Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียน วิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (social 31003)

หนังสือเรียน วิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (social 31003)

Published by nookrunok, 2021-01-17 16:40:27

Description: หนังสือเรียน วิชาการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม สค31003 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (social 31003)

Search

Read the Text Version

43 2) บอกวตั ถปุ ระสงคข องการจดั เวทปี ระชาคม เปนการบอกกลาว เพ่ือใหผูเขาอภิปราย ไดเ ตรียมตัว ในฐานะผมู สี วนเกย่ี วของกบั ประเดน็ /ปญหา การบอกวตั ถุประสงคของการจัดเวทีประชาคมน้ี สามารถทาํ ไดห ลายวธิ ี ตั้งแตก ารบอกวา วัตถุประสงคของการจัดเวทีประชาคมมีอะไรบาง หรือเร่ิมดวย การถามถึงสาเหตกุ ารเขา มารวมกันในเวที การใหเขียนบนกระดาษและติดไวใหผูอภิปรายไดเห็นพรอมกัน การใชการดสี ฯลฯ อยางไรก็ตาม การท่ีจะเลือกใชวิธีไหนนั้น ตองคํานึงถึงความถนัดและทักษะของ วทิ ยากรกระบวนการ และการกระตนุ ใหเ กิดการมีสว นรว มของผูรวมอภิปราย ควรใชภาษาที่สอดคลอง กับภูมิหลังของผเู ขา รว มอภิปราย และตอ งใหผ รู ว มอภปิ รายในเวทีประชาคมรูสกึ ไวใ จต้ังแตเ ริม่ ตน 3) การเกร่นิ นาํ เขาสทู ่มี าที่ไปของประเด็นการอภิปรายในเวทีประชาคม เพอื่ ใหผเู ขารวม อภปิ รายไดเ ขา ใจทไี่ ปทมี่ า และความสําคัญของประเดน็ ตอ การดําเนินชีวิต หรอื วิถชี วี ิต และบอกถงึ ความ จาํ เปนในการรว มมอื กัน หรอื แสดงความคดิ เห็นตอ ประเดน็ นร้ี วมกนั เพื่อหาจุดยืนหรอื แนวทางแกปญ หา ของประเด็นดังกลาว ท้ังน้ีจุดมุงหมายของข้ันตอนนี้ คือ กระตุนใหผูเขารวมอภิปรายในฐานะผูมีสวน เกีย่ วขอ งโดยตรงตอ ประเด็น/ปญหา ตองชวยกันผลักดันหรือมีสวนรวมในกระบวนการแกไขปญหาที่ สง ผลกระทบโดยตรง 4) การวางกฎ และระเบียบของการจัดเวทีประชาคมรว มกนั ขนั้ ตอนนี้เปน ขัน้ ตอนกอน การเรม่ิ อภปิ รายในประเด็นที่ตง้ั ไว มีจุดมงุ หมายเพื่อรวมกันกําหนดขอบเขต และการวางระเบียบของการ จดั ทําเวทปี ระชาคมรวมกันระหวา งผูดําเนินการอภปิ รายและผูรวมอภิปราย ทั้งนี้ เพอื่ ปอ งกนั ความขัดแยง ระหวางการอภิปราย การมอี ทิ ธพิ ลตอความคิดเห็นของคนใดคนหนึ่งตอคนอ่ืน ๆ เพื่อใหเวทีประชาคม ดําเนนิ ไปอยา งมีประสทิ ธิภาพ และบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคท ่ี วางไว การวางกฎระเบยี บรว มกันน้ี สามารถ เร่มิ ไดจากการที่วทิ ยากรกระบวนการใหผูเขารว มเวทีประชาคมเสนอกตกิ าการพูดคยุ รว มกนั วา กฎกติกา มารยาทของเวทีจะมีอะไรบาง เพ่ือจะชวยใหการพูดคุยกันเปนไปตามวัตถุประสงคท่ีวางไว และมี บรรยากาศการพดู คุยที่ดี เมือ่ ผูเ ขารวมเวทีเสนอกตกิ าใดกติกาหน่ึงขน้ึ มา วิทยากรตอ งจดไวในกระดาษให ทุกคนเห็น เม่ือรวบรวมขอเสนอไดแลว ใหมีการโหวตรวมกันวากติกามารยาทระหวางการจัดเวที ประชาคมท่ีทุกคนตกลงรว มกนั มอี ะไรบาง เม่ือไดขอสรุปแลวตองเขียนกติกามารยาท น้ัน ในกระดาษ หรอื กระดานวาง หรอื ตดิ ไวใ นท่ีที่ทุกคนเห็นไดตลอดเวลาของการจัดเวทีประชาคม ขอเสนอที่ได เชน ตอ งปดเสยี งโทรศัพทม อื ถอื ตองตรงตอ เวลาตอ งยกมือกอนพดู ตองพูดตรงประเด็น เปนตน การไดก ฎกตกิ า ท่ีมาจากกลุม จะชวยใหก ลุมเกิดความรูสึกวา ตอ งเคารพกฎกตกิ าน้ัน ๆ มากกวาท่ีจะเปนกฎท่ผี จู ัดเวทีเปน ฝา ยกําหนดขนึ้ อยา งไรก็ตาม หากกติกาที่ผูเขารวมไดเสนอแตเปนกฎพื้นฐานท่ีจําเปนสําหรับกิจกรรม ระดมสมอง เชน เวทปี ระชาคม น้นั วิทยากรกระบวนการ จาํ เปนทต่ี อ งเสนอในทปี่ ระชุม ซึ่งอาจจะเสนอ เพ่ิมเติมภายหลงั จากที่ผูเขารวมเวทีประชาคมไดเสนอมาแลว กฎพน้ื ฐาน คือ (1) ทกุ คนตอ งแสดงความคดิ เห็น (หรือหากเปน กลมุ ใหญ ตัวแทนของแตละกลุม ตองแสดงความคดิ เห็น)

44 (2) กาํ หนดเวลาท่ีแนน อนในการพดู แตล ะครง้ั (3) ไมแทรกพดู ระหวา งคนอนื่ กาํ ลงั อภปิ ราย (4) ทกุ คนในเวทีประชาคมมคี วามเทาเทียมกนั ในการแสดงความคดิ เห็นไมวา ผูเ ขารวมจะมสี ถานะทางสงั คม หรือสถานภาพที่ตา งกนั เชน ลูกบาน ผใู หญบ า น ผรู บั บรกิ าร ผใู หบรกิ าร ผหู ญิง ผูชาย ฯลฯ (5) ทกุ คนสามารถเสนอประเดน็ ใหม ๆ ได แตตอ งตรงกบั ประเดน็ หลักที่เปน ประเดน็ อภิปราย (6) ทกุ คนสามารถเสนอประเดน็ ใหม ๆ ได แตตองตรงกับประเดน็ หลักที่เปน ประเด็นอภปิ ราย (7) วทิ ยากรหลกั เปนเพยี งคนกลางทีช่ ว ยกระตนุ ใหเ กดิ การพูดคุย และสรปุ ประเดน็ ท่ีเกดิ จากการอภปิ ราย ไมใ ชผูเ ชยี่ วชาญในการแกป ญ หา 5) การอภิปรายประเด็นหรือปญหา ในขั้นตอนน้ีวิทยากรกระบวนการ/ผูอํานวยการ เรียนรูตองดําเนินการอภิปรายใหบรรลุตามวัตถุประสงค ตามกระบวนการ และตามแผนที่วางไว นอกจากนัน้ ทมี งานเองกต็ อ งชวยสนบั สนนุ ใหเวทปี ระชาคมดาํ เนินการไปอยางมีประสิทธิภาพ และตาม แผนที่ไดตกลงกนั ไว วิทยากรหลักสามารถใชวิธีการอ่ืน ๆ เขามาชวยสนับสนุนการซักถามเพื่อกระตุน การมีสว นรวมในเวทใี หม ากท่ีสุด 6) การสรปุ เปนขน้ั ตอนสุดทายของการจัดเวทีประชาคม ซึง่ วทิ ยากรหลกั /ผูอํานวยการ เรียนรูตองสรุปผลของการอภิปราย โดยแยกเปนผลที่ไดจากการพูดคุยกัน เพื่อนําไปเปนแนวทางใน การแกป ญหาตอไป ผลทไ่ี มสามารถสรปุ ไดใ นเวที และจําเปนตองดําเนินการอยา งใดอยางหน่ึงตอไป ใน ข้นั ตอนน้ีจาํ เปนตอ งมีการทบทวนรว มกนั และทาํ เปนขอตกลงรว มกนั วา จะตองมกี ารดาํ เนนิ การอยา งไร กับผลท่ไี ดจ ากเวทีประชาคม โดยเฉพาะอยา งยิ่งอาจระบุอยางชัดเจนวา ใครจะตอ งไปทําอะไรตอ และจะ นัดหมายกลบั มาพบกนั เพอ่ื ติดตามความคบื หนา กันเมือ่ ไร อยางไร 1.2.3 ติดตาม-ประเมนิ ผล เปนกระบวนการตอเนื่องหลงั จากการจดั เวทีประชาคมเสร็จสิ้นแลว ซึ่งสามารถแบง กระบวนการนี้เปน 2 ข้นั ตอนใหญ คอื การตดิ ตาม และการประเมนิ ผล 1) ขั้นตอนการติดตาม เปนการตามไปดวู า มีการดาํ เนินการอยา งใดอยางหนึ่งหรือไม ตามท่ีไดตกลงกันไว ข้ันตอนนี้จําเปนตองเปดโอกาสใหประชาชนหรือผูที่มีสวนเก่ียวของไดเขามามี สวนรวมในการติดตามผล โดยอาจจะกําหนดบทบาทหนาที่ ทําแผนการติดตาม และกําหนดวิธีการ ติดตามรวมกนั และมีการตดิ ตามรวมกนั อยา งสม่ําเสมอตามแผนที่วางไว ขั้นตอนน้ี จะชวยใหผูเขารวม ในเวทีประชาคม เขา ใจความสําคัญของการทาํ งานรว มกันในฐานะเจาของประเดน็ /ปญ หา และเรียนรูจ าก ประสบการณการติดตาม เพื่อนําไปเพิม่ ทกั ษะการจดั การปญ หาของชาวบา นเองในอนาคต

45 2) ขั้นตอนของการประเมินผล คือ (1) เพอื่ ตรวจสอบการเปลยี่ นแปลงภายหลังการจดั เวทีประชาคมวา ประชาชนมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นหรือไม เม่ือมีการจัดการอยางใดอยางหนึ่งแลว เชน เมื่อมีการผลักดันประเด็นใด ประเด็นหนึง่ ท่ีเปน ปญหาเขา สูค วามสนใจของผมู ีอํานาจในการกาํ หนดนโยบาย หรอื บรรจุอยูในนโยบาย ของรัฐแลว เปนตน (2) เพื่อประเมินทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการจัดเวที ประชาคมทั้งหมดวา ไดรับความรว มมือมากนอยเพยี งใด ลักษณะและกระบวนการที่ทําเอ้ือตอการแลกเปลี่ยน เรยี นรูรว มกนั หรอื ไม ผลทไ่ี ดรับคุมคาหรือไม และบรรลตุ ามวตั ถุประสงคท ่วี างไวหรือไม อยางไร การสรปุ ขอมลู ท่ไี ดจ ากการติดตามและการประเมนิ ผล จะชวยใหท ง้ั ผูจ ดั เวทปี ระชาคมและ เขา รว มไดม ีบทเรยี นรวมกัน และสามารถนาํ ประสบการณท ี่ไดไ ปใชพฒั นาในการจดั กจิ กรรมประชาคม อน่ื ๆ ตอไป 1.3 การประชุมกลมุ ยอ ย หรือการสนทนากลมุ การสนทนากลมุ หมายถึง การรวบรวมขอมลู จากการสนทนากบั กลุมผูใหขอมูลในประเด็น ปญ หาทเ่ี ฉพาะเจาะจง โดยมผี ูดําเนินการสนทนา (Moderator) เปนผูคอยจุดประเด็นในการสนทนา เพื่อ ชักจูงใหกลุมเกิดแนวคิดและแสดงความคิดเห็นตอประเด็นหรือแนวทางการสนทนาอยางกวางขวาง ละเอยี ดลึกซ้งึ โดยมผี เู ขา รว มสนทนาในแตล ะกลุม ประมาณ 6-10 คน ซ่ึงเลือกมาจากประชากรเปาหมาย ที่กําหนดเอาไว (สาํ นักงานกองทุนสนบั สนุนการวิจยั , 2549) 1.3.1 ขน้ั ตอนการจดั สนทนากลุม Judith Sharken Simon (ม.ป.ป.) กลา ววา การสนทนากลมุ ไมไ ดจ ัดทาํ ไดใ นระยะเวลา อนั ส้ัน กอ นทจี่ ะมกี ารประชุม ควรมกี ารเตรยี มการไมนอยกวา 4 สปั ดาห บางครั้งกวา ที่จะปฏบิ ัตไิ ดจ รงิ อาจใชเ วลาถึง 6-8 สปั ดาห กอ นท่ีจะมีการดาํ เนินงาน ผูรวมงานควรมกี ารตกลง ทาํ ความเขา ใจเกี่ยวกับ หวั ขอ การสนทนาและทดสอบคาํ ถาม เพ่ือใหม ีความเขา ใจตรงกัน เพอ่ื ใหการสนทนาทเี่ กดิ ขน้ึ เปนไปตาม ระยะเวลาที่กําหนด ซึง่ มีขน้ั ตอนในการจดั สนทนากลมุ ดงั น้ี 1) กาํ หนดวัตถุประสงค (6-8 สปั ดาหกอนการสนทนากลุม ) 2) กาํ หนดกลมุ ผูร วมงานและบุคคลกลมุ เปา หมาย (6-8 สปั ดาหกอ นการสนทนากลุม) 3) รวบรวมท่อี ยูและเบอรโ ทรศพั ทของผูรว มงาน (6-8 สัปดาหกอ นการสนทนากลุม ) 4) ตดั สนิ ใจวา จะทําการสนทนาเปนจาํ นวนกีก่ ลุม (4-5 สัปดาหก อ นการสนทนากลมุ ) 5) วางแผนเรือ่ งระยะเวลาและตารางเวลาการสนทนา (4-5 สปั ดาหกอ นการสนทนากลุม) 6) ออกแบบแนวคาํ ถามท่จี ะใช (4-5 สัปดาหกอ นการสนทนากลุม) 7) ทดสอบแนวคําถามท่ีสรางขน้ึ (4-5 สปั ดาหกอนการสนทนากลุม )

46 8) ทาํ ความเขา ใจกับผูดําเนนิ การสนทนา (Moderator) และผจู ดบันทึก (Note taker) (4-5 สัปดาหกอนการสนทนากลุม) 9) คัดเลือกผเู ขา รว มกลุมสนทนา และจดั ทาํ บตั รเชญิ สงใหผรู ว มสนทนา (3-4 สัปดาหกอ นการสนทนากลมุ ) 10) โทรศัพทเพ่ือตดิ ตามผลและสงบตั รเชญิ ใหผูรว มงาน (3-4 สปั ดาหกอน การสนทนากลุม) 11) การจดั การเพ่อื เตรียมการทาํ สนทนากลุม เชน จัดตําแหนง ทน่ี ่ัง จัดเตรียมเครื่องมือ อปุ กรณ เปนตน 12) แจงสถานทใ่ี หผูเขา รว มสนทนาทราบลว งหนา 2 วนั 13) จัดกลุมสนทนา และหลังจากการประชุมควรมกี ารสงจดหมายขอบคณุ ผรู วมงานดวย 14) สรุปผลการประชุม วเิ คราะหข อ มลู และสงใหผ รู ว มประชุมทกุ คน 15) การเขยี นรายงาน 1.3.2 การดําเนนิ การสนทนากลมุ 1) แนะนําตนเองและทมี งาน ประกอบดว ย พธิ กี ร ผจู ดบนั ทกึ และผบู รกิ ารท่วั ไป โดยปกตไิ มควรใหมผี ูส ังเกตการณ อาจมผี ลตอการแสดงออก 2) อธิบายถงึ จุดมงุ หมายในการมาทาํ สนทนากลมุ วตั ถุประสงคของการศกึ ษา 3) เร่ิมเกรนิ่ นําดวยคําถามอุน เคร่อื งสรางบรรยากาศเปน กันเอง 4) เม่ือเรมิ่ คนุ เคย เริ่มคําถามในแนวการสนทนาท่จี ดั เตรียมไวทิง้ ชวงใหม ีการถก ประเด็น และโตแ ยงกันใหพอสมควร 5) สรา งบรรยากาศใหเกิดการแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ ตอกัน ควบคุมเกมไมใ ห หยุดน่งิ อยา ซกั ถามคนใดคนหนึง่ จนเกินไป คําถามท่ีถามไมค วรถามคนเดียว อยาซักถามรายตวั 6) ในการน่ังสนทนา พยายามอยาใหเ กิดการขม ทางความคดิ หรอื ชกั นาํ ผอู ่นื ใหเ หน็ คลอยตามกบั ผูท่พี ูดเกง (Dominate) สรางบรรยากาศใหคนท่ไี มค อ ยพดู ใหแสดงความคิดเห็นออกมา ใหไ ด 7) พธิ ีกรควรเปน ผคู ุยเกง ซักถามเกง มพี รสวรรคในการพูดคุย จังหวะการถามดี ถามชา ๆ ละเอียดควรมีการพูดแทรกตลกอยางเหมาะสมดว ย 1.3.3 ขอดขี องการจัดสนทนากลุม 1) ผูเก็บขอมูล เปนผูไดรบั การฝก อบรมเปนอยางดี 2) เปนการนัง่ สนทนาระหวา งผูดาํ เนนิ การกบั ผูร ู ผใู หขอมูลหลายคนท่เี ปนกลมุ จึงกอใหเกดิ การเสวนาในเร่ืองทสี่ นใจ ไมมีการปด บงั คําตอบท่ีไดจ ากการถกประเด็นซึง่ กนั และกนั ถือวา เปน การกล่ันกรอง ซึง่ แนวความคดิ และเหตผุ ลโดยไมมกี ารตีประเดน็ ปญหาผิดไป เปน อยา งอืน่

47 3) การสนทนากลมุ เปนการสรางบรรยากาศเสวนาใหเ ปน กันเองระหวางผนู ํา การสนทนาของกลุมกบั สมาชิกกลุมสนทนาหลาย ๆ คนพรอ มกัน จึงลดสภาวการณเขนิ อายออกไปทาํ ให สมาชกิ กลุมกลาคุยกลาแสดงความคดิ เห็น 4) การใชวิธีการสนทนากลุม ไดขอมูลละเอียดและสอดคลองกับวัตถุประสงคของ การศกึ ษาไดสาํ เรจ็ หรือไดดียิง่ ขึน้ 5) คาํ ตอบจากการสนทนากลุม มีลกั ษณะเปน คาํ ตอบเชงิ เหตุผลคลา ย ๆ กับการรวบรวม ขอ มูลแบบคุณภาพ 6) ประหยดั เวลาและงบประมาณของผูดาํ เนนิ การในการศกึ ษา 7) ทาํ ใหไ ดร ายละเอียด สามารถตอบคาํ ถามประเภททาํ ไมและอยางไรไดอ ยาง แตกฉาน ลึกซึ้งและในประเดน็ หรอื เร่ืองทีไ่ มไ ดค ดิ หรอื เตรียมไวก อ นกไ็ ด 8) เปน การเผชญิ หนากันในลกั ษณะกลมุ มากกวาการสมั ภาษณต วั ตอ ตัว ทาํ ใหม ี ปฏิกิรยิ าโตตอบกนั ได 9) การสนทนากลมุ จะชว ยบง ชอ้ี ทิ ธพิ ลของวฒั นธรรมและคณุ คาตา ง ๆ ของสงั คม น้ันได เนอื่ งจากสมาชิกของกลมุ มาจากวฒั นธรรมเดยี วกัน 10) สภาพของการสนทนากลุม ชว ยใหเ กิดและไดขอมลู ทเี่ ปน จริง 1.4 การสัมมนา “สัมมนา” มาจาก คําวา ส + มน แปลวา รวมใจ เปนศัพทบัญญัติใหตรงกับ คําวา Seminar หมายถงึ การประชมุ ที่สมาชกิ ซงึ่ มคี วามรู ความสนใจในเร่ืองเดียวกันมาประชุมดวยความรวมใจ ปรึกษาหารือ รวมใจกนั คดิ ชว ยกันแกปญ หา ซง่ึ มผี ใู หค าํ นิยามและทัศนะตาง ๆ ไว สรุปความหมายของ การสัมมนา คือ การประชุมของกลุมบุคคลท่ีมีความรู ความสนใจ ประสบการณในเรื่องเดียวกัน ท่ีมี จุดมุงหมาย เพ่อื รวมกันวิเคราะหและหาแนวทางการแกปญหาทปี่ ระสบอยตู ามหลักการของประชาธิปไตย ประโยชนของการสมั มนา 1. ผจู ัดสามารถดําเนนิ การจัดสมั มนาไดอยางมปี ระสิทธิภาพ 2. ผเู ขา รวมสัมมนาไดร บั ความรู แนวคิดจากการเขา รว มสมั มนา 3. ชว ยทาํ ใหระบบและวิธกี ารทํางานมีประสิทธิภาพสูงขนึ้ 4. ชวยแบง เบาภาระการปฏบิ ัติงานของผูบ งั คับบญั ชา 5. เปน การพัฒนาและสง เสรมิ ความกาวหนาของผูปฏบิ ัติงาน 6. เกิดความริเริม่ สรางสรรค 7. สามารถสรา งความเขา ใจอันดตี อเพ่อื นรว มงาน 8. สามารถรวมกันแกป ญหาในการทาํ งานได และฝกการเปนผูนํา

48 องคประกอบของการสัมมนา 1. ผูดาํ เนนิ การสัมมนา 2. วทิ ยากร 3. ผูเขารว มสัมมนา ลักษณะทั่วไปของการสมั มนา 1. เปนประเภทหนึง่ ของการประชมุ 2. มีการยดื หยนุ ตามความเหมาะสม 3. เปนองคค วามรแู ละปญ หาทางวิชาการ 4. เปนกระบวนการรวมผูทส่ี นใจในความรทู างวิชาการท่มี รี ะดบั ใกลเ คยี งกนั หรือ แตกตา งกันมาสรา งสรรคอ งคความรใู หม จากการแลกเปลยี่ นความรู ความคิดเห็น นํามาทดสอบประเมนิ คา ความรูจากคนคนหนึง่ สอู กี คนหนง่ึ ซง่ึ จะมคี ณุ คามากมาย เปน ลักษณะการแพรกระจายสูหลากหลาย วงการอาชพี ซ่งึ จะทาํ ใหความรูเหลา นน้ั ไดถูกนําไปใชอ ยางแพรหลายมากข้ึน 5. อาศัยหลกั กระบวนการกลุม (Group dynamic หรอื group process) 6. เปน กิจกรรมท่เี รงเราใหผ ูเ ขา รว มสัมมนา มคี วามกระตือรือรน 7. มีโอกาสนําเสนอ พดู คยุ โตต อบซักถาม และแสดงความคดิ เห็นตอ กนั 8. ไดพัฒนาทกั ษะ การพดู การฟง การคิด และการนําเสนอความคดิ ความเชือ่ และ ความรูอ น่ื ๆ ตลอดจนการเขียนรายงานหรอื เอกสารประกอบการสมั มนา 9. ฝก การเปน ผูน าํ และผูตามในกระบวนการเรยี นรู คือ อาจมีผทู รงคณุ วุฒิ คณาจารย หรือผเู ชยี่ วชาญ ท้งั หลายมาเปนวิทยากร หรอื ผดู ําเนินรายการ คอยชวยประคับประคองกระบวนการ สัมมนาใหบรรลุวัตถปุ ระสงค ขณะเดยี วกนั ผรู ว มสัมมนาจะเปน ผูตามในการเรียนรู มกี ารแลกเปลยี่ น ความรใู นระหวา งการสมั มนา 10. เล็งถึงกระบวนการเรียนรู (process) มากกวาผลท่ีไดรับ (product) จากการสัมมนา โดยตรง น่ันคือ ผลของการสมั มนาจะไดในรปู ของผูร ว มสมั มนาไดมีการพัฒนากระบวนการฟง การคิด การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซ่ึงกนั และกัน การทดสอบองคค วามรู การประเมนิ คาความคดิ เห็นจากผูรวม สัมมนา เชน การไดเรียนรูวา การคิดของผูอ่ืนและของตนเอง มีวิธีการคิดที่เหมือนหรือแตกตางกัน อยางไร รูจักตนเองวามีภูมิรูเปนท่ียอมรับของบุคคลอ่ืนมากนอยแคไหน ตนเองจะตองพัฒนาความรู ความสามารถดานใด จึงจะเสนอความรู ความคิด ความเช่ือ และอ่ืน ๆ ของตนเองใหผูอื่นรับได และ ความรเู ดิมกอใหเกิดความรูใ หมอะไรบาง อยางไร

49 1.5 การสาํ รวจประชามติ ประชามติ (Referendum) หมายถึงการลงประชามต,ิ คะแนนเสียงที่ประชาชนลง ความหมาย ตามพจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง มติของประชาชน สวนใหญในประเทศท่ี แสดงออกในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่ง หรือในที่ใดที่หน่ึง มติของประชาชนที่รัฐใหสิทธิออกเสียงลงคะแนน รับรองรา งกฎหมายทสี่ าํ คญั ท่ีผา นสภานิติบัญญัติแลว หรือใหต ัดสนิ ปญ หาสาํ คญั ๆ ในการบรหิ ารประเทศ ประเภทการสาํ รวจประชามติ การสํารวจประชามตทิ างดา นการเมอื ง สว นมากจะรูจกั กนั ในนามของ Public Opinion Polls หรอื การทาํ โพล ซง่ึ เปนทร่ี จู กั กนั อยางแพรห ลาย คอื การทําโพลการเลอื กตง้ั (Election Polls) แบงได ดงั น้ี 1. Benchmark Survey เปนการทําการสํารวจเพื่อตองการทราบความเหน็ ของประชาชน เกี่ยวกับการรบั รเู ร่อื งราว ผลงานของผสู มคั ร ชือ่ ผสู มคั ร และคะแนนเสียงเปรยี บเทียบ 2. Trial Heat Survey เปนการหยงั่ เสยี งวา ประชาชนจะเลือกใคร 3. Tracking Polls การถามเพอื่ ดูแนวโนมการเปลย่ี นแปลง สว นมากจะทาํ ตอนใกล เลือกต้ัง 4. Cross-sectional vs. Panel เปน การทาํ โพล ณ เวลาใดเวลาหนง่ึ หลาย ๆ ครง้ั เพื่อทาํ ให เห็นวา ภาพผสู มัครในแตละหวงเวลามีคะแนนความนยิ มเปนอยา งไร แตไ มทราบรปู แบบการเปล่ยี นแปลงท่ี เกิดขน้ึ ในตวั คน ๆ เดยี ว จงึ ตองทํา Panel Survey 5. Focus Groups ไมใช Polls แตเปนการไดขอมูลที่คอ นขา งนา เชอื่ ถือได เพราะจะเจาะ ถามเฉพาะกลุมทร่ี แู ละใหค วามสาํ คัญกบั เร่ืองน้ัน ๆ จริงจัง ปจจุบันนิยมเชิญผูเช่ียวชาญหลาย ๆ ดานมาให ความเหน็ หรอื บางครัง้ กเ็ ชิญกลุม ตวั อยางมาถามโดยตรงเลย การทําประชุมกลุมยอยยังสามารถใชในการ ถามเพ่ือดวู า ทิศทางของคําถามที่ควรถามควรเปน เชน ไรดว ย 6. Deliberative Opinion รวมเอาการสํารวจทั่วไป กับการทําการประชุมกลุมยอยเขา ดวยกัน โดยการนําเอาตัวแทนประชาชนมารวมกัน แลวใหขอมูลขาวสารหรือโอกาสในการอภิปราย ประเด็นปญหา แลวสาํ รวจความเห็นในประเดน็ ปญ หาเพอื่ วดั ประเดน็ ท่ปี ระชาชนคิด 7. Exit Polls การสมั ภาษณผูใชส ทิ ธอิ์ อกเสียงเม่ือเขาออกจากคูหาเลือกตั้ง เพ่ือดูวาเขา ลงคะแนนใหใ คร ปจ จบุ ันในสงั คมไทยนยิ มมาก เพราะมีความนา เช่อื ถอื มากกวา Polls ประเภทอืน่ ๆ การสํารวจทัศนคติและความคิดเห็นทางดานการตลาด (Marketing Research) สวนมากจะ เนนการศึกษาความเห็นของผูใชสินคาและบริการตอคุณสมบัติอันพึงประสงคของสินคาและบริการ รวมท้ังความคาดหวังในการไดรับการสงเสริมการขายที่สอดรับกับความตองการของผูใชสินคาและ บริการดวย

50 การสาํ รวจความเหน็ เก่ียวกบั ประเดน็ ทีเ่ กยี่ วของกับการอยูรวมกันในสังคม เปนการสํารวจ ความคิดเห็นของสาธารณชนในมติ ทิ ี่เกีย่ วของกบั สภาพความเบ่ียงเบนจากการจดั ระเบียบสังคมที่มีอยูใน สังคมใดสังคมหนงึ่ เพือ่ นาํ ขอ มลู มากาํ หนดแนวทางในการแกไขปญ หาความสมั พันธท ่ีเกดิ ข้นึ เปนวธิ กี าร ท่ีใชมากในทางรฐั ศาสตรและสงั คมวิทยา เรียกวา การวิจยั นโยบายสาธารณะ (Policy Research) กระบวนการสํารวจประชามติ 1. การกําหนดปญหาหรือขอมลู ท่ีตองการสาํ รวจ คอื การเลือกสงิ่ ท่ตี อ งการจะทราบจาก ประชาชนเกี่ยวกบั นโยบาย บุคคล คณะบุคคล เหตุการณ ผลงาน และสถานท่ีตาง ๆ เชน ดานการเมือง มักเก่ยี วของกบั บุคคล นโยบายรัฐ ดา นสงั คมวทิ ยา เก่ียวกบั ความสัมพันธ สภาพปญ หาสังคมทีเ่ กิดขึน้ 2. กลมุ ตวั อยาง ตัวแทน คอื การกาํ หนดกลุมตัวอยางของการสํารวจประชามติที่ดีตอง ใหค รอบคลุมทุกเพศ วยั อาชพี ระดับการศึกษา และรายได เพือ่ ใหไ ดเ ปนตัวแทนที่แทจริง ซึ่งจะมีผลตอ การสรปุ ผล หากกลุมตัวอยางท่ีไดไมเปนตัวแทนที่แทจริงทั้งในดานคุณภาพและปริมาณ การสรุปอาจ ผดิ พลาดได 3. การสรา งแบบสอบถาม แบบสอบถาม คือ เคร่ืองมือวิจัย (Research Tool) ชนิดหน่ึง ใชว ัดคาตัวแปรในการวจิ ัย แบบสอบถามมีสภาพเหมือนมาตรหรอื มเิ ตอรท ่ใี ชในทางวทิ ยาศาสตร หรอื ใช ในชวี ิตประจําวนั เชน มาตรวัดความดนั น้ํา มาตรวัดปริมาณไฟฟา แบบสอบถามทีใ่ ชใ นการทําประชามติ คือ มาตรวดั คณุ สมบัติของเหตุการณท่ที ําการศกึ ษา (Likert scale) เครอ่ื งมอื วัดทศั นคติ หรือความคิดเห็น ท่กี ําหนดคะแนนของคาํ ตอบในแบบสอบถาม สวนใหญก าํ หนดนํ้าหนกั ความเห็นตอ คาํ ถามแตล ะขอ เปน 5 ระดับ เชน “เหน็ ดว ยอยางยงิ่ ” ใหมีคะแนนเทา กบั 5 “เห็นดว ย” ใหม ีคะแนนเทากบั 4 “เฉย ๆ” หรือ “ไมแ นใจ” หรอื “เหน็ ดว ย ปานกลาง” ใหม ีคะแนนเทากบั 3 “ไมเ ห็นดวย” ใหม ีคะแนนเทากบั 2 และ ” ไมเ ห็นดว ยอยางยิ่ง” ใหมีคะแนนเทากบั 1 คะแนนของคาํ ตอบเก่ียวกับทัศนคตหิ รือความคดิ เห็นแตล ะชดุ จะนํามาสรา งเปน มาตรวดั ระดับของทศั นคติหรือความคิดเห็นในเรื่องนั้น ๆ การออกแบบสอบถามเปน ท้งั ศาสตรแ ละศิลป การออกแบบสอบถามไดชัดเจน เขา ใจงาย สามารถเปดโอกาสใหไดมีโอกาสคิดไดบาง เปนสิ่งที่ทําไดยาก เปนเร่ืองความสามารถในการเรียบเรียงขอความใหตรงกับความเขาใจของคนตอบ และคนตอบตอ งเขา ใจคลายกันดวย จึงจะทาํ ใหไดข อมลู ทม่ี คี วามนา เช่อื ถือ (Reliable) 4. ประชุมเจาหนาที่เก็บขอมูล เปนการประชุม เพ่ือซักซอมความเขาใจในประเด็น คาํ ถามท่ีถามใหต รงกนั ความคาดหวงั ในคาํ ตอบ ประเภทการใหคาํ แนะนาํ วิธกี ารสมั ภาษณ การจดบันทึก ขอ มูล การหาขอ มูลเพมิ่ เติมในกรณที ี่ยงั ไมไดคาํ ตอบ 5. การเก็บขอ มลู ภาคสนาม เจา หนาท่เี ก็บขอ มลู จะไดรบั การฝกในเรอื่ งวิธีการสัมภาษณ การบันทกึ ขอมลู และการตรวจสอบความถกู ตอ งของขอ มลู การเก็บขอมลู การสํารวจประชามติ สามารถ ดําเนินการได 3 ทาง คือ การสัมภาษณแบบเห็นหนา (Face to Face) การสัมภาษณทางโทรศัพท และ การสงแบบสอบถามทางไปรษณยี 

51 6. การวิเคราะหขอมูล ในกรณีการสํารวจประชามติ การวเิ คราะหข อ มลู สว นมาก ไม สลบั ซบั ซอนเปนขอมูลแบบรอ ยละ เพือ่ ตคี วามและหยบิ ประเดน็ ท่สี าํ คัญ จัดลําดับความสําคญั 7. การนาํ เสนอผลการสาํ รวจประชามติ มีโวหารที่ใชนําเสนอผลการสํารวจประชามติ ดังน้ี 7.1โวหารทีเ่ นน นัยสําคัญทางสถิติ นําเสนอผลโดยสรางความเชื่อม่ันจากการอางถึง ผลท่ีมีนัยสาํ คัญทางสถติ ิรองรบั 7.2 โวหารวา ดวยเปนวทิ ยาศาสตร การนําเสนอผลโดยการอางถึงกระบวนการไดมา ซงึ่ ขอ มลู ทเ่ี นนการสงั เกตการณ การประมวลขอ มลู ดวยวิธีการที่เปน กลาง 7.3 โวหารในเชิงปริมาณ นาํ เสนอผลโดยใชต วั เลขทส่ี ํารวจไดม าสรา ง ความนา เชอ่ื ถอื และความชอบธรรมในประเด็นทศ่ี กึ ษา 7.4 โวหารวาดวยความเปนตัวแทน การนําเสนอขอมูลในฐานะท่ีเปนตัวแทนของ กลมุ ตวั อยางท่ที ําการศกึ ษา 1.6 การประชาพิจารณ การทําประชาพจิ ารณ หมายถึง การจดั เวทีสาธารณะเพอ่ื ใหป ระชาชนโดยเฉพาะผูเกย่ี วขอ ง หรือผูทม่ี ีสวนไดเ สียโดยตรง ไดม โี อกาสทราบขอมูลในรายละเอียดเพื่อเปน การเปดโอกาสใหม สี วนใน การแสดงความคดิ เห็น และมสี ว นรวมในการใหข อมลู และความคดิ เหน็ ตอนโยบายหรือโครงการนนั้ ๆ ไมวาจะเปนการเหน็ ดว ยหรอื ไมเหน็ ดวยกต็ าม การจดั ทําประชาพิจารณ เปน กระบวนการหนง่ึ ในการดาํ เนนิ การของรัฐเกี่ยวกับการรับฟง ความคิดเห็นของประชาชนตามระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี วาดว ยการรับฟงความคดิ เห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 ในเรื่องท่ีเกี่ยวกับการจัดทําหรือการดําเนินโครงการของหนวยงานของรัฐกอนการดําเนิน โครงการในการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน หนวยงานของรัฐตองประกาศใหประชาชนทราบถึง วิธกี ารรับฟงความคิดเห็น ระยะเวลา สถานที่ ตลอดจนรายละเอียดอื่นที่เพียงพอแกการท่ีประชาชนจะ เขาใจและแสดงความคดิ เหน็ ได ขัน้ ตอนการทําประชาพิจารณ นําเสนอตัวอยางการทําประชาพจิ ารณข องสภารา งรฐั ธรรมนญู เพื่อใหรางรัฐธรรมนูญฉบับท่ีจะ ทําขึ้นนี้ เปนของประชาชนโดยแทจริง สภารางรัฐธรรมนูญไดแตงต้ังคณะกรรมาธิการ รับฟงความ คิดเห็น และประชาพิจารณข้ึน เพื่อรวบรวมความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับรางรัฐธรรมนูญโดยมี ข้นั ตอนดังน้ี คือ ขั้นตอนท่ี 1 สมาชกิ สภารา งรฐั ธรรมนญู นาํ ประเดน็ หลัก และหลกั การสาํ คญั ในการแกไ ขปญ หา ซง่ึ แยกเปน 3 ประเด็นคอื ประเดน็ เร่ืองสทิ ธิและการมีสว นรวมของพลเมือง ประเด็นเร่ืองการตรวจสอบ

52 การใชอาํ นาจรัฐ และประเดน็ เรื่องสถาบันการเมอื งและความสัมพันธร ะหวางสถาบันการเมืองออกไปรับ ฟง ความคดิ เหน็ ของประชาชนเบ้ืองตน และนําขอ มูลเสนอกรรมาธิการ ภายในชว งตนเดือนเมษายน ขั้นตอนที่ 2 กรรมาธิการรับฟงความคิดเห็นและประชาพิจารณออกรับฟงความคิดเห็นจาก ประชาชนจงั หวัดตา ง ๆ จนถึงเดือนมิถุนายน ขัน้ ตอนท่ี 3 คณะกรรมาธิการรับฟงความคิดเห็นและประชาพิจารณ สงผลสรุปความคิดเห็นของ ประชาชนท่ีไดจ ากการจดั ทําสมัชชาระดับจังหวดั ใหก รรมาธกิ ารยกรางรฐั ธรรมนูญ เรอ่ื งที่ 2 การจดั ทําแผน 2.1 แผน (plan) หมายถึง การตัดสินใจที่กําหนดลวงหนาสําหรับการเลือกใชแนวทางการ ปฏิบัติการ ประกอบดว ยปจจัยสําคัญ คือ อนาคต ปฏิบัติการและส่ิงที่ตองการใหเกิดข้ึน น่ันคือ องคกร หรอื แตละบุคคลทตี่ องรับผิดชอบ (ขรรคชยั คงเสนห  และคณะ, 2545) แผนแบง ตามขอบเขตของกจิ กรรมที่ทํา (Scope of activity) เปน 2 ประเภท คือ 1. แผนกลยุทธ (Strategic plan) เปน แผนท่ีทาํ ข้ึน เพ่ือสนองความตองการในระยะยาว และรวมกิจกรรมทุกอยางของหนวยงาน ผูบริหารระดบั สูงทว่ี างแผนกลยุทธจะตองกําหนดวัตถุประสงค ของทัง้ หนวยงาน แลว ตดั สินใจวา จะทําอยางไร และจะจัดสรรทรัพยากรอยางไร จึงจะทําใหสําเร็จตาม เปาหมายน้นั จะตอ งใชเวลาในการกําหนดกิจกรรมที่แตกตางกันในแตละหนวยงาน รวมทั้งทิศทางการ ดําเนินงานที่ไมเหมือนกัน ใหอยูในแนวเดียวกัน การตัดสินใจท่ีสําคัญของแผนกลยุทธก็คือ การเลือก วธิ ีการในการดาํ เนนิ งานและการจัดสรรทรพั ยากรทม่ี อี ยูอยางจํากดั ใหเ หมาะสม เพ่ือทจี่ ะนําพาหนวยงาน ใหก า วไปขางหนา อยา งสอดคลอ งกับสถานการณแ วดลอมภายนอกท่ีเปล่ียนแปลงตลอดเวลา 2. แผนดาํ เนนิ งานหรือแผนปฏบิ ตั กิ าร (Operational plan) เปน แผนท่กี าํ หนดขน้ึ มาใช สําหรับแตละกิจกรรมโดยเฉพาะ เพือ่ ใหบรรลเุ ปาหมายของแตล ะกจิ กรรม ซงึ่ เทา กบั เปน แผนงานเพ่ือให แผนกลยุทธบ รรลผุ ลหรือเปนการนาํ แผนกลยทุ ธไ ปใชน น่ั เอง แผนดําเนนิ งานที่แยกเปนแตละกจิ กรรมก็ ไดแก แผนการผลิต แผนการเงิน แผนการตลาด แผนทรพั ยากรมนษุ ยแ ละแผนอุปกรณ เปน ตน ปจจบุ นั หนว ยงานไดนาํ แผนทมี่ ขี อบขา ยความรับผดิ ชอบเช่ือมโยงนโยบายกบั แผนงาน เปน “ยทุ ธศาสตร” คอื การตดั สนิ ใจจากทางเลอื กที่เชื่อวา ดที สี่ ดุ และเปน ไปไดท่ีสุด เรียกวา แผนยทุ ธศาสตร แผนท่ีดี ตองประกอบดวยคุณลักษณะ ดงั ตอ ไปนี้  ตอ งกาํ หนดวัตถปุ ระสงคของแผนอยา งชดั เจน  ตองนําไปปฏิบตั งิ าย และสะดวกตอ การปฏิบัติ  ตอ งยืดหยนุ ไดต ามสภาพการณ  ตอ งกาํ หนดมาตรฐานของการปฏิบัติงานไว

53  ตองมีความละเอยี ดถี่ถว นเปน แผนท่สี มบูรณแบบ  ตองทาํ ใหเ กิดประโยชนแกผูเก่ียวขอ ง เพอื่ จูงใจใหทกุ คนปฏิบตั ิตามแผนนัน้ 2.2 โครงการ (Project) โครงการ คอื “แผนหรือ เคาโครงการตามท่ีกําหนดไว” เปนสวนประกอบสวนหน่ึงใน การวางแผนพัฒนาท่ีชว ยใหเหน็ ภาพ และทิศทางการพฒั นา มขี อบเขตที่สามารถติดตามและประเมินผลได โครงการ (project) ถือเปนสวนประกอบสําคัญของแผน เปนแผนจุลภาคหรือ แผน เฉพาะเรอ่ื ง ท่ีจัดทาํ ข้นึ เพอ่ื พัฒนาหรือแกป ญหาใดปญหาหน่ึงขององคกร แผนงานที่ปราศจากโครงการ ยอมเปน แผนงานทไ่ี มส มบูรณ ไมส ามารถนําไปปฏิบตั ใิ หเ ปนรูปธรรมได โครงการจงึ มคี วามสัมพันธกับ แผนงาน การเขียนโครงการข้ึนมารองรบั แผนงานยอมเปน สิ่งสาํ คัญและจาํ เปนยิ่ง จะทําใหงายใน การปฏิบัติและงายตอการติดตามและประเมินผล เพราะถาโครงการบรรลุผลสําเร็จ น่ันหมายความวา แผนงานและนโยบายน้ันบรรลุผลสาํ เรจ็ ดวย โครงการ จึงเปรียบเสมือนพาหนะท่ีนําแผนปฏิบัติการไปสู การดาํ เนนิ งานใหเกิดผล เพอ่ื ไปสจู ดุ หมายปลายทางตามทีต่ องการ อีกท้งั ยงั เปน จดุ เชอื่ มโยงจากแผนงาน ไปสแู ผนเงนิ และแผนคนอีกดวย โครงการมีลักษณะสําคญั ดงั นี้ 1. เปน ระบบ (System) มีขน้ั ตอนการดําเนนิ งาน 2. มวี ตั ถุประสงค (Objective) เฉพาะชัดเจน 3. มีระยะเวลาแนน อน (มจี ดุ เริม่ ตนและจดุ สนิ้ สุดในการดาํ เนนิ งาน) 4. เปน เอกเทศและมผี ูรับผดิ ชอบโครงการอยา งชดั เจน 5. ตองใชท รพั ยากรในการดําเนินการ 6. มีเจาของงานหรือผูจ ัดสรรงบประมาณ ในปจ จุบันสาํ นกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยไดใชว ธิ ีการเขยี น โครงการแบบผสมผสานระหวางแบบประเพณนี ิยม และแบบตารางเหตุผลตอ เน่อื ง ซงึ่ มรี ายละเอยี ดและ ขั้นตอน ดงั น้ี

หัวขอ 54 1. ชื่อโครงการ ลกั ษณะ/รูปแบบ/แนวทางการเขียน 2. หลกั การและเหตุผล เปนชื่อที่สั้น กระชับ เขาใจงาย และสื่อไดชัดเจนวาเน้ือหา สาระของส่ิงที่จะทําคืออะไร โดยท่ัวไปชื่อโครงการ มี องคป ระกอบ 2 สวน คือ สวนที่ 1 เปนประเภทของโครงการ เชน โครงการฝก อบรม โครงการสมั มนา โครงการประชมุ เชิง ปฏิบัติการ สวนท่ี 2 เปนลักษณะหรือความเก่ียวของของ โครงการ วาเกยี่ วกบั เรือ่ งอะไร หรอื เก่ยี วกบั ใคร เชน กําหนด ตามตาํ แหนงงานของผเู ขา รว มโครงการ กําหนดตามลักษณะ ของเน้ือหาวิชาหลักของหลักสูตรหรือประกอบกันทั้งสอง สวน เชน โครงการอบรมอาชีพไมดอกไมประดับ โครงการ สรา งเสรมิ สขุ ภาพผสู งู อายุ โครงการจดั การขยะ มูลฝอยชุมชน เปน ตน ความสําคญั ของโครงการ บอกสาเหตุหรอื ปญ หาที่ทําใหเกดิ โครงการนขี้ ้นึ และทส่ี าํ คญั คอื ตองบอกไดว า ถาไดทํา โครงการแลวจะแกไขปญ หานีต้ รงไหน การเขยี นอธิบาย ปญ หาที่มาโครงการ ควรนําขอมลู สถานการณป ญ หาจาก ทอ งถิ่นหรือพ้นื ที่ทจ่ี ะทาํ โครงการมาแจกแจงใหผูอ า นเกดิ ความเขาใจชดั เจนขน้ึ โดยมหี ลกั การเขียน ดงั น้ี 1. เขยี นในลักษณะบรรยายความ ไมน ิยมเขียนเปน ขอ ๆ 2. เขยี นใหช ดั เจน อานเขาใจงาย และมเี หตุผล สนับสนุนเพียงพอ ลําดับท่ีหนง่ึ เปนการบรรยายถงึ เหตผุ ล และความจาํ เปน ในการจัดโครงการโดยบอกท่ีมา และ ความสาํ คญั ของโครงการนน้ั ๆ ลาํ ดบั ท่สี อง เปนการอธิบาย ถงึ ปญหาขอขดั ของ หรือ พฤติกรรมทเี่ บ่ยี งเบนจากหลกั การท่ี ควรจะเปน ซง่ึ ทาํ ใหเกดิ ความเสยี หายในการปฏิบตั งิ าน (หรอื อาจเขยี นรวมไวใ นลาํ ดบั แรกกไ็ ด)สุดทา ยเปน การสรปุ วา จากสภาพปญหาท่ีเกิดขึ้น ผูรับผิดชอบจงึ เห็นความ จําเปน ทจี่ ะตองจดั ทําโครงการขนึ้ ในเรือ่ งอะไร และสําหรบั ใคร เพือ่ ใหเกดิ ผลอยา งไร

หวั ขอ 55 3. วตั ถปุ ระสงค ลักษณะ/รูปแบบ/แนวทางการเขยี น 4. เปา หมาย ระบุส่งิ ท่ตี อ งการใหเ กดิ ข้นึ เม่ือดําเนนิ การตามโครงการน้แี ลว 5. กลมุ เปา หมาย โดยตอบคาํ ถามวา “จะทาํ เพือ่ อะไร” หรือ “ทําแลว ไดอะไร” 6. วธิ ดี าํ เนนิ การ โดยตองสอดคลอ งกบั หลกั การและเหตุผล วตั ถุประสงคท ด่ี ี ควรเปนวตั ถุประสงคเ ชงิ พฤตกิ รรม ซงึ่ สามารถสงั เกตไดแ ละ วดั ได องคประกอบของวตั ถปุ ระสงคทด่ี ี มดี งั นี้ 1. เขา ใจงาย ชดั เจน ไมค ลมุ เครือ 2. เฉพาะเจาะจง ไมก วา งจนเกนิ ไป 3. ระบุถึงผลลัพธที่ตอ งการ วา สงิ่ ทตี่ องการใหเกดิ ขึน้ คอื อะไร 4. สามารถวัดได ทั้งในแงข องปริมาณและคุณภาพ 5. มคี วามเปนไปได ไมเลอ่ื นลอย หรอื ทําไดย ากเกิน ความเปนจริง คาํ กริยาที่ควรใชในการเขยี นวัตถุประสงค ของโครงการ แลวทาํ ใหสามารถวดั และประเมินผลได ไดแ ก คาํ วา เพอ่ื ให แสดง กระทาํ ดําเนนิ การ วัด เลือก แกไข สาธติ ตดั สินใจ วเิ คราะห วางแผน มอบหมาย จาํ แนก จัดลําดบั ระบุ อธบิ าย แกปญหา ปรับปรงุ พฒั นา ตรวจสอบ ระบสุ ง่ิ ท่ตี อ งการใหเ กิดขน้ึ ทง้ั ในเชิงปรมิ าณ และเชงิ คณุ ภาพ ในแตละชว งเวลาจากการดําเนนิ การตามโครงการนีแ้ ลว โดย ตอบคาํ ถามวา “จะทําเทาใด” ใครคอื กลุม เปา หมายของโครงการ หากกลุม เปาหมายมหี ลาย กลุมใหบ อกชดั ลงไปวา ใครคือกลมุ เปาหมายหลกั ใครคือ กลุมเปา หมายรอง บอกรายละเอยี ดวธิ ีดาํ เนนิ การ โดยระบุเวลาและกจิ กรรมการ ดําเนินโครงการ (ควรมีรายละเอียดหัวขอกจิ กรรม)

หัวขอ 56 7. งบประมาณ ลกั ษณะ/รปู แบบ/แนวทางการเขยี น 8. ระยะเวลาดําเนนิ งาน เปน สว นที่แสดงยอดงบประมาณ พรอมแจกแจงคาใชจา ย 9. สถานท่ี ในการดาํ เนนิ กจิ กรรมขนั้ ตา ง ๆ โดยทวั่ ไปจะแจกแจงเปน 10. ผรู บั ผดิ ชอบ หมวดยอ ย ๆ เชน หมวดคาวัสดุ หมวดคาใชจา ย หมวด 11. โครงการ/กจิ กรรมท่ี คา ตอบแทน หมวดคา ครภุ ัณฑ ซง่ึ การแจกแจงงบประมาณจะ มปี ระโยชนใ นการตรวจสอบความเปน ไปไดแ ละความ เก่ียวของ เหมาะสม นอกจากนคี้ วรระบุแหลง ทม่ี าของงบประมาณดว ย วาเปนงบประมาณแผน ดนิ งบชว ยเหลอื จากตา งประเทศ เงนิ กู หรืองบบริจาค จาํ นวนเทาไร ในการจดั ทําประมาณการ คาใชจายของโครงการจะตอ งตระหนักวา คาใชจา ยทง้ั หมด แบงออกไดเปน 2 สวน คือ คา ใชจ า ยจากโครงการ หรือ งบประมาณสวนทจ่ี า ยจรงิ และคา ใชจ า ยแฝง ไดแก คาใชจ า ย อ่ืน ๆ ทีเ่ กดิ ขึน้ จรงิ หรือมีการใชจา ยอยจู รงิ แตไมส ามารถระบุ รายการคา ใชจ ายนัน้ ๆ เปนจํานวนเงินไดอยางชดั เจน ดงั นนั้ ผูค ิดประมาณการตอ งศกึ ษาและทาํ ความเขา ใจในรายละเอียด โครงการหลกั เกณฑแ ละอตั ราการเบกิ จา ยเงนิ งบประมาณตาม ระเบยี บดวย ตอบคําถามวา “ทําเมื่อใด และนานเทาใด” (ระบุเวลาเรม่ิ ตนและ เวลาสิน้ สดุ โครงการอยางชัดเจน) โดยจะตองระบุ วัน เดือน ป เชนเดยี วกบั การแสดงแผนภูมิแกนท (Gantt Chart) เปน การระบสุ ถานท่ีตั้งของโครงการหรอื ระบวุ า กจิ กรรมนน้ั จะทํา ณ สถานทีแ่ หงใด เพ่อื สะดวกตอ การประสานงานและ จดั เตรยี มสถานท่ีใหพรอมกอนทีจ่ ะทํากิจกรรมน้นั ๆ เปน การระบุเพอื่ ใหท ราบวาหนว ยงานใดเปนเจาของ หรือ รบั ผิดชอบโครงการ โครงการยอ ย ๆ บางโครงการระบุเปน ชือ่ บคุ คลผรู บั ผิดชอบเปนรายโครงการ หลาย ๆ โครงการทหี่ นว ยงานดาํ เนนิ งานอาจมคี วามเกย่ี วของกนั หรอื ในแตล ะแผนอาจมีโครงการหลายโครงการ หรอื บาง โครงการเปนโครงการยอยในโครงการใหญ ดังนัน้ จงึ ตอง ระบโุ ครงการทีม่ คี วามเก่ียวของดว ย

57 หวั ขอ ลกั ษณะ/รปู แบบ/แนวทางการเขยี น 12. เครือขา ย/หนวยงานทใ่ี ห ในการดําเนินการโครงการ ควรจะประสานงานและขอ การสนบั สนุน ความรวมมือกับหนวยงานอ่ืน หากมีหนวยงานรวมดําเนิน โครงการมากกวาหนง่ึ หนวยงานตอ งระบุชื่อใหค รบถวน และ 3. ผลทค่ี าดวา จะไดรับ แจกแจงใหช ดั เจนดวยวาหนวยงานท่ีรวมโครงการแตละฝาย 14. การประเมนิ โครงการ จะเขามามีสวนรวมโครงการในสวนใด ซึ่งจะเปนขอมูล สะทอนใหเห็นวาโครงการจะประสบผลสําเร็จและเกิดผล 15. ตัวชวี้ ดั ผลสาํ เร็จของ ตอ เนอื่ ง โครงการ เมือ่ โครงการน้ันเสรจ็ สน้ิ แลว จะเกิดผลอยางไรบา งใครเปน ผไู ดร บั ผลประโยชนโดยตรงและผลประโยชนใ นดา น ผลกระทบของโครงการ บอกรายละเอียดการใหไ ดม าซึง่ คาํ ตอบวา โครงการทจี่ ดั นี้มี ประโยชนแ ละคุมคาอยางไร โดยบอกประเดน็ การประเมนิ / ตัวชี้วดั แหลง ขอ มูล วธิ ีการประเมนิ ใหสอดคลอ งกบั วตั ถปุ ระสงคหรอื เปา หมายของโครงการ 1. ตัวชีว้ ัดผลผลติ (output) หมายถงึ ตัวชีว้ ัดท่ีแสดงผลงาน เปน รปู ธรรมในเชิงปรมิ าณและ / หรอื คณุ ภาพอนั เกิดจากงาน ตามวตั ถปุ ระสงคข องโครงการ 2. ตัวชีว้ ัดผลลัพธ (out come) หมายถึง ตวั ชว้ี ัดทแี่ สดงถงึ ผลประโยชนจ ากผลผลติ ท่มี ผี ลตอบคุ คล ชุมชน สงิ่ แวดลอ ม เศรษฐกจิ และสังคมโดยรวม เร่อื งท่ี 3 การเผยแพรสูการปฏบิ ัติ 3.1 การเขยี นรายงาน การเขยี นรายงาน คอื การเขียนรายละเอียดตาง ๆ เก่ยี วกับการดําเนนิ งานของบคุ คลใน หนวยงาน ซึ่งรายงานแตละประเภทนนั้ กจ็ ะมวี ธิ ีการเขียนทีแ่ ตกตางกนั ออกไป รายงานจงึ เปนส่งิ จําเปน และสาํ คญั ในการบริหารงาน และการทีจ่ ะเสนอการเขยี นรายงานนั้นใหอ อกมาอยางมีประสทิ ธภิ าพ และ รวดเรว็ น้ัน ควรท่ีจะมีการวางแผนกาํ หนดเวลาเร่ิมตน และเวลาสน้ิ สุดของแตล ะรายงานไวด วย

58 วิธีการเขยี นรายงาน 1. เขยี นใหส ัน้ เอาแตข อความท่จี ําเปน 2. ใจความสาํ คญั ครบถวนวา ใคร ทําอะไร ทไ่ี หน เม่ือไร อยางไร 3. เขยี นแยกเร่ืองราวออกเปน ประเดน็ ๆ 4. เนือ้ ความทเ่ี ขียนตองลําดับไมส ับสน 5. ขอมูล ตัวเลข หรือสถิติตา ง ๆ ควรไดมาจากการพบเห็นจริง 6. ถาตอ งการจะแสดงความคดิ เห็นประกอบ ควรแยกความคิดออกจากตวั ขา วหรือ เร่อื งราวทเี่ สนอไปน้นั 7. การเขยี นบันทกึ รายงาน ถา เปน ของทางราชการ ควรเปน รปู แบบทใ่ี ชแนน อน 8. เม่ือบันทกึ เสร็จแลว ตองทบทวนและตง้ั คําถามในใจวา ควรจะเพม่ิ เติมหรือตัดทอน สวนใดทงิ้ หรือตอนใดเขยี นแลว ยงั ไมชดั เจน ก็ควรจะแกไขใหเ รยี บรอย วธิ ีการเขยี นรายงานจากการคนควา 1. รายงานคน ควา เชงิ รวบรวม เปน การรวบรวมขอมูลจากแหลงตาง ๆ มาเรยี บเรยี ง ปะตดิ ปะตอ กันอยา งมีระบบระเบียบ 2. รายงานคน ควา เชงิ วเิ คราะห เปนการนาํ ขอมลู ตาง ๆ ท่ไี ดม าวเิ คราะห หรอื คน หา คาํ ตอบในประเดน็ ใหช ดั เจน วิธีการนําเสนอรายงาน 1. รายงานดวยปากเปลา (Oral Reports) หรอื เสนอดว ยวาจา โดยการเสนอแบบบรรยาย ตอที่ประชุมตอ ผูบังคับบัญชา ฯลฯ ในกรณีพิเศษเชนน้ี ควรจดั เตรียมหวั ขอ ที่สาํ คัญ ๆ ไวใ หพรอ ม โดย การคดั ประเดน็ เร่อื งท่สี าํ คญั จัดลาํ ดับเรื่องทจ่ี ะนําเสนอกอนหนาหลังไว 2. รายงานเปน ลายลักษณอ ักษร (Written Reports) มักทาํ เปนรูปเลม เปนรปู แบบการ นําเสนออยา งเปน ทางการ (Formal Presentation) ลักษณะของรายงานทด่ี ี 1. ปกสวยเรียบ 2. กระดาษทใี่ ชม ีคณุ ภาพดี มขี นาดถกู ตอง 3. มหี มายเลขแสดงหนา 4. มีสารบญั หรือมหี วั ขอ เรื่อง 5. มีบทสรปุ ยอ 6. การเวนระยะในรายงานมคี วามเหมาะสม 7. ไมพมิ พข อ ความใหแนน จนดลู านตาไปหมด

59 8. ไมม ีการแก ขดู ลบ 9. พิมพอยางสะอาดและดเู รียบรอย 10. มผี งั หรอื ภาพประกอบตามความเหมาะสม 11. ควรมกี ารสรุปใหเ หลอื เพยี งสั้น ๆ แลว นํามาแนบประกอบรายงาน 12. จดั รปู เลมสวยงาม 3.2 การเขียนโครงงาน โครงงาน เปนกิจกรรมการเรียนการสอนทเี่ นน ผูเรยี นเปน สําคัญอยางแทจรงิ เพราะผูเ รยี น เปนผทู ่สี รา งความรดู ว ยตนเอง เรม่ิ จากการเลือกหวั ขอหรอื ปญหาที่มาจากความสนใจ ความสงสยั หรอื ความอยากรูอยากเหน็ ของตนเอง หวั ขอของโครงงานควรเปนเร่ืองใหม ทเี่ ฉพาะเจาะจง และทส่ี ําคญั ตอง เหมาะสมกับความรูค วามสามารถของตน การเขยี นโครงงานเปนการกําหนดกรอบในการทาํ งาน การเขียน โครงงานโดยทั่วไปจะมอี งคป ระกอบเชน เดยี วกับการเขียนโครงการ แตโ ครงงานเปนงานท่ีทําเสรจ็ แลว จะมชี ้ินงานดวยเม่ือมีโครงงาน และดาํ เนนิ การจดั ทาํ โครงงานเสร็จเรยี บรอยแลว ชน้ิ สดุ ทา ย คอื การเขียน รายงานโครงงาน การเขียนรายงานโครงงาน โดยทวั่ ไปมอี งคป ระกอบดงั น้ี 1. ช่อื โครงงาน ชอ่ื ผูทาํ โครงงาน 2. คํานาํ - สารบญั 3. ท่ีมาของโครงงาน อธบิ ายเหตุผลในการทาํ โครงงานน้ี 4. วัตถปุ ระสงคข องการทาํ โครงงาน 5. วธิ ดี าํ เนนิ การควรแยกเปน 3 ข้ันตอน ข้ันตอนที่ 1 การเตรียมการ ขั้นตอนท่ี 2 กระบวนการ วิธีดําเนนิ งานโครงงาน ขนั้ ตอนที่ 3 ผลงานโครงงาน ประโยชนทไ่ี ดร บั 6. สรปุ ผลและขอ เสนอแนะ

60 กิจกรรมบทที่ 5 คําชี้แจง ใหผ เู รยี นตอบคําถามตอ ไปน้ี โดยเขยี นตอบลงในสมุดบันทึกกจิ กรรมของผเู รียน แลว ตรวจสอบ ความถูกตอ งจากแนวเฉลยกจิ กรรมทายหนงั สือเรียน 1. เขยี นการเตรียมประเดน็ หนง่ึ ประเดน็ ใดในการจัดทําเวทปี ระชาคมโดยใชตาราง 2. บอกขอ ดีของการจดั สนทนากลมุ 3. บอกประโยชนข องการสมั มนา 4. การสํารวจประชามตมิ กี ป่ี ระเภท อะไรบาง 5. บอกลกั ษณะของรายงานท่ดี มี กี ่ขี อ อะไรบา ง 6. ใหผเู รยี นศกึ ษาคน ควาความรใู นเรอ่ื งที่ตนเองสนใจแลวนาํ มาเขียนรายงานในรปู แบบการ เขียนรายงานคน ควาเชงิ รวบรวม ไมน อ ยกวา 1 หนากระดาษ 7. เขยี นสรปุ ลกั ษณะของโครงงานหน่งึ หวั ขอ โดยระบุทมี่ า/ชอ่ื ผเู ขยี นดวย 8. เขียนสรปุ การทาํ งาน/กจิ กรรมเปน กลุม นน้ั มีประโยชน ทําใหไ ดพ ฒั นาตนเองอยางไร

61 บทท่ี 6 บทบาท หนา ท่ีของผนู าํ สมาชิกทดี่ ขี องชุมชนและสงั คม สาระสําคญั สิง่ สาํ คญั ทมี่ ีผลตอ ความสาํ เรจ็ ของการพัฒนาชุมชน และสงั คม ก็คือ ผูนํา เพราะผูนํามีภาระหนาท่ี และความรับผิดชอบท่ีจะตองวางแผน สั่งการ ดูแล และควบคุมใหการทํางานใด ๆ สําเร็จซ่ึงในการ ปฏบิ ัตงิ านตาง ๆ จะมีการแบงบทบาท หนาที่ ความรับผดิ ชอบ เพ่อื ใหการทํางานเปนไปดวยความราบร่ืน มีปญหาอุปสรรคนอยท่ีสุด งานสําเร็จตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว และเกิดประโยชนตอองคการ ซ่ึงการ จดั ทําและขบั เคลอื่ นแผนพัฒนาชมุ ชน และสงั คมจะสําเร็จไดก็จะตอ งมผี นู าํ และผตู ามท่ีดี ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวงั เม่อื ศึกษาบทท่ี 6 จบแลว ผูเรียนสามารถ 1. รูและเขา ใจบทบาท หนา ทข่ี องผูน าํ ชุมชน 2. เปนผนู ํา ผูตามในการจัดทําและขับเคลื่อนแผนพฒั นาตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม ขอบขา ยเนื้อหา เร่อื งที่ 1 ผนู ําและผูตาม เรอื่ งที่ 2 ผูน ํา ผูตาม ในการจดั ทาํ แผนพฒั นาชุมชน สังคม เร่ืองที่ 3 ผูน ํา ผูตามในการขบั เคล่อื นแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สังคม

62 เรือ่ งที่ 1 ผูนําและผูตาม ในการจัดทําและขับเคล่ือนแผนพัฒนาชุมชน สังคม สิ่งสําคัญที่มีผลตอความสําเร็จของการ พฒั นาชมุ ชน และสังคม ก็คอื ผนู ํา เพราะผนู าํ มภี าระหนาทแี่ ละความรับผิดชอบท่ีจะตองวางแผน ส่ังการ ดูแล และควบคุมใหการทาํ งานใด ๆ สําเร็จ ซงึ่ ในการปฏบิ ตั งิ านตา ง ๆ จะมกี ารแบงบทบาท หนาที่ ความ รับผิดชอบ เพื่อใหการทํางานเปนไปดวยความราบรื่น มีปญหา อุปสรรคนอย และงานสําเร็จตาม วัตถุประสงคที่ตั้งไว ซึ่งการจัดทําและขับเคลื่อนแผนพัฒนาชุมชน สังคม จะสําเร็จไดตองอาศัยการ ทาํ งานทม่ี ีผูนําและผตู ามทีด่ ี 1.1 ผนู าํ ความหมายของผนู ํา ผูนํา (Leader) คอื บุคคลท่มี คี วามสามารถในการชกั จงู ใหคนอน่ื ทํางานในสวนตาง ๆ ที่ตองการ ใหบ รรลุเปา หมายและวตั ถปุ ระสงคทตี่ ้ังไว ท้งั น้ีผนู ําอาจเปนบุคคลท่มี าจากการเลอื กต้งั หรอื แตงตั้ง หรือ การยกยองข้ึนมาของกลุม เพื่อใหทําหนาท่ีเปนผูชี้แนะและชวยเหลือใหกลุมประสบความสําเร็จ และมี การเรียกชื่อผูนําแตกตางกันออกไปตามลักษณะงานและองคการที่อยู เชน ผูบริหาร ผูจัดการ ประธาน กรรมการ ผูอ ํานวยการ อธกิ ารบดี ผวู า ราชการ นายอําเภอ กํานัน เปน ตน องคป ระกอบของความเปน ผนู ํา 1. ความรู เชน วชิ าการ รูรอบ รูตน รคู น รหู นา ท่ี เปนตน 2. ความคิดและจิตใจ เชน คิดเชิงบวก คิดเชิงวิเคราะห คิดเชิงระบบ หลักคิด สมาธิ วิสัยทัศน คดิ รเิ ริม่ สรางสรรค เปน ตน 3. บุคลิกภาพ เชน การวางตน ความมั่นใจ เอกลกั ษณ อารมณ การพูด การเปน ผใู ห เปน ตน 4. ความสามารถ เชน รูปแบบการทาํ งาน การตัดสนิ ใจ เปน ตน ประเภทของผนู ํา ผนู ําตามลักษณะของการใชอาํ นาจหนา ท่ี แบง ไดเ ปน 3 ประเภท คือ 1. ผนู าํ แบบเผด็จการ (Autocratic Leadership) หมายถงึ ผูนําที่เนน การบงั คับบัญชาและการออก คําสงั่ มักจะทําการตดั สินใจดวยตนเองเปนสว นใหญ และไมคอ ยมอบหมายอํานาจหนา ท่ใี หแกผ ตู ามหรอื ผใู ตบังคับบัญชามากนัก ลักษณะของผนู าํ ชนิดนเี้ ปนลกั ษณะเจานาย 2. ผูนําแบบประชาธิปไตย (Democratic Leadership) เปนผูนําที่ใหความสําคัญกับผูตามหรือ ผูใตบังคับบัญชา ไมเนนการใชอํานาจหนาที่ หรือกอใหเกิดความเกรงกลัวในตัวผูนํา แตจะใหโอกาส ผตู าม ไดแ สดงความคดิ เหน็ ในการปฏบิ ตั งิ านทกุ คน จะมีโอกาสเขา รวมพิจารณาและรว มตัดสนิ ใจไดดว ย

63 3. ผนู าํ แบบเสรนี ยิ ม (Laissez – faire or Free – rein Leadership) ผนู าํ ชนดิ นี้จะใหอ สิ ระเตม็ ทีก่ ับ ผูตาม หรือใหผูตามสามารถทําการใด ๆ ตามใจชอบ ผูตามจะตัดสินปญหาตาง ๆ ดวยตนเอง และอาจ ไดรับสิทธิในการจดั ทาํ เปา หมายหรอื วตั ถุประสงค หรอื จดั ทาํ แผนงานตา ง ๆ ได ผนู ําตามลักษณะการจัดการแบบมงุ งานกบั มุงคน แบงได 2 ประเภท คอื 1. ผนู าํ แบบมุง งาน (Job Centered) ผูนําชนิดนี้ใหความสําคัญตองาน โดยถือวาคนเปนปจจัยท่ี จะนํามาใชชวยใหการทํางานประสบความสําเร็จ ซึ่งจะตองควบคุมดูแลอยางใกลชิด และไมควรมอบ อํานาจการตดั สินใจใหกบั ลูกนอง 2. ผนู าํ แบบมงุ คน (Employee Centered) ผูนําชนิดนี้ใหความสําคัญและเห็นคุณคาของคนมีความ เชอ่ื ม่ันในตัวลกู นองหรอื ผูตาม จะไมขัดขวาง และคอยใหค วามชวยเหลือสนับสนุน สงเสริมใหลูกนองมี สว นรว มในการตัดสินใจตา ง ๆ ผูนําตามลักษณะการยอมรับจากกลมุ หรือสงั คม แบง ได 5 ประเภท คือ 1. ผูน าํ ตกทอด (Hereditary Leader) คือ ผูท ่กี ลมุ หรือสงั คมใหก ารยอมรับในลกั ษณะท่ีเปน การ สบื ทอด เชน การไดรบั ตาํ แหนง ตกทอดมาจากบรรพบรุ ุษ หรือผทู เี่ ปน ท่เี คารพนับถือของกลุมหรือสังคม นั้นมากอ น 2. ผนู าํ อยา งเปนทางการ (Legal Leader) คือ บคุ คลท่ีกลมุ หรือสังคมใหการยอมรับในลักษณะท่ี เปนทางการ เชน การไดรับการแตงต้ังหรือไดรับการเลือกต้ังอยางเปนทางการ เน่ืองจากมีคุณสมบัติ เหมาะสมทจี่ ะเปนผนู าํ 3. ผูนาํ ตามธรรมชาติ (Natural Leader) คือ ผูนาํ ท่กี ลมุ หรือสังคมยอมรับสภาพการเปนผูนําของ บุคคลใดบคุ คลหน่งึ ใหเ ปนผนู าํ กลุมไปสเู ปา หมายอยางไมเ ปน ทางการ และผูนํากป็ ฏบิ ัตไิ ปตามธรรมชาติ ไมไ ดมีการตกลงกันแตประการใด 4. ผูนําลักษณะพิเศษ หรือผูนาํ โดยอํานาจบารมี (Charismatic Leader) คือ ผูท่ีไดรับการยอมรับ จากกลมุ หรอื สังคมในลักษณะทเี่ ปนเพราะความศรทั ธา ทง้ั น้เี น่ืองจากมีความเคารพ เช่ือถือเพราะบุคคลนั้น มีคุณสมบัตพิ เิ ศษท่เี ปนที่ยอมรบั ของกลมุ 5. ผูนําสัญลักษณ (Symbolic Leader) คือ บุคคลท่ีไดรับการยอมรับในลักษณะที่เปนเพราะ บคุ คลน้นั อยูในตาํ แหนง หรือฐานะอนั เปน ทีเ่ คารพยกยองของคนท้งั หลาย คณุ ลกั ษณะของผูนํา 1. ทางความรูและสตปิ ญญา เชน รูรอบ มที กั ษะการคิดทีด่ ี ชอบรเิ รม่ิ สรา งสรรค เปนตน 2. ทางรางกาย เชน มีสุขภาพดี มีบุคลิกที่ดดู ี เปน ตน 3. ทางอารมณแ ละวุฒภิ าวะ เชน สมาธิดี มีความเชือ่ ม่ันในตนเอง ปรับตัวและมคี วามยืดหยนุ สงู เปน ตน

64 4. ทางอุปนสิ ยั เชน นาเชอื่ ถอื ไวใจได กลา ทจี่ ะเผชญิ ปญ หาอปุ สรรค รบั ผิดชอบดี มุงมัน่ อดทน พากเพียร พยายาม ชอบสงั คม เปน ตน ผนู ําทดี่ ี ผนู าํ ท่ีดี ควรมคี ณุ สมบตั ิ ดงั น้ี 1. วสิ ยั ทศั น (Vision) ผูน ําทดี่ ีตอ งมีวสิ ัยทศั น การมีวิสยั ทศั นเปน การมองการณไ กล เพ่ือกําหนด ทศิ ทางทีค่ วรจะเปนในอนาคต การมองเห็นกอ นคนอน่ื จะทาํ ใหป ระสบความสาํ เร็จกอน และเปนแรงขับ ท่นี าํ ไปสูจดุ หมายทต่ี อ งการ และผูนาํ จะตองสามารถส่ือสารวิสยั ทัศนของตนไปยังผูเกี่ยวของได และชักจูง หรือกระตุนใหผ ูต ามพงึ ปฏิบตั ไิ ปตามวสิ ยั ทัศนของผูน าํ นน้ั ๆ 2. ความรู (Knowledge) การเปน ผูนํานนั้ ความรูเ ปน สิง่ จาํ เปนทสี่ ดุ ความรูในท่ีนมี้ ิไดหมายถึง เฉพาะความรูเกีย่ วกับงานในหนา ที่เทา น้นั หากแตรวมถึงการใฝหาความรูเพ่ิมเติมในดานอื่น ๆ ดวย การจะ เปนผูน ําทีด่ ี หัวหนางานจึงตองเปนผูรอบรู ย่ิงรอบรูมากเพียงใด ฐานะแหงความเปนผูนําก็จะยิ่งมั่นคง มากขึน้ เทานนั้ 3. ความริเริ่ม (Initiative) ความริเร่ิม คือ ความสามารถที่จะปฏิบัติสิ่งหน่ึงสิ่งใดในขอบเขต อํานาจหนาท่ีไดดวยตนเอง โดยไมตองคอยคําส่ัง หรือความสามารถในการแสดงความคิดเห็นที่จะแกไข ส่งิ หน่งึ สิ่งใดใหดขี น้ึ หรอื เจริญขึ้นไดด ว ยตนเอง ความริเร่ิมจะเจริญงอกงามได หัวหนางาน จะตองมีความ กระตอื รอื รน คอื มีใจจดจอ งานดี มีความเอาใจใสตอ หนา ท่ี มพี ลังใจทตี่ อ งการความสาํ เร็จอยเู บือ้ งหนา 4. มคี วามกลาหาญและความเดด็ ขาด (Courage and Firmness) ผูนาํ ท่ดี จี ะตองไมก ลวั อันตราย ความยากลําบาก หรอื ความเจบ็ ปวดใด ๆ ท้ังทางกาย วาจา และใจ ผนู าํ ท่มี คี วามกลา หาญ จะชวยใหสามารถ เผชญิ ตองานตาง ๆ ใหสาํ เรจ็ ลลุ ว งไปได นอกจากความกลา หาญแลว ความเด็ดขาดก็เปนลักษณะหนึ่งที่ จะตองทําใหเกดิ ในตวั ของผูนาํ 5. การมีมนุษยสัมพันธ (Human Relations) ผูนําท่ีดีจะตองรูจักประสานความคิด ประสาน ประโยชนสามารถทํางานรว มกับคนทกุ เพศ ทุกวัย ทุกระดบั การศกึ ษาได ผนู าํ ที่มีมนษุ ยสัมพนั ธดี จะชว ยให ปญหาใหญกลายเปนปญหาเล็กได 6. มีความยุติธรรมและซื่อสัตยสุจริต (Fairness and Honesty) ผูนําที่ดีจะตองอาศัยหลักของ ความถูกตอง หลกั แหงเหตุผลและความซ่อื สัตยส จุ ริตตอ ตนเองและผูอ ื่น เปนเคร่ืองมือในการวนิ จิ ฉยั ส่ังการ หรือปฏิบตั งิ านดวยจติ ที่ปราศจากอคติ ปราศจากความลาํ เอียง ไมเลน พรรคเลน พวก 7. มคี วามอดทน (Patience) ความอดทนจะเปน พลังอันหนึ่งท่จี ะผลกั ดันงานใหไ ปสู จดุ หมายปลายทางไดอ ยา งแทจริง

65 8. มีความต่ืนตัว ( Alertness ) ความตื่นตัว หมายถึง ความระมัดระวัง ความสุขุม รอบคอบ ความไมประมาท ไมย ดื ยาดหรือขาดความกระฉับกระเฉง มีความฉับไวในการปฏบิ ตั งิ านทันตอ เหตุการณ ความต่นื ตวั เปน ลักษณะท่ีแสดงออกทางกาย และทางจติ ใจ จะตอ งหยุดคิดไตรตรองตอเหตุการณตาง ๆ ทเ่ี กดิ ข้นึ รูจ กั ใชด ลุ ยพินจิ ทจี่ ะพจิ ารณาสงิ่ ตา ง ๆ หรอื เหตุการณตา ง ๆ ไดอยา งถูกตอง คือ ผูนําท่ีดีจะตอง รจู กั วิธีควบคมุ ตวั เอง นั่นเอง (Self Control) 9. มคี วามภกั ดี (Loyalty)การเปนผนู าํ หรอื หวั หนา ทด่ี นี ้ันจาํ เปน ตอ งมคี วามจงรักภักดตี อ หมูคณะ ตอสวนรวมและตอองคก าร ความภักดนี ้ี จะชว ยใหผนู ําไดรับความไววางใจ และปกปองภัยอันตรายใน ทกุ ทศิ ไดเปน อยางดี 10. มคี วามสงบเสงีย่ มไมถอื ตัว(Modesty)ผนู าํ ทีด่ ีจะตองไมหยิ่งยโสไมจองหอง ไมวางอาํ นาจ และ ไมภ มู ิใจในสิ่งทไี่ รเหตุผล ความสงบเสง่ยี มนี้ถามีอยูในผูนําหรือหัวหนางานคนใดแลว ก็จะทําใหผูตาม หรือลกู นองมคี วามนบั ถือ และใหค วามรว มมือเสมอ การเสรมิ สรา งภาวะผนู าํ ชมุ ชน การเสรมิ สรางภาวะผนู ําชุมชน หมายถงึ การทาํ ใหผ นู ําชุมชนมีภาวะผูนําเพ่ิมข้ึน หรือการทําให ผูนําชุมชนมีการปรับปรุงความสามารถในการทําหนาที่หรือการเขาไปมีบทบาทในแตละดานใหกับชุมชน ไดดีขึ้น การเสรมิ สรา งภาวะผูนํา ไดแ ก การพฒั นาบุคลิกภาพ การพัฒนารูปลักษณ การพัฒนาทักษะใน การติดตอสือ่ สาร การพัฒนาความทรงจาํ และการพฒั นาความคดิ ริเริ่มสรา งสรรคโดยมรี ายละเอียดดงั น้ี การพฒั นาบุคลกิ ภาพของผนู าํ ไดแ ก การเสริมสรา งมนษุ ยสมั พันธ เชน การควบคุมตนเอง การรับ- ฟงผอู น่ื การมคี วามซือ่ สตั ยต องาน เพ่อื นรวมงาน การรูจักถอมตน การใหความรวมมือกับผูอ่ืน การถนอม- นาํ้ ใจผอู นื่ เปนตน การเขา ใจความตอ งการของชมุ ชนและการสรางภาพลักษณ เชน ความม่ันใจในตัวเอง แรงจูงใจในการทํางาน การปรับตัวเขากบั ผูอืน่ การแสดงความคิดเหน็ เปนตน การพฒั นารูปลกั ษณข องผนู ํา ไดแก การออกกําลังกาย การรับประทานอาหารที่เปนประโยชน ถูกหลกั โภชนาการ การรกั ษารูปรา งและสัดสวน การรจู กั การแตง กาย และการพฒั นามารยาท เชน มารยาท- ในการแนะนําตัว มารยาทในโตะอาหาร มารยาทตอคนรอบขาง มารยาทในท่ีทํางาน มารยาทในการ ประชุม เปนตน การพฒั นาทกั ษะในการติดตอ ส่ือสาร ไดแก การพูด การฟง การสื่อสารทางโทรศัพท การพูดใน ทช่ี มุ ชน การวิเคราะหกลุม ผฟู ง การวเิ คราะหเนอ้ื หา การอาน การเขียน การใหค าํ แนะนํา คาํ ปรึกษา การพฒั นาความทรงจํา ไดแก การจาํ รายละเอยี ดของงาน การจาํ รายละเอียดเก่ยี วกับบคุ คล การจําเกยี่ วกับตวั เลข การพัฒนาความคิดริเริ่มสรางสรรค เปน การพัฒนาเพ่ือหาวิธีการใหม ๆ ทําใหกลาคิด กลาแสดงออก ทาํ ใหมองโลกกวาง และมคี วามยดื หยนุ สรา งผลงานใหม ๆ

66 ภาวะผนู าํ ของชมุ ชน 1. ดานการบรหิ ารตนเอง ผนู าํ ควรเปน ผูมคี วามรูความสามารถ มคี ุณธรรม ศีลธรรม จริยธรรม มีวินยั ในตนเอง และมีบคุ ลกิ ภาพดี 2. ดานการบรหิ ารงานผนู าํ ควรมกี ารวางแผนการปรับปรุงแกไ ขงบประมาณการเงิน บัญชี การบรหิ าร งบประมาณ การพัฒนางานอยางตอเน่ือง การควบคุมและประเมินผล การสรางและการพัฒนาทีมงาน และการมีความรบั ผิดชอบตอชมุ ชน 3. ดานการบรหิ ารสังคม ผนู าํ ควรมีมนษุ ยสัมพนั ธท ด่ี ี ความเปนประชาธปิ ไตย การประสานงานดี และการเปน ทป่ี รึกษาที่ดี หนาทข่ี องผนู ําชมุ ชน ในการทําหนาที่เปนผูนําชุมชนน้ัน จะตองเปนผูรักษาหรือประสานใหสมาชิกของชุมชนอยู รวมกัน คอื ตองอยใู กลช ิดกบั ชมุ ชน มคี วามสัมพันธก ับคนในชมุ ชน และเปนท่ียอมรับของคนในชุมชน อีกทง้ั ผนู ําจะตอ งเปน ผูปฏบิ ตั ิภารกิจของชุมชนใหบรรลวุ ัตถุประสงค คือ ตองรบั ผิดชอบในกระบวนการ วิธกี ารทาํ งานดวยความมัน่ คงและเขาใจ และตอ งทาํ งานใหบรรลุเปาหมาย นอกจากนั้น ผนู ําชมุ ชนจะตอง มีบทบาทในการสนับสนุนใหเกิดการติดตอสัมพันธในกลุม คือ จะตองปฏิบัติงานในลักษณะอํานวย ความสะดวกใหสมาชิกในชุมชนเกิดการติดตอสัมพันธและปฏิบัติตอกันดวยดี การติดตอสื่อสารที่ดี จงึ เปนสงิ่ สาํ คญั และเปนการชวยใหหนา ทีผ่ นู ําชมุ ชนบรรลเุ ปาหมาย แนวทางในการทาํ หนา ท่ผี ูนาํ ชมุ ชน 1. สรางความสามัคคใี หเ กิดขน้ึ ในชมุ ชน 2. กระตุน ใหส มาชกิ ทําส่ิงท่ีเปนประโยชนตอชมุ ชน 3. พัฒนาสมาชกิ ใหเ กิดภาวะผูน ํา 4. รว มกบั สมาชกิ กําหนดเปา หมายของชุมชน 5. บรหิ ารงาน และประสานงานในชมุ ชน 6. ใหค าํ แนะนาํ และช้ีแนวทางใหก บั ชมุ ชน 7. บาํ รุงขวัญสมาชกิ ในชุมชน 8. เปน ตัวแทนชุมชนในการตดิ ตอประสานงานกบั หนว ยงานอน่ื ๆ 9. รบั ผดิ ชอบตอผลการกระทาํ ของชุมชน บทบาทผูน าํ ชุมชน ดา นเศรษฐกิจ 1. ทําใหครวั เรอื นสามารถพ่ึงตนเองได 2. สง เสรมิ อาชีพท่ีตอบสนองตอ ความตองการของชมุ ชน

67 3. สงเสรมิ วิสาหกิจชุมชนตามความเหมาะสม ดา นการจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอมในชุมชน 1. บริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยางเหมาะสม 2. เสริมสรา งสภาพแวดลอมท่ดี ี 3. วางระบบโครงสรา งพ้ืนฐานเพยี งพอตอความตองการ ดานสุขภาพอนามัย 1. วางระบบโครงสรา งพ้นื ฐานเพ่อื สุขภาพจากการมสี วนรว มของชุมชน 2. จัดการเพือ่ เสริมสรางสุขภาพ 3. การปองกนั โรค 4. การดูแลสุขภาพดวยตนเอง ดา นศาสนา วฒั นธรรม และประเพณี 1. การนับถือศาสนาทีย่ ดึ เหนีย่ วจติ ใจ 2. การมวี ิถีชวี ติ แบงปนเออ้ื อาทร 3. การอนรุ กั ษส ืบสานวฒั นธรรมประเพณขี องชมุ ชน ดานการพัฒนาคน 1. การจัดการความรู / ภมู ปิ ญ ญา 2. การพฒั นาผนู ํา / สมาชกิ ในชมุ ชน ดานการบรหิ ารจดั การชุมชน 1. การจดั ทาํ ระบบขอมูล 2. การจัดทาํ แผนชมุ ชน 3. การจดั สวัสดิการชมุ ชน 4. การเสรมิ สรา งการเมือง การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตย ดานความมนั่ คงปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสนิ 1. การปองกนั รกั ษาความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพยสนิ ของชมุ ชน 2. การปอ งกนั ภยั ธรรมชาติ 1.2 ผูต าม ความหมายของผตู าม (Followers) และภาวะผตู าม (Followership) ผูตาม และภาวะผูตาม หมายถึง ผูป ฏบิ ตั ิงานในองคก ารที่มีหนาท่ี และความรับผิดชอบท่ีจะตอง รบั คําส่งั จากผูน ําหรือผูบังคบั บัญชามาปฏิบัตใิ หสําเร็จและบรรลุวตั ถปุ ระสงค

68 พฤติกรรมของผตู าม 5 แบบ ดงั น้ี 1. ผูตามแบบหางเหนิ มีลักษณะเปน คนเฉ่ือยชา มคี วามเปนอิสระ และมคี วามคิดสรา งสรรคส งู สวนมากเปนผตู ามทีม่ ีประสทิ ธผิ ล มปี ระสบการณ และผา นอุปสรรคมากอ น 2. ผตู ามแบบปรับตาม หรอื เรียกวา ผตู ามแบบครับผม มีลักษณะเปน ผทู ่ีมคี วามกระตอื รือรน ในการทํางาน แตขาดความคดิ สรางสรรค 3. ผูตามแบบเอาตัวรอดมลี กั ษณะเลือกใชพ ฤตกิ รรมแบบใดขน้ึ อยกู บั สถานการณทจ่ี ะเอือ้ ประโยชน กบั ตวั เองไดมากที่สดุ และมคี วามเส่ียงนอ ยทส่ี ดุ 4. ผตู ามแบบเฉือ่ ยชา มีลักษณะชอบพงึ่ พาผูอ น่ื ขาดความอสิ ระ ไมม คี วามคดิ ริเร่มิ สรา งสรรค 5. ผูต ามแบบมปี ระสทิ ธผิ ล มลี ักษณะเปน ผูทมี่ คี วามตั้งใจในการปฏิบตั ิงานสงู มีความสามารถ ในการบรหิ ารจดั การงานไดด ว ยตนเอง ลักษณะผตู ามที่มีประสทิ ธผิ ล ดงั น้ี 1. มีความสามารถในการบรหิ ารจัดการตนเองไดด ี 2. มีความผูกพันตอ องคก ารและวตั ถุประสงค 3. ทํางานเต็มศกั ยภาพ และสดุ ความสามารถ 4. มีความกลาหาญ ซ่ือสตั ย และนา เชอ่ื ถอื การพฒั นาศักยภาพตนเองของผูตาม การพัฒนาลกั ษณะนิสัยตนเองใหเปนผูตามทมี่ ปี ระสิทธิผล มี 7 ประการ คอื 1. ตอ งมีนสิ ยั เชิงรกุ (Be Proactive) 2. เร่มิ ตน จากสวนลึกในจติ ใจ (Begin with the end in Mind) 3. ลงมือทาํ สิ่งแรกกอ น (Put first Things first) 4. คดิ แบบชนะทัง้ สองฝาย (Think Win-Win) 5. เขาใจคนอนื่ กอ นจะใหคนอ่นื เขา ใจเรา (Seek first to Understand, Then to be Understood) 6. การรวมพลัง (Synergy) หรือทํางานเปนทีม (Team Work) 7. ลบั เล่อื ยใหค ม หรือพฒั นาตนเองอยูเสมอ (Sharpen The Saw) แนวทางสง เสรมิ และพฒั นาผตู ามใหม คี ุณลกั ษณะผูตามทพี่ งึ ประสงค มดี ังน้ี 1. การดแู ลเอาใจใส เรอื่ งความตอ งการขนั้ พ้นื ฐานของมนษุ ยใหก ับสมาชกิ และเปน ธรรม 2. การจูงใจดว ยการใหรางวัลคําชมเชย 3. การใหค วามรู และพัฒนาความคิดโดยการจดั โครงการฝก อบรม สัมมนา และศึกษาดงู าน 4. ผนู าํ ตอ งปฏิบัติตนใหเ ปนแบบอยาง 5. มีการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานอยางตอ เน่อื ง

69 6. ควรนําหลกั การประเมนิ ผลงานท่ีเนนผลสมั ฤทธิ์ 7. สงเสรมิ การนําหลักธรรมมาใชใ นการทาํ งาน 8. การสงเสรมิ สนับสนนุ ใหผ ูต ามนาํ หลกั ธรรมาภบิ าลมาใชในการปฏิบตั ิงานอยา งจรงิ จัง เรอ่ื งท่ี 2 ผูนาํ ผตู ามในการจัดทาํ แผนพัฒนาชุมชน สังคม แผนพฒั นาชุมชน สงั คม มชี อื่ เรยี กแตกตา งกนั ไปในแตล ะทองถิน่ เชน แผนชุมชน แผนชมุ ชน- พึ่งตนเอง แผนชีวิต แผนชีวิตชุมชน แผนชีวิตชุมชนพ่ึงตนเอง แผนแมบทชุมชน แผนแมบทชุมชน- พ่งึ ตนเอง เปนตน แผนชมุ ชน คอื เครื่องมอื พฒั นาชุมชนที่คนในชุมชนรวมตัวกนั จดั ทาํ ข้นึ เพอ่ื ใชเปน แนวทางใน การพฒั นาชุมชนของตนเองใหเ ปนไปตามสภาพปญหาและความตองการทีช่ ุมชนประสบอยูรวมกัน โดยคน ในชุมชนรวมกันคิด ตัดสินใจ กําหนดแนวทางและทํากิจกรรมการพัฒนาของชุมชนดวยหลักการ พ่งึ ตนเองตามศกั ยภาพ ภมู ปิ ญญา วิถีชวี ิต วฒั นธรรม ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมในทอ งถน่ิ เปน หลัก กลาวโดยสรุป แผนชุมชน หมายถึง แผนที่ทุกคนในชุมชนมีสวนรวมคิด รวมทําทุกขั้นตอน เพ่ือใชแ กป ญ หาชุมชนตนเองและทุกคนในชุมชนไดร บั ผลประโยชนจากการพัฒนารว มกัน การจดั ทําแผนพัฒนาชมุ ชน น้ัน ผูนําชุมชน จะตองเปนผูริเร่ิมจัดทําโดยสรางการมีสวนรวมของ คนในชุมชน ดังน้ี 1. เตรยี มความพรอมทมี งาน 1.1 ทมี งานจดั ทาํ แผน ผนู าํ ชมุ ชนรว มกบั ทมี งานพฒั นาชมุ ชนระดับอาํ เภอเผยแพรความคดิ สรา งความรู ความเขา ใจ แกสมาชิกในชุมชนเก่ียวกบั แผนชมุ ชนถงึ กระบวนการเทคนคิ การเปนวิทยากรบทบาทหนา ท่ี ความสาํ คญั ใน การจัดทําแผนชมุ ชน เพ่ือคนหา คัดเลอื กบคุ คล เปนคณะทาํ งานระดับหมบู า น/ชุมชน รว มกับทกุ ภาคสว น โดยพจิ ารณาผูทมี่ คี ณุ สมบตั เิ หมาะสมกับการทํางาน ตองการทํางานเพื่อชุมชน ชุมชนใหการยอมรับให เปน คณะทาํ งาน เชน กํานนั ผูใหญบาน ผูนาํ ตามธรรมชาติ แกนนําอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจาํ หมูบาน (อสม.) อาสาพัฒนาชุมชน (อช.) ภูมิปญญา ผูเฒาผูแก พระสงฆ นักวิชาการทองถ่ิน บุคคลในองคการ บริหารสว นตําบล (อบต.) สวนราชการ และหนว ยงานเอกชน เปนตน 1.2 ทีมงานผูสงเสรมิ กระบวนการจดั ทาํ แผน ทมี งานภาคเี ครือขายในการจัดทําแผน เปนภาคีการพัฒนาซึ่งมีท้ังภาคราชการ ภาคประชา สงั คม สถาบันวชิ าการ และองคกรพัฒนาเอกชน จํานวน 19 องคกร ไดแก 1.2.1 ภาคราชการ จาํ นวน 11 องคกร คือ กรมการปกครอง กรมสงเสริมการปกครองสวน ทองถิ่น สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สํานักงาน กศน.)

70 กรมสงเสริมวิชาการเกษตร กรมการพัฒนาชุมชน (พช.) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (สบส.) กรมประชาสัมพันธ องคการส่ือสารมวลชนแหงประเทศไทย (อสมท.) ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณการเกษตร (ธกส.) สาํ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) และ สาํ นักงานกองบญั ชาการทหารสูงสดุ (บก.สงู สดุ ) 1.2.2 ภาคประชาสังคม จาํ นวน 3 องคกร คือ สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (พอช.) สํานักงาน- คณะกรรมการกองทนุ หมูบา นและชมุ ชนเมอื งแหง ชาติ (สทบ.) และสํานักงานคณะกรรมการกองทุนเพ่ือ การวิจัย (สกว.) 1.2.3 สถาบันวชิ าการ จาํ นวน 2 องคกร คือ ทบวงมหาวิทยาลยั และสถาบันราชภฏั 1.2.4 ภาคเอกชน จํานวน 3 องคกร คือ มูลนิธิหมูบาน วิทยาลัยการจัดการทางสังคม (วจส.) และสถาบนั ชุมชนทองถ่นิ พฒั นา 2. เตรยี มความพรอมขอ มูลและพนื้ ท่ี 2.1 ขอมลู ไดแก ขอ มลู ความจาํ เปนพ้นื ฐาน (จปฐ.) ขอมูลพืน้ ฐานระดบั หมบู าน/ชุมชน (กชช. 2 ค) คอื ขอมูลพ้ืนฐานของหมูบานทแ่ี สดงใหเ หน็ สภาพท่ัวไปและปญ หาตาง ๆ ของหมบู าน ไดแ ก โครงสรา งพน้ื ฐานเศรษฐกจิ สุขภาพและอนามยั ความรูและการศกึ ษา ความเขมแข็งของชุมชน ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม สภาพแรงงาน ยาเสพติด ขอ มูลศักยภาพชุมชน 2.2 พน้ื ท่ี คือ ความพรอ มของพน้ื ทมี่ ดี านใดบาง เชน ทนุ ทางสังคม ไดแ ก บคุ คล ภูมิปญญา ทนุ ทางเศรษฐกจิ ไดแ ก ทรพั ยากรในการประกอบอาชีพ ทุนของชุมชนทีเ่ ออ้ื ตอการวางแผนชมุ ชน 3. ดําเนนิ การจัดทาํ แผนชุมชน การจดั ทําแผนพฒั นาชุมชนนนั้ คณะทาํ งาน ซ่ึงเปนแกนนําชุมชน ในการจดั ทาํ แผนใชเวทีประชาคมในการประชุมเพ่อื วางแนวทางดว ยกระบวนการกลมุ ชุมชน ดงั น้ี 3.1 การศึกษาชุมชนตนเอง คณะทํางานชุมชนนําพาสมาชิกชุมชนใหศึกษาเรียนรูชุมชนของตนเอง เชน สภาพ การเงนิ ของครวั เรอื นเปน อยางไร สภาพทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมในอดีตกับปจจุบันแตกตาง กันหรอื ไม อยา งไร เนอื่ งจากเหตุใดสภาพสังคมน้ันพฤติกรรมของคนในชุมชนพึงประสงคเปนไปตาม จารีตประเพณี วฒั นธรรมเพยี งใด เปน ตน 3.2 สาํ รวจรวบรวมขอ มูลชุมชน ผนู าํ และสมาชกิ ในชมุ ชนรว มกนั ออกแบบเคร่ืองมือสํารวจขอมูลเอง หรือนําแบบสํารวจ ขอมูลท่ีหนวยงานมีอยู เชน กชช. 2ค หรือ จปฐ. มาปรับปรุงเพิ่มเติมขอมูลที่ตองการทราบ แลวนําไป สํารวจขอ มลู ชมุ ชน หรอื สํารวจขอ มลู โดยการจดั เวทปี ระชาคม เพื่อเรียนรูสภาพปญหาและความตองการ ของชมุ ชน ซ่งึ ผสู าํ รวจขอ มลู และผูใหขอมลู ก็คอื คนในชุมชน น่นั เอง

71 3.3 วเิ คราะหขอ มูล/สังเคราะหข อมูล คณะทํางานชุมชน ผูน าํ ชุมชน สมาชิกในชุมชนรว มกับทีมงานสงเสริมกระบวนการจัดทํา แผนชุมชน นําขอมูลที่เก็บรวบรวมมา แยกแยะตามประเภทของขอมูล เชน ขอมูลดานครอบครัว ดา นเศรษฐกจิ ดานอาชพี ดา นสังคม ดานการคมนาคม ดานการศึกษา ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ดานการ สาธารณสุขดา นการเมืองการปกครองดา นโครงสรางพืน้ ฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิต ดานทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอม เปน ตน ซึ่งจะทาํ ใหท ราบถึงปญหาและสาเหตุของปญหาในชมุ ชน 3.4 จัดทาํ แผนชุมชน มีขน้ั ตอนดงั นี้ 3.4.1 ยกรางแผนชุมชน คณะทํางานจัดทําแผนเชิญบุคคลที่มีความรอบรูและมีสวน เก่ียวของกับการทําแผนประชาชนในชุมชน ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทํารางเคาโครงของแผนชุมชน จัดทําแผนงาน โครงการกิจกรรมบนพ้ืนฐานของขอ มลู ชมุ ชนทส่ี อดคลองกบั แนวนโยบายของรัฐ ยึดหลกั แนวทางการพึ่งตนเองอยางยงั่ ยนื 3.4.2 ประชาพจิ ารณแ ผนชมุ ชน จดั ประชมุ ประชาคมสมาชกิ ชุมชน เพ่ือนาํ เสนอรางแผน ใหส มาชิกในชุมชนรวมแสดงความคิดเห็น รวมกันพิจารณาตรวจสอบขอมูล แกไข ปรับปรุง เพิ่มเติม แผนงานโครงการ กจิ กรรมใหถ ูกตองตามความเปนจริงและเปนปจจุบัน สอดคลองกับสภาพปญหาและ ความตองการของชุมชน ประชาชนในชุมชนใหความเห็นชอบ ยอมรับเปนเจาของรวมกัน เพ่ือผลักดัน แผนชุมชนใหเกิดการใชงานไดจริง แลวจัดทําเอกสารเปนรูปเลมท่ีสามารถอางอิง นําไปใชในการ ประสานงาน การสนับสนุนใหเกิดโครงการ กิจกรรมตามที่กําหนด ตลอดจนใชเปนเคร่ืองมือการ ดาํ เนนิ งานพัฒนาชุมชน และประสานความรว มมอื ยกระดับคุณภาพชวี ติ ท่ีดีข้นึ ของสมาชิกในชุมชนและ สามารถตรวจสอบระดบั ความกาวหนา ของการพฒั นากบั แนวทางทว่ี างไวได กลาวโดยสรุปแลว ทั้งผูนําและผูตาม จะตองมีสวนรวมในกระบวนการจัดทําแผนพัฒนา ชุมชนทกุ ขั้นตอน ท้ังในดา นการศกึ ษาเรยี นรชู มุ ชน ตนเอง การสาํ รวจ รวบรวม วิเคราะห สังเคราะหขอมูล ตรวจสอบขอมูล เพอื่ คนหาปญหาและสาเหตขุ องปญหา ยกรางแผนและจัดทําแผนฉบับสมบูรณ เมื่อแตละ หมบู าน/ชมุ ชน ไดจัดทําแผนพฒั นาชมุ ชนเสรจ็ แลว ก็นํามาบูรณาการในระดับตาํ บล/เทศบาล อําเภอ และ จงั หวัด เปนแผนพฒั นาสงั คม ดงั นี้ 1. คณะทาํ งานแผนระดบั หมูบาน/ชมุ ชน นําแผนชมุ ชนตนเองเขา รว มบรู ณาการแผนชุมชน สังคม ระดับตาํ บล/เทศบาล โดยคณะทาํ งานระดบั ตาํ บล/เทศบาล เปนผูอํานวยการบูรณาการขึ้น จากนั้น มอบแผนของหมูบาน/ชุมชน ระดับตําบล/เทศบาล ใหแ กองคก รปกครองสว นทอ งถิน่ และหนวยงานภาค-ี เครอื ขา ย นาํ ไปบูรณาการกับแผนพัฒนาทองถ่ิน และแผนพัฒนาของหนวยงานภาคีตาง ๆ และนําไปสู การปฏบิ ตั ิ

72 2. ในระดับอําเภอ ก็จะนําแผนชุมชนมาบูรณาการเปนแผนพัฒนาระดับอําเภอและ แผนพฒั นาของทกุ ๆ อาํ เภอ ก็จะถูกนาํ มาบรู ณาการเปน แผนระดับจังหวัด ซึ่งแผนพัฒนาชุมชน สังคมน้ี ภาครฐั ก็สามารถนํามากาํ หนดเปน แผนยทุ ธศาสตรใ นการพฒั นาประเทศไดเ ปนอยา งดี เนื่องดวยแผนน้ัน เกิดข้นึ มาจากการมสี ว นรวมในการพฒั นาจากประชาชนในทองถ่ิน 3. คณะทํางานแผน ซ่ึงเปนผูนําในการจัดทําแผนตองติดตามผลวา แผนท่ีไดจัดทําข้ึนนั้น มผี ลเปน อยา งไร มหี นวยงานใดบา งทแี่ ปลงแผนพฒั นาชมุ ชนไปดําเนินการ ดําเนินการแลวมีผลอยางไร แกป ญ หาไดหรือไม แผนใดไมไดรับการนําไปสูการปฏิบัติ แลวสรุปเปนขอมูล เพ่ือใชเปนแนวทางใน การจดั ทาํ แผนพฒั นาหมูบาน/ชมุ ชนในคร้งั ตอ ไป 4. คณะทํางานแผน ทําการทบทวนปรับปรุงแผนพัฒนาอยางตอเนื่องทุกป เพื่อให กระบวนการเรียนรูการจัดทําแผนพัฒนาชุมชน สังคมแบบมีสวนรวม นั้น เปนเครื่องมือในการพัฒนา ศกั ยภาพยกระดบั คุณภาพของคนในหมูบาน/ชุมชน เร่ืองที่ 3 ผูนํา ผูตามในการขับเคล่ือนแผนพฒั นาตนเอง ชมุ ชน สงั คม เม่อื จดั ทําแผนชมุ ชนเปนรปู เลมเอกสารเรยี บรอยแลว ผนู ําชุมชนและประชาชนในชุมชนมสี วนรว ม ขับเคล่ือนนําไปสูการปฏิบัติ จึงจะมีคุณคาและเกิดประโยชนตอชุมชน ซึ่งแนวทางในการขับเคลื่อนมี ดังนี้ 1. คณะทํางานระดับหมูบาน/ชุมชน และชาวบาน ซ่ึงเปนสมาชิกของชุมชนจัดประชุมปรึกษา หารอื รวมกันพจิ ารณาการนาํ โครงการ/กิจกรรมไปดําเนินการใหบ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคทีก่ ําหนดโดย 1.1 จัดลําดบั ความสาํ คญั ของโครงการ/กิจกรรม วาโครงการใด มีความสําคัญที่ตองดําเนินการ กอน-หลัง 1.2 จดั ประเภทของแผนงาน ซง่ึ แบง ออกเปน 3 ประเภท คือ 1.2.1 แผนชมุ ชนทชี่ มุ ชนสามารถดาํ เนินการไดเอง 1.2.2 แผนชุมชนทช่ี มุ ชนและหนวยงานภายนอก รวมกันดาํ เนินการ 1.2.3 แผนชมุ ชนทตี่ อ งประสานหนว ยงานภายนอก เขา มาใหก ารสนับสนนุ 2. แบงบทบาทหนาท่ีของคณะทํางาน อาสาสมัคร สมาชิกชุมชน เปนผูรับผิดชอบแผนงาน โครงการ/กจิ กรรม เพือ่ ผลักดันใหมกี ารนาํ ไปปฏิบัตจิ ริงในชุมชน 3. รว มกนั ดําเนินกิจกรรมของโครงการใหบรรลุผลตามที่ตัง้ ไวในแผน 4. ตดิ ตามผลความกาวหนา ปญหา อุปสรรคของการดําเนินโครงการตามแผนงาน เพ่ือ ชวยกนั แกไ ขปญหาอุปสรรคท่เี กิดข้นึ 5. ประเมนิ ผลการดําเนินการโครงการกิจกรรมสําเร็จตามวัตถุประสงคที่ตั้งไวหรือไม เพียงใด

73 กจิ กรรมบทที่ 6 1. ใหผเู รยี นอธิบายความหมายของผนู าํ ชุมชน และหนา ทข่ี องผูนาํ ชมุ ชน 2. ใหผเู รยี นอธิบายการเปน สมาชกิ ทด่ี ีหรือผูตามทด่ี ี 3. ใหผ เู รียนแบง กลมุ ๆ ละ 5 คน และรวมกนั ระดมความคิดโดยแบงบทบาทหนาที่ของสมาชิก ในกลมุ ใหเ ปนผูน ําและผูตามในการจดั ทาํ โครงการการปอ งกนั “ไขห วดั 2009”หรอื “ไขหวดั ใหญสายพันธใุ หม ชนิด เอ (เอช 1 เอ็น 1)” ในชุมชนของผูเ รียน วา ควรปฏิบัติหนาทีอ่ ยา งไรใหเ กิดความเหมาะสม

74 แนวเฉลยกิจกรรม แนวเฉลยกิจกรรมบทท่ี 1 ขอ 1 ความหมาย 1. การพฒั นาตนเอง หมายถึง ความตองการของบคุ คลทีจ่ ะพฒั นาความรู ความสามารถของ ตนจากท่ีเปน อยู ใหม คี วามรู ความสามารถที่มากข้นึ หรอื สงู ขนึ้ 2. การพัฒนาชุมชน หมายถึง กระบวนการสง เสรมิ ความเปน อยูของประชาชนใหดีขึ้น โดย ประชาชนเขา รว มมือและริเรม่ิ ดาํ เนนิ งานเอง 3. การพฒั นาสังคม หมายถึง กระบวนการเปล่ียนแปลงท่ดี ที ัง้ ดา นเศรษฐกจิ สังคม การเมือง การปกครอง วัฒนธรรม เพ่ือประชาชนจะไดมีชีวิตความเปนอยูท่ีดีขึ้นท้ังทางดานอาหาร ท่ีอยูอาศัย การศึกษา สขุ ภาพอนามัย การมงี านทํา มรี ายไดเ พียงพอในการครองชีพ ประชาชนไดรับความเสมอภาค ความยตุ ธิ รรม มีคณุ ภาพชวี ติ ท้ังนีป้ ระชาชนจะตองมีสวนรวมในกระบวนการเปล่ียนแปลงทุกขั้นตอน อยา งมรี ะบบ ขอ 3 หลักการพฒั นาตนเอง มดี ังตอไปน้ี 1. บุคคลตอ งสามารถปลดปลอ ยศกั ยภาพระดับใหมออกมา 2. คนที่มกี ารพัฒนาตนเอง ควรรับรคู วามทา ทายในตวั คนท้งั หมด (Total self) 3. เปนการรเิ รม่ิ ดว ยตวั เอง แรงจงู ใจเบอ้ื งตนเกิดขน้ึ ผานผลสัมฤทธิ์ของตวั เอง และการทาํ ให บรรลคุ วามสาํ เร็จดวยตนเอง รางวัลและการลงโทษจากภายนอกเปน เรอ่ื งท่รี องลงมา 4. การพัฒนาตนเอง ตอ งมีการเรยี นรู มีการหยง่ั เชงิ อยา งสรา งสรรค 5. การพัฒนาตนเอง ตอ งเต็มใจที่จะเสี่ยง ขอ 4 ประโยชนท่ไี ดร บั จากการพัฒนาตนเองที่เกดิ ขึ้นกบั ตนเอง 1. การประสบความสําเรจ็ ในการดํารงชวี ติ 2. การประสบความสาํ เรจ็ ในการประกอบอาชีพการงาน 3. การมสี ขุ ภาพอนามัยสมบรู ณ 4. การมคี วามเชอ่ื มน่ั ในตนเอง 5. การมคี วามสงบสุขทางจติ ใจ ขอ 5 การพัฒนาตนเองดวยวธิ หี าความรเู พ่มิ เตมิ กระทําไดโดย 1. การอา นหนงั สือเปนประจาํ และอยางตอเน่ือง 2. การเขา รว มประชมุ หรือเขา รับการฝกอบรม 3. การสอนหนงั สือหรอื การบรรยายตา ง ๆ

75 4. การรวมกิจกรรมตา ง ๆ ของชมุ ชนหรอื องคการตาง ๆ ขอ 6 แนวคิดพ้ืนฐานของการพัฒนาชมุ ชน 1. การมสี วนรว มของประชาชน (People Participation) 2. การชวยเหลอื ตนเอง (Aide Self-Help) 3. ความคิดริเรม่ิ ของประชาชน (Initiative) 4. ความตอ งการของชุมชน (Felt-Needs) 5. การศกึ ษาภาคชวี ติ (Life-Long Education) ขอ 7 หลกั การพฒั นาชุมชน 1. ยึดหลกั ความมีศกั ดศิ์ รี และศักยภาพของประชาชน 2. ยดึ หลักการพ่งึ ตนเองของประชาชน 3. ยึดหลกั การมสี วนรว มของประชาชน 4. ยึดหลักประชาธปิ ไตย ขอ 8 แนวคดิ ของการพฒั นาสงั คม 1. กระบวนการ (Process) การแกปญหาสังคมตองกระทําตอเนื่องกันอยางมีระบบ เพ่ือให เกดิ การเปลยี่ นแปลงจากลกั ษณะหนึ่งไปสูอ กี ลกั ษณะหนง่ึ ซึ่งจะตองเปน ลักษณะทด่ี กี วาเดมิ 2. วิธกี าร (Method) การกําหนดวิธีการในการดําเนินงาน โดยเฉพาะเนนความรวมมือของ ประชาชนในสังคมน้นั กับเจาหนา ทีข่ องรฐั บาลทจ่ี ะทาํ งานรว มกัน 3. กรรมวิธีเปล่ียนแปลง (Movement) การพัฒนาสังคมจะตองทําใหเกิดการเปล่ียนแปลง ใหไ ด และจะตองเปล่ียนแปลงไปในทางทด่ี ขี ึน้ 4. แผนการดําเนนิ งาน (Planning) การพัฒนาสังคมจะตองทําอยา งมแี ผน มีข้ันตอน สามารถ ตรวจสอบ และประเมนิ ผลได

76 แนวเฉลยกจิ กรรมบทท่ี 2 ขอ 1 ขอมูล คือ ขอ เทจ็ จริงของบคุ คล สตั ว สิ่งของ หรือเหตุการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจเปนขอความ ตวั เลข หรือภาพกไ็ ด ขอ 2 ขอ มลู มคี วามสาํ คญั ดังนี้ ความสําคญั ของขอมลู ตอ ตนเอง 1. ทําใหมนุษยส ามารถดาํ รงชวี ติ อยรู อดปลอดภยั มนษุ ยรจู กั นําขอมลู มาใชใ นการดํารงชีวิต แตโบราณแลว มนุษยรจู กั สังเกตส่ิงตา ง ๆ ทีอ่ ยูรอบตัว เชน สังเกตวา ดิน อากาศ ฤดูกาลใดที่เหมาะสมกับ การปลูกพืชผักชนิดกินได พืชชนดิ ใดใชเ ปน ยารักษาโรคได สะสมเปน องคค วามรูแลว ถายทอดสืบตอกันมา ขอ มลู ตาง ๆ ทาํ ใหมนุษยสามารถนาํ ทรัพยากรธรรมชาติมาใชเ ปนอาหาร สิ่งของเครือ่ งใช ทีอ่ ยูอาศัย และ ยารกั ษาโรคเพอ่ื การดาํ รงชีพได 2. ชว ยใหเรามีความรูความเขาใจเร่ืองราวตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นรอบตัว เชน เร่ืองรางกาย จิตใจ ความตอ งการ พฤตกิ รรมของตนเอง และผูอ่ืน ทาํ ใหมนุษยส ามารถปรับตัวเอง ใหสามารถอยูรวมกับคน ในครอบครวั และสังคมไดอยางมีความสงบสขุ 3. ทําใหตนเองสามารถแกปญหาตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นใหผานพนไปไดดวยดี การตัดสินใจตอ การกระทําหรอื ไมก ระทําสิง่ ใดที่ไมมีขอมูลหรอื มีขอ มลู ไมถูกตองอาจทาํ ใหเ กดิ การผิดพลาดเสยี หายได ความสาํ คัญของขอมลู ตอ ชุมชน/สังคม 1. ทําใหเ กิดการศึกษาเรยี นรู ซ่ึงการศกึ ษาเปนสิง่ จําเปนตอ การพัฒนาชุมชน/สังคมเปนอยางยิ่ง ชมุ ชน /สงั คมใดทมี่ ีผไู ดรับการศกึ ษา การพัฒนากจ็ ะเขา ไปสชู มุ ชน/สังคมนนั้ ไดงา ยและรวดเร็ว 2. ขอมลู ตาง ๆ ท่ีสะสมเปนองคความรูน ้นั สามารถรักษาไวและถายทอดความรูไปสูคนรุน ตอ ๆ ไปในชมุ ชน/สังคม ทาํ ใหเ กิดความรูความเขา ใจ วัฒนธรรมของชุมชน/สังคม ตนเอง และตางสังคมได กอใหเกิดการอยรู ว มกนั ไดอยา งสงบสขุ 3. ชวยเสริมสรางความรู ความสามารถใหม ๆ ในดานตาง ๆ ทั้งทางดานเทคโนโลยี การศึกษา เศรษฐศาสตร การคมนาคม การเกษตร การพาณิชย ฯลฯ ท่ีเปนพ้ืนฐานตอการพัฒนาชุมชน/ สังคม ขอ 3 ประโยชนข องขอ มลู 1. เพอื่ การเรยี นรู 2. เพอ่ื การศกึ ษาคน ควา 3. เพอื่ ใชเ ปน แนวทางในการพัฒนา 4. เพ่อื ใชในการนาํ มาปรับปรงุ แกไ ข 5. เพ่อื ใชเ ปน หลักฐานสาํ คญั ตา ง ๆ

77 6. เพ่อื การสือ่ สาร 7. เพอ่ื การตดั สินใจ แนวเฉลยกิจกรรมบทท่ี 3 1. ถาครูตองการศกึ ษาพฤตกิ รรมการทาํ งานกลมุ ของนกั ศกึ ษา ครคู วรจะเกบ็ รวบรวมขอมลู ดวยวิธีสงั เกตจงึ จะเห็นพฤตกิ รรมการทํางานกลมุ ของนกั ศกึ ษา 3. คะแนนเฉลยี่ ของหมวดวชิ าภาษาไทย ของนกั ศึกษาระดับประถมศึกษา หาไดด ังนี้ = 33  36  25  29  34  28  37 = 222 = 31.71 77 4. การประกอบอาชีพของคนในชุมชน อาชพี จาํ นวน เลี้ยงไก 26 คน เลี้ยงววั 30 คน ทําไรข าวโพด 15 คน ทาํ สวนผลไม 50 คน 121 รวมทง้ั หมด

78 แนวเฉลยกจิ กรรมบทที่ 5 ขอ 1 ตวั อยา ง การเตรยี มประเด็นการจัดทําเวทปี ระชาคมโดยใชต าราง ประเด็น ประเด็นยอ ย ขอมูลทต่ี องการส่ือในประชาคม ความคดิ เห็นของ ประชาชนเรอ่ื งการให - ความพอใจในบรกิ าร - เพอื่ ใหประชาชน/ผูเ ก่ียวของแสดง บรกิ ารหอ งสมดุ ประชาชนอําเภอ...... - ความตอ งการใหเ กิด ความรูสกึ /ความคิดเห็นเหมอื นเปน การปรับปรงุ บรกิ าร เจา ของบรกิ าร - การมสี ว นรวมของประชาชน - ในฐานะเจา ของบรกิ ารสามารถบอกได ในการปรบั ปรุงบรกิ าร วา ตอ งการบรกิ ารแบบใด - ในฐานะเจา ของบรกิ าร เปนหนา ที่ และทต่ี องการรว มมอื กนั ในการ สนับสนนุ ใหเกดิ การจัดบรกิ ารตาม ทตี่ องการ ขอ 2 ขอดีของการจัดสนทนากลุมมี 10 ขอ ดงั น้ี 1. ผเู กบ็ ขอ มลู เปนผูไดรบั การฝก อบรมเปน อยา งดี 2. เปนการนัง่ สนทนาระหวางนักวจิ ัยกับผรู ูผ ใู หข อ มูลหลายคนท่ีเปนกลมุ จงึ กอใหเ กดิ การเสวนาในเร่ืองทสี่ นใจ ไมม ีการปดบงั คาํ ตอบท่ไี ดจ ากการถกประเด็นซ่ึงกนั และกนั ถอื วาเปน การกลั่นกรองซ่ึงแนวความคดิ และเหตผุ ล โดยไมม กี ารตีประเดน็ ปญหาผดิ ไปเปนอยางอ่นื 3. การสนทนากลุม เปนการสรา งบรรยากาศเสวนาใหเ ปนกนั เองระหวา งผูน าํ การสนทนา ของกลุมกับสมาชกิ กลมุ สนทนาหลาย ๆ คนพรอ มกนั จงึ ลดสภาวการณเ ขนิ อายออกไปทําใหสมาชกิ กลมุ กลาคุยกลา แสดงความคดิ เหน็ 4. การใชว ธิ ีการสนทนากลุม ไดข อ มูลละเอียดและสอดคลองกับวตั ถุประสงคข องการศกึ ษา ไดส าํ เรจ็ หรอื ไดด ยี ิง่ ขึ้น 5. คาํ ตอบจากการสนทนากลมุ มีลักษณะเปน คําตอบเชงิ เหตุผลคลา ย ๆ กบั การรวบรวม ขอมูลแบบคณุ ภาพ 6. ประหยดั เวลาและงบประมาณของนกั วจิ ัยในการศกึ ษา 7. ทาํ ใหไ ดรายละเอยี ด สามารถตอบคาํ ถามประเภททําไมและอยา งไรไดอ ยางแตกฉาน ลึกซงึ้ และในประเดน็ หรือเรอ่ื งท่ีไมไดค ิดหรอื เตรยี มไวก อนกไ็ ด

79 8. เปน การเผชญิ หนากนั ในลักษณะกลุมมากกวา การสัมภาษณตวั ตอ ตวั ทาํ ใหมีปฏกิ ริ ยิ า โตต อบกนั ได 9. การสนทนากลุม จะชว ยบง ชีอ้ ทิ ธิพลของวฒั นธรรมและคณุ คาตาง ๆ ของสงั คมนั้นได เนื่องจากสมาชิกของกลมุ มาจากวฒั นธรรมเดยี วกัน 10. สภาพของการสนทนากลุม ชวยใหเกดิ และไดขอมลู ท่เี ปนจริง ขอ 3 ประโยชนข องการสมั มนามี 8 ขอ ดังน้ี 1. ผูจดั หรือผเู รียนสามารถดําเนินการจดั สัมมนาไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. ผูเขา รว มสัมมนาไดร บั ความรู แนวคิดจากการเขารว มสมั มนา 3. ชว ยทาํ ใหระบบและวิธกี ารทํางานมีประสทิ ธภิ าพสงู ข้นึ 4. ชว ยแบง เบาภาระการปฏิบตั ิงานของผบู งั คับบัญชา 5. เปนการพัฒนาและสงเสริมความกาวหนาของผปู ฏิบตั ิงาน 6. เกิดความรเิ รมิ่ สรา งสรรค 7. สามารถสรางความเขาใจอันดีตอ เพ่ือนรว มงาน 8. สามารถรว มกนั แกปญ หาในการทํางานได และฝก การเปน ผนู ํา ขอ 4 การสํารวจประชามตมิ ี 7 ประเภท ดังนี้ การสํารวจประชามตทิ างดานการเมอื ง สวนมากจะรจู ักกันในนามของ Public Opinion Polls หรือการทาํ โพล ซ่งึ มที ่ีรูจ ักกนั อยา งแพรห ลาย คือ การทาํ โพลการเลือกต้งั (Election Polls) แบง ได ดังนี้ 1. Benchmark Survey เปน การทาํ การสาํ รวจเพือ่ ตองการทราบความเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การรับรูเรื่องราว ผลงานของผสู มคั ร ช่อื ผูส มคั ร และคะแนนเสียงเปรยี บเทียบ 2. Trial Heat Survey เปน การหย่ังเสียงวา ประชาชนจะเลอื กใคร 3. Tracking Poll การถามเพือ่ ดูแนวโนมการเปลีย่ นแปลง สว นมากจะทาํ ตอนใกลเ ลอื กต้งั 4. Cross-sectional vs. Panel เปน การทําโพล ณ เวลาใดเวลาหนง่ึ หลาย ๆ คร้งั เพ่ือทําใหเห็นวา ภาพผูสมัครในแตละหวงเวลามีคะแนนความนิยมเปนอยางไร แตไมทราบรูปแบบการเปล่ียนแปลงท่ี เกิดขน้ึ ในตัวคน ๆ เดยี ว จึงตอ งทาํ Panel Survey 5. Focus Groups ไมใช Poll แตเปนการไดข อมูลทีค่ อนขางนา เชอ่ื ถอื ไดเพราะจะเจาะถามเฉพาะ กลมุ ทร่ี ูแ ละใหความสาํ คัญกบั เรอ่ื งนจ้ี รงิ จัง ปจจบุ นั นิยมเชิญผเู ช่ียวชาญหลาย ๆ ดา นมาใหค วามเห็นหรือ บางครัง้ กเ็ ชญิ ตวั กลุมตวั อยางมาถามโดยตรงเลย การทาํ ประชุมกลุมยอยยงั สามารถใชใ นการถามเพื่อดูวา ทศิ ทางของคาํ ถามท่ีควรถามควรเปน เชนไรดวย

80 6. Deliberative Opinion รวมเอาการสํารวจท่ัวไป กับการทําการประชุมกลุมยอยเขาดวยกัน โดยการนําเอาตัวแทนประชาชนมารวมกัน แลวใหขอมูลขาวสารหรือโอกาสในการอภิปรายประเด็น ปญ หา แลวสํารวจความเห็นในประเด็นปญหาเพอ่ื วดั ประเดน็ ท่ปี ระชาชนคิด 7. Exit Polls การสัมภาษณผ ใู ชสทิ ธ์อิ อกเสยี งเมอื่ เขาออกจากคหู าเลอื กตงั้ เพ่อื ดวู า เขาลงคะแนน ใหใ คร ปจ จุบันในสงั คมไทยนยิ มมาก เพราะมคี วามนาเชอื่ ถือมากกวา Poll ประเภทอน่ื ๆ ขอ 5 ลักษณะของรายงานทีด่ ีมี 12 ขอ ดงั นี้ 1. ปกสวยเรียบ 2. กระดาษทใ่ี ชมีคุณภาพดี มขี นาดถกู ตอง 3. มีหมายเลขแสดงหนา 4. มสี ารบญั หรอื มหี วั ขอ เรอ่ื ง 5. มบี ทสรุปยอ 6. การเวน ระยะในรายงานมีความเหมาะสม 7. ไมพ มิ พขอความใหแนนจนดูลานตาไปหมด 8. ไมมีการแก ขดู ลบ 9. พิมพอ ยางสะอาดและดเู รยี บรอย 10. มผี ังหรอื ภาพประกอบตามความเหมาะสม 11. ควรมกี ารสรุปใหเ หลอื เพียงสัน้ ๆ แลว นาํ มาแนบประกอบรายงาน 12. จัดรูปเลม สวยงาม ขอ 6 ภาพ ทอมัส เจฟเฟอรส นั (THOMAS JEFFERSON) ทอมัส เจฟเฟอรสัน เปนประธานาธิบดีแหง สหรัฐอเมริกา คนท่ี 3 (ดํารงตําแหนงระหวางวันท่ี 4 มีนาคม ค.ศ. 1801 – 4 มนี าคม ค.ศ. 1809) และผูประพันธ “คาํ ประกาศอิสรภาพ” (Declaration of Independence) เขา เปนประธานาธิบดีคนแรกที่เปนหัวหนาพรรคการเมือง และใชอํานาจผา นพรรคการเมอื งในการควบคุมรฐั สภาของสหรัฐอเมรกิ า และเปน 1 ใน 4 ประธานาธบิ ดี

81 สหรัฐอเมรกิ าที่รปู ใบหนาไดรับการสลักไวที่อนุสรณสถานแหงชาติ เมานตรัชมอร (Mount Rushmore) ใบหนาของเขาปรากฏบนธนบัตรราคา 2 ดอลลารสหรัฐและเหรียญนิกเกลิ 5 เซนต ขอ 7 ภาพสลกั ใบหนาทอมัส เจฟเฟอรส นั (THOMAS JEFFERSON) ท่ีอนสุ รณสถานแหงชาติ เมานตร ัชมอร (Mount Rushmore) ตวั อยาง ลักษณะของโครงงานท่มี ผี ูเขยี นไว ดงั นี้ ลัดดา ภูเกียรติ (2544) โครงงานนับวาเปน กระบวนการเรยี นรอู ยา งหนง่ึ ทเ่ี นนการสรางความรดู ว ย ตนเองของผเู รยี นโดยการบูรณาการสาระความรูตาง ๆ ทอี่ ยากรูใหเอื้อตอกัน หรือรวมกันสรางเสริมความคิด ความเขาใจ ความตระหนัก ท้งั ดานสาระและคณุ คาตาง ๆ ใหก ับผเู รียน โดยอาศัยทักษะทางปญญาหลาย ๆ ดาน ทั้งท่ีเปนทักษะขั้นพื้นฐานในการแสวงหาความรู และทกั ษะขั้นสูงทจ่ี ําเปน ในการคดิ อยา งสรา งสรรคและมวี ิจารณญาณ สวุ ทิ ย – อรทัย มลู คาํ (2544) โครงงานเปน กระบวนการทตี่ รงกับหลักการเรยี นรอู ยา งมี ประสทิ ธิภาพท่ีวา “การเรียนรจู ะมปี ระสิทธภิ าพยิ่งข้ึนเมื่อผเู รยี น” - รวู า ตอ งทาํ อะไร - เขาใจวาทาํ ไมตองกระทําสิง่ นน้ั - รวู าเมื่อไรจะถกู ประเมินและดว ยวิธใี ด - ไดม ีโอกาสเขาถึงสอ่ื ทีส่ ามารถเขา ใจได - มโี อกาสในการพฒั นาทกั ษะ - ไดร บั การสนบั สนุนทเ่ี หมาะสมจากครู เพื่อน และผูเ กย่ี วของ - ไดทาํ งานตามจงั หวะเวลาทเี่ หมาะสมกับตนเอง - สนใจในสิ่งทกี่ าํ ลังทํา - ไดท าํ กจิ กรรมอยา งหลากหลาย - ไดม ีโอกาสทบทวนความกาวหนา ของตนเอง - มคี วามเปน เจา ของส่ิงทกี่ ําลังทาํ

82 สุวทิ ย – อรทัย มูลคํา (2545) การจัดการเรียนรแู บบโครงงาน เปนกระบวนการเรียนรูท่ีเปด โอกาสใหผ เู รยี นไดศ กึ ษาคนควา และลงมอื ปฏิบตั กิ ิจกรรมตามความสนใจ ความถนัดและความสามารถ ของตนเอง ซง่ึ อาศัยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร หรอื กระบวนการอ่นื ๆ ทีเ่ ปน ระบบไปใชในการศึกษา หาคําตอบในเร่อื งนัน้ ๆ กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น (2546) การทําโครงงานของนกั ศกึ ษาการศึกษานอกโรงเรียน นั้น มวี ัตถุประสงคเพื่อใหนักศึกษาไดนําองคความรูจากหมวดวิชาที่ลงทะเบียนเรียนไปศึกษาเพิ่มเติมโดย ผลิตผลงานทเ่ี ปนการบรู ณาการองคความรูตามหมวดวิชาที่ลงทะเบียนเรียนกับการนําไปประยุกตใชใน ชีวิตประจําวันจากการปฏิบัติจริงในเรื่องท่ีสอดคลองกับความสนใจความตองการของตนเองรวมท้ัง สามารถสรา งและสรุปองคความรทู ี่ไดอ ยางเปนระบบ สรุ พล เอ่ียมอทู รัพย (2547) การสอนแบบโครงงานยังเนน ใหผเู รียนมีความคดิ ทต่ี องการจะ คน หาคําตอบท่ีตองการรูหรือคิดแกปญหาตาง ๆ โดยการทํางานกลุมอยางมีระบบข้ันตอน สามารถคิด สรางสรรคในเรื่องตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอตนเองและสังคมได การสอนแบบโครงงานหรือการให ผเู รยี นจดั ทาํ โครงงานตอ งการใหผูเรียนเกดิ กระบวนการเรียนรดู งั น้ี 1. มีความคดิ และแสดงออกอยา งอสิ ระสามารถคดิ เปน ทาํ เปน และแกป ญหาได 2. มีความคดิ สรา งสรรค จากการศึกษาคนควา การคิดวิเคราะห คิดสังเคราะห การวินิจฉัย การสรปุ ผลประเมนิ คา คดิ แยกแยะ 3. มคี วามคดิ ในการเสาะแสวงหาความรหู รือแหลงการเรียนรูตา ง ๆ ไดต ามความสนใจ และ ความชอบของตนเอง 4. รจู กั การทาํ งานเปนทีม เปน กลุมใหความสนใจตอ เพอ่ื นรวมงาน เรยี นรกู ารอยรู ว มกัน อยา งเปน ประชาธปิ ไตย รจู กั การชวยเหลือซึง่ กนั และกนั และการใหอภยั ตอ กัน 5. การฝกปฏิบตั ิงานและการเรยี นรูจากการปฏิบัตงิ านจริงทเี่ ห็นในชีวติ ประจาํ วัน และ สามารถนําความรูและประสบการณท ี่ไดจ ากการฝก ปฏบิ ัตไิ ปประยุกตใ ชใ นชีวติ ประจําวันได 6. ฝก การควบคมุ อารมณแ ละจิตใจของตนเอง เพอ่ื การอยูร ว มกันในสังคมไดอยางมีความสขุ ขอ 8 การพัฒนาตนเอง จากการมสี ว นรวมในการทํางาน/กจิ กรรม ดงั นี้ การทํางานเปนกลุมเปนทีมทําใหผูเรียนไดมีการแลกเปล่ียนเรียนรูซ่ึงกันและกัน ไดฝกการ ประเมนิ ตนเอง รูจักตนเอง เห็นคณุ คาของตนเองและยอมรบั ผอู ่ืน เกิดการเขา ใจอารมณ ความรูสึกนึกคิด ของผอู ่ืนและการควบคุมตนเอง เปนการชวยพัฒนาความเฉลียวฉลาดทางอารมณ หรือระดับสติปญญา ทางอารมณ (Emotional Quotient) หรอื ความสามารถในการตระหนกั ถึงความรูสึกของตนเอง

83 (การมีสต)ิ และผูอ่ืน พรอ มท้งั สามารถบริหารหรือจัดการอารมณของตนได เชน การฝกควบคุมอารมณ ของตนเองทําใหเปนคนมีวินัยในตนเองและตรงตอเวลาและสามารถสรางสัมพันธภาพ (การมีมนุษย สัมพนั ธ) กับผูอ่ืนไดเปนอยางดี รูจักกระตุนและจูงใจตนเอง ทําใหเกิดความพยายาม มุมานะ ในการ ทาํ งานจนประสบความสําเร็จในชีวติ นอกจากนย้ี ังเปน การพฒั นาระดบั สติปญญาทางศลี ธรรมหรอื ระดับ ความไมเห็นแกต วั (Moral Quotient) ใหก บั ผเู รยี นโดยไมรูตวั อีกดว ย (ลัดดา ภเู กยี รต.ิ 2544 : 28-29) แนวเฉลยกิจกรรมบทท่ี 6 ขอ 1 ผูน าํ ชุมชน หมายถึง บคุ คลทม่ี ีความสามารถในการชกั จูงใหคนอ่ืนทํางานในสว นตา ง ๆ ทตี่ อ งการ ใหบ รรลเุ ปาหมายและวตั ถุประสงคที่ตัง้ ไว ซ่ึงผนู าํ ชุมชนอาจเปนบคุ คลท่มี าจากการเลอื กต้ัง หรอื แตง ตัง้ หรือการยกยองข้นึ มาของสมาชิก เพ่อื ใหท าํ หนา ท่เี ปนผชู ี้แนะและชวยเหลอื ใหการจัดทาํ และขับเคลอ่ื นแผนพฒั นาชมุ ชน ประสบความสาํ เร็จ หนา ทผ่ี ูน ําชุมชน มดี ังนี้ 1. สรางความสามคั คใี หเกดิ ขนึ้ ในชุมชน 2. กระตนุ ใหสมาชกิ ทาํ สิง่ ทีเ่ ปน ประโยชนต อชุมชน 3. พัฒนาสมาชกิ ใหเ กิดภาวะผูนํา 4. รวมกับสมาชกิ กาํ หนดเปา หมายของชุมชน 5. บรหิ ารงาน ประสานงานในชุมชน 6. ใหคําแนะนาํ ชแี้ นวทางใหก ับชมุ ชน 7. บํารุงขวัญสมาชกิ ในชมุ ชน 8. เปนตวั แทนชุมชนในการตดิ ตอประสานงานกบั หนว ยงานอนื่ ๆ 9. รับผิดชอบตอผลการกระทําของชุมชน ขอ 2 การเปนสมาชกิ ทด่ี ีหรอื ผตู ามทดี่ ี ควรมลี ักษณะดงั น้ี เปน ผูมีความสามารถในการบริหาร จดั การตนเองไดดี มคี วามผกู พนั ตอ ชุมชนตอ วตั ถุประสงคข องงาน ทํางานเต็มศักยภาพ และ สุดความสามารถ และมคี วามกลา หาญ ซอ่ื สตั ย และนาเชือ่ ถอื

84 บรรณานกุ รม ภาษาไทย กรมการศึกษานอกโรงเรียน. การวเิ คราะหนโยบายกรมการศึกษานอกโรงเรียน ประจาํ ปงบประมาณ 2540-2545. กรุงเทพฯ : รังสกี ารพมิ พ, 2546. กรมการศึกษานอกโรงเรยี น. ความหมายของคําเกยี่ วกบั แผนงาน โครงการ. กรุงเทพฯ: ศูนยเ ทคโนโลยที างการศึกษา, 2545. กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน. เอกสารการอบรมการวางแผนการศกึ ษานอกโรงเรียน. กรงุ เทพฯ : ชุมนุม สหกรณก ารเกษตรแหง ประเทศไทย, 2540. กรรณกิ า ทติ าราม. การเกบ็ รวบรวมขอมลู . เขา ถงึ ไดจ าก http://guru.sanook.com/search/ knowledge_search.php ( 22/7/2552) กระบวนการจดั ทําแผนชมุ ชน. เขาถึงไดจาก http://www.iad.dopa.go.th.subject/cplan/ process-cplan.ppt (25/2/2554) กระบวนการวางแผน เขา ถงึ ไดจาก http://www.pitajarn.lpru.ac.th/-chitlada/WEB page/om/3pdf. (8/8/2552) กลั ยา วานชิ ยบญั ชา. สถติ สิ าํ หรบั งานวิจัย. พิมพค รั้งที่ 2. กรงุ เทพฯ : จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั , 2549. การประเมนิ ประสิทธิภาพของภาวะผนู าํ . เขา ถึงไดจาก http://www.nrru.ac.th/article/ leadership/page1.5.html (16/8/2009) การพัฒนาสงั คม. เขาถงึ ไดจ าก http:// www.phetchaburi.m-society.go.th/p.htm.(5/9/2552) การพัฒนาสงั คมโดยการมสี ว นรว ม. เขา ถึงไดจ าก http://dnfe.5.nfe.go.th/lip/soc2/8031-2_4.htm. (25/8/2552.) การมสี ว นรวม. เขาถึงไดจ าก http://www.thaipoliticsgovernment.org/wiki (25/8/2552) การมีสว นรวมของประชาชนในการบริหารจดั การทรัพยากรธรรมชาตจิ ังหวัดภเู กต็ . เขา ถึงไดจาก http://www.oknation.net/blog/singh/2009/08/18/entry. (8/8/2552) การวางแผน. เขา ถงึ ไดจาก http://www.cado.mnre.go.th. (8/08/2552) การเสรมิ สรางภาวะผูนําชุมชน. เขา ถงึ ไดจ าก http://www.uinthai.com/index. php?lay= show&ac=article&Id=538667754&Ntype=119 (14/8/2009) เกรียงศกั ด์ิ เขยี วยงิ่ . การบริหารทรัพยากรมนษุ ยแ ละบุคคล. ขอนแกน : ภาควชิ าสงั คมศาสตร คณะมนษุ ย ศาสตรและสงั คมศาสตร มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน , 2539. ขอมลู ดานภมู ศิ าสตรแ ละการปกครอง. เขาถึงไดจ าก http://www.spb3.obec.go.th_ geo.htm (18/8/2552)

85 ขน้ั ตอนการดาํ เนนิ การจดั ทําแผนหมบู าน/ชุมชน (เคร่อื งมอื การเรียนรขู องชุมชนทอ งถน่ิ ). เขา ถงึ ไดจาก http://www.pattanalocal.com/n/52/13.pdf (18/ 3/2554) คณะกรรมการสงเสรมิ สวสั ดิการสงั คมแหง ชาติ. แผนพฒั นาสวสั ดกิ ารสงั คมและสังคมสงเคราะห แหง ชาติ ฉบบั ที่ 4 (พ.ศ. 2545-2549) (อดั สําเนา) คนเกบ็ ขยะ (การมสี ว นรว มของประชาชน) เขาถึงไดจ ากhttp://gotoknow.org/blog/rubbish/73541. (28/8/2552) คลังปญ ญาไทย. การนําเสนอขอมูล. เขาถึงไดจ าก http://www.panyathai.or.th (1/7/2552) ความรูพ ื้นฐานการพฒั นาชมุ ชน. เขาถึงไดจ าก http://royalprojects.kku.ac.th/king/files/ (29/8/2552) ความหมาย “แผนแมบ ทชมุ ชนพง่ึ ตนเอง”. เขา ถึงไดจ าก http://www.thailocaladmin.90.th/ workle_book/eb3/5p8_1.pdf (5/4/2554) ความหมายของผนู าํ . เขาถึงไดจ าก http://www.nrru.ac.th/article/leadership/page1.1.html (16/8/2009) ความหมายของแผนชมุ ชน. เขาถงึ ไดจาก http://www.thailocaladmin.go.th (5/4/2554) ความหมายแผนงาน. เขาถงึ ไดจาก http://www.3.cdd.go.th/phichit/b03.html (5/4/2554) จิตติ มงคลชยั อรัญญา. แนวทางการพฒั นาสงั คม (ทเ่ี หมาะสม) เขาถึงไดจาก http:// socadmin.tu.ac.th/kanabady (5/9/2552) จิตราภา กณุ ฑลบุตร. การจดั ระบบขอมลู และสารสนเทศทางการศกึ ษา. เขา ถึงไดจาก http://www.chittrapa.net/index.php?option=com_content&task=view&id=35&Itemid=mid =36 (10/7/2552) เฉลิมขวญั สตร,ี โรงเรียน. หนา ทีพ่ ลเมอื งและวฒั นธรรมไทย. เขาถงึ ไดจ าก http://nucha.chs.ac.th/1.1htm (18/8/2552) ชาญชัย อาจนิ สมาจาร. พฒั นาตนเองสูความเปนผูบรหิ าร. กรุงเทพฯ : พมิ พทอง, ม.ป.ป. ชูเกยี รติ ลีสวุ รรณ. การวางแผนและบริหารโครงการ. จติ วัฒนาการพิมพ, 2545. ธงชัย สันตวิ งษ. หลักการจดั การ. กรุงเทพมหานคร : ไทยวฒั นาพานชิ , 2540. ธนู อนญั ญพร. กระบวนการพฒั นาชมุ ชน., 2549 (อัดสําเนา) นเรศวร, มหาวทิ ยาลยั . ภาควชิ าทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม. โครงการเครอื ขายเฝา ระวงั ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ ม ลมุ น้าํ วงั ทอง. เขา ถึงไดจ าก http://conf.agi.nu.ac.th/nrs-new/wangtong/hist.php. (7/7/2552) แนวคิดผูนํายคุ ใหม. เขาถงึ ไดจาก http://sa.sa.ku.ac.th/index.php?option=com_content& task=view&id=75&Itemid=107 (16/8/2552)

86 แนวคิดและความเขา ใจเกีย่ วกบั การพัฒนาสงั คมไทย. เขา ถงึ ไดจาก http://dnfe5.nfe.go.th/ ilp/so02/so20_5.html (1/7/2552) แนวทางการพัฒนาคุณภาพแผนชุมชน. เขาถึงไดจาก http://Kaewpany.rmutl.ac.th/2552/ attachments/1475_ dev-plan.pdf (25/2/2554) บทความอาหารสมองเรอื่ ง : การสนทนากลุม (Focus Group Discussion). เขา ถึงไดจ าก http://www.vijai.org/articles data/show topic.asp?Topicid=98(30/1/2549) บทบาท หนา ท่ี และลกั ษณะผนู าํ ชุมชนทด่ี ี. เขาถงึ ไดจ าก http://www.uinthai.com/index. php?lay=show&ac=article&Id=538667753&Ntype=119 (14/8/2009) ปราชญา กลาผจญั และพอตา บตุ รสทุ ธิวงศ. การบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย. กรงุ เทพฯ : ธนะการพมิ พ, 2550. ปราณี รามสตู ร และจํารสั ดว งสุวรรณ. พฤตกิ รรมมนษุ ยก ับการพฒั นาตน. พมิ พค รงั้ ที่ 3 กรุงเทพมหานคร :ธนะการพิมพ, 2545. ปองทิพย เทพอารีย. การศึกษาการพฒั นาตนเองของครใู นโรงเรียนอนบุ าลเอกชน กรงุ เทพ มหานคร. สารนิพนธ กรงุ เทพฯ: บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ, 2551. แผนการทาํ งานและการมสี วนรวมโดยการแกป ญ หาเอดสใ นชมุ ชน เขาถึงไดจ าก http://www.phayaocitil.net/joomla/index.php?. (26/8/2552) แผนชุมชนประจาํ ป พ.ศ. 2553. เขาถึงไดจาก http://payakhan.go.th/document/ 1298599706.doc (8/4/2554) พรชยั ธรณธรรม. สารานุกรมไทยฉบบั เยาวชน. เขา ถึงไดจ าก http://www.guru.sanook. com/search/knowledge_search.php?q...1 (15/7/2552) พฒั น บุณยรตั พนั ธุ. ปรชั ญาพฒั นาชุมชน. เขา ถงึ ไดจ าก http://royalprojects.kku.ac.th/king/ files/(29/8/2552) พฒั นาชุมชนจงั หวัดมหาสารคาม, สาํ นักงาน. เอกสารประกอบการประชมุ การประชมุ เชิง ปฏิบตั กิ ารภาคพี ่เี ลีย้ งระดับตําบลและแกนนําระดบั ตาํ บล เพอื่ เพ่ิม ประสิทธภิ าพแผนชุมชน. มหาสารคาม : สาํ นักงานพฒั นาชมุ ชนจังหวดั มหาสารคาม, 2550. (อดั สําเนา) ไพโรจน ชลารกั ษ. ทกั ษะการจดั การความรู. เขา ถึงไดจ าก http://lib.kru.ac.th/eBook/4000111/ doc1-2. html (10/7/2552) ไพโรจน ทิพมาตร. หลกั การจดั การ. นนทบรุ ี : ไทยรมเกลา , 2548.

87 ไพศาล ไกรสิทธ.ิ์ เอกสารคาํ สอนรายวิชาการพัฒนาตน. ราชบรุ ี : คณะครศุ าสตร สถาบันราชภฏั หมบู าน จอมบึง, 2541. มูลนิธเิ ครอื ขา ยครอบครวั . ตวั ตนของหน.ู ..ตอ งชว ยสง เสริม. เขาถงึ ไดจาก http://www. familynetwork.or.th/node/15673 (15/7/2552) ยนื ภวู รรณ. การนาํ เสนอขอ มลู . เขา ถงึ ไดจาก http://www.school.net.th/library/snet2/ knowledge_math/pre_dat.htm (22 /7/2552) ยวุ ฒั น วุฒิเมธ.ี ปรชั ญาของการพฒั นาชมุ ชน. เขา ถึงไดจ าก http://royalprojects.kku.ac. th/king/files/(29/8/2552) ราชบณั ฑิตยสถาน. พจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. พิมพค ร้งั ท่ี 6. กรงุ เทพฯ : อกั ษรเจรญิ ทศั น, 2539. ราชภัฏเทพสตร,ี มหาวทิ ยาลัย. การรูส ารสนเทศ. เขา ถึงไดจ าก http://human.tru.ac.th/elearning/tec_ban/tinfo01/info06.html ราชภฏั นครศรธี รรมราช, มหาวทิ ยาลยั . เทคโนโลยกี ารศกึ ษา. เขา ถงึ ไดจ าก http://www.nrru.ac.th/preeteam/rungrot/page13004asp (1/7/2552) ลกั ษณะภาวะผนู ํา. เขา ถึงไดจ าก http://www.nrru.ac.th/article/leadership/page1.4.html (16/8/2009) วรชั ยา ศริ วิ ฒั น. ลกั ษณะผตู ามทมี่ ีประสิทธิผลกบั แนวทางการพฒั นาผตู ามในยุคปฏิรูประบบราชการ. วารสารพัฒนาชุมชน. (กุมภาพนั ธ 2547) : 27-34. วราภรณ นกั พณิ พาทย. ความคดิ เห็นของขา ราชการมหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒท่ีมีตอการพฒั นา บุคลากรของมหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ. ปรญิ ญานิพนธ กศ.ม., 2545. (อัดสําเนา) วิเลขา ลสี วุ รรณ. ศนู ยก ารเรยี นชมุ ชน : ชุมชนเขม แขง็ สสู งั คมแหงการเรียนร.ู กรุงเทพฯ : บรษิ ทั สุวติ า เอ็นเตอรไ พรส จํากัด, 2550. ศศิธร พรมสงฆ. Web site เพื่อการเรียนการสอนรายวชิ าสถิตวิ เิ คราะห. เขา ถึงไดจาก http://student.nu.ac.th/429/12.htm (10/7/2552) ศริ พิ งษ ศรีชัยรมยรัตน. ผนู ําทด่ี คี วรมีคุณสมบตั อิ ยา งไร. เขา ถึงไดจากhttp://www.sombatlegal. com/index.php?lay=show&ac=article&Id=421796 (25/8/2552) ศูนยก ารศกึ ษานอกโรงเรยี นภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื . คูมอื การอบรมกระบวนการวางแผนแบบมสี วน รวม. อดุ รธานี : ศริ ธิ รรมออฟเซท็ , 2542.

88 ศนู ยการศกึ ษานอกโรงเรียนภาคใต. รายงานการวจิ ยั ปฏิบตั กิ ารแบบมีสวนรวมในการพฒั นากระบวนการ จดั ทําแผนชุมชนตามโครงการบรู ณาการแผนชุมชนเพ่ือความเขมแขง็ ของชมุ ชนและ เอาชนะความยากจนในภาคใต. สงขลา, 2547. (อดั สาํ เนา) สถาบนั การศกึ ษาและพฒั นาตอ เนอื่ งสริ ินธร. เอกสารประกอบการฝก อบรมกลมุ ขา ราชการครแู ละ บุคลากรทางการศึกษา. นครราชสีมา : มิตรภาพการพิมพ, 2551. สนธยา พลศรี. ทฤษฎแี ละหลกั การพฒั นาชุมชน. พมิ พค รง้ั ที่ 4 กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร, 2545. สมจติ ร เกิดปรางค และนตุ ประวีณ เลศิ กาญจนวัต. การสมั มนา. กรุงเทพฯ : สํานกั พิมพส งเสรมิ วชิ าการ , 2545. สัญญา สัญญาวิวัฒน. การพฒั นาชุมชน. พิมพค รัง้ ที่ 2. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร, 2525. สญั ญา สัญญาววิ ฒั น. การพฒั นาชุมชนหลกั การและวธิ ปี ฏบิ ตั ิ. กรงุ เทพฯ : แพรพ ทิ ยา, 2515. สัญญา สญั ญาวิวัฒน. ทฤษฎแี ละกลยุทธก ารพฒั นาสงั คม. พมิ พค รั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สาํ นักพิมพ จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540. สาํ นกั งานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั (สกว.) สาํ นกั งานภาค. การสนทนากลุม (Focus Group Discussion). เขา ถงึ ไดจ าก http://www.vijai.org/Tool vijai/12/02.asp (30/1/2549) สาํ นักงานสถิติแหง ชาติ. การเกบ็ รวบรวมขอ มลู . เขาถึงไดจ าก http://service.nso.go.th/ nso/knowledge/estat/esta1_6.html (22 /7/2552) สํานักบริหารงานการศกึ ษานอกโรงเรยี น. คําช้แี จงการจดั ทาํ แผนปฏิบัตกิ ารประจําป งบประมาณ 2551. (อดั สาํ เนา) สุโขทยั ธรรมาธิราช, มหาวิทยาลยั . บณั ฑิตศกึ ษา สาขาวชิ าศึกษาศาสตร. ประมวลสาระชุดวชิ าบรบิ ท ทางการบริหารการศกึ ษา หนวยท่ี 11-15 กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั , 2546. สุพล พลธรี ะ. การประชมุ . สารเทคนิคการแพทยจุฬาฯ 4, 2533. สวุ ิมล ตริ กานนั ท. การประเมนิ โครงการ : แนวทางสกู ารปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคาํ แหง, 2544. หนวยที่ 5 การเขยี นรายงาน เขา ถึงไดจ าก http://www.tice.ac.th/Online/Online2- 2549/bussiness/.../n5.htm (17/7/2552) อรพนิ ท สพโชคชยั . การมีสวนรวมของประชาชนในการพัฒนาระบบราชการ. เขาถึงไดจ าก http://www.plan.ru.ac.th/newweb/opdc/data/participatory.pdf. (28/8/2552) ภาษาองั กฤษ

89 Administrator. การสนทนากลมุ แบบเรียน -learning. ภาควชิ าพัฒนาชมุ ชน คณะสังคมสงเคราะห ศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร : กรุงเทพฯ, 2547. IT Destination Tech Archive [00005]. ความหมายของขอ มูล. เขาถงึ ไดจาก http://www.itdestination.com/resources/tech/showtech.php?00005 (1/7/2552) Judith Sharken Simon. How to Conduct a Focus Group. เขาถึงไดจาก http://www.tgci.com/magazine/99fall/focus1.asp (30/1/2549) Noina koku GEO. ความหมายของขอ มลู สารสนเทศ สารสนเทศภูมศิ าสตร ฐานขอ มูล. เขา ถึงไดจ าก http://www.noinazung-06blogspot.com 2009/06geographic-information-system-gis.html (10/7/2552) UNESCO / APPEAL. HandBook : Non-formal Adult Education Facilitator, Module 4 Participatory Learning. Bangkok, 2001. UNESCO / APPEAL. Monitoring and Evaluation of literacy and continuing education programmes. Bangkok, 1999.

90 ที่ปรึกษา คณะผจู ัดทํา 1. นายประเสรฐิ บญุ เรอื ง เลขาธิการ กศน. รองเลขาธิการ กศน. 2. ดร.ชยั ยศ อิม่ สุวรรณ รองเลขาธกิ าร กศน. ท่ีปรึกษาดา นการพฒั นาหลกั สูตร กศน. 3. นายวชั รนิ ทร จําป ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน ศูนยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษา 5. นางรกั ขณา ตณั ฑวุฑโฒ กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น ผูเขียนและเรียบเรยี ง ศนู ยเ ทคโนโลยีทางการศกึ ษา กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 1. นางกนกพรรณ สวุ รรณพิทกั ษ ขา ราชการบาํ นาญ ขา ราชการบาํ นาญ 2. นางชนิดา ดียิ่ง ขา ราชการบํานาญ ขา ราชการบาํ นาญ ผูบรรณาธิการ และพฒั นาปรับปรุง ขา ราชการบาํ นาญ ขาราชการบํานาญ 1. นางกนกพรรณ สวุ รรณพทิ กั ษ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 2. นางชนิดา ดยี ง่ิ กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 3. นางสาววรรณพร ปท มานนท กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นายววิ ฒั นไ ชย จันทนสุคนธ กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 5. นางสาวสุรีพร เจริญนิช กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 6. นางพิชญาภา ปต วิ รา 7. นางธัญญวดี เหลา พาณชิ ย 8. นางเออ้ื จติ ร สมจิตตชอบ 9. นางสาวชนติ า จิตตธรรม คณะทํางาน 1. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน 2. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศลิ ป 3. นางสาววรรณพร ปท มานนท 4. นางสาวศริญญา กลุ ประดษิ ฐ 5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจิตวัฒนา ผพู มิ พต น ฉบบั นางสาววรรณพร ปท มานนท ผอู อกแบบปก นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป

91 คณะผปู รบั ปรงุ ขอมลู เก่ียวกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ  ป พ.ศ. 2560 ทีป่ รกึ ษา จาํ จด เลขาธิการ กศน. หอมดี ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร 1. นายสรุ พงษ 2. นายประเสรฐิ สุขสุเดช ปฏบิ ตั หิ นา ทรี่ องเลขาธิการ กศน. ผูอํานวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ 3. นางตรนี ชุ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ผปู รบั ปรงุ ขอ มูล นางพัชราภรณ จันทรไ ทย กศน.เขตบางซือ่ กรงุ เทพมหานคร คณะทํางาน 1. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 2. นายศุภโชค ศรรี ตั นศิลป กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 4. นางเยาวรัตน ปนมณีวงศ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 5. นางสาวสุลาง เพช็ รสวา ง กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ รือน กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น 8. นางสาวชมพนู ท สังขพิชัย ขอมลู กช