เป็นสูตรในการหาค่าความเช่ือมนั่ ท่ีเหมาะสาหรับแบบทดสอบท่ีมีความยากง่าย ของขอ้ สอบแตล่ ะขอ้ มีค่าใกลเ้ คยี งกนั สูตรท่ีใชใ้ นการคานวณมีรูปแบบดงั น้ี rt= n − X(n − X) − ns2t n 1 1 เมื่อ rt คือ สมั ประสิทธ์ิของความเช่ือมน่ั ของแบบทดสอบท้งั ฉบบั n คือ จานวนขอ้ ของแบบทดสอบ X คือ ค่าเฉลี่ยของคะแนน S2t คือ ความแปรปรวนของคะแนนสอบท้งั ฉบบั N คือ จานวนผเู้ รียน จากขอ้ มูลตวั อยา่ งตามตาราง นามาคานวณโดยใชส้ ูตร KR–21 ไดด้ งั น้ี rt= n − X(n − X) − ns2t n 1 1 rt = 5 − 3.33(5 − 3.33) −1 1 5 5(2.89) = 0.77 จากคา่ ที่ไดค้ ือ 0.77 แสดงวา่ แบบทดสอบชุดน้ีมีความเชื่อมนั่ ค่อนขา้ งสูงเนื่องจากคา่ ท่ี คานวณไดม้ ีค่าเขา้ ใกล้ 1.0 ท้งั น้ีแบบทดสอบที่มีความเช่ือมนั่ มีค่าอยรู่ ะหวา่ ง 0.6 ถึง 1.0 นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ
107 2. วิธีการหาสัมประสิทธ์ิแอลฟา สมั ประสิทธ์ิแอลฟา ( - Coefficient) หรือสมั ประสิทธ์ิความเชื่อมน่ั ของแบบทดสอบ เป็นคา่ ความเช่ือมน่ั ท่ีคานวณหาไดจ้ ากสูตรครอนบราช (Cronbach) การหาคา่ ความเช่ือมนั่ ของแบบทดสอบ โดยแบบทดสอบคา่ คะแนนที่ไดอ้ าจจะเป็นค่าอะไรก็ไดท้ ี่มีค่ามากกวา่ 1 สูตรที่ใชใ้ นการคานวณมีดงั น้ี s2tsi2 = n n 1 1 − − เมื่อ คือ ค่าสมั ประสิทธ์ิความเชื่อมนั่ ของแบบทดสอบ n คอื จานวนขอ้ ของแบบทดสอบ S2i คือ ความแปรปรวนของแบบทดสอบรายขอ้ S2t คือ ความแปรปรวนของแบบทดสอบท้งั ฉบบั ตวั อยา่ งวิธีการคานวณหาค่าความเชื่อมน่ั ของแบบทดสอบ โดยวธิ ีการหาสัมประสิทธ์ิ แอลฟา อธิบายไดโ้ ดยใชข้ อ้ มูลที่แสดงในตาราง ดงั น้ี ข้อที่ 1 2 3 4 5 คะแนนรวม (X) X2 ผู้เรียน 1 7 10 9 10 8 44 1936 2 88 8 8 8 401 1600 3 9 10 9 7 9 44 1936 4 78 7 6 7 35 1225 5 87 6 7 6 34 1156 6 66 6 8 7 33 1089 รวม 45 49 45 46 45 X = 230 ������������= 8,942 7.11 ( X)2 2,025 2,401 2,025 2,116 2,025 ( X2 ) 343 413 347 362 343 S2i 0.92 2.14 1.58 1.55 0.92 ขอ้ มลู ในตาราง เป็นคะแนนสอบอตั นยั จานวน 5 ขอ้ แต่ละขอ้ คะแนนเตม็ 10 เม่ือ คานวณคา่ ต่าง ๆ แลว้ สามารถนามาคานวณหาค่าความแปรปรวนแบบทดสอบท้งั ฉบบั และสมั ประสิทธิ แอลฟา ไดด้ งั น้ี นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ
108 S2t = N X2N−2( X)2 S2t = (6 8942 ) − (230 230) (6 6) S2t = 20.89 และ s2ts2i = n n 1 1 − − = 5 1 − 7.11 − 5 1 20.89 = 0.82 จากคา่ สมั ประสิทธ์ิแอลฟาที่คานวณไดม้ ีค่า 0.82 แสดงวา่ แบบทดสอบชุดน้ีมีค่าความเช่ือมน่ั สูง เนื่องจากค่าที่คานวณไดม้ ีคา่ เขา้ ใกล้ 1 นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพเิ ศษ
109 ใบงานที่ 14 เร่ือง การหาค่าความเชื่อมัน่ ของแบบทดสอบ ****************************************** คาชี้แจง ใหผ้ เู้ ขา้ รับการอบรมการหาคา่ ความเช่ือมนั่ ของแบบทดสอบโดยใชว้ ธิ ีของคเู ดอร์ - ริชาร์ดสนั (Kuder – Richardson : KR) ข้อที่ 1 2 3 4 5 คะแนนรวม X2 ผู้เรียน (X) 1 1 1 1 1 0 ……. ……. 2 1 1 0 1 1 …… …… 3 1 1 1 1 1 ……. ……. 4 0 0 0 0 0 …… …… 5 1 1 1 0 1 ……. ……. 6 1 1 1 0 1 …… …… 7 1 1 0 0 0 ……. ……. 8 1 0 0 0 0 …… …… 9 1 1 1 1 1 ……. ……. 10 1 1 1 1 1 …… …… รวม ….. ….. ….. ….. ….. X =…….. ������2 = ….. p ….. ….. ….. ….. ….. X = …….. q ….. ….. ….. ….. ….. pq ….. ….. ….. ….. ….. pq =……. จากขอ้ มลู ที่คานวณไดใ้ นตาราง เม่ือนาไปคานวณหาค่าความแปรปรวน และคา่ ความเชื่อมนั่ จะไดค้ ่าดงั น้ี หาค่าเฉลี่ย ( X ) X X = N X =…………………. X =…………………. นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพเิ ศษ
110 หาค่าความแปรปรวน S2t = NX2N−2(X)2 S2t = ……………………………………………….. S2t = ……………………………………………….. หาคา่ ความเชื่อมน่ั (KR-20) rt= n n 1 1 − S2tpq − rt = ………………………………………………… rt = ………………………………………………… rt = ………………………………………………… หาค่าความเชื่อมนั่ (KR-21) rt= n − X(n − X) − ns2t n 1 1 rt = ………………………………………………… rt = ………………………………………………… rt = ………………………………………………… นายวชั ระ จนั ทรัตน์ ศึกษานิเทศกช์ านาญการพเิ ศษ
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: