Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการพัฒนานวัตกรรม (โปรแกรม ปร. 4 5 6)

รายงานผลการพัฒนานวัตกรรม (โปรแกรม ปร. 4 5 6)

Published by Aisara Deemak, 2021-07-13 09:57:06

Description: รายงานผลการพัฒนานวัตกรรม (โปรแกรม ปร. 4 5 6)

Search

Read the Text Version

รายงานผลการพัฒนานวัตกรรม สาหรบั สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษา และสถานศกึ ษาการจดั ทาคาขอจัดตั้งงบประมาณ งบลงทนุ คา่ ครภุ ณั ฑ์ และทดี่ นิ ส่งิ กอ่ สร้าง (ปร.4 , ปร.5 และ ปร.6) LPG 3 กลุม่ นโยบายและแผน สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

ก คำนำ รายงานผลการพัฒนานวัตกรรมสำหรับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา การจดั ทำคำขอจดั ตัง้ งบประมาณ งบลงทนุ คา่ ครภุ ัณฑ์ และ ที่ดนิ ส่งิ ก่อสรา้ ง (ปร.4 ,ปร.5 และ ปร.6) เล่มนี้ ได้จัดทำขึ้นเพื่อใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั ทำคำขอต้ังงบประมาณ งบลงทุนค่าครุภัณฑ์ และ ที่ดินสิ่งกอ่ สร้าง ทีถ่ ูกตอ้ ง โดยกลุม่ นโยบายและแผน สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ไดพ้ ัฒนาโดย การออกแบบโปรแกรมจัดทำแบบประมาณราคา (ปร.4, ปร.5 และ ปร.6) ค่า factor F เพื่ออำนวยความ สะดวกในการจัดทำ ง่ายต่อการจดั ทำ และมคี วามถูกตอ้ งแม่นยำตรงตามที่กรมบญั ชกี ลางกำหนด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุก ท่านที่ได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ทำให้รายงานผลการพัฒนานวัตกรรมสำหรับสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาและสถานศึกษาการจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณ งบลงทุนค่าครุภัณฑ์ และ ที่ดินสิ่งก่อสร้าง (ปร.4 ,ปร.5 และ ปร.6) เสร็จสมบูรณ์ และหวังเป็นอย่างย่งิ ว่ารายงานผลการพัฒนานวัตกรรมเล่มนี้ คงเป็น ประโยชนเ์ กี่ยวกบั การบรหิ ารงบประมาณ และจดั การศกึ ษาในโอกาสต่อไป กลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต ๓ 13 กรกฎาคม ๒๕๖๔ 3

สารบัญ ข 1. ชอ่ื โครงการ หน้า 2. ช่ือนวตั กรรม 1 3. หน่วยงาน 1 4. ผู้รบั ผิดชอบ 1 5. ท่ีมาของปัญหา ความตอ้ งการ 1 6. กระบวนการพฒั นาผลงานนวัตกรรม 1 7. แนวคดิ และทฤษฎี 5 8 - แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกบั การพัฒนา 28 - แนวคดิ ทฤษฎเี กีย่ วกับประสิทธิภาพการทํางาน 30 - งานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวของกบั การปฏบิ ัติงาน 32 - กรอบแนวคดิ ท่ีใช้ในการศกึ ษา 33 8. ขน้ั ตอนการดำเนินงานพัฒนา 33 - การศกึ ษาและวิเคราะหส์ ภาพปัญหา 34 - การใชน้ วตั กรรม 34 - ขัน้ ดำเนนิ การใชน้ วตั กรรม 34 9. ผลงานทีเ่ กิดขนึ้ จากการดำเนินงาน 36 10. สรปุ ส่ิงทเี่ รยี นรู้และการปรับปรงุ ใหด้ ขี น้ึ 37 11. การขยายผลและเผยแพร่ผลการพัฒนา 38 12. ผลการเผยแพร่นวตั กรรม 39 - สรปุ ผลการดำเนินการข้อเสนอแนะ 40 13. ข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง 45 บรรณานุกรม 46 ภาคผนวก 48 - แบบสอบถามแสดงความคดิ เหน็ 49 - คู่มือโปรแกรมการจัดทำขอจดั ตงั้ งบประมาณ (ปร.4 ,ปร.5 และ ปร.6) 53 3

แบบรายงานผลการพัฒนานวัตกรรมสำหรับสำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาและสถานศึกษา การจัดทำคำขอจดั ต้ังงบประมาณ งบลงทุนค่าครภุ ัณฑ์ และ ทด่ี ินส่งิ กอ่ สร้าง (ปร. 4 , ปร.5 และ ปร.6) ของ สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา และ สถานศึกษา ในสงั กัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุม่ นโยบายและแผน สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 .................................................................... 1. ชอื่ โครงการ การจดั ทำคำขอจัดตงั้ งบประมาณ งบลงทุนค่าครภุ ัณฑ์ และ ท่ดี นิ สงิ่ ก่อสรา้ ง (ปร. 4 , ปร.5 และ ปร.6) 2. ช่อื นวัตกรรม โปรแกรมการจัดทำ คำขอจัดต้งั งบประมาณ งบลงทนุ ค่าครุภณั ฑ์ และ ทด่ี นิ สิง่ ก่อสร้าง (ปร. 4 , ปร.5 และ ปร.6) 3. หนว่ ยงาน กลุม่ นโยบายและแผน สังกดั สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 3 หมายเลขโทรศัพท์ 062-2615 616 E-mail address : [email protected] และ Webzine www.lpg3.go.th 4. ผู้รับผิดชอบ นายธีรศกั ดิ์ สืบสตุ นิ ตำแหน่งผู้อำนวยการกลุม่ นโยบายและแผน สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลำปาง เขต 3 นายพลภทั ร นวลนิม่ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ นางแสดงดาว ต่อสู้ นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผนชำนาญการ นางสาวมัณฑณา ปานพิมพ์ เจ้าพนกั งานธรุ การปฏิบตั ิการ 5. ท่มี าของปญั หา ความตอ้ งการ การจัดทํางบประมาณในแบบปัจจบุ นั ได้เริ่มมีขึน้ เปน็ คร้ังแรกในประเทศอังกฤษ ประมาณ ครสิ ตศตวรรษที่ 16-17 ซึง่ เปน็ สมัยทส่ี ภาผู้แทนราษฎรไดป้ ระสบความสาํ เรจ็ ในการสงวนอำนาจที่ จะอนุมัติ รายได้และรายจ่ายของรัฐบาล ซึ่งจะเห็นได้ว่าการจัดทํางบประมาณในแบบปัจจุบันมีความสัมพันธ์กับ วิวัฒนาการการปกครอง ต่อมาได้มีการนําแบบอย่างมาจัดทํางบประมาณขึ้นในหลายประเทศ สําหรับ ประเทศไทยการจัดทํางบประมาณนั้น รัฐบาลได้เริ่มทําขึ้นก่อนและต่อมาได้ขยายขอบเขตไปถึงองค์การ บรหิ ารส่วนท้องถนิ่ สถานศกึ ษาและหน่วยงานอนื่ ๆ ทง้ั ของรัฐบาลและเอกชน ความหมายของงบประมาณ ความหมายของงบประมาณจะแตกตางกันออกไปตาม กาลเวลาและลักษณะการให ความหมายของนักวิชาการแตละดาน ซึ่งมองงบประมาณแตละดานไม เหมือนกัน เชน นักเศรษฐศาสตรมองงบประมาณในลักษณะของการใชทรัพยากรที่มีอยูจํากัดใหเกิดประโย ชนสูงสุด นักบริหาร จะมองงบประมาณในลักษณะของกระบวนการหรือการบริหารงบประมาณใหเกิด ประสิทธภิ าพสงู สดุ โดยบรรลเุ ปาหมายของแผนงานทีว่ างไว นกั การเมืองจะมองงบประมาณในลักษณะของ การมุงให รัฐสภาใชอํานาจควบคุมการปฏิบัติงานของรัฐบาล ความหมายดั้งเดิม งบประมาณหรือ Budget 3

2 ในความหมายภาษาอังกฤษ แตเดิม หมาย ถึงกระเปาหนังสือใบใหญที่เสนนาบดีคลังใชบรรจุเอกสารตาง ๆ ที่แสดงถึงความตองการของประเทศ และทรัพยากรที่มีอยูในการแถลงตอรัฐสภา ตอมาความหมายของ Budget ก็คอย ๆ เปลี่ยนจากตัว กระเปาเปนเอกสารตาง ๆ ที่บรรจุในกระเปานั้น สรุปความหมายของ งบประมาณ ุ หมายถึง แผนเบ็ดเสร็จ ซึ่งแสดงออกในรูปตัวเงิน แสดงโครงการดําเนินงานทั้งหมดในระยะ หนึ่ง รวมถงึ การกะประมาณการบริหารกิจกรรม โครงการ และคาใชจาย ตลอดจนทรพั ยากรท่ีจําเปนในการ สนับสนนุ การดําเนนิ งานใหบรรลุตามแผนน้ยี อมประกอบดวยการทาํ งาน 3 ขัน้ ตอน คอื (1) การจัดเตรยี ม (2) การอนมุ ตั แิ ละ (3) การบริหาร หลกั การจำแนกประเภทรายจ่าย ตามงบประมาณ รายจายตามงบประมาณจําแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ (1) รายจายของสวนราชการ และรัฐวสิ าหกจิ (2) รายจายงบกลาง รายจายของสวนราชการและรัฐวิสาหกจิ รายจายของสวนราชการและรัฐวสิ าหกิจ หมายถึง รายจายซง่ึ กําหนดไวสาํ หรบั แตละสวนราชการและรฐั วสิ าหกจิ โดยเฉพาะจาํ แนกออกเปน 5 ประเภทงบรายจาย ไดแก - งบบุคลากร - งบดําเนินงาน - งบลงทุน - งบเงนิ อุดหนนุ - งบรายจายอ่ืน งบบุคลากร หมายถึง รายจายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคล ภาครัฐ ไดแก รายจายทจี่ ่ายในลกั ษณะเงินเดือน คาจางประจํา คาจางช่ัวคราว และคาตอบแทนพนักงาน ราชการ รวมถึง รายจายท่กี าํ หนดใหจายจากงบรายจายอน่ื ใดในลักษณะรายจายดังกลาว งบดาํ เนนิ งาน หมายถงึ รายจายทก่ี ำหนดให้จายเพ่ือการบรหิ ารงานประจํา ไดแก รายจาย ทจี่ า่ ย ในลักษณะคาตอบแทน คาใชสอย คาวสั ดุ และคาสาธารณูปโภค รวมถงึ รายจายทกี่ าํ หนดให จายจาก งบรายจายอืน่ ใดในลักษณะรายจายดงั กลาว งบลงทนุ หมายถึง รายจายทกี่ ําหนดใหจายเพ่ือการลงทุน ไดแก รายจายที่ จายในลักษณะ คาครุภัณฑ คาที่ดินและส่ิงกอสราง รวมถึงรายจายที่กำหนดให้จายจากงบรายจาย อื่นใดในลักษณะ รายจายดังกลาว งบเงินอดุ หนุน หมายถึง รายจายทก่ี ำหนดใหจายเป็นคา่ บำรุงหรือเพื่อชวยเหลือสนับสนุน การดำเนินงานของหนวยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญหรือหนวยงานของรัฐ ซึ่งมิใชราชการสวนกลางตาม พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผนดิน หนวยงานในกํากบั ของรัฐ องคการมหาชน รฐั วิสาหกจิ องค กรปกครองสวนทองถ่ิน สภาตาํ บล องคการระหวางประเทศ นิติ บุคคล เอกชน 3

3 หรอื กจิ การ อันเปนสาธารณประโยชน รวมถงึ เงินอดุ หนนุ งบพระมหากษตั รยิ เงินอุดหนนุ การศาสนา และรายจายที่สํานักงบประมาณกาํ หนดให้ใชจายในงบรายจายน้ัน งบรายจายอื่น หมายถึง รายจายท่ีไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจายใด งบรายจายหนึ่ง หรอื รายจ่ายท่ีสาํ นักงบประมาณกาํ หนดใหใชจายในงบรายจายนนั้ การจดั ต้ังงบประมาณงบลงทนุ ของสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา และ สถานศกึ ษา การจัดตั้งงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. .... งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและ สิ่งก่อสร้าง จัดทำขึ้นเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดตั้งงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ..... ให้กับ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมี กระบวนงานที่เน้น เกณฑ์ มาตรฐาน ขั้นตอนการดำเนินงาน และรายละเอียดประกอบเพื่อดำเนินงานให้ เป็นไปในทศิ ทางเดียวกันและสามารถแก้ไขปญั หาและตอบสนองต่อความขาดแคลนจำเป็น ในระดับพื้นที่ได้ อย่างยั่งยืน อย่างไรกต็ ามการจัดต้ังงบประมาณประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ....งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ท่ีดินและ สิ่งก่อสร้าง จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดตั้งและการบริหารงบประมาณ งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและ สิง่ กอ่ สรา้ งของหน่วยงานในสงั กดั แนวทางการขอจดั ตัง้ งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ... งบลงทนุ รายการคา่ ครภุ ณั ฑ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. ... สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กระจายอำนาจ ให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาดำเนินการจัดตั้งงบประมาณ งบลงทุน รายการค่าครุภัณฑ์ให้กับสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา และโรงเรียน เพื่อให้ได้ครุภัณฑ์ที่ตรงตามความต้องการ คุ้มค่าในการใช้งานและ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ตอบสนองการปฏิรูปการเรียนรู้และนโยบาย ของรัฐบาล ในการพัฒนาการเรียนการสอน เป็นกรอบในการเสนอขอตั้งงบประมาณ สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานไดก้ ำหนดกรอบวงเงินงบประมาณ งบลงทุน รายการค่าครุภณั ฑ์สำหรบั สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และโรงเรียนในสังกัด ยกเว้น โรงเรียนในโครงการ โรงเรียนคุณภาพประจำ ตำบล โรงเรียนในโครงการตามพระราชดำริและโรงเรียนเฉลมิ พระเกียรติ 20 กลุ่ม (เนื่องจากได้มีการเสนอ ขอตั้งงบประมาณเป็นโครงการเฉพาะรองรับไว้แล้ว) ซึ่งกำหนดผลผลิตให้สอดคล้องกับ พระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายสำหรับสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษา และโรงเรยี นในสังกัด จำแนกเป็น 3 ผลผลิต ดงั นี้ 1. ผลผลติ ผูจ้ บการศกึ ษากอ่ นประถมศกึ ษา 2. ผลผลติ ผจู้ บการศกึ ษาภาคบงั คับ 3. ผลผลิตผู้จบการศึกษามธั ยมศึกษาตอนปลาย แนวทางการขอจัดตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 งบลงทุน รายการคา่ ที่ดินและสิง่ กอ่ สร้าง กรอบวงเงินการขอจัดต้ังงบประมาณ งบลงทุน รายการค่าที่ดินและสิง่ ก่อสร้าง สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กำหนดกรอบวงเงินการดำเนินงานการขอจัดตั้ง งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รายการค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างให้กับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 3

4 และโรงเรียนในสังกัด ยกเว้น โรงเรียนในโครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล โรงเรียนใน โครงการ ตามพระราชดำริและโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ 20 กลุ่ม และโรงเรียนในโครงการพัฒนารูปแบบการจัด การศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ (เนื่องจากได้มีการเสนอขอจัดตั้งงบประมาณ เป็นโครงการเฉพาะรองรบั ไว้แลว้ ) กรอบวงเงินรวมจำแนก ดังนี้ 1. ค่ำก่อสร้างและปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน อาคารประกอบและสิ่งก่อสร้างอื่น สำหรับ สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา และโรงเรยี นในสังกัด 2. จดั ตง้ั สำหรบั โรงเรยี นประสบภัยธรรมชาติ 3. จัดตั้งงบประมาณสำหรับอาคารเรียน งบผูกพันให้โรงเรียนตามความขาดแคลนและ จำเปน็ โดยพจิ ารณาทีส่ ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน 4. ค่ากอ่ สร้างอาคารเรียน อาคารประกอบ รายการผกู พันเดมิ ในระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ให้แต่งตั้งคณะกรรมกำรพิจารณาขอจัดต้ัง งบประมาณงบลงทุน รายการค่ำที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาเป็นประธาน รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาที่รับผิดชอบกลุ่มนโยบายและแผน ผู้แทนผบู้ ริหารโรงเรยี นตามขนาดโรงเรียนและหรือผ้แู ทน เครอื ขา่ ยกล่มุ โรงเรียน ในกรณีสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามีโรงเรียนที่ตั้งในพื้นที่ลักษณะพิเศษ (โรงเรียน ในพื้นที่สูงและถิ่นทุรกันดาร และโรงเรียนพื้นที่ เกาะ) ให้มีผู้แทนร่วมด้วย โดยมีผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผนเป็นกรรมกาและเลขาการ ทำหน้าที่ขอ จัดตั้งงบประมาณให้เป็นไปตามแนวทางการขอจัดตั้งงบประมาณ งบลงทุน รายการค่ำที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เพื่อใหเ้ ปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ และดำเนนิ การตามข้นั ตอนท่เี กยี่ วข้อง ตรวจสอบการบันทกึ และยืนยนั ข้อมูล ในระบบจัดเก็บข้อมูลสิ่งก่อสร้าง (B-OBEC) ของโรงเรียน เนื่องจากการขอจัดตั้งงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดให้โปรแกรมจัดเก็บ ข้อมูลสิ่งก่อสร้างB-OBEC)เชื่อมโยงกับเว็บไซต์การขอจัดตั้งงบประมาณhttps://budget65.jobobec.in.th รวมทั้งตรวจสอบพิกัด Latitude และ Longitude ของทุกโรงเรียน ที่ได้นำมาจากระบบ DMC ให้ถูกต้อง และบนั ทึกพิกัด Latitude และ Longitude ของสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาดว้ ย หากไมบ่ ันทึกและยืนยัน ข้อมูลในโปรแกรม B-OBEC และพิกัดจะไม่สารถขอจัดตัง้ งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ... ได้ การขอจัดตั้งงบประมาณประจำปีกรณีงบปีเดียว รายการค่าที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ตาม แบบสิ่งก่อสร้างที่ระบุไว้ รายการค่าก่อสร้างอาคารเรียน อาคารสำนักงานเขตพื้นที่การศึก อาคารประกอบ และสิ่งก่อสร้างอื่น รายการค่าปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน อาคารประกอบและสิ่งก่อสร้างอ่ืน ให้เสนอ ขอจดั ตง้ั งบประมาณโรงเรียนละ 50,000 บาทขึน้ ไป และให้จดั ส่งรายละเอียดประมาณราคา แบบ ปร.4 (ก) ปร.5 (ก) และ ปร.6 พร้อมทั้งรายการปรับปรุงซ่อมแซม และเอกสารที่เกี่ยวข้องทุกรายการ โดยแนบไฟล์ pdf ในเว็บไซต์ https://budget63.jobobec.in.th พร้อมเอกสาร 1 ชุด รายการปรับปรุงซ่อมแซมอาคารสำนักงานเขตพื้นที่กรศึกษา หากมีความจำเป็น จัดตั้งใน รายการนี้ ให้จดั ตงั้ ได้ในวงเงินท่ีกำหนด 3

5 รายการสง่ิ ก่อสรา้ งอื่น ไดแ้ ก่ รั้ว ถนน ลางระบายนำ้ สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาจะต้อง แนบแบบประมาณราคา (ปร4 (ก)ปร5(ก) และปร.6) เปน็ ไฟล์ pdf ลงในเวบ็ ไซต์ https://budget63. jobobec.in.th พรอ้ มสง่ เอกสาร 1 ชุด หมายเหตุ : รายการสิ่งก่อสร้าง และอาคารแบบพิเศษ จะต้องบันทึก ค่า factor F ลงใน เวบ็ ไซต์ https://budget63.jobobec.in.th ทงั้ นี้ ใหส้ ำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาจัดเรยี งลำดบั ความสำคัญ จำเป็น รวมทุกรายการให้อยู่ในบัญชีเดียวกัน โดยเรียงลำดับ ความขาดแคลนจำเป็นจากมากไปหาน้อย กรณีงบประมาณในภาพรวมของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา แต่ละแห่งถูกปรับลด สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะตัดจากลำดับสุดท้ายขึ้นไป (ดังรายละเอียดในคู่มือการจัดต้ัง งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ..... งบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ที่สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน) กำหนดไว้ทกุ ปี จากการดำเนินดังกล่าว ในการจัดทำแบบแบบประมาณราคา (ปร 4(ก) ปร5(ก) และปร.6) คา่ factor F พรอ้ มท้ังรายการปรับปรุงซ่อมแซม และเอกสารท่ีเก่ียวข้อง ทุกรายการ โดยแนบไฟล์ pdf ใน เว็บไซต์ https://budget63.jobobec.in.th ซ่ึงในการขอจัดงบประมาณดังกล่าว จึงเป็นภาระหนัก ที่ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ทั้งในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และในโรงเรียน จะต้องดำเนินการ จัดทำแบบประมาณราคา (ปร 4(ก) ปร5(ก) และ ปร.6) ค่า factor F พร้อมทั้งรายการปรับปรุงซ่อมแซม และเอกสารท่ีเกย่ี วข้อง ทกุ รายการให้ถูกต้องตามที่กรมบญั ชีกลางกำหนด หากมขี อ้ ผดิ พลาดเกิดขึ้นอาจจะ ส่งผลการกระทำผิดทางวินัยโดยประมาท ขาดความระมัดระวัง อันจะส่งผลกระทบต่อการปฏิบัติงานในหน้าท่ี รบั ผดิ ชอบ ความยุ่งยากดำเนินการจัดทำแบบแบบประมาณราคา (ปร 4(ก) ปร5(ก) และ ปร.6) ค่า factor F พร้อมทั้งรายการปรับปรุงซ่อมแซม และเอกสารที่เกี่ยวข้องนั้น ทางกลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ได้เล็งเหน็ และตระหนักถึงความจำเป็นดังกล่าว จึง ไดพ้ ัฒนาโยการออกแบบโปรแกรมการจดั ทำแบบประมาณราคา (ปร 4(ก) ปร5(ก) และ ปร.6) ค่า factor F พรอ้ มทัง้ รายการปรบั ปรุงซอ่ มแซม โดยใช้โปแกรมสำเร็จรูป Ms.Excel เพอื่ อำนวยความสะดวกในการจัดทำ งา่ ยต่อการจัดทำ และมคี วามถกู ต้องแม่นยำตรงตามที่กรมบัญชกี ลางกำหนด ทกุ ประการ 6. กระบวนการพฒั นาผลงานนวัตกรรม การดำเนนิ การจัดทำแบบประมาณราคา (ปร 4(ก) ปร5(ก) และ ปร.6) ค่า factor F พรอ้ ม ทั้งรายการปรับปรุงซ่อมแซม และเอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง ทุกรายการให้ถูกต้องตามที่กรมบัญชกี ลางกำหนดน้นั กลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ได้พัฒนาโดยการออกแบบ โปรแกรมการจัดทำแบบประมาณราคา (ปร 4(ก) ปร5(ก) และ ปร.6) คา่ factor F เพ่อื อำนวยความสะดวก ในการจัดทำ ง่ายต่อการจัดทำ และมีความถูกต้องแม่นยำตรงตามที่กรมบัญชีกลางกำหนด โดยมีขั้นตอน และกระบวนการดำเนินงาน ดงั น้ี 3

6 1. ศึกษาสาระสำคัญ กระบวนการและวิธีการจดั ทำ แบบประมาณราคา (ปร 4(ก) ปร 5(ก) และ ปร.6) และคา่ factor F พรอ้ มทงั้ รายการปรับปรุงซ่อมแซม และเอกสารทเี่ กี่ยวข้อง 2. ออกแบบโปรแกรมแบบประมาณราคา (ปร 4(ก) ปร5(ก) และ ปร.6) ค่า factor F พรอ้ มท้ังรายการปรับปรงุ ซอ่ มแซม และเอกสารที่เกี่ยวข้อง 3. ทดลองใช้ และหาข้องบกพร่อง หรือจุดที่ต้องปรับปรุงแก้ไข ของโปรแกรมแบบ ประมาณราคา ปร. 4(ก) ปร.5(ก) และ ปร.6) ค่า factor F พร้อมทั้ง รายการปรับปรุงซ่อมแซม และ เอกสารทเี่ กย่ี วข้อง 4. รายงานสรุป และขออนุญาต ใช้โปรแกรมแบบประมาณราคา ปร 4(ก) ปร5(ก) และ ปร.6) คา่ factor F พร้อมท้งั รายการปรบั ปรุงซอ่ มแซม และเอกสารท่เี กย่ี วขอ้ ง 3

7 กระบวนการพัฒนาผลงานนวตั กรรม โปรแกรมการจดั ทำแบบแบบประมาณราคา (ปร 4(ก) ปร5(ก) และ ปร.6) และคา่ factor F สพป.ลำปาง เขต 3 มอบหมายภารกจิ งาน กลุ่มนโยบายและแผน งานวเิ คราะห์งบประมาณ คณะทำงานเครอื ข่ายงบประมาณ ศกึ ษาวเิ คราะหก์ ระบวนการของการจัดทำคำขอตั้งงบประมาณ ลงมือออกแบบโปรแกรม วิเคราะห์และทดลองใชโ้ ปรแกรมจัดทำแบบประมาณราคา ปรับปรงุ โปรแกรม (ปร 4(ก) ปร5(ก) และ ปร.6) และคา่ factor F โรงเรียนนำ โปรแกรมจัดทำแบบประมาณราคา (ปร 4(ก) ปร5(ก) และ ปร.6) และคา่ factor F ไปใช้ในการประกอบจดั ตงั้ คำของงบประมาณ กล่มุ นโยบายและแผน และคณะทำงานเครอื ข่ายงบประมาณ รร.ปรบั ปรุงแกไ้ ข ตรวจสอบความถกู ต้อง 3 ส่งขอจัดต้งั งบประมาณไปยงั สพฐ.

8 7. แนวคดิ และทฤษฎี การพัฒนานวัตกรรมเป็นการปรับปรุงแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงให้นวัตกรรมนั้น ๆ ให้มี ประสทิ ธิภาพเชงิ รปู ธรรมมากขน้ึ งบประมาณแผ่นดินของไทย งบประมาณแผ่นดินของไทย หรือ งบประมาณรายจ่ายประจำปีของประเทศไทย คือแผน งบประมาณเพื่อจัดหาทุนแก่การดำเนินการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นสำหรับใช้เป็น หลักในแต่ละปีงบประมาณซึ่งจะเริ่มต้นในวันที่ 1 ตุลาคมของทุกปีไปจนถึงวันที่ 30 กันยายนของปีถัดไป และเพื่อปฏิบัติตามกฎหมายท่ีเก่ยี วข้องท่ีกำหนดให้ตงั้ งบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลังตามท่ีได้จ่าย ไปแล้ว โดยมีสำนักงบประมาณเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบจัดทำและนำเสนอเพื่อพิจารณา เมื่อได้รับอนุมัติ แลว้ จึงตราออกมา เป็น \"พระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ......\" เพือ่ ใช้บงั คบั ต่อไป https://th.wikipedia.org/wiki/ งบลงทนุ งบลงทุน หมายถึง รายจา่ ยท่กี ำหนดใหจ้ ่ายเพ่ือการลงทนุ ไดแ้ ก่ รายจา่ ยที่จ่ายในลักษณะ คา่ ครภุ ัณฑ์ คา่ ทีด่ ินและสิ่งก่อสรา้ ง รวมถงึ รายจา่ ยท่ีกำหนดใหจ้ ่ายจากงบรายจ่ายอื่นใดในลกั ษณะรายจ่าย ดังกล่าว 1. ค่าครุภัณฑ์ หมายถึง รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งของที่มีลักษณะโดยสภาพคงทนถาวร หรอื ตามปกตมิ อี ายกุ ารใชง้ านยืนนาน ไมส่ ิ้นเปลือง หมดไป หรอื เปลี่ยนสภาพไปในระยะเวลาอันสัน้ รวมถึง รายจา่ ยดังต่อไปนี้ (1) รายจา่ ยเพื่อประกอบ ดัดแปลง ต่อเติมหรอื ปรับปรงุ ครุภณั ฑ์ (2) รายจา่ ยเพ่อื จัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือตอ่ ชุดเกนิ กว่า 20,000 บาท (3) รายจา่ ยซอ่ มแซมบำรงุ รกั ษาโครงสร้างของครุภณั ฑ์ขนาดใหญ่ เชน่ เคร่ืองบิน เคร่ืองจักรกลยานพาหนะ เปน็ ต้น ซ่ึงไมร่ วมถงึ คา่ ซอ่ มบำรุงปกติหรือค่าซอ่ มกลาง (4) รายจา่ ยเพอ่ื จ้างที่ปรกึ ษาในการจดั หาหรอื ปรับปรุงครุภัณฑ์ (5) รายจ่ายที่ต้องชำระพร้อมกับค่าครุภัณฑ์ เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี ค่าประกันภัย ค่าตดิ ตง้ั เปน็ ต้น 2. ค่าทด่ี นิ และสงิ่ กอ่ สรา้ ง หมายถึง รายจ่ายเพ่อื ให้ไดม้ าซ่ึงท่ีดินและหรือสงิ่ ก่อสรา้ งรวมถงึ สง่ิ ตา่ ง ๆ ท่ีตดิ ตรึงกบั ทีด่ ินและหรือสง่ิ กอ่ สร้าง ดังต่อไปน้ี (1) รายจา่ ยเพ่ือจัดหาทด่ี นิ สงิ่ กอ่ สรา้ ง (2) รายจา่ ยเพ่อื ปรับปรงุ ที่ดนิ รวมถึงรายจา่ ยเพ่ือดัดแปลง ตอ่ เติมหรอื ปรับปรงุ สิ่งกอ่ สร้าง ซึ่งทำใหท้ ีด่ นิ สิ่งก่อสร้าง มมี ลู คา่ เพม่ิ ข้นึ (3) รายจา่ ยเพอ่ื ตดิ ต้งั ระบบไฟฟ้า หรอื ระบบประปา รวมถงึ อุปกรณต์ ่าง ๆ ซึง่ เปน็ การ 3

9 ตดิ ตัง้ ครั้งแรกในอาคาร ทงั้ ทเ่ี ป็นการดำเนินการพร้อมกันหรอื ภายหลังการก่อสร้างอาคาร รวมถึงการตดิ ตัง้ ครง้ั แรกในสถานท่รี าชการ (4) รายจา่ ยเพ่อื จา้ งออกแบบ จา้ งควบคุมงานทจ่ี ่ายใหแ้ กเ่ อกชนหรือนติ บิ คุ คล (5) รายจา่ ยเพื่อจา้ งที่ปรึกษาเพ่ือการจดั หาหรอื ปรับปรุงทดี่ ินและหรือสง่ิ ก่อสร้าง (6) รายจา่ ยทีเ่ ก่ยี วเนือ่ งกบั ท่ดี ินและหรือส่งิ ก่อสร้าง เช่น คา่ เวนคนื ทดี่ ิน คา่ ชดเชย กรรมสทิ ธทิ์ ่ีดนิ ค่าชดเชยผลอาสนิ เป็นต้น http://www.plan.cmru.ac.th/file_update/new_plan/budget2562/format_budget62.pdf ความหมายของการประมาณราคาคา่ กอ่ สร้าง การประมาณราคาค่ากอ่ สร้างเปน็ กระบวนการหรือวธิ กี ารเพอื่ ให้ได้มาซ่งึ ราคาคา่ ก่อสร้างท่ี ใกล้เคียงกับค่าก่อสร้างที่เป็นจริงมากที่สุด ดังนั้น ประมาณราคาค่าก่อสร้างที่ได้จากการประมาณราคาน้ัน จึงไม่ใช่ราคาค่าก่อสร้างที่แท้จริงหรือถูกต้องตรงกับราคาค่าก่อสร้างจริง แต่เป็นเพียงราคาโดยประมาณซ่ึง ใกลเ้ คยี งกับราคาค่าก่อสร้างจรงิ เท่าน้ัน ท้งั น้ี เนอื่ งจากมปี จั จยั หลายประการเข้ามาเกย่ี วขอ้ งทสี่ ำคัญ ไดแ้ ก่ - ปริมาณวัสดทุ ่ปี ระมาณการโดยเผ่ือการเสยี หายไวแ้ ลว้ นน้ั ไม่ตรงกับทีใ่ ชใ้ นการก่อสรา้ งจริง - ราคาวสั ดุกอ่ สร้างท่ีใชป้ ระมาณราคา ไม่ตรงกบั ทจ่ี ดั หาเม่ือทำการก่อสรา้ งจริง - ค่าแรงงานทใ่ี ช้ประมาณราคา ไม่ตรงกับท่ีวา่ จ้างเมื่อทำการก่อสรา้ งจรงิ - ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานก่อสร้างต่างๆ ตามที่ได้ประมาณการไว้นั้นไม่ตรงกับค่าใช้จ่ายที่ เกดิ ขึ้นจรงิ - เทคนคิ และการบริหารจดั การของผู้ดำเนนิ การก่อสร้างสามารถลดต้นทนุ และค่าใช้จ่ายใน การกอ่ สรา้ งลงได้ การประมาณราคาค่าก่อสร้างหรือในบางกรณีเรียกว่าการประเมินราคาค่าก่อสร้าง นั้น เปน็ เร่อื งท่ีเกย่ี วข้องกับการคำนวณหาปริมาณงานวัสดุ หรือเนอื้ งาน คา่ วสั ดุ คา่ แรงงาน และค่าใช้จา่ ยในการ ดำเนินการกอ่ สรา้ ง ซ่ึงประกอบดว้ ย ค่าดำเนนิ การ กำไร ภาษี และอ่ืนๆ ดงั น้นั ราคาค่าก่อสรา้ ง จงึ หมายถึง วงเงินรวมยอดของค่าวัสดุ ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับงานก่อสร้างนั้นทั้งหมดแนวทางการ ประมาณราคาค่าก่อสร้างในงานก่อสร้างอาคารและสิ่งปลูกสร้างโดยทั่วไปในการประมาณราคาค่าก่อสร้าง อาคารและส่งิ ปลูกสร้างโดยทวั่ ไปน้นั มวี ิธปี ระมาณการประมาณราคา สรุปได้ 2 วธิ ี ดังนี้ 1. การประมาณราคาโดยละเอียดเป็นการประมาณราคาในรายละเอียด เพื่อใช้เป็นราคา ปานกลางหรือราคากลางในการจัดหาผู้ทำการก่อสร้าง กระทำโดยการกำหนดรายการก่อสร้าง รวมท้ัง ปริมาณงานและวัสดุก่อสร้าง แล้วนำไปคำนวณ รวมกับค่าวัสดุ ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกี่ยวกับ กิจกรรมก่อสร้าง จากนั้น จึงรวมยอดเป็นค่าก่อสร้าง อาคารและสิ่งปลูกสร้างทั้งหมด ผลที่ได้จากการ ประมาณราคาโดยละเอียดนี้ จะได้ราคาที่ใกล้เคียงกับค่าก่อสร้างจริงมากที่สดุ ทั้งนี้ การประมาณราคาโดย ละเอียดดงั กลา่ ว สามารถดำเนินการได้ 2 แนวทาง ดังนี้ 3

10 1.1 ประมาณราคาจากปริมาณงาน วสั ดุ และแรงงาน เปน็ วิธีประมาณราคาโดยการถอด แบบก่อสร้าง เพื่อกำหนดรายการก่อสร้าง และคำนวณปริมาณงานวัสดุ และแรงงานออกมาเป็นหน่วยๆ สำหรับแต่ละกลุ่มงาน/งาน แล้วคูณด้วยราคาวัสดุต่อหน่วย ค่าวัสดุมวลรวมต่อหน่วย และหรือค่าแรงงาน ต่อหน่วย ได้เปน็ ยอดรวมค่าวสั ดุและค่าแรงงานท้ังหมด แล้วนำไปคำนวณรวมกับค่าอำนวยการ ค่าดอกเบี้ย คา่ กำไร และคา่ ภาษี รวมท้ังคา่ ใชจ้ า่ ยอนื่ ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง ไดเ้ ปน็ ประมาณราคาคา่ ก่อสร้างทง้ั หมด 1.2 ประมาณราคาจากปริมาณวัสดุก่อสร้างทั้งหมด เป็นวิธีประมาณราคาโดยการถอด แบบก่อสร้าง เพื่อกำหนดรายการก่อสร้าง และคำนวณปริมาณวัสดุก่อสร้างออกมาตามชนิดของวัสดุ แล้วคูณด้วยราคาต่อหน่วยของวัสดุแต่ละชนิด แล้วรวมยอดเป็นราคาค่าวัสดุทั้งหมด ส่วนค่าแรงงาน ให้กำหนดเป็น ร้อยละ (%) ของค่าวัสดุทั้งหมด (ไม่สามารถกำหนดค่าแรงงานต่อหน่วยได้ ต้องกำหนด คา่ แรงงานเป็นรอ้ ยละ (%) ของคา่ วสั ดทุ ัง้ หมด) จากนนั้ จึงรวมเป็นค่าวัสดุและคา่ แรงงานท้งั หมด แล้วนำไป คำนวณรวมกับค่าอำนวยการ ค่าดอกเบี้ย ค่ากำไร และค่าภาษี (ค่า Factor F) รวมทั้งค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่เกยี่ วข้อง ได้เปน็ ประมาณราคาคา่ กอ่ สรา้ งท้งั หมด 2. การประมาณราคาโดยสังเขปปกติจะใช้สำหรับผู้ออกแบบ สถาปนิก วิศวกร หรือนาย ช่างโยธา โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือให้รูว้ า่ แบบก่อสร้างนัน้ จะสามารถก่อสร้างได้ตามวงเงินงบประมาณท่ีมีอยู่ หรือไม่ หรือใช้สำหรับตรวจสอบการประมาณราคาโดยละเอียดที่ได้ประมาณราคาไปแล้ว ว่ามีข้อผิดพลาด หรอื ไม่ โดยสามารถทำได้ 2 วธิ ีการ ดงั น้ี 2.1 ประมาณราคาจากปรมิ าตร เปน็ วิธีประมาณราคาโดยคำนวณหาปริมาตรของอาคาร ทั้งหมดแล้วคูณด้วยราคาค่าก่อสร้างต่อหน่วยของปริมาตร ซึ่งได้มาจากผลของการประมาณราคาโดย ละเอียดของงานก่อสร้างประเภทเดียวกันที่ได้เคยประมาณการไว้แล้ววิธีนี้นิยมใช้กับอาคารโล่ง ที่มี รายละเอียดซง่ึ เป็นส่วนประกอบของอาคารไม่มากนัก เช่น อาคารโรงงาน ถังเกบ็ น้ำ เปน็ ต้น 2.2 ประมาณราคาจากพื้นที่หรือเนื้อที่ เป็นวิธีประมาณราคาโดยคำนวณหาปริมาณ พืน้ ที่หรอื เนอื้ ที่ใช้สอยทัง้ ของอาคาร แล้วคณู ด้วยราคาค่าก่อสร้างต่อหนว่ ยของพื้นที่หรือเนื้อที่ซ่ึงได้มาจาก ผลของการประมาณราคาโดยละเอียดของงานก่อสรา้ งประเภทเดียวกนั ท่ไี ดเ้ คยทำการประมาณราคาไวแ้ ลว้ หลักเกณฑก์ ารคำนวณราคากลางงานก่อสรา้ งอาคารหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงาน กอ่ สรา้ งอาคาร ประกอบดว้ ยส่วนสำคญั รวม 5 สว่ น 1. สว่ นของการคำนวณค่างานต้นทุน (Direct Cost) เป็นหลกั และวิธกี ารในการคำนวณค่า งานตน้ ทนุ หรือราคาทุนของงานก่อสรา้ งอาคาร ประกอบด้วย 1.1 หลักเกณฑก์ ารถอดแบบคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคารโดยท่วั ไปควรจะมี หลกั เกณฑก์ ารคำนวณปริมาณงานเกณฑ์การเผ่อื หลกั เกณฑ์การคำนวณปริมาณวัสดุมวลรวม หลกั เกณฑ์ การคำนวณค่าวัสดุมวลรวมตอ่ หน่วย รวมทั้งหลักเกณฑ์ ขอ้ มูล และรายละเอยี ดทีเ่ กีย่ วข้องอนื่ ๆ 1.2 รายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคาร ประกอบด้วยราคา และแหล่งวสั ดุก่อสร้าง และอัตราคา่ แรงงาน 3

11 2. ส่วนของค่าใช้จ่ายในการดำเนินการก่อสร้าง (Indirect Cost) เป็นส่วนหนึ่งของ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานก่อสร้าง ซึ่งประกอบด้วย ค่าอำนวยการ ดอกเบี้ย กำไร และค่าภาษี และเพื่อให้ เกิดความสะดวกต่อการนำไปใช้ในทางปฏิบัติ และลดปัญหาข้อผิดพลาดในการคำนวณ จึงได้คำนวณรวม และจัดทำไว้ในรูปของตารางสำเร็จรูป เรียกว่า ตาราง Factor F ที่สามารถนำค่า Factor F จากตาราง Factor F ไปใช้ในงานไดท้ ันทตี ามหลกั เกณฑ์การใช้ตาราง Factor F ท่ีกำหนด 3. หลักเกณฑ์การคำนวณค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องมี เป็นหลักเกณฑ์และวิธีการในการคำนวณค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องมี ในงานกอ่ สร้างอาคาร 4. หลักเกณฑ์การสรุปค่าก่อสร้างเป็นราคากลางและการจัดทำรายงาน เป็นหลักเกณฑ์ และวิธีการในการนำค่างานต้นทุน ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานก่อสร้าง (ค่า Factor F) และค่าใช้จ่ายพิเศษ ตามข้อกำหนดและคา่ ใชจ้ า่ ยอื่นทีจ่ ำเปน็ ต้องมี มารวมกนั เปน็ ราคากลางงานก่อสร้างอาคารทั้งโครงการ และ รวมไปถึงการจดั ทำรายงานการคำนวณราคากลางงานกอ่ สร้างอาคาร 5. แนวทางและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง เป็น ข้อบงั คับแนวทาง และวธิ ปี ฏิบัตเิ พ่อื สนบั สนนุ ใหม้ ีการนำหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างไปใช้ ปฏิบัตไิ ดอ้ ย่างถูกตอ้ งและมีประสิทธภิ าพ ความหมายและขอบเขตของงานก่อสรา้ งอาคาร หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคาร ได้กำหนดความหมายและขอบเขต ของงาน ที่อยู่ในกลุ่มของงานก่อสร้างอาคารไว้เพื่อประกอบการพิจารณาเลือกใช้หลักเกณฑ์ฯ ให้ถูกต้อง โดย โครงการ/งาน ก่อสร้างใดที่มีลักษณะ รูปแบบ โครงสร้าง วัตถุประสงค์ และหรือมีรายละเอียดและ เทคนิควิธีการก่อสร้างอยู่ในกลุ่มงานก่อสร้างอาคาร ให้ใช้หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง อาคาร ความหมายและขอบเขตของงานก่อสร้างที่อยู่ในกลุ่มงานก่อสร้างอาคาร กำหนดไว้ดังต่อไปนี้ งานก่อสร้างอาคาร หมายถึง งานก่อสร้างใหม่ งานปรับปรุง งานซ่อมแซม งานรื้อถอน และหรืองานต่อเตมิ อาคาร บ้าน เรือน โรง ร้าน แพ เรือหรือ พาหนะสำหรับขนส่งข้ามฟาก ท่าเทียบเรือ ตึกแถว ร้านค้า โรงเรือน โรงเรียน โรงพยาบาล โรงงาน โรงภาพยนตร์ ศูนย์การค้า คลังสินค้า อาคารสำนักงาน อาคาร ที่ทำการอาคารชุดพักอาศัย ศาลาที่พัก วัด พระอุโบสถ หอระฆัง กุฏิพระ มัสยิด สุเหร่า อนุสาวรีย์ หอสูง หอประชุมหอ้ งสมุด ตลาด อู่เรือ คานเรือ ท่าน้ำ ท่าจอดเรือ สถานีนำร่อง สถานขี นส่งฯ หรอื สิง่ ก่อสร้างอื่นท่ี มลี กั ษณะรปู แบบ และหรือโครงสร้างคล้ายกบั ส่งิ ก่อสร้างดังกล่าวซึ่งบุคคลอาจเขา้ อยู่ และหรือเข้าไปใช้สอย ได้ และให้ หมายความรวมถึง งานก่อสร้างใหม่ งานปรับปรุง งานซ่อมแซม งานรื้อถอน และ/หรืองาน ต่อเตมิ สงิ่ กอ่ สรา้ งดงั ต่อไปน้ดี ว้ ย (1) อัฒจันทร์หรือสิ่งก่อสร้างอย่างอื่นที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้เป็นที่เล่นกีฬาและหรือออก กำลงั กาย เชน่ สนามกฬี า สนามฟตุ บอล ลกู่ ฬี า สนามเทนนสิ สนามบาสเกตบอล สนามแบดมินตนั สระว่ายน้ำ เป็นตน้ 3

12 (2) ป้ายและหรอื สง่ิ ทส่ี ร้างข้นึ สำหรับติดหรือตั้ง เพอ่ื การประชาสัมพันธ์หรือเพ่ือการโฆษณา (3) ถนน ทางเทา้ พื้นที่ หรือสงิ่ ทีส่ รา้ งขน้ึ เพื่อใช้เป็นทีจ่ อดรถ ท่ีกลับรถ พื้นลานคอนกรีต และหรือทางเข้าออกของรถ ภายในบริเวณซึ่งเป็นส่วนประกอบหรือเกี่ยวเนื่องและหรืออยู่ภายในบริเวณ อาคาร ชมุ ชนทพี่ กั อาศัย หรอื สวนสาธารณะ (4) รางระบายน้ำ ท่อระบายน้ำ บ่อพัก บอ่ บำบัดนำ้ เสยี บ่อเกรอะบ่อซึม บ่อเกบ็ น้ำ หรือ ถังพกั นำ้ งานระบบประปา งานปักเสาพาดสาย ระบบไฟฟา้ แสงสว่าง ภายในบริเวณอาคาร ชมุ ชนทีพ่ ักอาศัย หรือสวนสาธารณะ (5) สระน้ำ น้ำพุ เขื่อนกันดิน สะพานขา้ มคู/คลอง ทางเดิน ทางปลูกต้นไม้ งานประตมิ ากรรม งานปลกู หญ้า และหรืองานจัดสวน ภายในบรเิ วณอาคาร ชุมชนทพ่ี ักอาศัย หรอื สวนสาธารณะ (6) เสาธง รว้ั กำแพง ประตรู ้วั และปอ้ มยาม (7) งานตกแต่งภายในและหรืองานก่อสร้างอื่นใด ซึ่งเป็นส่วนประกอบหรือเกี่ยวเนื่อง และหรอื อยภู่ ายในบริเวณอาคาร ชมุ ชนท่พี ักอาศัย หรือสวนสาธารณะ (8) งานระบบปรับอากาศ ระบายอากาศ งานระบบลิฟต์และบันไดเลื่อน งานระบบ เครอ่ื งกลและระบบพิเศษอื่นๆ ทีเ่ ปน็ ส่วนประกอบและติดตง้ั อยู่กับตวั อาคาร (Build in) หรือส่ิงก่อสร้างอ่ืน ในกลุ่มงานก่อสร้างอาคาร รายละเอียด ข้อมูล และเอกสาร ที่จำเป็นสำหรับการคำนวณราคากลางงาน ก่อสร้างอาคารในการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคาร ผู้ที่มีหน้าที่คำนวณราคากลางต้องคำนวณให้ ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด โดยควรมีรายละเอียด ข้อมูล และเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพ่ือ ประกอบการคำนวณ สรปุ ได้ดงั น้ี 1. แบบรูปรายการก่อสร้าง (แบบก่อสร้างหรือแบบแปลน) รายละเอียดประกอบแบบฯ ขอ้ มูลและเอกสารท่ีเกยี่ วขอ้ งกับโครงการ/งานก่อสรา้ งและแบบรูปรายการก่อสรา้ งนน้ั 2. รายละเอียดการถอดแบบก่อสร้างและประมาณการราคาเบื้องต้นของผู้ออกแบบ (ในขัน้ ตอนการกอ่ สร้างแบบก่อสรา้ ง) 3. เงื่อนไขและข้อกำหนดในการจ้างก่อสร้าง ที่สำคัญ ได้แก่ อัตราเงินประกันผลงานหัก และอัตราเงนิ ล่วงหนา้ จา่ ย ทต่ี ้องกำหนดในสัญญาจา้ งกอ่ สร้าง 4. หลักเกณฑ์การคำนวณ ข้อมูล และรายละเอียดประกอบการคำนวณราคากลางงาน กอ่ สรา้ ง อาคารท่ี เป็นปัจจบุ นั ณ วันท่ีคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคารน้ัน เชน่ หลกั เกณฑก์ ารคำนวณ ตามราง Factor Fราคาและแหล่งวัสดุก่อสร้าง บัญชีค่าแรงงาน/ดำเนินการ สำหรับการถอดแบบคำนวณ ราคากลางงานก่อสร้าง และตารางคำนวณค่าวัสดุมวลรวมต่อหนว่ ย เปน็ ต้น 5. รายละเอียดเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดฯ และข้อกำหนดอื่นๆ ที่ต้อง พจิ ารณาคำนวณหรอื ที่ต้องสืบคน้ ข้อมูลหรอื ดำเนนิ การเป็นกรณีพิเศษ 6. แบบฟอร์มที่จำเป็นต้องใช้สำหรับการถอดแบบ และจัดทำรายงานการคำนวณราคา กลางงานกอ่ สร้างอาคาร 3

13 แบบฟอร์มสำหรับการคำนวณราคากลางงานกอ่ สร้างอาคาร ในการคำนวณราคากลางตามหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคารนั้น ได้ กำหนด แบบฟอร์มเพื่อผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางได้นำไปใช้ในการถอดแบบก่อสร้าง คำนวณ และจัดทำ รายงานการคำนวณราคากลาง รวม 6 แบบฟอรม์ ดงั น้ี 1. แบบฟอรม์ ประกอบการถอดแบบก่อสร้างเป็นแบบฟอร์มท่ีกำหนดขึ้น เพอ่ื อำนวยความ สะดวกสำหรับผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางได้ใช้ประกอบการถอดแบบก่อสร้างในงานก่อสร้างอาคาร ซึ่งผู้มี หน้าที่คำนวณราคากลางอาจใช้หรือไมใ่ ช้ก็ไดโ้ ดยให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้มีหน้าท่ีคำนวณราคากลาง แต่หาก ได้มีการจัดทำให้แนบไว้เป็นรายละเอียดประกอบ ในการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคารนั้นด้วย ประกอบด้วยแบบฟอรม์ ดังน้ี 1.1 แบบ ปร.1 : แบบฟอร์มการถอดแบบสำรวจรายการ ปริมาณงาน และวัสดุก่อสร้าง ทั่วไปเป็นแบบฟอร์มสำหรับใช้ประกอบการถอดแบบก่อสร้าง เพื่อสำรวจและกำหนดรายการปริมาณงาน และวัสดุก่อสร้างทั่วไป ที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานคอนกรีต งานไม้แบบ งานไม้ค้ำยัน งานเหล็กเสริมคอนกรีต และงานไม้ หรืออาจใช้เป็นแบบฟอร์มสำหรับประมาณการราคาค่าก่อสร้างของงานต่างๆ เพื่อหาราคา ตอ่ หนว่ ย เช่น งานทำประตหู นา้ ตา่ ง งานเดนิ ท่อระบบ เปน็ ต้น 1.2 แบบ ปร.2 : แบบฟอร์มการถอดแบบสำรวจรายการและปริมาณงานคอนกรีตไม้ แบบ ไม้ค้ำยัน และเหล็กเสริมคอนกรีตเป็นแบบฟอร์มสำหรบั ใชป้ ระกอบการถอดแบบก่อสร้าง เพื่อสำรวจ และกำหนดรายการและปริมาณงาน เฉพาะในส่วนของงานคอนกรีต งานไม้แบบ งานไม้ค้ำยัน และงาน เหลก็ เสริมคอนกรตี 1.3 แบบ ปร.3 : แบบฟอร์มการถอดแบบสำรวจรายการและปริมาณงานไม้เป็น แบบฟอร์มสำหรับใช้ประกอบการถอดแบบก่อสร้าง เพื่อสำรวจและกำหนดรายการและปริมาณงาน เฉพาะ ในสว่ นของงานไม้ 2. แบบฟอร์มรายงานการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคารเป็นแบบฟอร์มรายงาน การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคาร ซึ่งผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลาง ต้องใช้ในการคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างอาคาร ส่วนจะใช้แบบฟอร์มใด จำนวนกี่แบบฟอร์มก็ให้ขึ้นอยู่กับข้อเท็จจริงสำหรับแต่ละ โครงการ/งานก่อสร้าง รวมทั้งแนวทางและวิธีการในการออกแบบและจัดทำรายงานการคำนวณราคากลาง ของผู้มหี นา้ ทีค่ ำนวณราคากลาง ประกอบด้วยแบบฟอร์ม ดังนี้ 2.1 แบบ ปร.4 : แบบแสดงรายการ ปริมาณงาน และราคา (BOQ) เป็นแบบฟอร์ม สำหรับรวบรวมรายการงานก่อสร้าง รวมท้งั ปริมาณงานและคา่ วัสดุ ครุภณั ฑ์ และหรือค่าแรงงานสำหรับแต่ ละรายการงานก่อสร้าง ที่ไมเ่ ก่ียวขอ้ งกบั ค่าใช้จา่ ยพเิ ศษตามข้อกำหนด และค่าใช้จ่ายอ่ืนทจี่ ำเป็นต้องมี โดย ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางอาจแยกรายการงานก่อสร้าง รวมทั้งปริมาณงาน และค่าครุภัณฑ์และหรือ ค่าแรงงานสำหรับแต่ละรายการงานก่อสรา้ ง รวบรวมไวใ้ นแบบ ปร.4 ไดม้ ากกว่า 1 ชดุ ตามการจัดแบง่ กลุ่ม งานท่ผี มู้ หี นา้ ทค่ี ำนวณราคากลางกำหนด โดยใน ปร.4 แตล่ ะชดุ (แต่ละกลุ่มงาน) จะประกอบด้วย รายการ งานก่อสร้าง รวมทั้งปริมาณงานและค่าวัสดุครุภัณฑ์ และหรือค่าแรงงานสำหรับแต่ละรายการงานก่อสร้าง 3

14 สำหรับกลุม่ งานนั้นๆ เช่น ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางอาจแยกรายการงานก่อสรา้ ง รวมทง้ั ปรมิ าณงาน และ ค่าวสั ดุครุภัณฑ์ และหรือค่าแรงงานสำหรับแตล่ ะรายการงานก่อสร้างเปน็ ชุด ปร.4 ของตวั อาคารสำนักงาน ชดุ ปร.4 ของงานผงั บรเิ วณ และชดุ ปร.4 ของครุภัณฑ์จดั ซ้อื เป็นต้น ในการจำแนกหรือแยกรายการงานก่อสร้าง รวมทั้งปริมาณงาน ค่าวัสดุครุภัณฑ์และหรือ ค่าแรงงานสำหรับแต่ละรายการงานก่อสร้าง มารวมเป็นกลุ่มงานต่างๆ กี่กลุ่ม นั้น ผู้มีหน้าที่คำนวณราคา กลางควรพิจารณาตามรายละเอียด โครงสร้าง และข้อเท็จจริงของโครงการ/งานก่อสร้างที่คำนวณราคา กลางน้ัน รวมท้งั วิธีการและแนวทางในการนำรายละเอียดของการคำนวณราคากลางงานก่อสรา้ งดงั กล่าวไป ใช้ประโยชน์ ในเรื่องต่างๆ ต่อไปด้วย โดยให้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจและการพิจารณาของผู้ที่มีหน้าที่คำนวณ ราคากลางงานก่อสร้างอาคารนัน้ เป็นสำคัญ 2.2 แบบ ปร.4 (พ) : แบบแสดงรายการ ปริมาณงาน และราคา สำหรับค่าใชจ้ ่ายพิเศษ ตามข้อกำหนดฯ (BOQ.) เป็นแบบฟอร์มสำหรับรวบรวมรายการงานก่อสร้างที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่ายพิเศษ ตามข้อกำหนดและคา่ ใช้จ่ายอืน่ ที่จำเป็นต้องมีทุกรายการ รวมทั้งผลรวมของค่าใชจ้ ่ายพิเศษตามข้อกำหนด และคา่ ใชจ้ ่ายอน่ื ทจ่ี ำเป็นตอ้ งมแี ต่ละรายการ และทุกรายการ 2.3 แบบแสดงการคำนวณและเหตุผลความจำเป็นสำหรับค่าใช้จ่ายพิเศษ ตาม ข้อกำหนดฯเป็นแบบฟอร์มสำหรับแสดงรายละเอียดการคำนวณและคำชี้แจงเหตุผลความจำเป็นที่ต้องมี ค่าใช้จา่ ยพิเศษตามข้อกำหนดและคา่ ใช้จ่ายอ่นื ทจ่ี ำเป็นต้องมีสำหรับแตล่ ะรายการ 2.4 แบบ ปร.5 (ก) แบบสรุปค่าก่อสร้าง (ค่างานต้นทุน) เป็นแบบฟอร์มสำหรับสรุป ค่าก่อสร้างเฉพาะงาน/กลุ่มงานที่ถอดแบบคำนวณในราคาต้นทุนหรือในราคาทุน โดยใช้เป็นใบปะหน้า แบบ ปร.4 (ก) ที่คำนวณในราคาต้นทุนหรือในราคาทุนแต่ละชุดในการสรุปขนาดหรือเนื้อที่อาคาร และ คา่ เฉลยี่ ตอ่ ตารางเมตร เพอื่ ระบุไว้ในแบบ ปร.5 (ก) นน้ั ใหส้ รปุ หรอื คำนวณตามหลกั เกณฑ์ ดงั น้ี ขนาดพน้ื ทหี่ รือเนื้อที่อาคาร (พนื้ ทใ่ี ช้สอย) = พ้นื ท่ที ่ีอยู่ภายในส่วนของแนวผนงั หรอื ผนงั ก่อโดยรอบ + ½ ของพืน้ ที่ที่มีหลงั คาคลมุ แตไ่ ม่มีแนวผนังหรือผนังก่อโดยรอบ คา่ เฉลยี่ ต่อตารางเมตร = มูลค่างานหรือค่าก่อสร้างรวมตามสรุปท้าย แบบ ปร.5 (ก) หารด้วยขนาดพื้นที่หรือเนื้อที่อาคาร (พ้นื ทีใ่ ช้สอย) 2.5 แบบ ปร.5 (ข) : แบบสรุปค่าครุภัณฑ์จัดซื้อเป็นแบบฟอร์มสำหรับค่าก่อสร้าง เฉพาะงาน/กลุ่มงานทีเ่ ก่ยี วข้องกบั ครภุ ัณฑ์จดั ซือ้ และครภุ ณั ฑ์ อ่นื ๆ ที่ตอ้ งคำนวณในราคาผผู้ ลิตหรือตัวแทน จำหนา่ ย โดยใชเ้ ปน็ ใบปะหน้า แบบ ปร.4 (ข) ของครุภัณฑจ์ ัดซ้ือและครภุ ัณฑ์อ่ืนๆ ทค่ี ำนวณในราคาผู้ผลิต หรือตวั แทนจำหนา่ ย แตล่ ะชุด 2.6 แบบ ปร.6 : แบบสรุปราคากลางงานก่อสรา้ งอาคาร เปน็ แบบฟอรม์ สำหรับรวบรวม ค่าก่อสร้างของทุกส่วน (งาน/กลุ่มงาน) ทั้งในส่วนของค่างาน ต้นทุนครุภัณฑ์จัดซื้อฯ และค่าใช้จ่ายพิเศษ ตามข้อกำหนดฯ มาสรุปรวมไว้ในแบบ ปร.6 นี้ และเมื่อรวมยอดค่า ก่อสร้างของทุกส่วน (งาน/กลุ่มงาน) ก็จะได้ค่าก่อสร้างหรือราคากลางงานก่อสร้างอาคารทั้งโครงการ/งานก่อสร้าง นอกจากแบบฟอร์ม 6 แบบฟอร์ม ดังกล่าวแล้ว ในรายงานการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง อาคาร ผู้มีหน้าที่คำนวณราคา 3

15 กลางจะต้องแนบแบบฟอร์ม ข้อมูล รายละเอียดอื่นๆ ที่ผู้มีหน้าที่คำนวณราคา กลางได้กำหนดและจัดทำ ขึ้นเองตามขอ้ กำหนดตามหลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานกอ่ สร้าง ประกอบไว้กับรายงานการคำนวณ ราคากลางงานก่อสร้างด้วย เช่น แบบฟอร์มและหรือรายละเอียดและคำชี้แจงเกี่ยวกับ การสืบราคาวัสดุ ครภุ ัณฑ์ รายละเอยี ดการคำนวณหาค่า Factor F และแบบ ปร.1 ปร.2 และ ปร.3 (ในกรณีท่ีได้มีการจัดทำ แบบ ปร.1 ปร.2 และ ปร.3 ไวด้ ้วย) เปน็ ต้น แบบฟอร์มที่ใช้ในการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคาร ทั้ง 9 แบบดังกล่าว ปรากฏ ตามแบบฟอร์มในหน้าถัดไปหลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคารการคำนวณราคา กลางงานก่อสร้างอาคารใช้วิธีประมาณราคาโดยละเอียด โดยกำหนดให้ใช้วิธีการถอดแบบคำนวณราคา กลางงานก่อสร้าง ซึ่งมีหลักเกณฑ์ วิธีการ และขั้นตอนเพื่อผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางนำไปใช้เป็น หลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. ถอดแบบก่อสร้างจากแบบก่อสร้างที่จะใช้ก่อสร้าง เพื่อสำรวจและกำหนดรายงานงาน ก่อสร้าง รวมท้งั หน่วยวัด และปริมาณงาน วัสดุ และหรอื แรงงานสำหรบั แต่ละรายการงานกอ่ สร้าง และรวม ไปถึงการปรับจำนวนหรือปริมาณงาน/วัสดุของบางรายการงานก่อสร้างตามที่กำหนดให้สอดคล้องกับการ ก่อสร้างที่เป็นจริงดว้ ยในการถอดแบบก่อสร้าง เพอ่ื สำรวจและกำหนดรายงานงานก่อสร้าง รวมทั้งหน่วยวัด และปริมาณงานวัสดุ และหรือแรงงานสำหรับแตล่ ะรายการงานก่อสร้าง และรวมไปถึงการปรบั จำนวนหรือ ปริมาณงาน/วัสดุของบางรายการงานก่อสร้างให้สอดคล้องกับการก่อสร้างที่เป็นจริงนั้น ในหลักเกณฑ์การ คำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคารน้ีไดก้ ำหนดหลักเกณฑ์ แนวทาง วิธปี ฏบิ ัติ รวมทง้ั ข้อมลู ต่างๆ เพ่ือผู้มี หน้าทค่ี ำนวณราคากลางนำไปใช้ ประกอบดว้ ย (1) บัญชีแสดงรายการกอ่ สรา้ งสำหรบั งานก่อสร้างอาคาร (2) หลกั เกณฑก์ ารคำนวณปริมาณงาน วสั ดุ และแรงงาน (3) มาตรฐานการวดั ปรมิ าณงานในงานกอ่ สรา้ งอาคาร (4) เกณฑก์ ารเผอื่ และการคำนวณปรมิ าณวัสดุมวลรวมตอ่ หน่วย (5) มาตรฐานขนาดและน้ำหนักวสั ดุ (6) หลกั เกณฑก์ ารคำนวณคา่ วัสดมุ วลรวมต่อหนว่ ย (7) แบบฟอรม์ ตา่ งๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ทั้งนี้ในการถอดแบบก่อสร้างดังกล่าว ผู้ถอดแบบก่อสร้างหรือผู้มีหน้าที่คำนวณราคา กลาง ควรแยกรายการงานก่อสรา้ งลงในแบบ ปร.4 ไว้เป็นส่วนๆ เช่น ส่วนของค่างานตน้ ทนุ ซึ่งต้องคำนวณ ในราคาต้นทุนส่วนของครุภัณฑ์จัดซื้อและครุภัณฑ์อื่นๆ ที่ต้องคำนวณในราคาผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่าย และสว่ นของคา่ ใช้จ่ายพเิ ศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นทจ่ี ำเป็นต้องมี เป็นต้น ท้ังนี้ เพือ่ ไม่ให้เกิดความ สบั สนเม่อื ดำเนนิ การในข้ันตอนต่อไป 2. นำรายละเอียดหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคาร ซึ่งประกอบด้วย ค่าวัสดุ ค่าแรงงาน และหรือค่าวัสดุมวลรวมต่อหน่วย มาคำนวณกับจำนวนหรือปริมาณ ของแต่ละรายการงานก่อสรา้ ง ดงั น้ี 3

16 2.1 รายการงานก่อสร้างใดที่เกี่ยวข้องกับค่างานต้นทุน ให้คำนวณค่าวัสดุ ค่าแรงงาน และหรอื ค่าวัสดุมวลรวมต่อหนว่ ย ในราคาทนุ (ไม่รวมค่าอำนวยการ ดอกเบีย้ กำไร และค่าภาษี) 2.2 รายการงานก่อสรา้ งใดทเ่ี กย่ี วข้องกบั ครภุ ัณฑ์จัดซื้อและครุภณั ฑ์อน่ื ๆ ท่ตี ้องคำนวณ ในราคาผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่าย ให้คำนวณค่าวัสดุครุภัณฑ์นั้น ในราคาผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่าย (ไมร่ วมค่าอำนวยการดอกเบย้ี กำไร และค่าภาษี) 2.3 ค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องมี ให้คำนวณ ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในส่วนของการคำนวณค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็น ต้องมี สำหรับงานก่อสร้างอาคารดังนั้นในส่วนนี้ ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางจำเป็นต้องทำความเข้าใจ ในหลักเกณฑ์ ข้อกำหนดรวมทั้งรายละเอียดต่าง ๆ ตามที่หลักเกณฑ์การคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง อาคารกำหนด ดังนี้ (1) ขอ้ กำหนดเกย่ี วกับราคาและแหล่งวสั ดกุ อ่ สร้าง (2) บญั ชคี ่าแรงงาน/ดำเนนิ การสำหรับการถอดแบบคำนวณราคากลางงานก่อสรา้ ง (3) หลกั เกณฑ์และตารางคำนวณค่าวัสดมุ วลรวมตอ่ หนว่ ย (4) หลักเกณฑ์และวิธีการการคำนวณเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและ คา่ ใช้จา่ ยอน่ื ทีจ่ ำเปน็ ตอ้ งมี (5) หลักเกณฑ์และข้อกำหนดเกี่ยวกับการคำนวณค่าครุภัณฑ์จัดซื้อ และครุภัณฑ์ อน่ื ๆ ทตี่ ้องคำนวณในราคาผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่าย 3. จำแนกหรือแยกรายการงานก่อสร้าง ที่ได้คำนวณค่าวัสดุ ค่าแรงงาน และหรือค่างาน แล้วลงในแบบ ปร.4 แต่ละชุด โดยทุกชุดของ แบบ ปร.4 ต้องมี แบบ ปร.5 เป็นใบปะหน้าไว้ทุกชุด ยกเว้น แบบ ปร.4 ของค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องมี (หากผู้มีหน้าที่คำนวณราคา กลางได้ถอดแบบและแยกรายการงานก่อสร้างลงใน แบบ ปร.4 และได้จัดทำใน แบบ ปร.5 เป็นใบปะหน้า แบบ ปร.4แตล่ ะชุดไว้แลว้ กไ็ ม่ต้องดำเนินการในขั้นตอนนี)้ ทั้งนี้ ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางอาจแยกรายการงานก่อสร้างที่ได้จากการถอดแบบ ก่อสร้าง ออกเป็นงานกลุ่มงานต่างๆได้ ตามความเหมาะสมและสอดคล้องตามข้อเท็จจริงสำหรับโครงการ/ งานก่อสร้างนั้น รวมทั้งวัตถุประสงค์ในการน ารายละเอียดของการคำนวณราคากลางไปใช้ประโยชน์ตอ่ ไป โดยแต่ละงาน/กลุ่มงานท่ีแยกนนั้ จะตอ้ งประกอบด้วย แบบ ปร.4 จ านวน 1 ชุดและทุกชุดของ แบบ ปร.4 ต้องมีแบบ ปร.5 เป็นใบปะหน้าไว้ด้วยทุกชุด ยกเว้น แบบ ปร.4 ของค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและ ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็น ต้องมี ไม่ต้องมีแบบปร.5 เป็นใบปะหน้าในการใช้แบบ ปร.4 แบบ ปร.4 (พ) แบบ ปร.5 (ก) และแบบ ปร.5 (ข) มขี ้อกำหนดดังนี้ (1) แบบ ปร.4 ชุดใดที่เกยี่ วข้องกบั ค่างานต้นทุน ใหใ้ ชแ้ บบ ปร.5 (ก) เปน็ ใบปะหน้า (2) แบบ ปร.4 ชุดใดที่เกี่ยวข้องกับครุภัณฑ์จัดซื้อและครุภัณฑ์อื่นๆ ที่ต้องคำนวณใน ราคาผูผ้ ลิตหรอื ตวั แทนจำหน่าย ใหใ้ ช้ แบบ ปร.5(ข) เปน็ ใบปะหน้า 3

17 (3) ในส่วนของคา่ ใช้จา่ ยพเิ ศษตามข้อกำหนดและค่าใชจ้ ่ายอ่ืนทีจ่ ำเป็นต้องมีให้ใช้แบบ ปร.4 (พ) โดยไมต่ ้องมแี บบ ปร.5 เป็นใบปะหนา้ 4. แต่ละชุดของ แบบ ปร. 4 ให้รวมค่าใช้จ่ายรวมของทุกรายการงานก่อสร้าง และนำ ค่าใช้จ่ายรวมของทุกรายการงานก่อสร้างนั้น ไปกำหนดไว้ในแบบ ปร.5 (ก) ช่อง ค่างานต้นทุน หรือแบบ ปร.5 (ข) ชอ่ งคา่ งาน (กรณใี ชแ้ บบ ปร.5 (ข) ซ่งึ เป็นใบปะหนา้ ของแบบ ปร. 4 ชุดนั้น ๆ 5. รวมค่างานตน้ ทนุ ท้ังโครงการ/งานก่อสร้าง (ทุกรายการงานก่อสร้างจากแบบ ปร.4 ทุก ชุดทีค่ ำนวณในราคาต้นทุนหรอื ราคาทนุ หรอื จะรวมคา่ งานตน้ ทนุ ในชอ่ ง ค่างานต้นทนุ จากแบบ ปร. 5 (ก) ทุกใบกไ็ ด้ 6.นำค่างานตน้ ทุนทัง้ โครงการ/งานก่อสร้างไปเทียบหาค่า Factor F จากตาราง Factor F ทีเ่ ก่ียวขอ้ งโดยหากค่างานต้นทุนอยูใ่ นระหว่างช่วงของค่างานต้นทนุ ท่ีกำหนดตามตาราง Factor F ให้เทียบ อัตราส่วนหรือใช้สูตรคำนวณหาค่า Factor F ในการใช้ตาราง Factor F ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์การใช้ ตาราง Factor F แต่ละตาราง 7. ในแบบ ปร.5 (ก) แต่ละใบให้น าค่า Factor F ที่ได้จากตาราง Factor F ไปกำหนดไว้ ในช่อง Factor F และนำผลคูณ ค่างานต้นทุน (ช่อง ค่างานต้นทุน) คูณ ค่า Factor F (ในช่อง Factor F) ไปกำหนดไว้ ในชอ่ งคา่ กอ่ สร้าง ซงึ่ ผลลพั ธ์ในชอ่ ง คา่ ก่อสรา้ ง ก็คือค่าก่อสร้างในส่วนของงาน/กลุม่ งานน้นั ๆ 8. ในแบบ ปร.5 (ข) แต่ละใบ ให้คำนวณค่าภาษีมูลค่าเพิ่มของช่อง ค่างาน ในอัตรา ปัจจุบัน มากำหนดไว้ในช่อง ภาษีมูลค่าเพิ่ม จากนั้น ให้นำผลรวมช่อง ค่างาน และช่อง ภาษีมูลค่าเพิ่ม มา กำหนดไว้ในช่อง ค่าก่อสร้างซึ่งผลลัพธ์ในช่อง ค่าก่อสร้าง ก็คือค่าก่อสร้างในส่วนของครุภัณฑ์จัดซื้อและ ครภุ ัณฑอ์ ่นื ๆ ทตี่ อ้ งคำนวณในราคาผู้ผลิตหรือตวั แทนจำหนา่ ย สำหรบั งาน/กลมุ่ งานน้นั ๆ 9. ในกรณีที่มีค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องมี ให้คำนวณ ค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็น ต้องมีแต่ละรายการ ตามหลักเกณฑ์การคำนวณ ค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องมีสำหรับงานก่อสร้างอาคาร โดยรายการใดท่ี ต้องชำระค่าภาษีมูลค่าเพิ่มก็ใหร้ วมค่าภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ด้วย จากนั้นให้นำค่าใช้จา่ ยรวมของค่าใช้จ่ายพิเศษ ตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องมีแต่ละรายการ มาสรุปไว้ใน แบบ ปร.4 (พ) แล้วรวมยอด ค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จา่ ยอืน่ ทีจ่ ำเปน็ ต้องมีทุกรายการ ไวใ้ นชอ่ ง รวมค่าใช้จ่ายพิเศษตาม ข้อกำหนดฯ ทุกรายการ ซึ่งผลลัพธ์ในช่องรวมค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดฯ ทุกรายการ ก็คือค่าก่อสร้าง ในส่วนของค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องมี สำหรับโครงการ/งานก่อสร้าง อาคาร น้ัน 10. นำค่าก่อสร้างของทุกงาน/กลุ่มงาน ทั้งในส่วนของค่างานต้นทุน ครุภัณฑ์จัดซื้อและ ครุภัณฑ์อื่นๆ ที่ต้องคำนวณในราคาผู้ผลิตหรือตัวแทนจำหน่าย และค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและ ค่าใช้จา่ ยอน่ื ที่จำเป็นต้องมี มาสรปุ ไว้ในแบบ ปร.6 แลว้ รวมยอดค่าก่อสร้างของทุกงาน/กลุ่มงาน ก็จะได้ค่า กอ่ สร้างหรอื ราคากลางท้งั โครงการ/งานกอ่ สร้างอาคารน้ัน 3

18 11. ทบทวนและสรุปรวบรวมแบบฟอร์ม ข้อมูล และรายละเอียดที่ได้ดำเนินการในทุก ขั้นตอนดังกล่าวข้างต้น เป็นเอกสารรายงานการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคารทัง้ นี้ เอกสารรายงาน การคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคาร ควรจะประกอบด้วยแบบฟอร์มและรายละเอียดต่าง ๆ และควรเรยี งลำดบั ดังน้ี (1) แบบ ปร.6 (2) แบบ ปร.5 (ก) และแบบ ปร.4 ในส่วนของงานตน้ ทุน (อาจมมี ากกวา่ 1 ชุด) (3) แบบ ปร.5 (ข) และแบบ ปร.4 ในส่วนของครุภัณฑ์จัดซื้อและครุภัณฑ์อื่น ๆ ที่ คำนวณในราคาผผู้ ลติ หรอื ตัวแทนจำหน่าย (อาจมีมากกวา่ 1 ชดุ ) (4) แบบ ปร.4 (พ) (5) แบบแสดงการคำนวณและเหตุผลและความจำเป็นสำหรับค่าใช้จ่ายพิเศษตาม ขอ้ กำหนดฯ ทกุ รายการท่กี ำหนดไว้ในแบบ ปร.4 (พ) (6) รายละเอียดการหาคา่ factor F (7) แบบบันทึกแสดงเหตุผลและความจำเป็นและหรือรายละเอียดในการสืบและการ กำหนดราคาวัสดกุ ่อสร้าง (8) บันทกึ แสดงเหตุผลและความจำเป็น แบบฟอรม์ ขอ้ กำหนด รายละเอยี ดและหรือ ขอ้ มูลอน่ื ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง 12. นำเอกสารรายงานการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างอาคารท่ีได้ดำเนินการตามข้อ 11 เสนอหวั หน้าสว่ นราชการ/หนว่ ยงานพจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบ https://www.sukhothai1.go.th/ userfiles/warin/files/Plan/bjp2-58.pdf ค่า factor F factor F คือ ค่าตัวเลขซึ่งกำหนดขึ้นตามมติคณะกรรมการควบคุมราคากลาง (ปรับปรุง ล่าสุดเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2546) ใช้คูณราคาต่อหน่วยของต้นทุน (Unit Cost) ออกมาเป็น ราคาค่างาน ของโครงการ factor “F” ประกอบด้วย ค่าอำนวยการ ดอกเบยี้ กำไร และภาษี ประเภทของ factor “F” factor “F” แบ่งออกเปน็ 3 ประเภทงานคอื 1. งานทาง (และงานชลประทาน) 2. งานสะพานและท่อเหล่ยี ม 3. งานอาคาร https://www.bloggang.com/m/viewdiary.php?id=nuuengka&group=4 3

19 ความหมายและส่วนประกอบของ factor F factor F คือค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานก่อสร้าง (Indirect Cost) นอกเหนือจากค่าวัสดุ ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่ายต่างๆในการประกอบ สร้าง ติดตั้ง รื้อถอน ซ่อมแซม งานก่อสร้างให้เป็นไปตามแบบ หมวดของคา่ ใช้จ่ายในการบริหารจดั การดำเนนิ งานก่อสรา้ งทป่ี ระกอบเปน็ ค่า factor F มี 4 หมวด คือ 1. หมวดคา่ อำนวยการกอ่ สร้าง 1.1 หมวดค่าใช้จ่ายในการทำสัญญา เช่น ค่าอากรแสตมป์ติดสัญญา , ค่าธรรมเนียม หนังสือค้ำประกันสัญญา (Performance Bond) , ค่าธรรมเนียมหนังสือค้ำประกันผลงานก่อสร้าง 2 ปี , ค่าเงินสมทบกองทนุ เงินทดแทนและกองทุนประกันสงั คม 1.2 หมวดคา่ ใชจ้ า่ ยเกยี่ วกบั สำนกั งานสนาม ทีพ่ ักเจา้ หน้าท่ี และยานพาหนะ เช่น บ้านพัก เจ้าหน้าที่ ที่จอดเครื่องจักรและโรงซ่อม ค่าเอกสารสิ่งพิมพ์และงานด้านธุรการ ค่ารถควบคุมงาน (รวมพนกั งานขับรถ) คา่ น้ำมนั เช้ือเพลงิ คา่ ซอ่ มบำรุง และค่าเบยี้ ประกันภัยยานพาหนะ 1.3 หมวดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากรและสำนักงาน สำนักงานใหญ่ เช่น ค่าเงินเดือน พนักงานของบริษัทรับเหมาก่อสร้างและค่าใช้จ่ายอื่นๆของสำนักงานใหญ่ รวมถึงค่าน้ำประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ เคร่ืองใช้สำนกั งาน ของสำนกั งานบริษัทรับเหมาก่อสร้าง ตัง้ แตเ่ ริ่มการก่อสร้างจนถึงการก่อสร้าง แล้วเสร็จโดยบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารโครงการและการก่อสร้าง ตามปกติประกอบด้วย ผู้จัดการ วิศวกร ช่างเทคนิค เจ้าหน้าที่ธุรการ เจ้าหน้าที่ประสานงาน ผู้จัดการสนาม ช่างควบคุมงาน รวมถึงคนงาน ทวั่ ไป 1.4 หมวดค่าใช้จ่ายในการบริหารความเสี่ยง คือการประกันภัยในงานก่อสร้าง เช่น ประกันทรัพย์สนิ ประกันชีวิตผ้ทู ่ีเกี่ยวข้อง รอ้ ยละ0.30 ของคา่ งานต้นทนุ 2. หมวดคา่ ดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายกรณีผู้รับเหมากู้เงินจากสถาบันการเงินเพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการเตรียมการ ก่อสรา้ งรวมทั้งจัดหาอปุ กรณต์ า่ งๆที่ใช้ ทำให้เกิดการคดิ ดอกเบยี้ ซึง่ เปน็ ค่าใชจ้ ่ายอีกประเภทหน่งึ ค่าดอกเบี้ยมีความสมั พันธ์กบั อัตราเงินล่วงหน้าจ่ายและอัตราเงินหักเพื่อประกันผลงานซง่ึ กำหนดในงานก่อสร้าง ถ้าอัตราเงินจ่ายล่วงหน้าสูงจะมีผลทำให้เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินเพื่อเป็นทุน หมุนเวยี นลดนอ้ ยลง จะมีผลทำให้ค่าดอกเบ้ียลดลง การคำนวณค่าดอกเบ้ีย จะคำนวณให้สำหรบั ระยะเวลา 3 เดอื นหรือ ¼ ปี เน่อื งจากในการ ดำเนินงานก่อสร้าง ผู้ก่อสร้างจะต้องจัดหาวัสดุอุปกรณ์ต่างๆล่วงหน้า และหลังจากส่งมอบงานแต่ละงวด แล้ว ผูร้ บั จา้ งจะต้องรอขัน้ ตอนการเบกิ จา่ ยค่างานอีกระยะเวลาหนึ่งด้วย 3

20 การคำนวณค่าดอกเบ้ียในตาราง Factor F นน้ั มสี ตู รการคำนวณดังนี้ I = i/12*(r/100+(T+D-1)*a/100-(a*r)/100*(T+1)/2(D-1)) โดย I = ดอกเบี้ยรวมทั้งโครงการ (%) T = ระยะเวลา (เดอื น) D = ช่วงเวลาการรบั เงนิ (เดือน) a = อตั ราเงนิ ลว่ งหน้าจ่าย (%) i = อตั ราดอกเบ้ยี เงนิ กตู้ ่อปี (%) r = อตั ราเงินประกันผลงาน (%) ดอกเบี้ยเงินกู้สำหรับตาราง factor F คืออัตราค่าดอกเบี้ยเฉลี่ยในอัตราขั้นต่ำในการให้กู้ สำหรับลูกค้าชั้น ดี (MLR) ของธนาคารขนาดใหญ่อย่างน้อย3แห่ง ซึ่งกำหนดและประกาศโดย กระทรวงการคลงั (กรมบญั ชีกลาง) กรณีอตั ราดอกเบี้ยเปน็ เศษ ถา้ เศษถึง 0.50 ใหป้ ดั ข้ึน ถ้าไมถ่ งึ 0.50 ให้ ปดั ลง และจะประกาศอัตราดอกเบย้ี ทุกปีงบประมาณ ในเดือนตลุ าคมของทุกปี 3. หมวดค่ากำไร ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการโดยกำหนดให้ใช้อัตรากำไรทางธุรกิจ(Financial Profit) ที่สูง กวา่ อตั ราดอกเบี้ยเงินฝากประจำในอตั รารอ้ ยละ 3.5-5.5%ของค่างาน 4. หมวดค่าภาษี ค่าภาษีที่ผู้รับเหมาต้องจ่ายภาษีมูลค่าเพิ่ม (vat) ในอัตราปัจจุบัน ร้อยละ 7 โดยหัก ณ ที่จ่าย สมการเบื้องต้นของราคากลางค่าก่อสร้างคือ ราคากลางค่าก่อสร้าง = ค่างานต้นทุน (Direct Cost) + ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานก่อสร้าง (Indirect Cost) ในทางการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ของภาครฐั ราคากลางคา่ ก่อสรา้ ง = คา่ งานต้นทนุ (Direct Cost) x factor F เช่น ราคากลางคา่ กอ่ สร้าง = 100,000,000 x1.155 = 115,500,00 บาท factor F ถูกจดั ทำไวใ้ นรูปแบบของตารางสำเรจ็ รูป เรยี กว่า ตาราง factor F เมื่อคำนวณค่าต้นทุนทางตรงแล้ว นำมูลค่างานก่อสร้างไปเทียบกับตาราง factor F เพ่ือ Matchกับคา่ Factor F ท่ีตอ้ งการในตาราง ตาราง factor F ถูกแบ่งตามลักษณะงานก่อสร้าง เช่น ทาง สะพาน ท่อเหลี่ยม , ชลประทาน และแต่ละประเภทงานก่อสรา้ ง จะแบง่ ตาราง ดactor F ยอ่ ยๆ ตามเกณฑอ์ ื่นๆอีก 4 ประการ คอื % เงินล่วงหน้า, % เงินประกันผลงานหกั , ดอกเบีย้ เงนิ กู้ และ ภาษมี ลู คา่ เพ่ิม 3

21 นอกจากนีย้ งั มีการคำนวณ factor F ใน 2 ประเภทคอื กรณไี ม่มคี ่าใชจ้ า่ ยพเิ ศษตาม ข้อกำหนดและกรณมี ีค่าใช้จ่ายพิเศษตามข้อกำหนดและค่าใช้จ่ายอื่นทจ่ี ำเป็นต้องมี http://buildingassetspot.blogspot.com/2016/07/7.html ตัวอยา่ ง ปร 4 3

22 ตัวอยา่ ง ปร 5 3

23 ตัวอยา่ ง ปร 6 3

24 ตวั อยา่ ง factor F 3

25 3

26 3

27 https://ddc.moph.go.th/uploads/ckeditor2/files/Factor_F_y2563.pdf 3

28 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนา จากการศึกษาเอกสาร ตํารา วารสาร และงานวิจัยท่ีเก่ียวของกบั แนวคิดทฤษฎีการพัฒนา ไดมีการทําการศึกษาในเร่ืองของความหมายการพัฒนาบุคลากร องคประกอบของการพัฒนา และเทคนิคใน การพฒั นาบคุ ลากร ความหมายของการพฒั นาบุคลากร จากการศึกษาเอกสาร ตํารา วารสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของพบวามีผูใหความหมายของ การพัฒนาบุคคลากร ไวดงั นี้ เข็มทอง แสวง (2554, น.9) ไดกลาวความหมายของการพฒั นาบคุ ลากรไววา เปนกระบวน การสร้างเสริมสมรรถภาพของบุคลากรใหมีความรู ความสามารถ ทกั ษะความชาํ นาญ มปี ระสบการณในการ ปฏบิ ตั งิ านอยางมปี ระสิทธิภาพ และบรรลเุ ปามายขององคกร ประชุม รอดประเสริฐ (2558, น.132) ไดกลาวความหมายของการพัฒนาบุคลากรไววา เปนกระบวนการที่จะเสริมสรางใหบุคลากรมีความรูความสามารถ ความเขาใจตลอดจนทัศนคติอันจะ เปนผลใหการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การพัฒนาบุคคลอาจจําแนกออกเปน ประเภทใหญ ๆ ได 2 ประเภท คอื การพัฒนาผูใตบังคบั บัญชาและการพฒั นาตนเอง สุรยิ า มนตรีภคั ด์ิ (2555, น.72) ไดกลาวความหมายของการพัฒนาบุคลากรไววา เปนการ ดําเนินการเกี่ยวกับการสงเสริมใหบุคลากรมีความรู ความสามารถ มีทักษะในการทํางานดีขึ้นตลอดจนมี ทัศนคติที่ดีในการทํางาน อันจะเปนผลการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น หรืออีกนัยหนึ่ง การพัฒนา บุคลากรเปนกระบวนการที่จะสงเสริมเปลี่ยนแปลงผูปฏิบัติงานในดานตางๆ เชน ความรูความสามารถ ทักษะอุปนิสยั และวธิ ีการในการทาํ งานอนั จะนาํ ไปสูประสิทธิภาพในการทํางาน สมาน รังสิโยกฤษฎ (2554, น.83) ไดกลาวความหมายของการพัฒนาบุคลากรไวว่าเป็น การดาํ เนินการเกี่ยวกับการสงเสริมใหบุคคลมีความรู ความสามารถ มีทกั ษะในการทํางานทด่ี ีข้ึน ตลอดจนมี ทัศนคติที่ดีในการทํางานอันจะเป นผลใหการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น การพัฒนาบุคคล เปนกระบวนการทจ่ี ะเสรมิ สรางและเปลี่ยนแปลงผูปฏบิ ัติงานในดานตางๆ เชน ความรู ความสามารถ ทกั ษะ อุปนิสัย ทัศนคตทิ ่ีดี และวิธีในการทํางานอันจะนาํ ไปสูประสทิ ธิภาพในการทํางาย จากการศึกษาความหมายของการพัฒนาบุคลากรดงั กลาวขางตนสรปุ ไดวา การดําเนินการ ทีจ่ ะเพิ่มความรู ทกั ษะ ประสบการณ ความชํานาญและความสามารถของบุคคลท่ีไดปฏิบตั ิหนาท่ีอยูภายใน องคกร ใหดีขึ้น เพื่อสรางแนวคิด อุปนิสัยโดยมีการพัฒนาทรัพยากรมนุษยหลายรูปแบบทั้งการพัฒนา ตนเองและพัฒนาองคกร การเลือกวิธีการใดเปนแนวทางในการพัฒนานั้นก็ขึ้นอยูกับความเหมาะสมของ แตละองคกรและกลมุ บุคคล กิ่งแกว ศรีสาลีกุลรัตน (2558, น.8) ไดกลาวองคประกอบของการพัฒนาไววาเปน กระบวนการปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพขององคกร โดยใชการวิจัยเชงิ แกปญหา ซึง่ มีลักษณะเปนกระบวนการแก ปญหาอยางมีระบบเชิงวิทยาศาสตร ซึ่งมีขั้นตอนดังน้ี (1) การวิเคราะหปญหาเบื้องตนขององคกร 3

29 (2) การเก็บรวบรวมขอมูลขององคกร (3) การปอนขอมูลยอนกลับใหแกองคกร (4) สาํ รวจปญหาขององคกร จากขอมูลทไี่ ดรับทง้ั หมด (5) วางแผนปฏิบตั กิ าร และ (6) ลงมือปฏิบตั กิ าร วเิ ชียร วิทยาอดุ ม (2550, น. 9-10) ไดกลาวองคประกอบของการพัฒนาไววาวัตถุประสงค ของการพัฒนามีดังนี้(1) การพัฒนาที่ทันสมัยสามารถตอบสนองความตองการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและ ภายนอกไดทันทวงที(2) เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน โดยการนําเอาเทคนิคและวิธีการใหมมาปรับใช (3) สรางความรับผิดชอบรวมกัน (4) สรางบรรยากาศการทํางานใหเกิดความตื่นตัว มีการแขงขันสราง ผลงานเพื่อองคกรสวนรวม (5) สรางความสัมพันธอันดีในบรรดาผูปฏิบัติงานตามลําดับชั้นของสายบังคับ บัญชาระหวางผูรวมงาน (6) สรางกลไกที่อํานวยความสะดวกในการติดตอสื่อสารระหวางบุคคล และ (7) พัฒนาผูปฏิบัตงิ านทุกระดบั ใหมคี วามรูความสามารถ สมชัย ศรสุทธิยากร (2554, น.34) ไดกลาวองคประกอบของการพัฒนาไววา องคการ ประกอบดวยองคประกอบ หลกั 4 ประการดงั นี้(1) วัตถปุ ระสงคหรือจุดมุงหมายในการกอตั้งองคการข้ึนมา เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติกิจกรรม (2) โครงสรางองคการตองมีการจัดแบงหนวยงานภายในโดยอาศัย หลักการกําหนดอํานาจหนาที่ การแบงงานกันทําตามความชํานาญเฉพาะอยางและการบังคับบัญชา ตามลําดับชั้นอันจะเปนหนทางนําไปสูการรวมมือประสานงานเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค(3) กระบวนการ ปฏบิ ัติงานหมายถงึ แบบอยางหรอื วิธีปฏิบตั กิ จิ กรรมหรืองานที่กาํ หนดข้ึนไวอยางมีแบบแผนเพ่ือใหทุกคนใน องคการใชเปนหลกั ในการปฏิบตั งิ าน และ (4) บุคคล องคการตองประกอบดวยกลุมบุคคลท่เี ปนสมาชกิ โดย กําหนดหนาที่ตามกิจที่ไดรับมอบหมายภายใตโครงสรางที่จัดตามกระบวนการปฏิบัติงานที่กําหนดไวให สําเร็จตามวัตถปุ ระสงค จากการศึกษาองคประกอบของการพัฒนาดังกลาวขางตนสรุปไดวา การพัฒนาเปนการ เพิ่มคุณภาพของงาน และองคกรใหดขี น้ึ ทําใหองคกรสามารถตงั้ เปาหมายในการปฏิบตั ิงานไวสูงเพ่ือใหบรรลุ เปาหมายขององคกรไดเปนอยางดีโดยความรวมมอื ของบุคลากร เทคนิคในการพัฒนาบคุ ลากร จากการศึกษาเอกสาร ตํารา วารสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของพบวามีผูใหความหมายของ เทคนิคการพฒั นาบคุ ลากร ไวดังนี้ รัตนา เมืองแกว (2550, น.32-35) ไดกลาวความหมายของเทคนิคการพัฒนาบุคลากร ไว ดังน้ี มีวิธีดําเนินการโดยใชวิธีการพัฒนาผูใตบังคับบัญชา ตามแนวคิดของ สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน ใน 5 ดาน ดงั นี้ (1) การปฐมนเิ ทศ เปนวิธกี ารอยางหน่ึงในการ พัฒนาบุคลากรในองคการที่เขามาทํางานใหม หรือผูที่รับราชการมานานแลว แตเพิ่งยายสับเปลี่ยน หรอื หมุนเวียนมาปฏบิ ตั ิงานหนาที่ใหม ซง่ึ เปนกิจกรรม อยาง หน่ึงซงึ่ มีวัตถปุ ระสงคสําหรับแนะนําช้ีแจงให ทราบ ความรูทั่วๆ ไป กฎ ระเบียบ สรางความคุนเคยกับผูรวมงานลักษณะโครงสรางขององคการ นโยบาย ของ องคการ เพ่ือใหสมาชิกใหมเขาใจวัตถปุ ระสงค รวมทั้งเรยี นรูสภาพแวดลอมขององคการเพอื่ สรางความ มั่นใจ ในการปฏิบัติงาน และเปนประโยชนในการทํางานตอไป (2) การฝกอบรม เปนกระบวนการที่มี 3

30 ระเบียบแบบ แผนซึ่งมุงหมายที่จะพัฒนาบุคลากรใหมีความรูความชํานาญ เพื่อวัตถุประสงคอยางใด อยางหนึ่งที่สามารถ นํามาใชเพื่อเปลี่ยนแปลงการกระทํา หรือ พฤติกรรมในการปฏิบัติงานของบุคคล (3) การสงเสริมดานวชิ าการ มีวตั ถปุ ระสงคใหบคุ ลากรไดรบั ความรูกวางขวางย่ิงข้ึน และทําไดหลายรูปแบบ เนนในเรื่องของการใหความรู (4) การสงไปศึกษาดูงานเปนการเพ่มิ พูนวุฒขิ องบคุ ลากรใหมีความรูย่ิงขึ้นการ ที่บุคลากรทํางาน อยูที่ใดนานๆ ความรูความสามารถอาจลาสมัยไมทันตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ใหมๆ จึงตองสงบุคลากรไปศึกษาดู งานในหนวยงานที่มีระบบการทํางานที่ดีและทันสมัย และ (5) การ สงเสริมใหมีการศึกษาตอ เปนการพัฒนา บุคลากรอีกวิธีหนึ่งที่จะทําใหบุคลากรมีความรูเพิ่มขึ้น หรืออาจ ไดรับความรูใหมซ่ึงอาจทาํ ไดทัง้ ภายในประเทศ และตางประเทศ สรุ ิยา มนตรภี คั ดิ์ (2555, น.48) ไดกลาวความหมายของเทคนิคการพฒั นาบุคลากร ไวดังนี้ เปนกิจกรรมการพัฒนาบุคลากรที่จัดขึ้นวาเปนการชวยให บุคลากรมีการปฏิบัติงานที่ดีขึ้นและ เพิ่ม ความสามารถตลอดจนความกาวหนาในงานอาชีพซึ่งประกอบดวยกิจกรรมการพัฒนาหลักหลักดังนี้ (1) การ เสนอแนะ (2) การปฐมนเิ ทศ (3) การอบรม (4) การสงศึกษาตอ และ (5) การสอนงาน ดนยั เทียนพฒุ (2554, น.124) ไดกลาวความหมายของเทคนิคการพฒั นาบุคลากร ไวดังนี้ แบง ออกเปน 2 วิธี ดังนี้ (1) การฝกอบรมในขณะปฏิบัติงาน เปนการฝกอบรมความรู ทักษะ และความ สามรถ ในทท่ี ํางานจริง เปนรูปแบบการใหความรูโดยผูบริหารชีแ้ นะ ฝกสอน ใหคาํ แนะนาํ การปฏิบัติงานให แกผูเขารับการฝกอบรมในสถานที่ปฏิบัติงานจริงเนนการใหความรูในลักษณะเรียนรูโดยการกระทําจริง (2) การฝกอบรม นอกสภาพการทํางาน คอื การทผี่ ูเขาอบรมหรือการพัฒนาตองหยุดการทาํ งานปกติของตน เพอ่ื เขารับการฝกอบรมตามหลักสูตรหรือโครงการที่กําหนดข้ึนโดยการเขารบั อบรมในสถานที่ของหนวยงาน หรือถูกส งไป อบรมนอกสถานที่หน วยงาน หรืออบรมอยู ที่บ านกได จากการศึกษาความหมาย ของการพัฒนาบุคลากรดังกลาวขางตนสรุปไดวา เทคนิคการ พัฒนาบุคลากร เปนการพัฒนาบุคลากร วิธีหนึ่งที่จะทําใหบุคลากรมีความรูความสามารถเพิ่มขึ้น และชวยให บุคลากรมีการปฏิบัติงานที่ดีข้ึน ตลอดจนความกาวหนา ในอาชีพ โดยแบงเทคนิคการพัฒนาบุคลากรออกเปน 2 ประเภท คือการฝกอบรม ในขณะปฏิบัติงาน เปนการฝกอบรมความรูทักษะ และความสามารถในที่ทํางาน จริง ไดแก การสอนงาน การประชุมการอบรม การปฐมนิเทศ การสัมมนา การระดมความคิด และ การ ฝกอบรมนอกสภาพการ ทํางาน คือการที่ผูเขาอบรมหรือการพัฒนาตองหยุดทํางานปกติของตน ไดแก การ เรียนรูดวยตนเอง การศึกษาตอ การประชุม การอบรม การประชุมทางไกล แนวคิดทฤษฎเี กยี่ วกบั ประสิทธภิ าพการทาํ งาน จากการศึกษาเอกสาร ตํารา วารสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับ ประสิทธิภาพการทํางาน ผูวิจัยไดมีการทําการศึกษาในเรื่องของ ความหมายของ คําวาประสิทธิภาพ ความหมายของผลการ ปฏิบัติงาน และ ทฤษฎีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ความหมายของคำว่า ประสิทธิภาพ จากการศึกษาเอกสาร ตํารา วารสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของพบวามีผูใหความหมายของ ประสทิ ธภิ าพ ไวดงั นี้ 3

31 อนันท งามสะอาด (2551, น.1) ไดกลาวความหมายของประสิทธิภาพ ไววาเปนกระบวน การดาํ เนินงาน ทีม่ ีลักษณะดังน้ี1. ประหยดั (Economy) ไดแก ประหยดั ตนทุน (Cost) ประหยัดทรัพยากร (Resources) และประหยัดเวลา (Time) 2. เสร็จทันตามกําหนดเวลา (Speed) 3. คุณภาพ (Quality) โดย พิจารณาทั้งกระบวนการตั้งแตปจจัยนําเขา (Input) หรือวัตถุดิบ มีการ คัดสรรอยางดีมีกระบวนการ ดําเนินงาน กระบวนการผลิต (Process) ที่ดีและ มีผลผลิต (Output) ที่ดีดังนั้น การมีประสิทธิภาพจึงตอง พิจารณา กระบวนการดําเนินงานวา ประหยัด รวดเร็ว มีคุณภาพของงานซึ่งเปน กระบวนการดําเนินงาน ทั้งหมด สัญญา สัญญาวิวัฒน (2554, น.114) ไดกลาวความหมายของประสทิ ธภิ าพไววา การวัดผล การทาํ งาน ขององคกรนั้น วาทาํ งานไดปริมาณมากนอยแคไหนคณุ ภาพงานดีมากนอยแคไหน ใชเงินใชเวลา ใชแรงงานไปมากนอยแคไหน เปนผลดีตอผูรับบริการมากนอยแคไหน โดยรวมความมีประสิทธิภาพ จึงหมายถึง การทํางานใหไดปริมาณและคุณภาพมาก องคกรมีความสมัครสมาน สามัคคี มีสันติภาพและ ความสุข รวมกนั เปนผลดตี อสวนรวมและผูรบั บริการ แตใชเวลา แรงงาน และงบประมาณนอย ความหมายของผลการปฏิบัตงิ าน จากการศึกษาเอกสาร ตํารา วารสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของพบวามีผูใหความหมายของ ผลการปฏบิ ัตงิ าน ไวดงั น้ี วัชระ เลิศพงษวรพันธ (2553, น.11) ไดกลาวความหมายของผลการปฏิบัติงานไววา พฤติกรรมของ บุคคลที่ไดรับการประเมินคาจากความรูความสามารถในการปฏิบัติงานเพื่อใหองคกรบรรลุ เปาหมาย พนิตา งามประเสริฐ (2553, น.12) ไดกลาวความหมายของผลการปฏิบัติงานไววา กระบวนการประเมินคาพฤตกิ รรมของบุคคล ผูปฏบิ ัติงานในดานตางๆ บนพืน้ ฐานของความเปนระบบ และ มีมาตรฐานแบบเดียวกนั มเี กณฑการประเมนิ ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ิ ทฤษฎีประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ าน จากการศึกษาเอกสาร ตํารา วารสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับประสิทธิภาพในการ ปฏิบตั ิงานพบวามผี ูใหความหมายของประสิทธภิ าพในการปฏิบตั งิ านไวดงั นี้ สิริวดี ชูเชิด (2556, น.7) ไดกลาวความหมายของประสิทธิภาพในการทํางานไว วา เปน ความสามารถ และทักษะในการกระทําของตนเอง หรือของผู อื่นใหดีขึ้น เจริญขึ้น เพื่อใหบรรลุ เปาหมายของ ตนเอง ผูอน่ื และองคกรเกดิ ความพึงพอใจและสงบสขุ ในที่สุด 3

32 สมใจ ลักษณะ (2554, น.60) ไดกลาวความหมายของประสิทธิภาพในการทํางานไววา การ ทํางานใหเสร็จ โดยสูญเวลาและเสียพลังงานนอยที่สุด ไดแกการทํางานอยางรวดเร็ว และไดงานที่มี คณุ ภาพ บุคลากรท่มี ปี ระสิทธิภาพในการทํางาน เปนบคุ ลากรทีต่ งั้ ใจในการปฏิบัติงานอยางเตม็ ความสามรถ ใชกลวิธี หรือเทคนิคการทํางานที่จะสรางผลงานไดมาก เปนผลงานที่มีคุณภาพเปนที่นาพอใจ โดย ส้ินเปลืองตนทนุ คาใชจาย พลังงาน และเวลานอยที่สุด ธงชัย สนั ติวงษ์ และ ชัยยศ สันตวิ งษ์ (2556, น.14) ไดกลาวความหมายของประสิทธิภาพ ในการทํางานไววา กิจกรรมทาง ดานการบริหารบคุ คลทไ่ี ดเก่ียวของกบั วิธีการ ซง่ึ หนวยงานพยายามกําหนด ใหทราบแน่ชดั วา พนกั งานของตนสามารถปฏบิ ตั งิ านไดมีประสิทธภิ าพมากนอยเพยี งใด งานวิจัยท่เี กย่ี วของกับการปฏบิ ัติงาน วิชัย ทศพรทรงชัย (2549) ไดวิจัยเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการเพิ่มผลการปฏิบัติงานที่มี ประสิทธิภาพศึกษาเฉพาะสาขารังสีวิทยาวินิจฉัย ฝายรังสีวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย เพื่อศึกษาระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและการศึกษาปจจัยตางๆ ที่มีผลตอการเพิ่มผลการ ปฏิบัติงานที่มี ประสิทธิภาพ พบวาระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรอยู ในระดับ ประสิทธิภาพนอยปจจัยที่ เกี่ยวของกับแรงจูงใจในการทํางานไดรับโอกาสในการ ฝกอบรมมีสวนรวมใน กิจกรรมรวมถึงบทบาทหนาท่ี ความรบั ผิดชอบในงานมีความสมั พนั ธกบั ผลการปฏบิ ัตงิ าน มีประสทิ ธิภาพใน ระดบั สูง มีเพียงปจจัยดาน ความรู ความเขาใจในงานเพยี งปจจัยเดียว ทไ่ี มมผี ลตอการเพม่ิ ผลการปฏิบัติงาน ที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพการทํางานในทางบวกมากที่สุด คือ ปจจัยดานงบประมาณรองลงมา คือ ปจจยั แวดลอมทาง การเมอื งและบุคลากรตามลาํ ดบั ณองก แสงแกว (2550) ไดศึกษาเรื่องประสิทธิผลการปฏิบตั ิงานในฝายโยธาสาํ นักงานเขต กรุงเทพมหานคร ตามหลักธรรมาภิบาล ผลการศึกษาพบวา ประสิทธิผลการปฏิบัติงานในฝายโยธา สํานักงานเขตกรุงเทพมหานครในภาพรวมทั้ง 3 ดาน ไดแก ประโยชนสุขของประชาชน อยูในระดับ ปานกลาง มีคา มัชฌิมาเลขคณิต รวม 3.21 ทางดาน ประสิทธิผลและความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ อยูในระดับปานกลาง มี มัชฌิมาเลขคณิต รวม 3.11 และดานการลดขั้นตอนการปฏิบัติงานอยูในระดับ ปานกลาง มีคามัชฌิมาคณิต รวม 3.18 เมื่อทําการทดสอบสมมติฐานพบวา ปจจัยอายุ อาชีพ และระดับ การศึกษา เป นปจจัยตัวแปรที่มี ความแตกตางกันอยางนัยสําคัญทางสถิติ จากผลการวิเคราะห ความแปรปรวนทางเดียว (One Way Anova) ทร่ี ะดบั 0.0 5เมอ่ื เปรียบเทยี บกับประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ในฝายโยธา สํานักงานเขต กรุงเทพมหานครสวน ปจจัยดานสถานภาพการสมรส และ รายไดไมมีความ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 เมื่อ เปรียบเทียบกับประสิทธิผลในการ ปฏิบัติงาน ของฝายโยธา สํานักงานเขตกรุงเทพมหานคร สรุปแนวคิดที่ใช ในการศึกษาวิจัยครั้งน้ี จากการ ทบทวนแนวคิด และทฤษฏีที่กลาวมาขางตน ผูศึกษาไดนํามาใชในการศึกษาโดยการ เชื่อมโยง เรื่อง การพัฒนาคุณภาพบุคลากร เพื่อประสิทธิภาพในการทํางาน การพัฒนาคุณภาพบุคลากร หมายถึง การดําเนินการที่จะเพิ่มความรู ทักษะ ประสบการณ ความชํานาญและความสามารถของบุคคลที่ไดปฏิบัติ 3

33 หนาที่อยูภายในองคกรใหดีขึ้น เพื่อสรางแนวคิด อุปนิสัย โดยมีการพัฒนาทรัพยากรมนุษยหลายรูปแบบ ทั้งการพัฒนาตนเอง และพัฒนาองคกร การเลือกวิธีการใดเปน แนวทางในการพัฒนานั้นก็ขึ้นอยูกับ ความเหมาะสมของแตละองคกรและกลุมบุคคล ประสิทธิภาพการทํางาน หมายถึง เปนความสามารถและ ทักษะในการทํางานของตนเอง และ ของผูอื่นใหดีขึ้น เปนการใชความรูความสามารถที่มีอยูมาใช ในการ คิดคนนวัตกรรมใหมๆ อยางรวดเร็ว เปน กิจกรรมทางฝายบริหารบุคคลที่เกี่ยวของกับวิธีการการ เปรียบเทียบตนทุนกับผลผลิต หรือผลงานที่ทําไดเมื่อ ใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด โดยสูญเวลาและ เสียพลังงานนอยที่สดุ และไดงานท่มี ีคณุ ภาพ กรอบแนวคดิ ทใี่ ช้ในการศึกษา 8. ข้นั ตอนการดำเนินงานพฒั นา กลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ได้กำหนดขั้นตอนการดำเนินการพัฒนานวัตกรรม เรื่อง การจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณงบลงทุน ค่าครภุ ณั ฑ์ และ ที่ดินส่ิงก่อสร้าง (ปร. 4 , ปร.5 และ ปร.6) ของ สำนกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา และ สถานศึกษาในสงั กัด สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน เพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชนก์ ับทางราชการ และความถูกต้องของกระบวนการทำงานท่ดี ีมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล ดงั นี้ 3

34 1. ศกึ ษาและวเิ คราะห์สภาพปัญหา ศึกษาและวิเคราะห์สภาพปัญหามีอยู่ 4 ขั้น ได้แก่ กำหนดนวัตกรรม รูปแบบนวัตกรรม การตรวจสอบคุณภาพนวัตกรรมและการปรับแกน้ วัตกรรมก่อนนำไปใช้ 1.1 กำหนดนวตั กรรม คือ การเตรียมการศกึ ษาขอ้ มูลพนื้ ฐานด้านต่าง ๆ ทีจ่ ะนำมาใช้ สำหรับการพัฒนานวัตกรรม จุดเริ่มการพัฒนานวัตกรรม ข้อมูลเหล่านี้จะได้มาด้วยวิธีการวิจัยในการ กำหนดนวัตกรรม แบง่ ได้เป็น 3 ประการ คอื 1. สงิ่ กำหนดในความถูกต้องของประเภทงบประมาณ 2. สิ่งกำหนดในความถูกตอ้ งของขั้นตอนและกระบวนการงบประมาณ 3. สิ่งกำหนดในความถูกตอ้ งของเอกสารตา่ ง ๆ 1.2 กำหนดรูปแบบนวัตกรรม เมื่อคณะกรรมการพัฒนานวัตกรรมได้ศึกษาข้อมูล พื้นฐานจากสง่ิ กำหนดแล้ว ประการตอ่ มา คอื การตดั สินใจเก่ยี วกับรูปแบบนวตั กรรมขนึ้ ดงั นี้ 1. รูปแบบฝึกทำดว้ ยการคดิ คำนวณด้วยตนเอง 2. รปู แบบการลงมือทำโดยใช้โปรแกรม 1.3 ตรวจสอบคุณภาพนวัตกรรม เมื่อคณะกรรมการศึกษาและวิเคราะห์สภาพปัญหา นวตั กรรมเสร็จเรียบรอ้ ยแล้ว กอ่ นจะนำนวตั กรรมไปใชจ้ ะมกี ารตรวจสอบคุณภาพของนวัตกรรม เพ่ือศึกษา ความเป็นไปไดพ้ รอ้ มทัง้ ปรบั ปรุงแกไ้ ขบางสว่ นก่อนนำไปใชจ้ ริง ดังน้ี 1. ตรวจสอบกระบวนการการนำนวัตกรรมไปใช้ 2. คุณภาพความรู้ ความสามารถของผใู้ ช้นวตั กรรม 3. คณุ ภาพของนวัตกรรม 2. การใชน้ วัตกรรม การใช้นวัตกรรมมีอยู่ 3 ขั้น ได้แก่ การประชุมคณะทำงาน การวางแผนการใช้นวัตกรรม และการดำเนินการใช้นวตั กรรม 2.1 การประชุมคณะทำงาน เมื่อได้ตรวจสอบคุณภาพนวัตกรรมและปรับแก้นวัตกรรม เรียบร้อยก่อนที่จะนำนวัตกรรมไปใช้มีการนำนวัตกรรมเสนอต่อเขตพื้นที่และที่ปรึกษา ตรวจสอบและ ข้อเสนอแนะ ดงั นี้ - นายสมเกยี รติ ปงจนั ตา ผูอ้ ำนวยการสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลำปาง เขต 3 - นายสรุ ินทร์ สว่างอารมณ์ ผ้อู ำนวยการกลุ่มงบประมาณ 3 สำนกั นโยบายและ แผนการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน - นายคำภา หานะกลุ นายช่างโยธาอาวโุ ส สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน - นายสมบตั ิ ขวัญแกว้ นายชา่ งโยธาอาวโุ ส สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน 3

35 2.2 วางแผนการใช้นวัตกรรม การวางแผนการใชน้ วตั กรรม คอื 1. การประชาสมั พนั ธน์ วัตกรรม 2. การเตรยี มงบประมาณ 3. การเตรียมความพร้อมของบคุ ลากรท่ีเก่ยี วข้องกับการใชน้ วตั กรรม 4. การเตรียมนวัตกรรมการ โปรแกรมการจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณงบลงทนุ ค่าครุภัณฑ์ และ ที่ดินสิ่งก่อสร้าง (ปร.4 , ปร.5 และปร.6) ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึกษาในสังกัด สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน 5. วสั ดุ อปุ กรณ์ ทใี่ ชเ้ กีย่ วกับนวตั กรรม 6. ระบบบริหารของงบประมาณของสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาและสถานศึกษา ในสงั กัด สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน 7. การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณงบลงทุนค่า ครภุ ณั ฑ์ และที่ดินสิ่งก่อสร้าง (ปร.4 , ปร.5 และปร.6) ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึกษา ในสงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 8. การประเมนิ ผลและติดตามการใชน้ วตั กรรม 3. ขนั้ ดำเนนิ การใชน้ วตั กรรม 3.1 ขั้นเตรยี มการนวัตกรรม 1) บคุ ลากร กลุ่มนโยบายและแผน เตรียมวัสดุ อปุ กรณ์ 2) ผู้พัฒนานวัตกรรมเตรียมจัดทำสื่อ คู่มือ อุปกรณ์การจัดทำโปรแกรมคำขอ จดั ต้งั งบประมาณงบลงทุนค่าครุภณั ฑ์ และ ทดี่ นิ สิ่งกอ่ สรา้ ง (ปร.4 ,ปร.5 และปร.6) ของ สำนกั งานเขตพ้ืนท่ี การศึกษา และ สถานศกึ ษาในสงั กัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 3) ผู้พัฒนานวัตกรรม เตรียมสูตรการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำโปรแกรมคำ ขอจดั ตง้ั งบประมาณงบลงทุนค่าครภุ ัณฑ์ และ ทด่ี นิ สิง่ กอ่ สร้าง (ปร.4 , ปร.5 และปร.6) ของ สำนักงานเขต พ้นื ทกี่ ารศกึ ษา และ สถานศกึ ษาในสังกัด สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 4) ผพู้ ัฒนานวัตกรรม เตรียมเคร่อื งมือการประเมิน 3.2 ข้ันดำเนนิ การ 1) ดำเนินการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารให้กบั ผูใ้ ชโ้ ปรแกรมตามหลกั สูตรท่ีกำหนด 2) ผ้พู ฒั นานวตั กรรมประเมนิ ผลการ อบรมเชิงปฏิบตั ิการให้กับผู้ใชโ้ ปรแกรมตาม หลกั สูตรทก่ี ำหนด 3) กลุ่มนโยบายและแผนผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลำปาง เขต 3 มกี ารติดตามและตรวจสอบผลการใช้นวตั กรรม 3.3 ประเมินนวตั กรรม 3

36 1) ระเมนิ นวัตกรรม คอื การตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างหลักการ วัตถปุ ระสงค์ การจดั ประสบการณก์ ารการใชโ้ ปรแกรมฯ โดยใชส้ ญั ลักษณ์ในการวเิ คราะหข์ ้อมูลดงั นี้ X แทน ค่าเฉลย่ี เลขคณติ s.d แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน % แทน รอ้ ยละ 2) การวิเคราะห์ข้อมูลมีรายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปนี้ - การวิเคราะหข์ อ้ มูลผลสมั ฤทธิ์ - ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผลสมั ฤทธ์ิ 3) การประเมนิ ความเทยี่ งตรงของนวตั กรรม 4) การประเมินระบบการบริหาร - ความพรอ้ มของบุคลากร - งบประมาณ - วัสดุสือ่ คูม่ อื อุปกรณก์ ารจดั ทำโปรแกรมฯ นวตั กรรม - อาคารสถานท่ี 5) ประเมินผลความพงึ พอใจผู้อบรมการใช้โปรแกรมฯ - แบบสอบถามความพงึ พอใจ 6) ประเมนิ การตดิ ตามผลการนำโปรแกรมไปใช้ 9. ผลงานท่ีเกิดข้ึนจากการดำเนนิ งาน จากการพัฒนานวัตกรรมการ โปรแกรมการจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณงบลงทุนค่าครุภัณฑ์ และที่ดินสิ่งก่อสร้าง (ปร.4 , ปร.5 และ ปร.6) ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึกษาในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งพัฒนาโดยบุคลากรของ กลุ่มนโนบายและแผน สำนักงานเขต พน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ภายใตก้ ารนำทีม ของ นายธรี ศกั ด์ิ สบื สตุ นิ ผูอ้ ำนวยการกลุ่มนโยบาย และแผน พร้อมด้วย นายพลภัทร นวลนิ่ม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ นางแสงดาว ต่อสู้ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ และ นางสาวมัณฑณา ปานพิมพ์ เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติการ โดยมี นายสมเกียรติ ปงจันตา อดีตผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 นายสมบูรณ์ สันชมพู อดีตรองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 นายสมบัติ สิริวงศ์เครือ อดีตรองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 นายไพโรจน์ วิเศษ ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 และ นายอภินันทิชัย แกระหัน รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 เป็นผู้ให้ คำปรึกษาและให้การแนะนำสนับสนุนในการจดั ทำนวัตกรรมการ มาเป็นลำดับ ดงั น้ี 1. ลดขั้นตอนการทำงานของ ครู บุคลากรทางการศึกษา ที่รับผิดชอบงานเกี่ยวกบั การขอ จดั ตงั้ งบประมาณ สามารถสง่ แบบคำขอไดท้ ันเวลาและมีความถูกต้องตามที่กำหนด 3

37 2. งานการจัดต้ังคำของบประมาณ งบลงทนุ คา่ ครุภัณฑ์ และค่าที่ดนิ สิ่งก่อสรา้ งมีผลงานท่ี ถูกต้อง ชัดเจน และตรงตามที่ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง กำหนด และลดความเสี่ยงในการที่ขอ งบประมาณแลว้ ไมไ่ ด้การจดั สรร เนื่องจาก 2.1 แบบฟอร์มไมถ่ กู ตอ้ ง 2.2 รายการที่เสนอจดั ทำคำขอจัดตั้งงบประมาณไมถ่ ูกตอ้ ง 2.3 การคำนวณ รายการ คา่ วสั ดุ ค่างาน ค่าแรง ไมถ่ ูกตอ้ ง 2.4 คำนวณ คา่ factor F ไม่ถูกตอ้ ง 3. ลดปัญหาความเสี่ยงต่อการกระทำผิด ในฐานกระทำที่เข้าข่ายลักษณะ ความผิดทาง ละเมิด หรือทำผิดอนั เนื่องจากการเพิกเฉย จากผลงานที่จะเกิดจากการรกระทำการใดๆ ที่ไม่ถูกต้องและไม่ ตรงตามระเบียบกฎหมายกำหนด เช่น การคำนวณค่าวัสดุ ค่างาน ค่าแรง ไม่ถูกต้อง แบบฟอร์มคำขอผิด และการคำนวณ ค่า factor F ไม่ถูกตอ้ ง รวมจนถงึ การกำหนดราคากลางในการใช้ประกอบการจัดจ้าง และ การใช้ประกอบสัญญาจ้างผิด 10. สรปุ สิ่งทเี่ รยี นร้แู ละการปรับปรงุ ให้ดขี ึน้ จากการดำเนินการพัฒนาโปรแกรมโปรแกรมการจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณงบลงทุน ค่าครุภัณฑ์ และ ที่ดินสิ่งก่อสร้าง (ปร.4 , ปร.5 และปร.6) ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึกษาในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และได้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง มาตั้งแต่ปี งบประมาณ พ.ศ. 2558 มาจนถึงปัจจุบัน คณะผู้พัฒนาโปรแกรมได้พยายามศึกษา ข้อดีข้อเสีย ของการใช้ โปแกรม ฯ และ มกี ารพฒั นาปรบั ปรุงให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง รวมถึงไดร้ ับคำแนะนำ จากผ้ใู ช้และที่ปรึกษา ท้ัง จาก สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกแห่ง และจาก โรงเรียนท่ีเปน็ ผู้ใชโ้ ปรแกรมฯ โดยตรง แล้วน้ัน มีการปรับปรงุ มาเป็นลำดบั ดังนี้ 1. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 มีการเริ่มออกแบบโปรแกรม โดยการออกแบบตารางใน โปรแกรม MS. Excel เฉพาะเอกสารแตล่ ะหน้าใน sheet ตา่ ง ๆ ใหไ้ ดต้ ารางเหมอื นกบั เอกสาร ปร.4 ปร. 5 ปร. 6 และคำนวณหาค่า factor F เอง ให้ได้ตาม ท่กี ำหนดของกรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง 2. ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2559 มีการปรับและออกแบบโปรแกรม โดยการออกแบบตาราง ในโปแกรม MS. Excel ให้มีการลิงค์เอกสารและเชื่อมโยงของเอกสารแต่ละหน้าใน sheet ต่าง ๆ โดยผู้ทำ คำขอกรอกหรือป้อนข้อมูลเพียงครั้งเดียว หรือน้อยครั้งที่สุดให้ได้ตารางเหมือนกับเอกสารที่กำหนดของ กรมบญั ชีกลาง กระทรวงการคลัง และนำงบประประมาณค่างานมาคำนวณ หาคา่ factor F อีกคร้ังหนึ่ง จงึ จะไปกรอกใน ปร.5 และ ปร.6 3. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ถึง 2562 มีการปรับและออกแบบโปรแกรม โดยการ ออกแบบตารางในโปแกรม MS. Excel ให้มีการลิงค์เอกสารและเชื่อมโยงของเอกสารแต่ละหน้า ใน sheet ต่าง ๆ หาค่า ปร.4 ปร. 5 ปร. 6 และคำนวณหาค่า factor F โดยอัตโนมัติ ผู้ทำคำขอกรอกหรือ ป้อนข้อมูลเพียงครงั้ เดียว จะไดเ้ อกสารตามที่กรมบัญชกี ลาง กระทรวงการคลังกำหนดทุกอย่าง 3

38 4. ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นต้นมา มีการปรับและออกแบบโปรแกรม โดยการ ออกแบบตารางในโปแกรม MS. Excel ให้มีการลิงค์เอกสารและเชื่อมโยงของเอกสารแต่ละหน้า ใน sheet ต่าง ๆ หาค่า ปร.4 (ก) ปร. 5 (ก) ปร. 6 และคำนวณหาค่า factor F และเพิ่ม sheet ต่าง ๆ หาคา่ ปร.4 (ข) ปร. 5 (ข) เพราะในรายการปรับปรงุ ซ่อมแซม บางรายการมีครภุ ณั ฑ์ โดยอัตโนมตั ิ ผู้ทำคำ ขอกรอกหรือป้อนข้อมูลเพียงครั้งเดียว จะได้เอกสารตามที่กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลังกำหนดทุก อยา่ งท่ีตอ้ งดำเนินการปรับปรุง ซ่อมแซมไปด้วยพร้อมกัน 11. การขยายผลและเผยแพร่ผลการพฒั นา จากการดำเนินการพฒั นาโปรแกรมฯ กลมุ่ นโนบายและแผน สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา ประถมศึกษาลำปาง เขต 3 โปรแกรมการจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณงบลงทุนค่าครุภัณฑ์ และ ที่ดิน สง่ิ ก่อสร้าง (ปร.4 , ปร.5 และปร.6) ของ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และ สถานศึกษาในสังกัด สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และได้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง มาตั้งแต่ปี งบประมาณ พ.ศ. 2558 มาจนถึงปัจจุบัน คณะผู้พัฒนาโปรแกรมได้ดำเนินการนำผลงานนวัตกรรมที่ได้จัดทำและพัฒนา ไปเผยแพร่ ยังหน่วยงาน องค์กร และสถานศึกษา ต่างๆ เพื่อทดลองใช้โปรแกรมฯ และเสนอแนะผลผลที่ได้รบั จากการ ใช้โปรแกรมฯ อย่างแพรห่ ลาย ดงั น้ี 11.1 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ได้รับการสาธิตการนำโปรแกรมการจัดทำคำขอจัดต้ัง งบประมาณงบลงทุนค่าครุภัณฑ์ และ ที่ดินสิ่งก่อสร้าง (ปร.4 , ปร.5 และปร.6) ของ สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา และ สถานศึกษาในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไปใช้ในสำนักงานฯ จำนวน 225 เขต ในคราวประชมุ ผอู้ ำนวยการกลมุ่ นโยบายและแผนท่วั ประเทศ 1) โรงแรมเวยี งอินทร์ จังหวัด เชยี งราย ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 2) โรงแรมไดมอนดพ์ ลาซา่ จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 3) โรงแรมโฆษะ จงั หวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 4) โรงแรมแกรนดฮ์ ลิ ล์ รีสอร์ท แอนด์สปา จงั หวดั นครนายก ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 11.2 สถานศึกษาในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ไดร้ ับการสาธิตการนำโปรแกรมการจดั ทำคำขอจดั ต้ังงบประมาณงบลงทนุ ค่าครภุ ัณฑ์ และ ท่ีดินส่ิงก่อสร้าง (ปร.4 , ปร.5 และปร.6) ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึกษาในสังกัด สำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ไปใช้ในสถานศกึ ษา 1)โรงเรยี นในสงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ทุกโรงเรียน 2)โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาอน่ื ประมาณร้อยละ 60 ของโรงเรยี นทัง้ หมด 3) มกี ารเผยแพร่ ทางเว็ปไชน์ อย่างแพรห่ ลาย 4) สำนักนโยบายและแผนมีการกำหนดตัวอย่าง การใช้ โปรแกรมฯ ในคู่มือการจัดทำ คำขอต้ังงบประมาณ งบลงทุนค่าครภุ ัณฑ์ และคา่ ที่ดินสง่ิ ก่อสรา้ ง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2560 ถงึ 2565 3

39 12. ผลการเผยแพรน่ วตั กรรม กลุ่มนโนบายและแผน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ผู้พัฒนา นวัตกรรมการโปรแกรมการจัดทำคำขอจดั ตง้ั งบประมาณงบลงทุนค่าครภุ ัณฑ์ และ ทด่ี ินสงิ่ ก่อสรา้ ง (ปร.4 , ปร.5 และปร.6) ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึกษาในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับการชื่นชม และการขอบคุณ จากหน่วยงานต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย เช่น สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึกษาในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทำให้เกิดประโยชน์ต่อการบริหารจัดการด้านงบประมาณ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง งบลงทุนค่าครุภัณฑ์ และ ที่ดินสิ่งก่อสร้าง ของ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึกษาในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พน้ื ฐาน ซึ่งจะผลกระทบทางอ้อมให้เป็นไปในทางที่ดี ต่อการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาอัน เนื่องจาก ครูและบุคลากร มีเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างเต็มที่ ไม่ต้องเสียเวลาในการ ทำงานในการเสนอขอจัดต้ังคำของบประมาณ และทำเอกสารต่าง รวมถึงครูและบคุ ลากร มีขวัญกำลังใจใน การทำงาน อนั เนือ่ งจาก ผลที่ตอ้ งเกดิ จากงานการจดั ตงั้ คำของบประมาณ งบลงทุน คา่ ครุภัณฑ์ และค่าท่ดี ิน สิ่งก่อสรา้ งมีผลงานท่ีถกู ตอ้ ง ชดั เจน และตรงตามท่ี กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลงั กำหนด และลดความ เส่ียงในการท่ีของบประมาณแล้วไม่ได้การจดั สรร เนือ่ งจาก แบบฟอรม์ ไม่ถกู ต้อง รายการทีเ่ สนอจัดทำคำขอ จัดตั้งงบประมาณไม่ถูกต้อง การคำนวณ รายการ ค่าวัสดุ ค่างาน ค่าแรง ไม่ถูกต้อง คำนวณ ค่า factor F ไมถ่ ูกต้อง 3

40 สรุปผลการดำเนนิ การขอ้ เสนอแนะ จากการวเิ คราะหโ์ ดยใชแ้ บบสอบถามฉบบั น้ีเปน็ ส่วนหนึ่งของประเมินระดับความพึงพอใจ โปรแกรมการจัดทำคำขอจัดต้ังงบประมาณงบลงทุนค่าครุภณั ฑ์ และทีด่ ินส่ิงก่อสร้าง (ปร.4 ,ปร.5 และปร.6) ของ สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา และ สถานศึกษาในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน โดยมผี ู้ตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น จำนวน 100 คน รายละเอียดดังตารางต่อไปนี้ ตารางท่ี 1 จำแนกเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม เพศ จำนวน หมายเหตุ ชาย 23 หญิง 77 รวม 100 จากตารางที่ 1 จำแนกเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกได้ คือ จำนวนผู้ตอบ แบบสอบถามทั้งหมด 100 คน แยกเป็นเพศชาย จำนวน 23 คน เพศหญิง จำนวน 77 คน สรุปได้ว่า บคุ ลากรทร่ี บั ผิดชอบงานเก่ยี วกับการจดั ต้ังคำขอจัดตั้งงบประมาณงบลงทุนคา่ ครภุ ัณฑ์ และที่ดินส่ิงก่อสร้าง (ปร.4,ปร.5 และปร.6) ของ สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา และสถานศึกษาในสงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ไปใชใ้ นสถานศึกษา ส่วนใหญจ่ ะเปน็ เพศหญิงมากวา่ เพศชาย ตารางท่ี 2 จำแนกตำแหนง่ ของผู้ตอบแบบสอบถาม ตำแหนง่ จำนวน หมายเหตุ ผ้บู ริหารสถานศึกษา 32 ผบู้ รหิ ารการศกึ ษา 17 ครู / จนท. รร. 28 บุคลากรกลมุ่ นโยบายและแผน 23 100 รวม จากตารางที่ 2 จำแนกตำแหน่งของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนกได้ คือ จำนวนผู้ตอบ แบบสอบถามทั้งหมด 100 คน แยกเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 32 คน ผู้บริหารการศึกษา จำนวน 17 คน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา จำนวน 28 คน บุคลการกลุ่มนโยบายและแผน จำนวน 23 คน สรุปไดว้ า่ บคุ ลากรท่ีตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้ปฏิบตั ิหน้าท่ีในกลุ่มนโยและแผน และสถานศึกษา ซึ่ง ได้ใช้เครื่องมือจากการพัฒนาโปรแกรมการจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณงบลงทุนค่าครุภัณฑ์ และ ที่ดิน สง่ิ ก่อสร้าง (ปร.4 , ปร.5 และปร.6) ของ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และ สถานศกึ ษาในสงั กดั สำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานโดยตรง 3

41 ตารางท่ี 3 จำแนกตามอายขุ องผู้ตอบแบบสอบถาม อายุ จำนวน หมายเหตุ 20-35 ปี 35 36 – 45 ปี 29 มากกวา่ 45 ปี 36 100 รวม จากตารางที่ 3 จำแนกตามอายุของผู้ตอบแบบสอบถาม จำแนได้ คือ จำนวนผู้ตอบ แบบสถามทั้งหมด 100 คน แยกเป็นช่วงอายุ 20-35 ปี จำนวน 35 คน ช่วงอายุ 36-45 ปี จำนวน 29 คน และชว่ งอายมุ ากกว่า 45 ปี จำนวน 36 คน สรปุ ได้วา่ ผตู้ อบแบบสอบถามจะกระจายอยู่ในทุกช่วงอายุ ในระดบั ที่ใกล้เคยี งกัน ตารางที่ 4 จำแนกตามวุฒิการศึกษา การศกึ ษา จำนวน หมายเหตุ มัธยมศกึ ษา/ปวช/ปวส. 0 ปริญญาตรี 80 สงู กว่าปริญญาตรี 16 อื่นๆ 4 100 รวม จากตารางที่ 4 จำแนกตามวุฒิการศึกษา จำแนกได้ คือ จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม ทั้งหมด 100 คน แยกเปน็ ระดับมธั ยมศกึ ษา/ปวช./ปวส. จำนวนน 0 คน ระดับปรญิ ญาตรี จำนวน 80 คน ระดับสงู กวา่ ปรญิ าตรี จำนวน 16 คน และอ่นื ๆ จำนวน 4 คน สรปุ ได้ว่าส่วนใหญอ่ ยใู่ นระดับปริญญาตรี 3

42 ตารางท่ี 5 จำแนกตามประสบการณ์เกยี่ วกับการจัดทำคำขอจดั ตงั้ งบประมาณฯ ประการณเ์ กยี่ วกับงบประมาณ จำนวน หมายเหตุ นอ้ ยกว่า 1 ปี 13 ตัง้ แต่ 1 ปี แต่ไมถ่ ึง 5 ปี 44 ต้ังแต่ 5 ปี แต่ไมถ่ ึง 10 ปี 35 ตง้ั แต่ 10 ปี ขึน้ ไป 8 100 รวม จากตารางที่ 5 จำแนกตามประสบการณ์เกี่ยวกับการจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณฯ จำแนกได้ คือ จำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด จำนวน 100 คน แยกเป็นประสบการณ์น้อยกว่า 1 ปี จำนวน 13 คน ประสบการณ์ ตัง้ แต่ 1 ปี แต่ไม่ถงึ 5 ปี จำนวน 44 คน ประสบการณ์ตั้งแต่ 5 ปี แต่ไม่ถึง 10 ปี จำนวน 35 คน ประสบการณ์ต้ังแต่ 10 ปี ขึ้นไป จำนวน 8 คน สรุปได้ว่าผูต้ อบแบบสอบถามเป็นผู้ มีประสบการณ์เกี่ยวกับการจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณฯ ส่วนใหญ่จะมีประสบการณ์ ตั้งแต่ 1 ปี ถึง 10 ปี รวมเป็นจำนวน 79 คน 3

43 ตารางที่ 6 จำแนกตามการประเมินความคิดเห็นจากผู้ตอบแบบสอบถามซึ่งเป็นแบบมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating scale) ทก่ี ำหนดตัวเลือกมากกว่า 5 ระดบั มตี ัวเลือกก่อนการพัฒนา จำนวน 8 ข้อ ขอ้ ที่ ระดบั คุณภาพ การแปรผล 5432 1. ท่านมคี วามร้แู ละทกั ษะการจดั ทำคำขอ 1 N -X SD แปลผล จดั ตัง้ งบประมาณ งบลงทุนฯ 58 29 12 1 0 100 3.68 0.92 มาก 2. ท่านทราบถงึ ประโยชน์การจดั ทำคำขอ จดั ตงั้ งบประมาณ งบลงทนุ ฯ 63 30 7 0 0 100 3.27 0.96 ปานกลาง 3. ทา่ นทราบถงึ วธิ กี ารจดั ทำคำขอจดั ต้ัง 52 30 18 0 0 100 3.46 0.95 ปานกลาง งบประมาณ งบลงทุนฯ 4. ทา่ นทราบถึงข้อกำหนด ระเบยี บ กฎหมายที่ 10 55 19 16 0 100 3.57 0.87 มาก เกี่ยวข้องจดั ทำคำขอจัดตั้งงบประมาณงบลงทนุ ฯ 5. ท่านทราบถึงทำไมตอ้ งมีการกำหนดค่า factor F 8 46 27 19 0 100 3.42 0.88 ปานกลาง 6. ทา่ นทราบถึงความหายและประโยชน์ของ ปร 4 10 33 41 16 0 100 3.34 0.87 ปานกลาง 7. ทา่ นทราบถงึ ความหายและประโยชน์ของ ปร 5 15 11 45 29 0 100 3.09 0.99 ปานกลาง 8. ท่านทราบถึงความหายและประโยชน์ของ ปร 6 22 47 21 10 0 100 3.78 0.91 มาก จากตารางท่ี 6 จำแนกตามการประเมินความคิดเหน็ จากผู้ตอบแบบสอบถามซึ่งเป็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) ที่กำหนดตัวเลือกมากกว่า 5 ระดับ มีตัวเลือกก่อนการพัฒนา จำนวน 8 ขอ้ จำแนก ได้ คอื จำนวนผูต้ อบแบบสอบถาม จำนวน 100 คน มีค่าเฉลยี่ สูงสุด ขอ้ 8. ท่าน ทราบถึงความหายและประโยชน์ของ ปร 6 (3.78) และต่ำสุด คือ ข้อ 7. ท่านทราบถึงความหายและ ประโยชน์ของ ปร 5 (3.09) มีค่าเบี่ยงแบนมาตรฐานสูงสุด คือ ข้อ 7. ท่านทราบถึงความหายและประโยชน์ ของ ปร 5 (0.99) และค่าเบย่ี งเบนมาตรฐานต่ำสูด คอื ขอ้ 4. ท่านทราบถงึ ข้อกำหนด ระเบยี บ กฎหมายท่ี เกี่ยวข้องจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณ งบลงทุนฯ และ ข้อ 6. ท่านทราบถึงความหายและประโยชน์ของ ปร 4 (0.88) และมีผลการประเมินความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ ข้อ 1.ท่านมีความรู้และทักษะการ จัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณ งบลงทุนฯ ข้อ 4. ท่านทราบถึงข้อกำหนด ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง จดั ทำคำขอจดั ตง้ั งบประมาณ งบลงทนุ ฯ และ ข้อ 8. ทา่ นทราบถึงความหายและประโยชน์ของ ปร 6 มีผล การประเมินความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง คือ ข้อ 2. ท่านทราบถึงประโยชน์การจัดทำคำขอจัดตั้ง งบประมาณ งบลงทุนฯ ข้อ 3. ท่านทราบถึงวิธีการจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณ งบลงทุนฯ ข้อ 5. ท่าน ทราบถึงทำไมต้องมีการกำหนดค่า factor F ข้อ 6. ท่านทราบถึงความหายและประโยชน์ของ ปร 4 และ ข้อ 7. ท่านทราบถงึ ความหายและประโยชน์ของ ปร 5 3

44 ตารางที่ 7 จำแนกตามการประเมินความคิดเห็นจากผู้ตอบแบบสอบถามซึง่ เป็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) ที่กำหนดตัวเลือกมากกว่า 5 ระดับ มีตัวเลือกหลังการพัฒนา จำนวน 10 ขอ้ ข้อที่ ระดบั คุณภาพ การแปรผล 1.ท่านมีความรแู้ ละทักษะการจดั ทำคำขอ 5 4 3 2 1 N -X SD แปลผล จัดตง้ั งบประมาณ งบลงทุนฯ 2. ทา่ นทราบถงึ ประโยชนก์ ารจัดทำคำขอ 5 4 3 2 1 100 4.44 0.74 มาก จดั ต้ังงบประมาณ งบลงทุนฯ 3. ท่านทราบถึงวธิ ีการจัดทำคำขอจัดตั้ง 58 29 12 1 0 100 4.56 0.62 มากท่สี ดุ งบประมาณ งบลงทนุ ฯ 63 30 7 0 0 100 4.34 0.77 มาก 4. ท่านทราบถงึ ข้อกำหนด ระเบียบ กฎหมายท่ี 52 30 18 0 0 100 4.60 0.67 มากทสี่ ดุ เกี่ยวขอ้ งจัดทำคำขอจัดตง้ั งบประมาณ งบลงทุนฯ 5. ทา่ นทราบถงึ ทำไมตอ้ งมีการกำหนดคา่ factor F 70 20 10 0 0 100 4.58 0.65 มากทีส่ ดุ 6. ทา่ นทราบถึงความหายและประโยชน์ของ ปร 4 67 24 9 0 0 100 4.45 0.66 มาก 7. ทา่ นทราบถึงความหายและประโยชน์ของ ปร 5 54 37 9 0 0 100 4.36 0.69 มาก 8. ทา่ นทราบถงึ ความหายและประโยชน์ของ ปร 6 48 40 12 0 0 100 4.66 0.62 มากท่สี ดุ 9. โปรแกรมฯ มีประโยชนต์ ่อทา่ นและหนว่ ยงาน 74 18 8 0 0 100 4.73 0.45 มากที่สดุ 10. โปแกรมฯ อำนวยความสะดวกต่อการ 73 27 0 0 0 100 4.59 0.49 มากทส่ี ุด จดั ทำคำขอจัดตง้ั งบประมาณ งบลงทุนฯ จากตารางที่ 7 จำแนกตามการประเมินความคิดเห็นจากผูต้ อบแบบสอบถามซึ่งเป็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) ที่กำหนดตัวเลือกมากกว่า 5 ระดับ มีตัวเลือกหลังการพัฒนา จำนวน10 ข้อ จำแนก ได้ คอื จำนวนผตู้ อบแบบสอบถาม จำนวน 100 คน มีคา่ เฉล่ียสงู สดุ ข้อ 9. โปรแกรม ฯ มีประโยชน์ต่อท่านและหน่วยงาน (4.73) และต่ำสุด คือ ข้อ 3. ท่านทราบถึงวิธีการจัดทำคำขอจัดตั้ง งบประมาณ งบลงทุนฯ (4.34) มีค่าเบี่ยงแบนมาตรฐานสูงสุด คือ ข้อ 3. ท่านทราบถึงวิธีการจัดทำคำขอ จัดต้ังงบประมาณ งบลงทุนฯ (0.77) และคา่ เบยี่ งเบนมาตรฐานตำ่ สดู คอื ขอ้ 9. โปรแกรมฯ มปี ระโยชน์ต่อ ท่านและหน่วยงาน(0.45) และมีผลการประเมินความคิดเหน็ อยู่ในระดับมากที่สุด คือ ข้อ 2. ท่านทราบถงึ ประโยชน์การจัดทำคำขอจัดต้ังงบประมาณ งบลงทุนฯ ข้อ 4. ท่านทราบถึงข้อกำหนด ระเบียบ กฎหมายที่ เกี่ยวข้องจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณ งบลงทุนฯ ข้อ 5. ท่านทราบถึงทำไมต้องมีการกำหนดค่า factor F ขอ้ 8. ทา่ นทราบถงึ ความหายและประโยชนข์ อง ปร 6 ข้อ 9. โปรแกรมฯ มปี ระโยชน์ต่อท่านและหนว่ ยงาน 3

45 และ ข้อ10. โปแกรมฯ อำนวยความสะดวกต่อการจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณ งบลงทุนฯ มีผลการ ประเมินความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ ข้อ 1.ท่านมีความรู้และทักษะการจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณ งบลงทุนฯ ข้อ 3. ท่านทราบถึงวิธีการจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณ งบลงทุนฯ ข้อ 6. ท่านทราบถึงความ หายและประโยชน์ของ ปร 4 และข้อ 7. ท่านทราบถึงความหายและประโยชน์ของ ปร 5 สรปุ ผล จากการพัฒนาโปรแกรมการจัดทำคำขอจดั ตัง้ งบประมาณงบลงทุนค่าครภุ ัณฑ์ และ ที่ดิน สงิ่ กอ่ สรา้ ง (ปร.4 , ปร.5 และปร.6) ของ สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา และ สถานศึกษาในสังกัด สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน โดยใช้แบบสอบถามแสดงความคดิ เห็น จำนวน 100 คน สรุปได้ว่าก่อน ได้รับการพัฒนานวัตกรรม (โปรแกรมฯ) ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความรู้ความเข้าใจในการจัดทำคำขอต้ัง งบประมาณและประโยชน์ของการขอตั้งงบประมาณท่ีถูกต้องอยใู่ นระดับ มากและปานกลาง ตามลำดบั หลังจากได้รับการพัฒนานวัตกรรม(โปรแกรมฯ) ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความรู้ความเข้าใจ ในการจดั ทำคำขอตง้ั งบประมาณและประโยชน์ของการขอตั้งงบประมาณท่ีถูกต้องอยู่ในระดับมากท่ีสุดและ มาก ตามลำดับ 13. ข้อเสนอแนะและแนวทางการพฒั นาอย่างตอ่ เนอื่ ง กลุ่มนโนบายและแผน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 3 ผู้พัฒนา นวัตกรรมการโปรแกรมการจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณงบลงทนุ ค่าครุภัณฑ์ และที่ดินสิ่งก่อสร้าง (ปร.4 , ปร.5 และปร.6) ของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึกษาในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ดำเนินการสรุปผลการดำเนินการพัฒนานวัตกรรม โดยการเมินความพึงพอใจ และ การสอบถาม ได้รบั ขอ้ เสนอแนะและแนวทางการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ดงั นี้ 13.1 ควรนำเสนอผลงาน เพื่อขอรับรางวัลต่าง ๆ จากหน่วยงานตน้ สงั กดั และหนว่ ยงานท่ี เก่ียวข้อง ซ่งึ จะสง่ ผลถึงการเสริมสรา้ งขวัญกำลงั ใจใหก้ บั ผปู้ ฏิบัติงาน 13.2 ควรปรับปรุงและพัฒนาผลงานที่เป็นนวัตกรรม ต่อไป เนื่องจากเป็นนวัตกรรมที่มี ประโยชน์และส่งผลดตี ่อ หนว่ ยงาน 13.3 ควรนำเสนอผลงาน พัฒนาผลงานที่เป็นนวัตกรรม ประเภทอื่นๆ หรือโปรแกรมฯ ที่ อำนวยความสะดวก ให้กับ ผู้ปฏิบัติงาน เพิ่มจากโปรแกรมการจัดทำคำขอจัดตั้งงบประมาณงบลงทุนค่า ครภุ ัณฑ์ และทด่ี ินสงิ่ ก่อสร้าง (ปร.4 , ปร.5 และปร.6) ของ สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และ สถานศึกษา ในสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน เชน่ 1. โปรแกรมการคำนวณงบประมาณงบอดุ หนุน ของสถานศกึ ษา 2. โปรแกรมการแผนปฏิบัติการและแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระยะ 5 ปี ของ สถานศึกษา 3. โปรแกรมการประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ านของบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามมาตรา 38 ค.(2) 3

46 บรรณานกุ รม กิ่งแก้ว ศรีสาลีกุลรัตน์. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นําการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร กับความเป็น องค์การแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียน สังกัดเมืองพัทยา. งานนิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต (การ บรหิ ารการศกึ ษา). ชลบุร:ี บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยบูรพา. เข็มทอง แสวง. (2554). ความตองการและปัญหาการพัฒนาบคุ ลากรของขา้ ราชการครู สังกัดสํานกั งาน การประถมศกึ ษา อาํ เภอสุวรรณภมู ิ จงั หวัดร้อยเอ็ด. รายงานการศึกษาค้นควา้ อิสระ กศ.ม. มหาสารคาม:มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. ณองก์ แสงแก้ว. (2550). ประสิทธผิ ลการปฏิบัตงิ านในฝา่ ยโยธาสํานักงานเขต กรุงเทพมหานคร ตามหลัก ธรรมาภิบาล. วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญารัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ . สาขารฐั ประศาสน- ศาสตร์, มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั พระนคร. ดนัย เทยี นพฒุ . (2554) การออกแบบและพฒั นาความรู้ในองคก์ รโดยมอื อาชพี เพ่ือมืออาชีพ. กรงุ เทพฯ :นาโกตา้ . ธงชัยสนั ตวิ งษ์และชยั ยศสนั ตวิ งษ.์ (2546). พฤติกรรมบคุ คลในองค์การ.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เจรญิ พัฒน์ ประชมุ รอดประเสรฐิ . (2558). การพัฒนาบคุ ลากร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยบรู พา. พนิตา งามประเสรฐิ . (2553). การบริหารทรัพยากรมนุษย์/งานบุคคล. พิมพคร้ังที่ 3. กรุงเทพฯ: รัตนา เมืองแก้ว. (2550). ความตอ้ งการในการพัฒนาบุคลากรสายสนบั สนุนวชิ าการของคณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์ ชลบรุ :ี ปริญญาโท มหาวทิ ยาลัยบรู พา. วัชระ เลศิ พงษว์ รพนั ธ.์ (2553). ปจั จัยท่ีมอี ทิ ธิพลต่อผลการปฏิบตั งิ านของพนกั งานฝา่ ยบรกิ ารบคุ ลากร 23 ของบริษัทสายการบินแห่งหนึ่ง. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจติ วิทยาอุตสาหกรรม และ องค์การ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. วชิ ัย ทศพรทรงชัย. (2549). โครงการบัณฑติ ศกึ ษาการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์. สถาบันบัณฑติ พัฒน บรหิ ารศาสตร์, กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์สํานกั นายกรฐั มนตรี. วเิ ชยี ร วทิ ยาอุดม. (2550). การพัฒนาองค์การ. กรงุ เทพฯ : บริษัท ธนวัชการพมิ พ์จํากัด. สมใจ ลกั ษณะ. (2554). การพฒั นาประสิทธภิ าพในการทางาน. กรุงเทพฯ: สถาบนั ราชภัฎสวนสุนนั ทา, คณะ วทิ ยาการจัดการ. สมชัย ศรสุทธิยากร. (2554). ปัจจัยส่วนบุคคล บทบาททางเพศกับพฤติกรรมการเผชิญปัญหา ในการทํางาน ของพนกั งานระดับปฏบิ ตั ิการในระบบรถไฟฟา้ ใตด้ ิน. วิทยานิพนธศ์ ศ.ม. (จิตวทิ ยา อตุ สาหกรรม และองค์การ). กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนอื . สมาน รังสโิ ยกฤษณ์. (2554). การบรหิ ารราชการไทย. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ. สญั ญา สัญญาววิ ัฒน.์ (2554). การพัฒนาชมุ ชน. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ . 3

47 สุริยา มนตรีภักดิ์. (2555). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการพัฒนาบุคลากรตามมาตรฐาน การปฏิบัติงานของข้อบังคับคุรุสภา 2548 ในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพชรบุรี เขต 1. สารนิพนธ์กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ. อนนั ท์ งามสะอาด. (2551). การพฒั นาคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของบุคลากรวิทยาลัยเทคนคิ เดชอุดม. กรงุ เทพฯ: อรณุ การพิมพ์. สริ วิ ดี ชูเชิด. (2556). การศกึ ษาสภาพการบริหารงานกิจการนกั ศึกษามหาวิทยาลัยราชภฏั สวนดสุ ิต. บรหิ ารธุรกิจมหาบณั ฑติ , มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม. เอกสารสืบคน้ ทางเว็ปไซน์ กระทรวงการคลัง กรมบัญชีกลาง หลักการจําแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ http://2 03.157.7.98/ audit/fileupload_doc/2020-02-17-45-20-5193720.pdf วกิ พิ ีเดยี สารานกุ รมเสรี งบประมาณแผน่ ดิน https://th.wikipedia.org/wiki/ มหาวิทยาลยั ราชภฎั เชียงใหม่ กองนโยบายและแผน งบลงทนุ http://www.plan.cmru.ac.th/ file_update/new_plan/budget2562/format_budget62.pdf สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทยั เขต 1 ขอบเขตและความหมายของงานกอ่ สร้าง https://www.sukhothai1.go.th/userfiles/warin/files/Plan/bjp2-58.pdf สำนกั งานคณะการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน สำนักนโยบายและแผน คมู่ ือการจดั ต้ังงบประมาณ ปี 2563 งบ ลงทนุ คา่ ครภุ ัณฑ์ ทีด่ ินและสิง่ ก่อสร้าง https://budget63. jobobec.in.th และ http://nonedu1.org/index.php?option=com_attachments&task =download&id=2988 เอกสารสืบคน้ ทางเว็ปไซน์ อื่นๆ เก่ียวกับความหมาย ของ factor F https://www.bloggang.com/m/viewdiary.php?id=nuuengka&group=4 http://buildingassetspot.blogspot.com/2016/07/7.html https://ddc.moph.go.th/uploads/ckeditor2/files/Factor_F_y2563.pdf 3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook