Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1. กลยุทธ์สู่ตำบลเข้มแข็งด้วย 3 ป

1. กลยุทธ์สู่ตำบลเข้มแข็งด้วย 3 ป

Published by Ratthakit Yonphakdee, 2020-08-06 11:56:43

Description: 1. กลยุทธ์สู่ตำบลเข้มแข็งด้วย 3 ป

Search

Read the Text Version

1 ขอ้ เสนอวิธกี ารพัฒนางานในตาแหนง่ ใหบ้ รรลุยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชมุ ชน เรื่อง ตำบลเขม้ แข็ง มนั่ คง ม่งั คัง่ ยัง่ ยนื ดว้ ยกลยุทธ์ 3 ป 1. หลกั กำรและเหตุผล แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (2561-2580) เป็นแผนฯ ฉบับแรกของประเทศไทย ในการปรับเป็นกรอบ แนวทางการพัฒ นาประเทศในระยะยาว โดยมีวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยประกอบด้วย 6 ประเด็น ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่ 1) ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านความมน่ั คง 2) ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3) ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 4) ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการสรา้ งโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม 5) ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม และ 6) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อเป็นกรอบแนวทางใน การพฒั นาประเทศในระยะยาว ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ภายใต้นโยบายสาคัญ ของอธบิ ดีกรมการพัฒนาชุมชน (นายสุทธิพงษ์ จลุ เจริญ) ในการ ขับเคล่อื นงานพฒั นาชมุ ชนให้ไปสู่ เศรษฐกิจฐำนรำกมน่ั คงและชมุ ชนพึ่งตนเองได้ ภำยในปี ๒๕๖๕ จงึ เกดิ การ CHANGE For Good : โดยใชพ้ นื้ ท่รี ะดบั ตาบลในการขับเคล่อื นใหเ้ กิดแรงกระเพื่อมไปสู่การพฒั นาประเทศให้กา้ วส่คู วาม ม่นั คง ม่งั คั่ง ย่ังยนื ภายใต้การพฒั นา 6 โครงการ ไดแ้ ก่ 1. โครงการพฒั นาหมบู่ า้ นและชุมชนทอ้ งถน่ิ ตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. โครงการบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ดว้ ยเครอ่ื งมอื อิเลก็ ทรอนิกส์ ปี 2563 3. นักการตลาด รนุ่ ใหม่เพื่อสังคม 4. โครงการผนู้ าอาสาพัฒนาบา้ นเกิด 5. ผลการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกจิ ฐานรากบริษทั ประชารัฐจังหวดั และ 6. กองทนุ พัฒนาบทบาทสตรี โดยเนน้ การดาเนนิ งานทสี่ าคัญทสี่ ดุ ในระดับครวั เรือน ได้แก่ การสรา้ งความมน่ั คงทางอาหาร (ปลูกผกั เลย้ี งสัตว์ แปรรูป) ,การสร้างสง่ิ แวดลอ้ มใหย้ ง่ั ยืน (การบรหิ ารจัดการขยะ การจดั สุขลักษณะในบ้าน การใช้ ทรัพยากรให้คมุ้ คา่ ) และการสร้างภูมิค้มุ กันทางสงั คม (การปฏบิ ัตศิ าสนกิจ การออกกาลงั กาย การเข้าร่วมกิจกรรม สาธารณประโยชน)์ กรมการพัฒนาชุมชนจึงไดต้ ัง้ เปา้ หมายการพัฒนาศาสตร์พระราชา สู่ ตาบลเขม้ แข็ง มน่ั คง ม่งั คั่ง ย่ังยนื มีตัวชีว้ ัดประสทิ ธผิ ล ร้อยละ 80 ของครวั เรือนในหมู่บา้ นเศรษฐกจิ พอเพียง 23,589 หมบู่ า้ น มรี ายได้ เฉลย่ี สงู กว่าเกณฑ์ความจาเป็นข้นั พ้นื ฐาน จปฐ. ดงั น้ัน เพ่ือขับเคลอ่ื นยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนให้ก้าวส่คู วามม่ันคง มงั่ คั่ง ยงั่ ยืน ดว้ ยการขับเคล่ือน ตาบลเขม้ แข็ง ด้วยแนวคดิ ว่า พน้ื ท่เี ป็นตวั ตั้ง ; ไปหา ศนู ย์กลางอานาจในการบริหารจดั การอย่ทู ี่ชุมชน ; ประสาน ประชาชนทุกคนเป็นเจ้าของ ; ประชาชน เพ่ือนาไปสู่เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชุมชนพ่ึงตนเองได้ ภายในปี 2565 ; Change for good ภายใต้ยทุ ธศาสตร์ ตำบลเข้มแข็ง ม่ันคง ม่งั คงั่ ยง่ั ยืน ด้วยกลยุทธ์ 3 ป ในฐำนะพัฒนำกำรอำเภอชำนำญกำรพิเศษ มีกระบวนกำรและวิธกี ำรพฒั นำงำน ดังนี้ การวางแผนขับเคล่อื น กาหนดกลไก ประสาน บรูณาการ การทางานในรูปแบบประชารัฐ และการพัฒนาทกั ษะของ ทีมงาน ดว้ ยการขับเคล่อื นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้โครงการ “ตำบลเข้มแขง็ มัน่ คง มั่งค่ัง ยั่งยนื ” ดว้ ยกลยุทธ 3 ป (ทีมเจ้าหนา้ ทพ่ี ัฒนาชุมชนเป็นกลไกสาคญั ต้องลงพนื้ ท่ไี ปหา ประสาน และการมีส่วนร่วมความ ต้องการเกิดจากประชาชน) ดังนี้ แนวทางการเขยี นตวิ K 3 อย. ปาริชาติ พอ.บา้ นแพรก

2 3.1. เตรียมควำมพร้อม (พ้ืนทเี่ ป็นตวั ตงั้ ; ไปหา) ระยะเวลำดำเนนิ กำร 3 เดือน ดงั น้ี 1) ประชมุ เจา้ หน้าท่พี ฒั นาชุมชนเพื่อซักซอ้ มความเข้าใจ 2) สารวจพ้ืนท่ีหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง,ข้อมูลครัวเรือนยากจน, ปราชญ์สัมมาชีพ, กองทุน ชุมชนและข้อมูลจิตอาสาของทุกหน่วยงาน เช่น กพสม., กพสต., อช., ผู้นา อช.,อสม., อปพร., ลูกเสือชาวบ้าน,วัด, นักเรียน เปน็ ตน้ และ จัดระบบฐานขอ้ มลู (Big Data) 3) นาเสนอโครงการต่อนายอาเภอ/เชิญประชุมคณะกรรมการขับเคล่ือนปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง ระดับอาเภอ, ภาคเี ครือขา่ ยประชารัฐเขา้ ร่วม และวางแผนขับเคลื่อนในระดับอาเภอ 4) เปิดพ้ืนท่ีให้หน่วยงานต่าง ๆ เข้ามามีส่วนร่วม โดยแต่งตั้ง/ทบทวนชุดปฏิบัติการขับเคลื่อน ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั ตาบล/หมบู่ า้ น และค้นหาผ้นู าชุมชน, เยาวชน, คนรุ่นใหม่ทมี่ จี ติ อาสา 5) ประชุมระดับอาเภอกาหนดเกณฑ์การคัดเลือกพ้ืนท่ีระดับตาบล เช่น ตาบลที่มีหมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียง ม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เฉลิมพระเกียรติฯ ,ตาบลท่ีได้รับรางวัลด้านการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง เปน็ ตน้ 6) ประกาศหลกั เกณฑ์ รับสมคั ร และคัดเลือกตาบลเปา้ หมาย นาร่อง 1 จุด 7) ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความรู้ความเข้าใจหัวหน้าหรือผู้แทนครัวเรือนตาบลเป้าหมาย/ ชุดปฏิบัติการขับเคล่ือนฯ ระดับตาบล/หมู่บ้าน และทีมงาน เพ่ือวางแผนขับเคลื่อน, การกากับดูแล และระบบติดตาม ประเมนิ ผล 8) ตั้งระบบกลุ่มเครือข่ายด้วย Line ,เว็บไซต์, face book เพื่อประสาน/ขับเคล่ือนงาน และ ประชาสัมพนั ธ์ 3.2 ดำเนนิ กำร (ศูนย์กลางอานาจอยู่ที่ชมุ ชน ; ประสาน) ระยะเวลำดำเนินกำร 6 เดือน มีขัน้ ตอน การดาเนินการ ดังน้ี 1) ประกาศวาระแหง่ ชุมชน (MOU) ระดบั อาเภอ/Kick off 2) จัดเวทีประชาคมระดับตาบลเป้าหมาย/จัดทาแผนขับเคลื่อน โดยรักษาเกณฑ์ตัวช้ีวัด ผลสาเร็จของการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ปี 2562 และความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ (Way of thinking) เพม่ิ เตมิ กจิ กรรมทีช่ ุมชนอาสาด้วยความสมัครใจ โดย สามารถทาไดอ้ ยา่ งนอ้ ยอีก 1 กจิ กรรม ไดแ้ ก่ - ธนาคารความดี ; ครวั เรือนกาหนดเมนคู วามดสี าธารณะ และบันทึกลงในสมดุ บัญชคี วามดี - โรงเรียนสัมมาชีพชุมชน ระดับตาบล เพื่อพัฒนาและยกระดับสินค้า เกิดการสร้างรายได้ ชุมชน - มรี ะบบฐานขอ้ มลู และสามารถแก้ไขปัญหาความยากจนในชุมชนได้ - การพัฒนาตอ่ ยอดขยายผลตลาดประชารัฐ เพอ่ื เช่ือมตอ่ กับหม่บู ้านท่องเทยี่ วชุมชน - คน้ หากลมุ่ เยาวชนคนรุ่นใหมจ่ ติ อาสาท่จี ะสบื สาน รกั ษา และต่อยอด เปน็ ต้น ฯลฯ 3) ประชุมครัวเรือนตาบลฯ ต้นแบบ นารอ่ ง เพอ่ื ปรับ Mind Set และ ขับเคล่ือนกิจกรรม 4) ปักหมุดสมาชิกท่ีน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจนเป็นวิถีชีวิต/ทาความดี สาธารณะ ดว้ ยการสรา้ ง Google map และประชาสัมพนั ธ์ท้งั online และ offline แนวทางการเขียนติว K 3 อย. ปาริชาติ พอ.บ้านแพรก

3 5) การแลกเปล่ียนเล่าเรื่องการทาความดีสาธารณะ/โหวตครัวเรือนทาความดีประจาเดือน และจัดทาคลังความดี (KM) เพ่ือเรียนรู้/เผยแพร่ โดย ชุดปฏิบัติการขับเคลื่อนระดับอาเภอ ตาบล และภาคี เครอื ข่ายพลังประชารฐั 3.3 หลังดำเนินกำร (ประชาชนทุกคนเป็นเจ้าของ ;ประชาชน) ระยะเวลำดำเนินกำร 3 เดือน เป็นขั้นการดาเนินการหลังการขับเคล่ือน “ตาบลเศรษฐกิจพอเพียง มั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน ต้นแบบ ระดับอาเภอ” ท่ี ได้ขับเคลื่อนเรียบร้อยแล้วตามกระบวนการในขั้นดาเนินการ ผู้เสนอแนวความคิดจึงได้กาหนดข้ันการขับเคล่ือน หลังดาเนินการเป็น 3 ระยะ โดยแบ่งเป็น ระยะที่ 1 ข้ันการรายงาน นาเสนอโมเดล และประกาศให้ตาบล เศรษฐกจิ พอเพียง มน่ั คง ม่งั ค่ัง ย่งั ยนื ตน้ แบบ ระดับอาเภอทด่ี าเนนิ การไปเรยี บรอ้ ยแลว้ นนั้ เป็น ครู ก ระยะท่ี 2 เป็นขั้นการขยายผล และระยะที่ 3 การสร้างการเรียนรู้ด้วยการเช่ือมร้อยเรียงภายในตาบลเศรษฐกิจพอเพียง มนั่ คง มง่ั ค่ัง ย่งั ยนื ทีเ่ ป็นต้นแบบ (ครู ก) และ ขยายผล (ครู ข) มรี ายละเอียด ดงั นี้ ระยะที่ 1 1) รายงานผล/นาเสนอโมเดล ตาบลเศรษฐกิจพอเพียง ม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน ต้นแบบ ระดับ อาเภอ ดว้ ยการถอดบทเรียน/KM ของชุดปฏิบตั ิการขบั เคล่อื นระดับอาเภอ/ตาบล และทีมงาน สพอ. (team spirit) 2) ประกาศตาบลเศรษฐกิจพอเพยี ง มั่นคง มัง่ คัง่ ยง่ั ยืน ต้นแบบ ระดับอาเภอ (ครู ก.) ระยะท่ี 2 3) การขยายผลสู่ตาบลอน่ื ๆ ทสี่ นใจ (ครูข.),ประสานและรบั สมคั ร อปท.ที่มคี วามสนใจ 4) ศึกษาดูงาน/ถอดบทเรยี น/สปู่ ฏบิ ตั แิ ละการขยายผล ระยะท่ี 3 5) เช่ือมร้อยภายในตาบลให้เป็นแหล่งเรียนรู้ แก้จน ลดความเสี่ยง และสร้างวินัยการเงิน ของประชาชน 6) จัดมหกรรมแสดงผลสาเร็จท้ังอาเภอ ด้วยกิจกรรมสืบสาน รักษา และต่อยอด เพอื่ เทดิ พระเกียรติฯ 7) ประเมินผลโครงการ ด้วยชุดปฏิบัติการขับเคลื่อนระดับอาเภอ/ตาบล, ประชารัฐ ร่วมกับ ทมี งาน 8) ถอดบทเรียน/KM ทีมงานทุกระยะ และ จัดทาบทสรปุ ผบู้ รหิ ารรายงานผล/ประชาสัมพันธ์ หากดาเนินการตามกระบวนการน้ี จะส่งผลความสาเร็จ ดังนี้ ระดับอาเภอ 878 แห่ง มีตาบล มั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน จานวน 7,255ตาบล และกรมฯ จะมีครัวเรือนปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแห่งวิถีชีวิต ร้อยละ 90 อีกท้ังการเกิดโมเดลต้นแบบตาบลเข้มแข็ง ม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน ส่งผลให้บรรลุวิสัยทัศน์กรม เศรษฐกิจ ฐานรากมน่ั คง ชมุ ชนพงึ่ ตนเองไดภ้ ายในปี 2564 แนวทางการเขียนติว K 3 อย. ปาริชาติ พอ.บ้านแพรก

4 . แนวทางการเขียนติว K 3 อย. ปาริชาติ พอ.บา้ นแพรก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook