สตั วป์ าหายาก
คํานํา ณ ปัจจบุ นั มีสตั วปาถกู ทําลายท่อี ยูข องตนเอง ไปมาก ทําใหส ตั วไ มม ที ี่อยจู งึ นํามาซ่งึ การสญู พันธุ บางชนิดก็เกือบจะสูญพันธไุ ป หรอื ทีเ่ รียกวา สัตวส งวน ผูจดั ทาํ หวงั วา หนังสอื เลม นี้จะเป็นแรงบันดาลใจไม มากก็น อยในการอนุรกั ษส ่ิงแวดลอมและ ทรพั ยากรธรรมชาตขิ องผูอา น ทําใหสตั วม ีมากมายให ตกทอดไปถงึ ลูกหลานตอๆไป ผจู้ ัดทาํ ด.ช.ปวชิ ประพฤทธิพงษ์ เลขท2ี 0
สารบญั ประวัติช้างปาในประเทศไทย 4 ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์เกียวกับช้างปา 5 ภัยคุกคาม 12 เพิมหวั เรือง
ประวัติชา้ งปา คนไทยรู้จกั ชา้ งมานานแลว้ ชา้ งเปนสัตว์ทีมีความสาํ คญั เกียวข้องกับสถาบันหลักของประเทศและมีความผูกพนั กับวถชี ีวตของคนไทยเสมอมาตังแตอ่ ดตี จนถงึ ปจจุบัน เมือวันที 13 มนี าคม 2506 กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ไดม้ มี ติเลือกให้ ช้างเผือก เปนสัญลักษณ์ ประจาํ ชาติ เนอื งจากชา้ งเผือกเปนสตั วท์ มี ีความ เกยี วข้องกับประวตั ศิ าสตร์ ในสมยั โบราณ เราใชช้ า้ งทําสงคราม แมท่ ัพต้องขชี า้ งรบ กัน เรยกว่า \"ชนช้าง\"การชนช้างครังสาํ คญั และนา่ จดจําทสี ดุ คือ การชนช้างระ หว่างสมเด็จพระนเรศวร มหาราชของไทย กบั พระมหาอปุ ราชของพมา่ ซงึ สมเด็จ พระนเรศวรมหาราชเปนฝายชนะ
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เกียวกับช้างปา ชาง เป็นสตั วเ ลีย้ งลกู ดวยน้ํานมขนาดใหญใ นวงศ Elephantidae ปัจจบุ นั รับรองวา มีอยู 3 สปีชสี คอื ชา ง แอฟริกา, ชา งปาแอฟรกิ า และชางเอเชยี วงศ Elephantidaeเป็นวงศเ ดยี วท่ยี งั ไมส ูญพันธใุ นอนั ดบั Proboscidea สมาชิกท่สี ูญพันธไุ ปแลว เชน มาสโต ดอน (mastodon) วงศ Elephantidae ยังมีกลุมท่บี ดั นี้ สูญพันธไุ ปแลวหลายกลมุ รวมทงั้ ชา งแมมมอธและชาง งาตรง ชางแอฟรกิ ามหี ูขนาดใหญก วา และหลงั เวา สว น ชางเอเชียมีหขู นาดเล็กกวาและมหี ลงั นูนหรอื ราบ ลกั ษณะเดนของชา งทกุ ชนิดไดแ ก งวงยาว หกู างขนาด ใหญ ขาใหญ และผวิ หนังทห่ี นาแตล ะเอยี ดออ น งวงใช สําหรับการหายใจ หยบิ จบั อาหารและน้ําเขาปา และควา วตั ถุ งาซ่งึ ดัดแปลงมาจากฟันตดั ใชเ ป็นทงั้ อาวธุ และ เคร่ืองมอื สาํ หรบั เคล่ือนยายวัตถุและขดุ ดนิ หกู างขนาด ใหญชวยในการคงอุณหภมู ิกายใหคงที่ เชนเดยี วกับใช ในการส่อื สาร ขาใหญเหมือนเสารองรบั น้ําหนักตวั ชาง เป็นสตั วบกขนาดใหญส ดุ เทาทมี่ ีอยูในปัจจุบนั
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เกียวกับช้างปา ชา งกระจัดกระจายอยทู ัว่ แอฟรกิ าใตส ะฮารา เอเชยี ใต และ เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต และพบได ในที่อยูอ าศยั หลากหลาย ทัง้ สะวันนา ปา ทะเล ทรายและทล่ี ุม ช้นื แฉะ ชางเป็น สตั วก นิ พืช และ อาศัยอยใู กลแหลง น้ําเม่ือสามารถเขา ถงึ ได ชา งถือ เป็น สิ่งมชี วี ติ หลัก เน่ืองจากผลกระทบตอ ส่งิ แวดลอ ม สตั วอ่ืนมักรักษาระยะหางจากชาง โดยมขี อ ยกเวน คือสัตวน ักลา ชาง เชน สงิ โต เสือโครง ไฮยีนา และหมาปาทกุ ชนิด ซ่งึ ปกติมักเลือกชางออนเป็นเป า หมายเทา นัน้ ชา งมสี งั คมฟิชชนั –ฟิวชนั หมายความ วา กลมุ ครอบครัวหลายกลมุ มารวมกนั เขาสงั คม ชา ง เพศเมีย (ชา งพงั ) มักอาศัยอยเู ป็นกลมุ ครอบครวั ซ่งึ อาจประกอบดวยชา งเพศเมียหน่ึงตัวและลกู ชา งหรือ ชา งเพศเมยี หลายตวั ทีม่ คี วามเกีย่ วดองกันกับลกู ๆ โดยไมม ีชางเพศผู (ชา งพลาย) กลมุ นี้มชี างพงั ทป่ี กติ อายุมากท่ีสุดเป็นหวั หน า
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เกียวกับช้างปา ชา งพลายออกจากลุมครอบครวั เม่ือถึงวัยเร่มิ เจรญิ พันธุ และอาจอยสู นั โดษหรอื อยกู บั ชาง พลายตัวอ่นื ชา งพลายโตเต็มวัยมปี ฏสิ มั พนั ธ กบั กลุมครอบครวั เม่ือหาคูและเขา สภู าวะท่ีมี เท สโทสเตอโรน และความกา วรา วสงู ข้นึ เรียก ตกมนั ซ่ึงชว ยใหพ วกมันถือความเป็นใหญ และสืบพนั ธไุ ดส ําเร็จ ลูกชา งเป็นศนู ยกลาง ความสนใจของกลมุ ครอบครัวและตอ งอาศัยแม เป็นเวลานานสดุ สามปี ชางปามีชีวิตอยูไดถึง 70 ปี ชา งส่ือสารกนั โดยการสัมผัส การมองเหน็ การรบั กลิ่นและการฟังเสียง ชา งใช อินฟราซา วน และการส่อื สารไหวสะเทอื นเป็นระยะทาง ไกล สติปัญญาของชา งเทยี บไดกบั สตปิ ัญญา ของ ไพรเมต และ อนั ดบั ฐานวาฬและโลมา ชา งดูมคี วามสํานึกเกยี่ วกบั ตนเองและแสดง ความเห็นใจตอชางทกี่ ําลงั ตายหรือชางที่ตาย แลว
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เกียวกับช้างปา สหภาพระหวางประเทศเพ่อื การอนรุ กั ษธ รรมชาติ จดั ชางแอฟริกาเป็น ชนิดทเ่ี กอื บอยูในขา ยใกลการสูญ พันธุ และชา งเอเชยี เป็น ชนิดใกลส ญู พนั ธุ ภยั คุกคาม ตอ ประชากรชางใหญส ดุ ประการหน่ึงคือการคา งาชาง ซ่ึงทําใหช า งถกู บกุ รกุ เขา ไปลา เพ่ือเอางา ภัยคุกคาม ชางปาประการอ่ืนไดแกการทาํ ลายที่อยูอาศัยและ ความขดั แยงกบั ประชากรทองถน่ิ มีการใชช า งเป็น สัตวใ ชแ รงงานในทวปี เอเชีย และยงั มกี ารจัดแสดงใน สวนสตั วหรือถกู ใชป ระโยชนสาํ หรับความบนั เทิงใน ละครสตั ว ชางเป็นสัตวท่ีมนษุ ยร ูจ กั ดีและปรากฏทงั้ ในศลิ ปะ นิทานพ้ืนบา น ศาสนา วรรณกรรมและ วัฒนธรรมสมัยนิยม
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เกียวกับช้างปา ชวี วทยาและพฤติกรรม พฤตกิ รรมทางสังคม ชางอยูใ นสังคมท่ีมลี าํ ดับโครงสราง การใชชวี ิตในสงั คมของ ชางเพศผแู ละเพศเมยี มคี วามแตกตา งกันมาก โดยเพศเมีย จะใชเวลาทัง้ ชีวิตในกลมุ ครอบครัวหรือโขลง ทม่ี ีความ สมั พันธแนนหนา ซ่งึ ประกอบดวยแม ลูก พ่นี อง ป าและน า กลุมเหลา นี้จะถกู นําโดยเพศเมียตัวท่มี ีอายุมากที่สุด ซ่งึ เรียกวา แมแปรก (matriarch) ในขณะที่เพศผตู ัวเต็มวยั ใช เวลาสว นใหญอยอู ยางสนั โดษ วงสังคมของชา งเพศเมียมไิ ดส ิน้ สุดลงดวยหนวยครอบครวั ขนาดเล็ก นอกเหนือไปจากการพบปะกบั ชางเพศผทู อ งถนิ่ ซ่ึงอยตู ามรมิ โขลงตงั้ แตห น่ึงโขลงข้ึนไป ชวี ิตของชางเพศ เมียยงั มปี ฏสิ มั พันธก บั ครอบครัว เผา หรอื กลุมประชากร ยอ ย กลุมครอบครัวใกลชดิ สวนใหญจะมีชา งตัวเต็มวัย ระหวา งหา ถงึ สิบหา ตัว เชนเดยี วกับชางเพศผแู ละเพศเมยี ที่ ยังไมโ ตเต็มวัยอกี จํานวนหน่ึง เม่อื กลุม เริม่ มีขนาดใหญเกิน ไป ชางเพศเมยี ทีม่ ีอายมุ ากจํานวนหน่ึงจะแยกตวั ออกไป และตงั้ กลมุ ขนาดเล็กของตนเอง อยา งไรกต็ าม พวกมันยัง คงรวู า โขลงใดทเี่ ป็นหมูญาตแิ ละโขลงใดทีไ่ มใ ช
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เกียวกับช้างปา ชีววทยาและพฤติกรรม ชวี ิตของชา งเพศผตู วั เต็มวัยนัน้ แตกตา งจากชา งเพศเมียอยา ง มาก โดยเม่อื มันมีอายมุ ากข้ึน มันจะใชเวลาที่ขอบของโขลง นานข้ึน โดยจะคอ ย ๆ ปลีกตวั ไปอยูส นั โดษคราวละหลาย ชัว่ โมงหรอื หลายวัน จนกระทัง่ เม่อื ชา งมีอายไุ ดป ระมาณสิบสี่ปี ชา งเพศผูกจ็ ะแยกตวั ออกจากโขลงท่ีตนกาํ เนิดข้นึ อยา งถาวร แตแมวา ชางเพศผูจะใชชีวิตสว นใหญอยูอยางสนั โดษ แตพ วก มนั ยังคงมีสายสัมพนั ธห ลวม ๆ กบั ชา งเพศผตู วั อ่นื ดวยเป็นบาง ครัง้ ชางเพศผจู ะใชเ วลาไปกบั การตอสูแ ยงชงิ ความเป็นใหญ มากกวา เพศเมีย มีเพยี งชา งเพศผูทแี่ ข็งแกรง ท่ีสดุ เทานัน้ ท่ีจะ สามารถผสมพันธกุ บั ตัวเมยี ได สว นชางเพศผทู ี่มีอํานาจน อย กวาจะตองรอคอยจนกวาจะถงึ รอบของมนั ชางเพศผทู ี่สืบพันธุ มักจะมอี ายมุ ากถึงสสี่ บิ หา สิบปีแลว การตอสเู พ่อื แยง ชิงความเป็นใหญก ันระหวา งเพศผนู ัน้ อาจดดู ุรายมาก แตท ี่ จริงแลว ตางฝายตางไดรับบาดเจ็บเพยี งเลก็ น อยเทานัน้ การตอ สูกนั สวน ใหญนัน้ เป็นรูปแบบของการแสดงทาทกี า วรา วและการขมขูกัน โดยปกติแลว ชา งท่ีตัวเล็กกวา มอี ายุน อยกวา และมีความมนั่ ใจน อยกวา จะหลกี เลีย่ งการ ตอสกู ันกอนทจี่ ะเริ่มสูกนั จรงิ ๆ อยา งไรกต็ าม ในชว งฤดผู สมพันธุ การตอสู กนั นี้อาจมีความกา วรา วอยางมาก และในบางครงั้ อาจมีชา งตัวใดตวั หน่ึงได รบั บาดเจบ็ ในชวงฤดูนี้ ซ่ึงรจู ักกันวา ฤดตู กมัน ชา งเพศผตู วั เตม็ วัยจะสูก ับ ชางเพศผตู วั อ่นื เกอื บทกุ ตัวทมี่ นั พบ และมันจะใชเวลาสวนใหญในชวงนี้ เตร็ดเตรอยรู อบโขลงเพศเมีย โดยพยายามหาคทู อ่ี าจเขา กันได
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เกียวกับช้างปา อนุกรมวธานและววัฒนาการ สกลุ ชา งแอฟริกาประกอบดวยชางสอง หรืออาจแยง ไดว า สามชนิดท่ยี ังคงมชี วี ติ อยู ขณะทส่ี ปีชีส ชาง เอเชยี เป็นชนิดเดียวทีย่ ังคงมชี วี ิตอยใู นสกลุ ชา ง เอเชีย แตสามารถแบง ออกไดเ ป็นส่ี สปีชีสยอ ย ชา ง แอฟริกาและชา งเอเชียววิ ฒั นาการมาจากบรรพบรุ ษุ รวมกันเม่ือราว 7.6 ลานปีกอน
ภยั คุกคาม การลา่ ภยั คุกคามตอ ชา งแอฟรกิ าปรากฏในรปู การคา งาอนั เป็น เอกลกั ษณเฉพาะของชนิด สัตวท ่ใี หญกวา มีชวี ิตยนื ยาว กวา และเตบิ โตไดชากวา อยา งชาง จะถกู ลาเกนิ ขนาด มากกวาสตั วอ่ืน พวกมนั ไมส ามารถซอ นตวั และตอ งใช เวลาหลายปีใหช า งเตบิ โตและสบื สายพนั ธุต อไป ชางตองกิน พืชเฉล่ียวนั ละกวา 140 กิโลกรัมเพ่อื มีชีวิตรอด และเม่ือ สัตวนักลาขนาดใหญถ กู ลา ไป ทาํ ใหประชากรสตั วกนิ พชื ขนาดเล็กในทองถิน่ เพ่ิมจาํ นวนข้ึน (อันเป็นคูแ ขง แยง อาหารของชาง) จํานวนทเ่ี พ่ิมข้ึนนี้ทําใหตน ไม พุมไมแ ละ หญาถกู ทําลาย ชางเองมีนักลาตามธรรมชาติน อย มเี พียง มนษุ ยแ ละสงิ โตในบางโอกาสเทา นัน้ อยางไรกต็ าม รัฐบาล แอฟรกิ าหลายประเทศอนญุ าตใหก ารลาชา งโดยจํากัดถกู ตองตามกฎหมาย ซ่งึ ตองเสยี เงนิ เป็นจํานวนมากเป็นคา อนญุ าตซักมักใชเพ่ือสนับสนุนความพยายามอนุรักษ และมี การอนุญาตเพียงน อยครัง้ เทานัน้ (ปกติแลว ใหส าํ หรบั สัตวที่ มอี ายมุ ากกวา) เพ่ือทําใหแ นใจวา ประชากรสัตวจ ะไมห มด ไป
ภัยคุกคาม การล่า เม่ือถึงครสิ ตศตวรรษที่ 20 มกี ารประเมนิ วาชา งมีจํานวนระหวาง 5 ถึง 10 ลา นตัว แตการลา และการทาํ ลายถน่ิ ท่ีอยลู ดจาํ นวนชา งลงเหลอื เพยี ง 400,000 ถึง 500,000 ตวั เม่ือถึงปลายศตวรรษ ในชว งสิบปีกอ น ค.ศ. 1990 ประชากรชา งลดลงมากกวาคร่งึ จาก 1.3 ลา นตวั เหลอื ราว 600,000 ตวั สว นใหญเป็นผลมาจากการคางาชาง ทาํ ใหเกดิ การหามคา งาชาง ระหวางประเทศ ขณะท่ปี ระชากรชางกําลงั เพ่ิมข้ึนในบางสวนของ แอฟริกาใตและแอฟรกิ าตะวันออก ชาตแิ อฟรกิ าอ่นื ๆ กลับมีรายงานวา ประชากรชางในประเทศลดลงมากทีส่ ุดถงึ สองในสาม และประชากรใน พ้ืนทคี่ ุมครอง บางแหง อยใู นอันตรายวาจะถูกลา หมดไป ประเทศชาด มี ประวตั ศิ าสตรการบกุ รุกปาเพ่ือลาชา งนานหลายทศวรรษ ซ่ึงทาํ ให ประชากรชา งในภมู ิภาค ซ่งึ เคยมมี ากกวา 300,000 ตวั ในปี ค.ศ. 1970 ลดลงเหลอื เพยี งอยา งน อย 10,000 ตวั ในปัจจบุ นั ในอุทยานแหง ชาติวริ นุ ดา ทางตะวนั ออกของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ประชากรชา งท่ี อาศยั อยใู นพ้นื ท่ซี ่งึ เขาชมไดล ดลงจาก 2,889 ตวั ในปี ค.ศ. 1951 เหลือ 348 ตัว ในปี ค.ศ. 2006
ภยั คุกคาม การลา่ มคี วามเป็นไปไดว า การลาเอาเฉพาะชา งทีม่ งี าอาจทําใหง า ในชา งแอฟริกาหายไปอยา งถาวร แมไมนาจะเป็นไปได กต็ าม ผลกระทบของชางท่ไี มม งี าตอสิ่งแวดลอ ม และตอ ตัว ชา งเองนัน้ อาจใหญหลวงได ชางใชง าเพ่อื ขดุ เอาแรธาตทุ ่ี จาํ เป็นในดนิ ฉีกเน้ือพชื ออกจากกัน และใชในการตอ สูเพ่อื แยงคู หากปราศจากงา พฤติกรรมของชางอาจเปลย่ี นไป มาก
ภัยคกุ คาม การสูญเสียถินทีอยู่ อีกภัยคุกคามหน่ึงตอการมชี ีวิตรอดของชา งโดยรวมคือการ ทาํ กสิกรรมในถ่นิ ทีอ่ ยขู องชา งอยา งตอเน่ืองโดยมีความ เสยี่ งเพม่ิ มากข้ึนในการขดั ตอผลประโยชนตอมนษุ ยผ อู ยู อาศยั ในละแวกเดียวกัน ความขัดแยงนี้ทาํ ใหมชี างถูกฆา ไป 150 ตัว และมีคนเสียชีวติ ไปถงึ 100 คนตอ ปีในศรลี งั กา [71] การลดจํานวนของชา งเอเชียสวนใหญเป็นไปดวย เหตุผลทวี่ า สูญเสียถิน่ ทอี่ ยู
ภยั คุกคาม การสูญเสยี ถินทอี ยู่ เม่ือปาผืนใหญห ายไปมากข้นึ ทกุ ที ระบบนิเวศจึงได รบั ผลกระทบอยางลกึ ซ้ึง ตน ไมมสี วนสําคญั ในการยึด หน าดนิ และดดู ซบั น้ําไหลบา อทุ กภัยและการพัง ทลายของหน าดินขนาดใหญเป็นผลกระทบโดยทวั่ ไป ของการตัดไมทาํ ลายปา ชางตอ งการที่ดินผนื ใหญ เน่ืองจากพวกมันคนุ ชนิ กบั การโคนตน ไมแ ละไมพ ุม เพ่อื หาอาหาร เหมือนกบั ชาวไรเ ล่ือนลอย แตช างจะ คอยกลับมาในภายหลัง เม่อื พ้ืนทีด่ ังกลาวมีตน ไม เติบโตข้นึ ดงั เดมิ แลว และเม่ือปาไมลดขนาดลง ชา ง จึงกลายมาเป็นสว นหน่ึงของปัญหา ซ่งึ จะทําลายพืช ผลการเกษตรทงั้ หมดในพ้ืนที่ และทาํ ลายทรพั ยากร ทัง้ หมดที่มอี ยู
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: