Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียน วิชาศิลปศึกษา ทช11003 ระดับประถมศึกษา (art 11003)

หนังสือเรียน วิชาศิลปศึกษา ทช11003 ระดับประถมศึกษา (art 11003)

Published by nookrunok, 2021-01-23 12:47:51

Description: หนังสือเรียน วิชาศิลปศึกษา ทช11003 ระดับประถมศึกษา (art 11003)

Search

Read the Text Version

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ รายวชิ า ศิลปศึกษา (ทช11003) ระดบั ประถมศึกษา (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ห้ามจาหน่าย หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพ่ือการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ท่ี 15/2555

หนงั สือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ รายวชิ าศิลปศึกษา (ทช11003) ระดบั ประถมศึกษา ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ลิขสิทธ์ิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที่ 15/2555

คํานาํ กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เมอ่ื วันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวธิ ีการจดั การศกึ ษา นอกโรงเรียนตามหลกั สูตรการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 ซง่ึ เปนหลักสูตรทพ่ี ฒั นาขนึ้ ตาม หลักปรชั ญาและความเช่อื พื้นฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนท่ีมีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมี การเรียนรูและส่งั สมความรูและประสบการณอ ยางตอ เน่อื ง ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคลื่อน นโยบายทางการศกึ ษาเพือ่ เพ่มิ ศักยภาพและขีดความสามารถในการแขง ขนั ใหป ระชาชนไดมีอาชีพ ท่สี ามารถสรางรายไดท มี่ ่งั ค่งั และมนั่ คง เปนบุคลากรที่มีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมีจิตสํานึกรับผิดชอบตอตนเองและผูอื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และเน้ือหาสาระ ท้ัง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความ สอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ซง่ึ สง ผลใหต องปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการ เพมิ่ และสอดแทรกเนอื้ หาสาระเกีย่ วกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอม เพ่ือเขาสู ประชาคมอาเซียน ในรายวชิ าท่ีมคี วามเก่ียวของสมั พนั ธกัน แตย ังคงหลักการและวิธีการเดิมในการ พัฒนาหนังสือที่ใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัด เพ่ือ ทดสอบความรูความเขาใจ มีการอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรูกับกลุม หรือศึกษาเพ่ิมเติมจากภูมิ ปญ ญาทองถ่นิ แหลง การเรยี นรแู ละส่ืออน่ื การปรบั ปรุงหนงั สอื เรียนในครัง้ นี้ ไดร บั ความรว มมืออยางดีย่ิงจากผูทรงคุณวุฒิในแตละ สาขาวชิ า และผูเกี่ยวขอ งในการจดั การเรียนการสอนทศ่ี ึกษาคนควา รวบรวมขอ มลู องคค วามรูจาก ส่ือตาง ๆ มาเรยี บเรียงเนอ้ื หาใหค รบถว นสอดคลองกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตัวชี้วัด และกรอบเนื้อหาสาระของรายวิชา สํานักงาน กศน.ขอขอบคุณผูมีสวนเก่ียวของทุกทานไว ณ โอกาสนี้ และหวงั วา หนงั สอื เรียน ชดุ นจ้ี ะเปน ประโยชนแกผ เู รยี น ครู ผูสอน และผูเ กีย่ วขอ งใน ทุกระดับ หากมีขอ เสนอแนะประการใด สาํ นักงาน กศน. ขอนอ มรบั ดว ยความขอบคณุ ย่งิ

สารบัญ หนา คาํ นํา 1 คาํ แนะนาํ การใชหนงั สอื เรยี น 2 โครงสรางรายวิชาศลิ ปศึกษา ระดบั ประถมศึกษา 8 12 บทท่ี 1 ทัศนศิลปพ ืน้ บาน 19 เรื่องที่ 1 ทศั นศลิ ปพนื้ บา น 30 เรอ่ื งท่ี 2 องคป ระกอบทางทศั นศิลป 37 เรอ่ื งท่ี 3 รปู แบบและววิ ัฒนาการของทศั นศลิ ปพ น้ื บา น 42 เรื่องท่ี 4 รปู แบบและความงามของทศั นศลิ ปพน้ื บา น เรือ่ งที่ 5 ทัศนศิลปพน้ื บา นกับการแตง กาย 50 เรื่องที่ 6 การตกแตง ที่อยูอาศยั 51 เรือ่ งที่ 7 คุณคาของทัศนศิลปพ ืน้ บาน 53 74 บทท่ี 2 ดนตรีพ้ืนบา น 78 เรอ่ื งที่ 1 ลกั ษณะของดนตรพี น้ื บา น 82 เรอ่ื งที่ 2 ดนตรพี ืน้ บานของไทย 88 เรอื่ งที่ 3 ภูมิปญ ญาทางดนตรี เร่อื งที่ 4 คณุ คาของเพลงพน้ื บาน 98 เร่อื งที่ 5 พฒั นาการของเพลงพื้นบา น 99 เรื่องท่ี 6 คุณคา และการอนุรกั ษเ พลงพืน้ บาน 99 101 บทท่ี 3 นาฏศิลปพ้ืนบา น 104 เรือ่ งที่ 1 นาฏศลิ ปพ ืน้ บา นและภูมปิ ญญาทอ งถิ่น 106 นาฏศลิ ปพ นื้ บานภาคเหนอื นาฏศลิ ปพ ื้นบานภาคกลาง นาฏศิลปพน้ื บานภาคอสี าน นาฏศิลปพนื้ บานภาคใต

บทท่ี 4 การผลิตเครอ่ื งดนตรี 111 ปจ จยั หลกั ของการประกอบอาชีพ 111 ขอ แนะนําในการเลือกอาชพี 111 อาชีพการผลติ ขลุย 112 อาชีพการผลติ แคน 116 อาชพี การผลิตกลองแขก 119 125 บรรณานกุ รม 126 คณะผจู ดั ทาํ

คาํ แนะนาํ การใชห นังสือเรียน หนงั สอื เรียนสาระการดําเนินชวี ิต รายวิชา ศลิ ปศกึ ษา ทช11003 เปนหนงั สือเรียนท่ีจัดทําขึ้น สาํ หรับผเู รยี นทเ่ี ปนนักศกึ ษานอกระบบ ในการศกึ ษาหนังสอื เรียนสาระการดาํ เนินชีวิต รายวิชา ศลิ ปศกึ ษา ผูเ รยี นควรปฏิบตั ิดังนี้ 1. ศกึ ษาโครงสรา งรายวชิ าใหเขาใจในหวั ขอ และสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท่คี าดหวงั และ ขอบขายเนือ้ หาของรายวิชาน้ัน ๆ โดยละเอียด 2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามกําหนด แลวตรวจสอบกบั แนวตอบกิจกรรมตามท่กี ําหนด ถา ผเู รียนตอบผดิ ควรกลับไปศึกษาและทําความ เขาใจในเน้อื หานั้นใหเขา ใจ กอนทีจ่ ะศกึ ษาเรือ่ งตอ ๆ ไป 3. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทายเร่ืองของแตล ะเร่อื ง เพอื่ เปนการสรปุ ความรู ความเขาใจของเน้ือหา ในเร่ืองน้ัน ๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเน้ือหา แตละเรื่อง ผูเรียนสามารถนําไป ตรวจสอบกบั ครแู ละเพือ่ น ๆ ทร่ี วมเรยี นในรายวชิ าและระดบั เดยี วกันได หนังสือเรยี นเลมนี้มี 4 บทคอื บทท่ี 1 ทศั นศลิ ปพ ้นื บา น บทท่ี 2 ดนตรีพืน้ บาน บทท่ี 3 นาฏศิลปพ ืน้ บาน บทที่ 4 การผลิตเครอ่ื งดนตรี

โครงสรางรายวชิ าศิลปศึกษา ระดับประถมศึกษา สาระสําคัญ มีความรูความเขาใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ช่ืนชม เห็นคุณคาความงาม ความไพเราะ ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม ทางทัศนศิลป ดนตรี นาฏศิลปพ้ืนบาน และวิเคราะหได อยางเหมาะสม ผลการเรยี นรูที่คาดหวงั 1. อธิบายความหมายของธรรมชาติ ความงามความไพเราะของทศั นศิลป ดนตรี และนาฏศลิ ป 2. อธิบายความรพู นื้ ฐานของ ทัศนศลิ ป ดนตรี และนาฏศลิ ปพ นื้ บาน 3. สรางสรรคผลงานโดยใชค วามรพู ้นื ฐาน ดา นทัศนศลิ ป ดนตรี และนาฏศลิ ป พน้ื บา น 4. ชื่นชม เห็นคณุ คา ของ ทัศนศิลป ดนตรี และนาฏศลิ ปพ ้นื บาน 5. วเิ คราะห วพิ ากษ วิจารณ งานดา นทศั นศลิ ป ดนตรี และนาฏศิลปพืน้ บาน 6. อนุรักษสบื ทอดภมู ิปญ ญาดา นทศั นศิลป ดนตรี และนาฏศิลปพ ืน้ บา น ขอบขา ยเน้ือหา บทท่ี 1 ทศั นศิลปพ นื้ บาน บทท่ี 2 ดนตรีพนื้ บา น บทท่ี 3 นาฏศลิ ปพ ้นื บาน บทท่ี 4 การผลติ เครื่องดนตรี สื่อการเรียนรู 1. หนังสือเรยี น 2. ใบงาน 3. กจิ กรรม

1 บทท่ี 1 ทศั นศิลปพ ้นื บาน สาระสาํ คัญ รูเขาใจ มีคณุ ธรรม จริยธรรม ชน่ื ชม เหน็ คณุ คาความงาม ทางทัศนศลิ ป ของศิลปะพื้นบา น และสามารถ วเิ คราะหวพิ ากษ วิจารณไดอยา งเหมาะสม ผลการเรียนรูทีค่ าดหวัง มีความรู ความเขา ใจ ในพน้ื ฐานของทศั นศิลปพ ืน้ บา น สามารถอธบิ าย สรา งสรรค อนุรักษ วิเคราะห วิพากษ วิจารณเกีย่ วกับความงาม ดานทัศนศลิ ปพ น้ื บา น ไดอ ยา งเหมาะสม ขอบขายเนอ้ื หา เร่ืองที่ 1 ทศั นศิลปพ้นื บาน เรื่องท่ี 2 องคป ระกอบทางทัศนศิลป เรื่องท่ี 3 รปู แบบและววิ ฒั นาการของทศั นศิลปพ ้นื บา น เรอื่ งท่ี 4 รปู แบบและความงามของทศั นศลิ ปพ้นื บาน เรื่องที่ 5 ทศั นศลิ ปพ้นื บานกบั การแตงกาย เรื่องท่ี 6 การตกแตง ที่อยอู าศัย เรือ่ งที่ 7 คณุ คา ของทัศนศิลปพ ืน้ บา น

2 เร่อื งที่ 1 ทศั นศลิ ปพ น้ื บาน ทัศนศลิ ปพ้นื บา น เราอาจแบงความหมายของทัศนศิลปพนื้ บา นออกเปน 2 คาํ คอื คาํ วาทศั นศิลปและคาํ วาพื้นบาน ทัศนศลิ ป หมายถงึ ศลิ ปะท่รี ับรูไดดวยการมอง ไดแ กรปู ภาพทวิ ทัศนท ัว่ ไปเปนสาํ คัญอันดบั ตนๆ รูปภาพคนเหมือน ภาพลอเลียน ภาพสิ่งของตาง ๆ ก็ลวนแลวแตเปนเร่ืองของทัศนศิลปดวยกัน ทงั้ สิ้น ซ่ึงถากลา ววา ทศั นศลิ ปเ ปนความงามทางศิลปะ เชน งานประติมากรรม งานสถาปตยกรรม งาน สิง่ พมิ พ ฯลฯ ที่ไดจากการมอง หรอื ทัศนา นั่นเอง งานทศั นศลิ ป แยกประเภทไดดังนี้ 1. จติ รกรรม หมายถึง การสรางสรรคผ ลงานทศั นศลิ ปบนพนื้ ระนาบดว ยวิธกี ารลาก การ ระบายสีลงบนพืน้ ผวิ วัสดทุ ่มี คี วามราบเรยี บ เชน กระดาษ ผาใบ แผน ไม เปน ตน เพ่ือใหเกิดเร่อื งราวและ ความงามตามความรสู กึ นกึ คดิ และจนิ ตนาการของผวู าด จาํ แนกออกได 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี ภาพจติ รกรรมฝาผนังพระอุโบสถวดั ภูมนิ ทร จังหวัดนาน

3 1.1 ภาพวาด เปนศัพทท างทัศนศิลปท่ีใชเรียกภาพวาดเขียน ภาพวาดเสน แบบเปน 2 มิติ คือ มีความกวางและความยาว โดยใชว ัสดตุ าง ๆ เชน ดนิ สอดํา สไี ม สีเทยี น เปนตน 1.2 ภาพเขยี น เปน การสรา งงาน 2 มิติ บนพืน้ ระนาบดวยสีหลายสี เชน การเขียนภาพ ดว ยสนี ํา้ สีดนิ สอ สนี า้ํ มัน เปนตน 2. ประติมากรรม หมายถึง การสรางงานทัศนศิลปท่ีเกิดจากการปน การแกะสลัก การหลอ การเชอ่ื ม เปนตน โดยมลี กั ษณะ 3 มติ ิ คอื มีความกวาง ความยาว และความหนา เชน รปู คน รูปสัตว รูป ส่ิงของ เปน ตน ประติมากรรมจําแนกไดเปน 3 ลกั ษณะ ดงั น้ี ประตมิ ากรรมแบบนนู ตา่ํ 2.1 แบบนูนตํ่า เปนการปนหรือสลักโดยใหเกิดภาพท่ีนูนขึ้นจากพื้นเพียงเล็กนอย เทา นัน้ เชน รปู บนเหรยี ญตา ง ๆ (เหรยี ญบาท เหรยี ญพระ) เปน ตน ประติมากรรมแบบนูนสงู 2.2 แบบนูนสงู เปน การปน หรือสลกั ใหร ูปที่ตองการนูนข้ึนจากพื้นหลังมากกวาครึ่งเปน รปู ท่ีสามารถแสดงความต้นื ลึกตามความเปนจรงิ เชน ประติมากรรมทีฐ่ านอนสุ าวรยี  เปนตน

4 ประติมากรรมแบบลอยตวั 2.3 แบบลอยตัว เปน การปนหรือแกะสลักท่ีสามารถมองเห็นและสัมผัส ชื่นชมความ งามของผลงานไดทกุ ดานหรือรอบดาน เชนพระพทุ ธรูป เปนตน 3. สถาปต ยกรรม หมายถึง ศิลปะและวิทยาการแหงการกอสรางที่นํามาทําเพื่อสนองความ ตอ งการในดา นวตั ถุและจติ ใจ มีลักษณะเปนส่ิงกอ สรางท่สี รางอยา งงดงาม จาํ แนกออกได 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี สถาปตยกรรมไทยแบบเปด 3.1 แบบเปด หมายถึง สถาปตยกรรมที่มนุษยสามารถเขาไปใชสอยได เชน อาคาร เรยี น ทพี่ ักอาศัย เปนตน

5 พระธาตไุ ชยา จงั หวดั สรุ าษฎรธ านี เปน สถาปต ยกรรมแบบปด 3.2 แบบปด หมายถึง สถาปตยกรรมที่มนุษยไมสามารถเขาไปใชสอยได เชน สถปู เจดยี  อนสุ าวรยี ต าง ๆ ผลงานภาพพิมพแกะไม 4 . ภาพพิมพ หมายถึง ผลงานศลิ ปะทถี่ กู สรา งขึ้นมาดวยวิธีการพิมพ ดวยการกดแมพิมพให ตดิ เปนภาพบนกระดาษ จากแมพิมพไ มห รือ แมพมิ พโลหะ เปน ตน คําวา พืน้ บา น บางคร้ังเรียกวาพ้ืน ซึ่งหมายถึงกลุมชนใดกลุมชนหน่ึงอันมีเอกลักษณของตน เชน การดํารงชีพ ภาษาพดู ศาสนา ทเี่ ปน ประเพณีรวมกัน ดังน้ัน ทัศนศิลปพ้ืนบาน หมายถึง ผลงานทางศิลปะที่มีความงาม ความเรียบงายจากฝมือ ชาวบานท่วั ๆไปสรา งสรรคผ ลงานอันมคี ุณคาทางดานความงาม และประโยชนใชสอยตามสภาพของ ทอ งถน่ิ

6 ศาสตราจารยศ ิลป พีระศรี ไดก ลา ววา ทศั นศิลปพ น้ื บานหมายถงึ ศลิ ปะชาวบาน คือการรองรํา ทาํ เพลง กจิ กรรมการวาดเขียนและอ่นื ๆ ซง่ึ กําเนิดมาจากชีวิตจิตใจของประชาชน ศิลปะชาวบานสวน ใหญจะเกิดควบคูกับการดําเนินชีวิตของชาวบาน ภายใตอิทธิพลของความเปนอยู ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเช่ือและความจําเปนของสภาพทองถ่ิน เพื่อใชสอยในชีวิตประจําวัน โดยทว่ั ไปแลว ศลิ ปะพน้ื บา นจะเรียกรวมกบั ศิลปหัตถกรรม เปนศลิ ปหัตถกรรม ที่เกิดจากฝมือของคน ในทองถิ่น การประดิษฐสรางสรรคเปนไปตามเทคนิคและรูปแบบท่ีถายทอดกันใน ครอบครัว โดยตรงจากพอ แม ปู ยา ตา ยาย โดยมีจุดประสงคหลักคือ ทําขึ้นเพ่ือใชสอยในชีวิตประจําวัน เชนเดียวกับคติพ้ืนบานแลวปรับปรุงใหเขากับสภาพของทองถิ่น จนกลายเปนเอกลักษณเฉพาะของ ตนเอง สว นประกอบของทัศนศิลปพืน้ บาน ทศั นศิลปพ ื้นบาน จะประกอบดว ยสง่ิ ตอไปน้ี 1. เปน ผลงานของชางนิรนาม ทําข้ึนเพอื่ ใชสอยในชวี ิตประจาํ วนั ของประชาชน ความงามที่ปรากฏ มไิ ดเกดิ จากความประสงคส ว นตวั ของชา งเพ่อื แสดงออกทางศิลปะ แตม าจากความพยายาม หรือความ ชํานาญของชางทฝี่ กฝน และผลิตตอ มาหลายชว่ั อายุคน 2. เปนผลงานทมี่ ีรปู แบบทีเ่ รียบงา ย มคี วามงามอนั เกิดจากวสั ดุจากธรรมชาติ และผา นการใชส อยจาก อดตี จนถงึ ปจจุบนั 3. ผลติ ขึ้นเปน จาํ นวนมาก ซื้อขายกนั ในราคาปกติ ความงดงามเกดิ จากการฝก ฝน และการทาํ ซํา้ ๆ กัน 4. มีความเปนธรรมชาตปิ รากฏอยูมากกวา ความสละสลวย 5. แสดงลกั ษณะพิเศษเฉพาะถนิ่ หรอื เอกลกั ษณของถนิ่ กาํ เนิด 6. เปน ผลงานทท่ี าํ ขน้ึ ดว ยฝม อื เปน สวนมาก

7 เกรด็ ความรู ผูสรางงานศิลปะ เราเรียกวาศิลปน เชนศิลปนดานจิตรกรรม ศิลปนดานภาพพิมพ ศิลปนดาน ประติมากรรม แตการปนหลอพระพุทธรูปเรียกวางานปฏิมากรรม(สังเกตวาเขียนตางกันจากคําวา ประติมากรรม และผูสรางสรรคงานประติมากรรมเราเรียกปฏิมากรสวนผูสรางสรรค งานดาน สถาปตยกรรมเราเรียกสถาปนกิ กิจกรรม ใหผเู รียนสํารวจบรเิ วณชมุ ชนของผเู รียนหรือสถานทพ่ี บกลุม วามที ัศนศลิ ป พน้ื บานอะไรบาง หากมจี ดั อยใู นประเภทอะไร จากนัน้ บนั ทึกไวแ ลว นํามาแลกเปลย่ี นความรกู นั ในช้ัน เรียน

8 เรือ่ งท่ี 2 องคป ระกอบทางทศั นศิลป “องคป ระกอบทางทศั นศิลป” ประกอบดวยองคป ระกอบสาํ คญั 7 ประการคือ 1. จดุ หมายถงึ สว นประกอบทีเ่ ล็กท่ีสุด เปน สว นเรม่ิ ตน ไปสสู ว นอนื่ ๆ ..... 2. เสน หมายถึง จุดหลาย ๆ จุดท่ีเคลือ่ นทต่ี อเนอ่ื งไปในทว่ี างเปลา จากทิศทางการเคลื่อนที่ ตาง ๆ กนั 3. สี หมายถงึ ลักษณะของแสงสวา งท่ปี รากฏแกส ายตาใหเ ห็น สตี า งกนั สเี ปนสิ่งที่มีอิทธพิ ลตอ ความรูส กึ เม่ือมองเหน็ และทําใหเ กิดอารมณ สะเทอื นใจตา ง ๆ สชี า งเขียนประกอบไปดว ยแมสี 3 สคี อื เหลอื ง แดง นํา้ เงิน ซงึ่ เมื่อนาํ แมส มี าผสมกนั จะไดสีตา งๆ 4. พืน้ ผวิ หมายถงึ คุณลกั ษณะตา ง ๆ ของผวิ ดา นหนา ของวตั ถุทุกชนดิ ทม่ี ลี กั ษณะตาง ๆ กนั เชน เรียบ ขรุขระ เปนมนั วาว หรอื ดาน เปน ตน

9 5. รูปรา ง หมายถงึ การบรรจบกนั ของเสนที่เปนขอบเขตของวตั ถทุ ม่ี องเหน็ เปน 2 มิติ คอื มคี วาม กวางและความยาว 2 ดา นเทานัน้ 6. รูปทรง หมายถงึ รูปลักษณะท่ีมองเหน็ เปน 3 มติ ิ คือ มคี วามกวา ง ความยาว และความหนาลึก

10 เกร็ดความรู การนําองคประกอบทางทัศนศิลป มาจัดภาพใหป รากฏเดน และจดั เรื่องราวสว นประกอบ ตา ง ๆ ในภาพเขาดว ยกนั อยางเหมาะสมเรียกการจดั ภาพ การจดั ภาพเบอ้ื งตนมหี ลักการดงั นี้ 1. มจี ุดเดนเพียงหนงึ่ 2. เปน เอกภาพ คอื ดแู ลว เปนเรอ่ื งราวเดยี วกัน 3. มคี วามกลมกลนื โดยรวมของภาพ 4. อาจมคี วามขดั แยง เลก็ นอยเพื่อเนน จดุ เดน 5. มคี วามสมดุลของนาํ้ หนกั ในภาพ

11 กิจกรรม ใหผ ูเรยี นอธบิ ายความหมายขององคประกอบทางทัศนศลิ ปตอ ไปนี้ จุด หมายถงึ ...................................................................................................................................... เสน หมายถงึ .................................................................................................................................... สี หมายถงึ ........................................................................................................................................ พ้ืนผวิ หมายถึง............................................................................................................................... รปู ราง หมายถึง............................................................................................................................... รปู ทรง หมายถึง.............................................................................................................................. ดูเฉลยจากบทเรยี นท่ี 1 เรอ่ื งท่ี 2 องคป ระกอบทางทัศนศลิ ป

12 เรื่องท่ี 3 รปู แบบและวิวฒั นาการของทัศนศิลปพ ้ืนบาน ศิลปะพน้ื บา น มพี ืน้ ฐานทเ่ี กดิ จากการผลิตทท่ี าํ ข้ึนดวยมอื เพอื่ ประโยชนใชส อย จึงนบั ไดว า กําเนดิ พรอ มกับววิ ฒั นาการของมนุษย ไดค ิดคน วิธกี ารสรางเครอื่ งมือ เครอื่ งใช เพอ่ื ชวยใหเกดิ ความ สะดวกสบายตอการดาํ เนนิ ชวี ติ มาโดยตลอด เชน เครื่องมอื หิน เครอ่ื งปนดินเผาสมัยโบราณทขี่ ดุ พบจึง นบั ไดว า การกาํ เนิดศลิ ปหตั ถกรรมมีอยูทวั่ ไป และพฒั นาตั้งแตโบราณแลว ในสมัยกอ นนนั้ สงั คมของ ชาวไทยเรา เปน สังคมแบบชาวนา หรือเรยี กกันวาสงั คมเกษตร อันเปน สงั คมทีพ่ ึง่ ตนเอง มพี รอมทุกดาน ในเร่ืองปจจยั ส่ีอยใู นกลมุ ชุมมนนัน้ ๆ การสราง การผลติ เคร่ืองใชแ ละอุปกรณตา งๆ เพ่ืออํานวยความสขุ ความสะดวกสบายในการดาํ รงชวี ติ ของตนเอง ประเภทของศิลปะพืน้ บา น งานศิลปะพื้นบานของไทยมีปรากฏตามทองถิ่นตาง ๆ อยูมากมายหลายประเภท สามารถแบง เปนประเภทตาง ๆ ไดด ังนี้ 1. ดานจติ รกรรม จติ รกรรมพื้นบา นของไทยเกิดจากชางชาวบานในทองถิ่นเปนผูสรางผลงานข้ึนโดย อาศัยวัสดุอุปกรณในทองถ่ินเปนเครื่องมือสรางสรรคผลงาน เชน การใชใบลาน แผนไม ผาฝาย เปน วสั ดสุ าํ หรบั ขีดเขยี นวาดภาพ และใชส ีจากธรรมชาติ เชน สจี ากยางไม ผลไม ดินสี ผงหินสี ระบายดวย ไมทบุ ปลายใหเปนฝอยบา ง หรือขนสัตวบางประเภท เชน ขนหมู ขนจากหูวัว ขนกระตาย มัดกับไม เปนแปรงหรือพูก ันระบาย จิตรกรรมพ้ืนบา นไทยสามารถแบบออกไดเปน 2 ประเภท ตามลักษณะของ ตวั จิตรกรรมดงั น้ี 1.1 จติ รกรรมแบบเคล่อื นทไ่ี ด หมายถงึ มนุษยสามารถนําพาช้ินงานจิตรกรรมนั้นเคล่ือนท่ีไป ไหนไดโดยสะดวก ตัวอยา งของงานจติ รกรรมประเภทน้ไี ดแก สมดุ ขอย ภาพมหาชาติ ตพู ระธรรมลาย รดนํ้า เปน ตน 1.2 จิตรกรรมแบบเคล่ือนท่ีไมได หมายถึง มนุษยไมสามารถนําพาชิ้นงานจิตรกรรมน้ัน เคลอ่ื นท่ไี ปไหนได เนอ่ื งจากไดเ ขยี นภาพจิตรกรรมลงบนอาคารสถานท่ี เชน ภาพจิตรกรรมตามฝาผนัง พระอุโบสถ จิตรกรรมบนผนังเพดาน ระเบยี งวหิ าร เปน ตน

13 ภาพจติ รกรรมพ้ืนบา นแบบเคลื่อนทไ่ี ด ภาพจิตรกรรมพืน้ บานแบบเคลือ่ นที่ไมไ ด ลักษณะของจิตรกรรมพ้ืนบานไทย มักจะเปนจิตรกรรมแบบท่ีเรียกวา “จิตรกรรมแบบ ประเพณ”ี คือเปนการสรางสรรคจ ติ รกรรมตามแบบแผนทท่ี ําสบื ตอ กันมา ลกั ษณะจะเปน การเขียนภาพ ดว ยสฝี นุ จากธรรมชาตใิ นทองถิ่น ลกั ษณะการเขียนจะไมรีบรอนไมตองแขงกับเวลา ลักษณะงานจะมี ขนาดเล็ก หากเขยี นบนพื้นที่ใหญ เชน ผนังก็จะมีลักษณะเล็กแตจะมีรายละเอียดในภาพมากหรือเปน ภาพเลา เรื่องตอ เน่อื งไปจนเตม็ พ้นื ท่ี สดั สวนประกอบไมส มั พันธกับบุคคลในภาพ หนาบุคคลไมแสดง อารมณ แตจ ะส่อื ความหมายดวยกิริยาทาทาง และเรื่องราวสวนใหญจะเปนเร่ืองเกี่ยวกับ พุทธศาสนา ความเช่อื 2. ดานประติมากรรม ประติมากรรมพ้ืนบาน มักจะเปนงานที่สรางสรรคข้ึนมาเพ่ือการตอบสนอง ประโยชนใ ชสอยในชวี ติ ประจาํ วนั ของมนุษย วสั ดทุ ่ใี ชม ักจะเปน วสั ดุในทองถิ่น โดยเลอื กใชตามความ เหมาะสมในการใชงาน เชน ไมไผ ไมเน้ือแข็ง ดินเหนียวและการเผา เปนตน ประติมากรรมพ้ืนบาน สามารถแบง ออกตามลกั ษณะการนาํ ไปใชได 4 ประเภทดังน้ี 2.1 ประติมากรรมพ้นื บา นเพอื่ การตกแตง ชัว่ คราว เปน งานประติมากรรมที่สรางข้ึนมาเพ่ือใช ในพิธีกรรมหรือการตกแตงในระยะเวลาอันสั้น เชน การแทงหยวก การแกะสลักผกั หรือผลไม และการ ตกแตงบายศรีในพิธีการตา ง ๆ เปนตน การแทงหยวก การตกแตงบายศรี

14 งานประตมิ ากรรมประเภทนี้มักมคี วามสวยงามประณีตใชความคดิ สรา งสรรคส ูง ผูทําอาจทาํ คนเดยี วหรือทาํ เปน กลุม กไ็ ด 2.2 ประตมิ ากรรมพ้นื บานเพ่ือตกแตง ส่ิงของเคร่ืองใช เปนการสรางสรรคงานประติมากรรม เพอื่ ตกแตง สิง่ ของเครอื่ งใชใ หเ กิดความสวยงามนา ใช ตัวอยางประตมิ ากรรมพนื้ บานเพอื่ ตกแตงส่งิ ของเครื่องใช ไดแ ก การแกะสลักตู เตียง ขนั น้าํ พานรอง คนโท หมอนํา้ เปนตน 2.3 ประติมากรรมพ้ืนบานเพื่อเครื่องมหรสพ ประติมากรรมประเภทนี้สรางข้ึนมาเพ่ือความ บนั เทงิ โดยจะเลือกใชว สั ดุท่ีมอี ยูในทองถน่ิ เชน ดินเผา ไมไผ หนังวัวหรือหนังควาย ผาฝาย ฯลฯ มา ประดิษฐเพือ่ เปน อปุ กรณแ สดงมหรสพตา ง ๆ ตัวอยางประตมิ ากรรมพ้ืนบานเพอื่ มหรสพ ไดแ ก หนุ กระบอก (หุนโรงเลก็ ) หนงั ใหญ หนังตะลงุ หัวโขน เปน ตน

15 2.4 ประติมากรรมพื้นบานประเภทเคร่ืองเลนและพิธีกรรม เปนประติมากรรมพื้นบานที่ สรางสรรคเพอ่ื เปน เครอ่ื งเลน สําหรบั เดก็ หรอื เคร่ืองเลน เคร่ืองบนั เทงิ สําหรบั คนทุกวยั ประติมากรรมประเภทนี้ ไดแก การแกะสลักตัวหมากรุก ตกุ ตาเลก็ ๆ ตกุ ตาเสยี กบาล และตุกตาชาววงั เปน ตน 3. ดานสถาปต ยกรรม สถาปต ยกรรมพืน้ บานไทยเปน สิ่งทีเ่ กีย่ วของกับวถิ ีชวี ติ ของคนไทยมาต้ังแตแรก เกิด โดยวสั ดทุ ใ่ี ชม ักเปน วัสดทุ ม่ี ีอยใู นทอ งถิ่นเปน หลกั ยกเวนสถาปตยกรรมดานศาสนาและความเช่ือ ซ่ึงอาจใชวัสดุตางทองถ่ินท่ีดูแลวมีคาสูงเพื่อแสดงการเคารพนับถือ สถาปตยกรรมพื้นบานไทย แบง ออกไดตามลักษณะการใชส อย 2 ประเภท ดงั นี้ 3.1 สถาปตยกรรมพ้นื บานเพอ่ื พระพทุ ธศาสนา เปน สถาปต ยกรรมทส่ี รางขน้ึ ในวัดตาง ๆ เพื่อ ประโยชนท างพทุ ธศาสนา และปูชนียสถาน สถาปตยกรรมพ้ืนบานเพื่อพระพทุ ธศาสนา ไดแ ก พระสถปู เจดยี  พระปรางค พระอโุ บสถ พระวิหาร ศาลาการเปรียญ ฯลฯ

16 3.2 สถาปตยกรรมพื้นบานประเภทที่อยูอาศัย เปนสถาปตยกรรมท่ีสรางสรรคขึ้นมาเพ่ือ ประโยชนในการอยอู าศัยของบุคคล ลกั ษณะการกอสรา งยดึ ถอื สบื ทอดตอ กันมามรี ปู แบบและแบบแผน แนนอน แตส ามารถดัดแปลงตามความตอ งการและประโยชนใชสอยของบุคคลอีกดวย สถาปตยกรรม ป ร ะ เ ภ ท นี้ ส า ม า ร ถ พ บ เ ห็ น ไ ด จ า ก บ า น เ รื อ น ท ร ง ไ ท ย ห รื อ บ า น แ บ บ พื้ น บ า น ต า ม ภาคตา ง ๆ ภาคเหนอื จะมกี าแลทจี่ ั่วบา น ภาคกลางหลังคาทรงสูงปานลมมีเหรา ภาคใตหลังคาเปนทรง ปน หยา เปนตน เรอื นภาคเหนือ เรือนภาคกลาง เรอื นภาคใต การสรางสถาปตยกรรมพ้นื บา นประเภทท่อี ยูอ าศัยนับเปน ภมู ปิ ญญาไทยที่ปลูกสรางตามความ เหมาะสมของภมู ปิ ระเทศ ภมู อิ ากาศ และไดถ ายทอดคตนิ ิยมไทยดา นความเชื่อ ความเปนมงคลแก ผอู าศยั อีกดว ย 4. ดา นภาพพมิ พ ภาพพิมพพนื้ บานของไทยมไี มมากนกั ทเี่ หน็ ไดช ัดเจนมกั จะเปนในรูปของผา พิมพ ทส่ี รางสรรคขนึ้ มาเพือ่ ประโยชนในการใชสอยเปนสวนใหญ เชน ผาพิมพลายบาติกของภาคใต ซง่ึ เปนกรรมวิธีกึ่งพิมพ กึ่งยอม และผาพิมพโขมพัสตรซ่ึงเปนผาพิมพลายแบบตะแกรง ผาไหม(ซิลค สกรนี ) ของจงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ ผา โขมพัสตร

17 เกร็ดความรู คุณรูไ หมวา เรือนไทยโบราณแบง ออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คือ เรือนเครื่องสับ คือประเภทหนึ่งของเรือนท่ีอยูอาศัยของคนไทยท่ีเรียกวา เรือนไทย คูกันกับ เรอื นเครื่องผูก ตามความหมายของราชบณั ฑติ ยสถานหมายถึง \"เปนเรอื นทีม่ ีลกั ษณะคุมเขาดวยกันดวย วธิ ีเขาปากไม\" สวนใหญเรือนเคร่ืองสับเปนเรือน 3 หอง กวาง 8 ศอก แตจะใหญโตมากขึ้นถาเจาของมี ตาํ แหนงสําคญั เชน เสนาบดี ชางทส่ี รา งจะเปนชางเฉพาะทาง กอนสรางจะมีการประกอบพิธี หลาย ๆ อยาง ในภาคกลางมักใชไมเ ตง็ รังทําพ้ืน เพราะแข็งมาก ทําหัวเทียนไดแข็งแรง ภาคเหนือนิยมใชไมสัก ไมท ่ีไมน ิยมใช เชน ไมตะเคียนทอง เพราะมียางสีเลือด ไมน าดู เรอื นเคร่ืองผูก เปนการสรา งในลักษณะงาย ๆ การประกอบสว นตา ง ๆ เขาดวยกนั จะใชวิธีการ ผกู มดั ตดิ กันดว ยหวาย หรอื จักตอกจากไมไผ ไมม กี ารใชตะปตู อกยึด ฝาบาน หนาตาง ใชไมไผสานขัด แตะ เรยี กวา ฝาขดั แตะ พน้ื มีทั้งไมเ นอ้ื แข็งทาํ เปน แผนกระดาน หรือใชไมไ ผสบั เปนฟาก ก็แลวแตฐานะ ของเจา ของบาน

18 กิจกรรม ใหผเู รยี นสาํ รวจบริเวณชมุ ชนของผูเรียนหรือสถานที่พบกลมุ วา มีศลิ ปะพืน้ บา น ใดบา งที่เขาในประเภททศั นศลิ ปพน้ื บานทัง้ 4 ประเภทขา งตน จากนั้นจดบันทกึ โดยแบง เปน แตละ หัวขอดังน้ี 1. วนั ท่ีสาํ รวจ 2. ระบุสถานท่ี หรือส่ิงของท่พี บ 3. จัดอยูในประเภททศั นศลิ ปใ ด 4. ประโยชนห รือคณุ คา 5. มคี วามสวยงามประทบั ใจหรือไม อยางไร (บอกเหตผุ ล)

19 เรอื่ งท่ี 4 รูปแบบและความงามของทศั นศลิ ปพ ้ืนบาน ทัศนศลิ ปพ้ืนบา นกบั ความงามตามธรรมชาติ มีความงดงามทค่ี ลา ยคลึงกันโดยอาจอธิบายใน รายละเอียดของแตละสง่ิ ไดด งั น้ี ทัศนศิลปพ้ืนบาน เปนรูปแบบศิลปะชนิดเดียวที่มีการเปล่ียนแปลงรูปแบบนอยและคงรูป แบบเดมิ ไดนานทส่ี ุด จากเอกลกั ษณอ นั มคี ุณคา นเ้ี องทาํ ใหทัศนศิลปพ้ืนบานมีคุณคาเพิ่มข้ึนไปเรื่อย ๆ ไมว า เปน คณุ คา ดา นเร่ืองราว การพบเห็น หรอื การแสดงออก เพราะทัศนศิลปพ้ืนบานเปนตัวบงบอก ความเปน มาของมนษุ ยชาติทสี่ รางทัศนศิลปพืน้ บานนั้น ๆ ขนึ้ มา งานทศั นศิลปพ้นื บา นสว นใหญมกั จะออกแบบมาในรปู ของการเลียนแบบหรือทําใหกลมกลืน กับธรรมชาติ ท้ังนี้เพื่อประโยชนของการใชสอยและความสวยงามและ/หรือเพ่ืออุดมคติ ซ่ึงทําให ทัศนศิลปพืน้ บานมจี ุดเดนทีน่ าประทับใจ ตวั อยางเชน การออกแบบอุปกรณจบั ปลาทจ่ี ะมีการออกแบบ ใหก ลมกลืนกับลกั ษณะกระแสน้าํ สะดวกในการเคลือ่ นยา ย ไซดักปลา การออกแบบทก่ี ลมกลนื กับสภาพลํานํ้า เราอาจวิเคราะห วจิ ารณ ถงึ ความสวยงาม ของทศั นศลิ ปพ้นื บานโดยมแี นวทางในการวิเคราะห วิจารณ ดงั นี้ 1. ดา นความงาม เปน การวิเคราะหและประเมินคุณคาในดานทักษะฝมือ การจัดองคประกอบศิลปวา ผลงานชน้ิ นีแ้ สดงออกทางความงามของศิลปะไดอยางเหมาะสมสวยงามและสงผลตอผูดูใหเกิดความ ช่ืนชมเพยี งใด ลกั ษณะการแสดงออกทางความงามของศิลปะจะมีหลากหลายแตกตาง กันออกไปตาม รปู แบบของยุคสมยั ผูว ิเคราะหค วรมีความรู ความเขาใจดวย

20 2. ดานสาระ เปนการวิเคราะหและประเมินคุณคาของผลงานศิลปะแตละชิ้นวามีลักษณะสงเสริม คุณธรรม จรยิ ธรรม ตลอดจนจุดประสงคตา ง ๆ วาใหสาระอะไรกับผูชมบาง ซ่ึงอาจเปนสาระเกี่ยวกับ ธรรมชาติ สังคม ศาสนา การเมือง ปญ ญา ความคิด จนิ ตนาการ และความฝน 3. ดานอารมณความรูสึก เปนการคิดวิเคราะหและประเมินคุณคาในดานคุณสมบัติท่ีสามารถกระตุน อารมณความรูสึกและส่ือความหมายไดอยางลึกซึ้ง ซ่ึงเปนผลของการแสดงออกถึงความคิดพลัง ความรสู ึกทปี่ รากฏอยูในผลงาน ตวั อยางการวเิ คราะห วิจารณงานทศั นศิลปพื้นบานจากภาพตอ ไปนี้ ตัวอยา งการวเิ คราะห คาํ วจิ ารณท ี่ 1 คาํ วิจารณ งานทัศนศิลปป ระเภท จติ รกรรมภาพเขยี นระบายสี 1. ดานความงาม ภาพนผ้ี เู ขยี นมฝี ม ือและความชํานาญในการจัดภาพสูง จุดสนใจอยูท่ีบานหลังใหญ มี เรือนหลงั เล็กกวาเปน ตัวเสริมใหภาพมเี รอื่ งราวมากขน้ึ สว นใหญใ นภาพจะใชเสนในแนวนอน ทําใหดู สงบเงยี บแบบชนบท 2. ดา นสาระ เปน ภาพทีแ่ สดงใหเห็นวถิ ีชีวติ ทอี่ ยใู กลช ิดธรรมชาติ มีตนไมใ หญนอยเปนฉากประกอบ ท้ังหนา และหลงั มีสายนา้ํ ทีใ่ หค วามรสู กึ เย็นสบาย 3. ดานอารมณแ ละความรูสึก เปน ภาพทใี่ หความรูสกึ ผอ นคลาย สโี ทนเขยี วของตนไมท ําใหรูสกึ สดชนื่ เกดิ ความรสู กึ สงบสบายใจแกผูชมเปน อยา งดี

21 ตวั อยางการวเิ คราะห คาํ วิจารณท ่ี 2 คาํ วจิ ารณ งานทศั นศิลปป ระเภท ประติมากรรมแบบลอยตวั 1. ดานความงาม เปนพระพทุ ธรูปปางมารวชิ ยั ทีม่ ลี กั ษณะงดงามไดสัดสว นสมบูรณแบบ ซมุ เรือนแกว และฉากสีเขมดา นหลังทําใหอ งคพ ระดูโดดเดน และนา ศรัทธามากยิง่ ขึน้ 2. ดานสาระ เปน ประติมากรรมท่สี รา งความเคารพศรทั ธาแกผูพบเหน็ 3. ดานอารมณและความรูสึก ทําใหรูสึกถึงความสงบแหงพระพุทธศาสนา และเปนเหมือนที่พึ่งแหง จติ ใจชาวพุทธ

22 กิจกรรม ใหผูเรยี นทดลอง วเิ คราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพ้ืนบานจากรูปท่ีกําหนดโดย ใชหลักการวจิ ารณข า งตน และความรูท ่ีไดศกึ ษาจากเร่ืองท่ี 1.1 ถึง 1.4 มาประกอบคําวจิ ารณ ภาพจิตรกรรมสนี ํา้ ของ อ.กิตติศกั ดิ์ บตุ รดวี งศ คําวจิ ารณ

23 กิจกรรม ใหผ ูเ รยี นทดลอง วิเคราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพ้ืนบานจากรูปที่กําหนดโดย ใชหลักการวิจารณข างตน และความรูท ี่ไดศึกษาจากเรอ่ื งท่ี 1.1 ถึง 1.4 มาประกอบคาํ วจิ ารณ ประติมากรรม วัดพระธาตุสโุ ทนมงคลคีรี จังหวดั แพร คําวจิ ารณ

24 กจิ กรรม ใหผ เู รียนทดลอง วเิ คราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพื้นบานจากรูปท่ีกําหนดโดย ใชห ลักการวจิ ารณขา งตน และความรูทไ่ี ดศึกษาจากเรอ่ื งที่ 1.1 ถงึ 1.4 มาประกอบคาํ วจิ ารณ การจัดสวนในบา นเลยี นแบบธรรมชาติ คาํ วจิ ารณ

25 กจิ กรรม ใหผ เู รียนทดลอง วิเคราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพื้นบานจากรูปที่กําหนดโดย ใชห ลักการวจิ ารณขา งตน และความรทู ีไ่ ดศ ึกษาจากเรอ่ื งที่ 1.1 ถงึ 1.4 มาประกอบคําวิจารณ พระอโุ บสถ วดั จุฬามณี จังหวดั สมทุ รสาคร (ภาพจาก www.Mayaknight07.exteen.com) คาํ วิจารณ

26 กจิ กรรม ใหผ เู รียนทดลอง วเิ คราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพ้ืนบานจากรูปที่กําหนดโดย ใชห ลักการวจิ ารณขางตน และความรทู ไ่ี ดศกึ ษาจากเรือ่ งที่ 1.1 ถงึ 1.4 มาประกอบคําวจิ ารณ เครื่องจักสานจากไมไ ผ ภาคกลาง คาํ วจิ ารณ

27 กจิ กรรม ใหผเู รียนทดลอง วิเคราะห วจิ ารณ งานทัศนศิลปพนื้ บา นจากรูปที่กาํ หนดโดยใช หลกั การวจิ ารณข า งตน และความรทู ไ่ี ดศ ึกษาจากเรอ่ื งที่ 1.1 ถึง 1.4 มาประกอบคาํ วจิ ารณ จิตรกรรมฝาผนังวดั บา นกอ อําเภอวังเหนือ จังหวัดลาํ ปาง คําวจิ ารณ

28 กจิ กรรม ใหผูเรยี นทดลอง วเิ คราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพื้นบานจากรูปท่ีกําหนดโดย ใชห ลกั การวจิ ารณขา งตน และความรทู ่ีไดศ กึ ษาจากเรือ่ งที่ 1.1 ถึง 1.4 มาประกอบคําวจิ ารณ หนังตะลงุ ภาคใต คาํ วจิ ารณ

29 กจิ กรรม ใหผ เู รยี นทดลอง วิเคราะห วจิ ารณ งานทัศนศิลปพื้นบา นจากรูปทก่ี าํ หนดโดย ใชห ลักการวจิ ารณขางตน และความรูท่ไี ดศกึ ษาจากเรือ่ งท่ี 1.1 ถึง 1.4 มาประกอบคําวจิ ารณ ลายขางเรือกอและ จงั หวัดปต ตานี คาํ วจิ ารณ

30 เร่ืองท่ี 5 ทัศนศิลปพ ้นื บานกับการแตงกาย ความหมายของเคร่อื งแตง กาย คําวา เคร่ืองแตงกาย หมายถึงส่ิงที่มนุษยนํามาใชเปนเคร่ืองหอหุมรางกาย การแตงกายของ มนุษยแตละเผาพันธุสามารถคนควาไดจาก หลักฐานทางวรรณคดีและประวัติศาสตร เพ่ือใหเปน เคร่ืองชว ยช้นี าํ ใหร แู ละเขา ใจถงึ แนวทางการแตงกาย ซงึ่ สะทอ นใหเห็นถึงสภาพของการดํารงชีวิตของ มนุษยในยคุ สมยั นน้ั ๆ ประวตั ขิ องเครื่องแตง กาย ในยุคกอนประวัตศิ าสตรมนษุ ยใ ชเ ครื่องหอ หุมรา งกายจากส่ิงที่ไดมาจากธรรมชาติ เชน ใบไม ใบหญา หนงั สัตว ขนนก ดนิ สตี าง ๆ ฯลฯ มนษุ ยบ างเผาพนั ธุร จู ักการใชส ีทท่ี ํามาจากตนพืช โดยนํามา เขียนหรือสักตามรางกายเพ่ือใชเปนเครื่องตกแตงแทนการใชเครื่องหอหุมรางกาย ตอมามนุษยมีการ เรียนรู ถงึ วธิ ที จ่ี ะดดั แปลงการใชเ ครอ่ื งหอหมุ รา งกายจากธรรมชาติใหมีความเหมาะสมและสะดวกตอ การแตงกาย เชน มกี ารผูก มัด สาน ถัก ทอ อดั ฯลฯ และมีการวิวัฒนาการเรอ่ื ยมา จนถงึ การรจู ักใชวธิ ตี ดั และเยบ็ จนในทส่ี ดุ ไดกลายมาเปนเทคโนโลยจี นกระท่งั ถงึ ปจจุบันนี้

31 ความแตกตา งในการแตง กาย มนุษยเปน สตั วโลกที่ออ นแอทสี่ ุด จึงจาํ เปนตองมีสิ่งปกคลุมรางกายเพ่ือสามารถที่จะดํารงชีวิต อยูไ ด จากความจาํ เปนน้ีจงึ เปน แรงกระตุนที่สาํ คัญในอนั ทจ่ี ะแตง กายเพือ่ สนองความตอ งการของมนุษย เอง โดยมสี ังคมและส่ิงอ่นื ๆ ประกอบกัน และเครอ่ื งแตง กายกม็ ีรูปแบบท่แี ตกตา งกันไปตามสาเหตุนั้น ๆ คือ 1. สภาพภมู ิอากาศ ประเทศท่ีอยูในภูมิอากาศที่หนาวเย็นมาก จะสวมเสื้อผาซึ่งทํามาจากหนังหรือขน ของสัตว เพอื่ ใหค วามอบอุนแกร างกาย สว นในภมู ิภาคท่มี ีอากาศรอ นอบอาว เสื้อผาที่สวมใสจะทําจาก เสน ใย ซง่ึ ทําจากฝาย แตใ นทวปี อฟั รกิ า เสื้อผาไมใชส ิง่ จําเปน สําหรบั ใชใ นการปองกนั จากสภาพอากาศ แตเขากลับนิยมใชพวกเคร่ืองประดับตาง ๆ ท่ีทําจากหินหรือแกวสีตาง ๆ ซึ่งมีอยูในธรรมชาตินํามา ตกแตงรางกาย เพ่ือใชเ ปนเครอ่ื งลางหรือเคร่ืองปองกนั ภตู ผีปศาจอกี ดวย ชาวเอสกิโมอาศัยในเขตขั้วโลกเหนือการแตง กายจะหอหุม รดั กมุ เพอ่ื ปองกนั ความหนาวเย็น 2. ศัตรูทางธรรมชาติ ในภมู ภิ าคเขตรอน มนุษยจะไดรับความรําคาญจากพวกสัตวปกประเภท แมลง ตาง ๆ จึงหาวธิ ขี จัดปญ หาโดยการใชโ คลนพอกรา งกายเพ่อื ปองกนั จากแมลง ชาวฮาวายเอีย้ น แถบทะเล แปซฟิ ก สวมกระโปรงซ่งึ ทาํ ดว ยหญา เพือ่ ใชส าํ หรบั ปองกันแมลง ชาวพื้นเมอื งโบราณของญีป่ นุ รูจกั ใช กางเกงขายาว เพื่อปอ งกันสัตวแ ละแมลง 3. สภาพของการงานและอาชพี หนงั สตั วแ ละใบไมส ามารถใชเพ่อื ปองกนั อนั ตรายจากภายนอก เชน การเดนิ ปาเพอ่ื หาอาหาร มนษุ ยก ใ็ ชห นงั สตั วและใบไมเ พอื่ ปองกนั การถกู หนามเก่ียว หรอื ถูกสตั วก ัด ตอ ย ตอ มาสามารถนําเอาใยจากดอกฝาย และใยไหม มาทอเปน ผาทเ่ี รียกกนั วา ผาฝา ยและผา ไหม เมือ่ ความเจริญทางดานวิทยาการมีมากขึน้ ก็เรมิ่ มสี ่งิ ท่ีผลติ เพ่มิ ขน้ึ อีกมากมายหลายชนดิ สมยั ศตวรรษที่ 19 เสอ้ื ผามกี ารวิวฒั นาการเพิม่ มากขนึ้ มผี ูคดิ ประดษิ ฐเ ส้ือผาพิเศษ เพอื่ ใหเหมาะสมกบั ความตองการของผู

32 สวมใส โดยเฉพาะผูท ี่ทาํ งานประเภทตาง ๆ เชน กะลาสีเรอื คนงานเหมืองแร เกษตรกร คนงาน อุตสาหกรรม ขา ราชการทหาร ตํารวจ พนักงานดับเพลงิ เปน ตน 4.ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมและศาสนา เมือ่ มนษุ ยม ีสตปิ ญญามากยงิ่ ข้นึ มกี ารอยูรวมกนั เปน กลุมชน และจากการอยูรวมกันเปนหมูคณะนี้เอง จึงจําเปนตองมีระเบียบและกฎเกณฑในอันท่ีจะอยู รว มกันอยา งสงบสุข โดยไมม กี ารรุกรานซ่ึงกนั และกัน จากการปฏิบัติที่กระทําสืบตอกันมา น้ีเอง ใน ที่สดุ ไดกลายมาเปน ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวฒั นธรรมขึ้น ในสมัยโบราณ เมอ่ื มีการเฉลิมฉลองประเพณีสําคัญตาง ๆ เชน การเกิด การตาย การเก็บเกี่ยว พชื ผล หรือเร่ิมมกี ารสังคมกบั กลุมอ่ืน ๆ กจ็ ะมีการประดบั หรอื ตกแตง รางกาย ใหเ กิดความสวยงามดวย เครื่องประดับตาง ๆ เชน ขนนก หนังสัตว หรือทาสีตามรางกาย มีการสักหรือเจาะ บางครั้งก็วาด ลวดลายตามสว นตา ง ๆ ของรา งกาย เพื่อแสดงฐานะหรือตาํ แหนง ซง่ึ ในปจจุบนั ก็ยงั มหี ลงเหลืออยู สวน ใหญก็จะเปนชาวพื้นเมืองของประเทศตาง ๆ ศาสนาก็มีบทบาทสาํ คญั ในการ แตง กายดว ยเหมือนกนั 5. ความตอ งการดึงดดู ความสนใจจากเพศตรงขา ม ธรรมชาตขิ องมนุษยเ ม่ือเจริญเติบโตข้ึน ยอมมีความ ตอ งการความสนใจจากเพศตรงกันขาม โดยจะมีการแตงกายเพื่อใหเ กดิ ความสวยงาม เพ่ือดงึ ดูดเพศตรง ขา ม 6. เศรษฐกิจและสภาพแวดลอม สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของมนุษย แตละบุคคลยอมไม เหมอื นกัน จึงทาํ ใหเกดิ การแตง กายทแ่ี ตกตา งกนั ออกไป สงั คมทัว่ ไปมหี ลายระดบั ชนช้ัน มีการแบง แยก กันตามฐานะทางเศรษฐกจิ เชน ชนชน้ั ระดบั เจานาย ชาวบา น และกรรมกร การแตง กายสามารถบอกได ถึงสถานภาพ เครอื่ งประดบั และตกแตง รางกาย

33 มนุษยเรามีพ้ืนฐานในการรักความสวยงามอยูในจิตสํานึกอยูทุกคน จะมากหรือนอยบางก็ แลวแตจติ ใจและสภาวะแวดลอมของบคุ คลน้นั ๆ ดังนน้ั มนุษยจึงพยายามสรรหาสิ่งของมาประดับและ ตกแตงรา งกายตน โดยมีจุดประสงคท จี่ ะเสริมความสวยงาม เพ่ิมฐานะการยอมรับในสังคม หรือเปน การเรยี กรอ งความสนใจของเพศตรงขาม ในสมัยโบราณการใชเครื่องประดับตกแตงรา งกายของคนไทยระดบั สามัญชนจะไมมี มากนัก ถึงจะมีก็ไมใชของที่มีราคาสูง เพราะในสมัยโบราณมีกฎหมายขอหามมิใหขาราชการช้ันผูนอยและ ราษฎรใชเครือ่ งประดบั ทมี่ ีราคาแพง จนกระทงั่ ในสมยั รัตนโกสินทรต อนปลาย กฎโบราณดังกลาวได ถกู ยกเวนไป จึงทําใหเ ครอ่ื งประดบั ชนดิ ตางๆแพรหลายสูคนทุกชั้น ทําใหเกิดการแขงขันสรางสรรค ออกแบบเคร่ืองประดับใหมๆมากมาย เครื่องประดับเหลาน้ีหลายชนิดจัดอยูในงานทัศนศิลปพ้ืนบาน ชนดิ หน่งึ ซ่ึงอาจแบงออกเปนชนิดตางๆตามวสั ดทุ ี่ใชได 3 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. เครอื่ งประดบั ทท่ี าํ จากอโลหะ ไดแกเครอ่ื งประดับทใ่ี ชวัสดุหลักทําจากที่ไมใชโลหะเชน วัสดดุ นิ เผา ไม ผา หินสีตางๆ ใยพืช หนังสัตว อัญมณี แกว พลาสติก ฯลฯ เคร่อื งประดับเหลาน้ีอาจ ทําจากวสั ดชุ นิดเดยี วหรือนํามาผสมกนั กไ็ ด นอกจากน้ันยังสามารถนาํ มาผสมกับวัสดุประเภทโลหะได อกี ดว ย เครอ่ื งประดับหินสที ีร่ อยดว ยเชือก สรอ ยคอทําจากหนังแท 2. เครื่องประดับที่ทําจากโลหะ ไดแกเครื่องประดับท่ีทําจากสินแรโลหะ เชน ทองคํา เงิน ทองแดง ทองเหลอื ง ฯลฯ ซ่ึงบางคร้ังไดนําแรโลหะมากกวา 1 ชนิด มาผสมกันเชน นากซ่ึงเปนการ ผสมกันระหวางทองคํากับทองแดง สัมฤทธ์ิ หรือ สําริด เปนโลหะผสมระหวางทองแดงและดีบุก สมั ฤทธิ์บางชนิดอาจมสี ว นผสมของสงั กะสี หรอื ตะกว่ั ปนอยูดวย

34 เครื่องประดบั ทองคําโบราณ เขม็ ขัดนาก 3. เครื่องประดบั ทใี่ ชทําใหเกดิ รอ งรอยบนรา งกาย ไดแ กก ารนําวตั ถจุ ากภายนอกรา งกายเขา ไปตดิ บนรางกายเชนรอยสกั หรือการฝง ลกู ปด หรอื เมล็ดพืชใตผ วิ หนงั ของชาวแอฟรกิ าบางเผา เปนตน นอกจากน้ันยังมกี ารเขยี นสีตามบรเิ วณลําตัวใบหนา เพ่ือประเพณี หรอื ความสวยงามอกี ดวย การสกั เพ่ือความเชื่อ และการสกั เพ่อื ความสวยงาม เกรด็ ความรู รูไหมวา สีและลวดลายสามารถนํามาชวยในการแตง รา งกายได คนอวน หากใสเ ส้อื ผาสีเขม ๆ เชน นํ้าเงิน แดงเขม เขยี วเขม เทา หรือดํา จะทําใหด ผู อมลงกวา เสื้อสี ออน หากเลือกเสอ้ื ผาท่มี ีลายแนวตงั้ ยาว ๆ กจ็ ะทาํ ใหดูผอมยิ่งขึ้น ขณะทค่ี นผอม ควรใสเ ส้อื ผา สีออน ๆ เชนขาว เหลือง ชมพู ฟา ครีม และควรเลือกลายเสอ้ื ผาในแนว ขวาง เพราะจะทําใหด ตู ัวใหญข น้ึ

35 กจิ กรรม ใหผูเรยี นทดลองนาํ วสั ดุทก่ี ําหนดดานลาง มาออกแบบเปนงานเครื่องประดับชนิดใดก็ไดท่ีใชสําหรับ การตกแตงรา งกาย โดยใหเขียนเปนภาพรางของเครื่องประดับพรอมคําอธิบายแนวทางการออกแบบ ของผเู รยี น (ไมตอ งบอกวธิ ที ํา) จากนนั้ ใหน าํ ผลงานออกแบบนําเสนอในชน้ั เรยี น วสั ดุท่ีกาํ หนด ลกู ปด เจาะรสู ตี า ง ๆ เชอื กเอน็ ขนาดเล็ก คาํ อธบิ ายแนวทางการออกแบบ

36 กิจกรรม ใหผูเรียนทดลองนําวัสดุที่กําหนดดานลาง มาออกแบบเปนงานเคร่ืองประดับ ชนิดใดก็ไดท ีใ่ ชส ําหรับการตกแตง รา งกาย โดยใหเ ขียนเปน ภาพรางของเครื่องประดับพรอมคําอธิบาย แนวทางการออกแบบของผเู รยี นและวธิ ที ําอยา งงาย ๆ จากนั้นใหน ําผลงานออกแบบนําเสนอในชั้นเรียน วสั ดทุ ่ีกาํ หนด ตุกตาเซรามิกขนาดเลก็ ความสูงประมาณ 1 น้ิว และวัสดอุ น่ื ๆ ท่หี าไดในชมุ ชนของทา น คาํ อธบิ ายแนวทางการออกแบบ

37 เร่ืองที่ 6 การตกแตงทอ่ี ยอู าศัย การออกแบบตกแตงเปน การออกแบบเพ่ือการเปนอยูในชีวิตประจําวันโดยเฉพาะอยางยิ่งการ ออกแบบเพ่อื เสรมิ แตงความงามใหกบั อาคารบานเรือนและบริเวณท่ีอยูอาศัย เพื่อใหเกิดความสวยงาม นาอยูอาศยั การออกแบบตกแตง ในท่ีนหี้ มายถึงการออกแบบตกแตงภายนอกและการออกแบบตกแตง ภายใน ขน้ั ตอนในการออกแบบ 1. ศึกษาการจดั วางพน้ื ที่ ตวั บานและทีว่ า ง ทางเขาออก ทิศทางดูวาทิศทางลมและแสงแดด จะ ผา นเขา มาทางดา นไหน เชน กระแสลมจะมาจากทิศใต ดูทิศทางของส่ิงรบกวน เชน เสียง และฝุนจาก ถนน จากอาคารขา งเคยี งวาจะเขา มาในทิศทางใด การวางเคร่ืองเรือน เคร่อื งไฟฟา เปนตน 2. กําหนดความตองการ เชนรูปแบบการออกแบบเชนรูปแบบไทย ๆ หรือรูปแบบสากล ทนั สมัย เคร่อื งเรอื นสามารถใชของทม่ี ีอยูแลว มาดดั แปลงไดหรอื ไม หรืออยากไดสวนทม่ี ลี กั ษณะแบบ ไหน เชน สวนที่มไี มใ หญ ดูรมรืน่ สวนไมดอก สวนแบบญป่ี ุน การตกแตงหองนอนแบบไทยทัง้ ผนังหอ ง เครือ่ งเรือน และสว นประกอบอนื่ ๆ 3. การวางผัง ตามความตองการพื้นที่ใชสอย เชน หองน่ังเลน หองครัว หองนอน ฯลฯ กําหนดแนวไมพุมเพื่อปองกันฝุนจากถนนกําหนดพ้ืนที่ปลูกตนไมบังแดดทางทิศตะวันตก กําหนด ทางเขาออก สว น เพื่อใชส อยตา ง ๆ กาํ หนดจุดท่จี ะเปน เดนของบรเิ วณซึ่งจะเปนบริเวณท่ีเดนที่สุด เชน จดุ ที่มองไดอ ยางชดั เจนจากทางเขา หรอื อาจจะจัดวางประติมากรรมหรือพันธุไมท่ีมีความสวยงามเปน พเิ ศษก็ได

38 4. การจัดทาํ รายละเอยี ดตาง ๆ ไดแก การออกแบบในสวนตาง ๆ ตามผังที่กําหนดไว กําหนดเคร่ืองเรือน เครื่องไฟฟาหรือ วัสดแุ ละพันธไุ มทจ่ี ะนํามาใชออกแบบสวนประกอบอน่ื ๆ สิง่ สําคัญที่ควรคํานึงถงึ ในการตกแตง ภายในโดยรวมคอื สถานท่ีตง้ั ของตัวบา น วัสดจุ ะนาํ มาใชตกแตง ประโยชนใชสอยในแตละหอง ความสวยงาม งบประมาณของผเู ปน เจาของ ความเหมาะสมกบั กาลสมยั เพศและวยั ของผูใช และสุดทายคืออดุ มการณ ของผูอ อกแบบ การตกแตงสวนแบบเนน อนรุ กั ษธ รรมชาติ 5. การจัดวางเคร่ืองเรือน หลักการท่ัวไปในการพิจารณาจัดวางเครื่องเรือนในการตกแตง ภายใน มจี ุดมงุ หมายงาย ๆ คอื ตองมคี วามเปน เอกภาพ คอื การรวมตัวกนั ของเครื่องเรือนแตละกลุม ทั้ง ในดา นความรูส กึ และในดา นความเปน จรงิ เชน ชดุ รับแขก ชุดรับประทานอาหาร ชุดนั่งเลนฯลฯ ถึงแม เครื่องเรอื นทุกกลุมจะถกู จัดใหรวมอยใู นหอ งโลงท่ีเปดถึงกันตลอด แตเคร่ืองเรือนทุกชุดจะตองถูกจัด วางใหไมดปู นเปสับสนกัน ทั้งนข้ี ้ึนอยูกับการเลือกแบบของเครื่องเรือนที่สัมพันธกันในแตละชุด และ การใชสสี นั ตลอดจนการใชเ ครอ่ื งตกแตง เชน ใชพรมรองในบริเวณหองรับแขก หรือใชไฟชอใหแสง สวา งเนนในบริเวณโตะอาหารซ่ึงจะชวยใหชุดรบั แขก และชดุ รบั ประทานอาหารดเู ปน เอกภาพย่ิงขึ้น

39 6. ความสามารถในการเปลี่ยนแปลงการใชสอย เปนการดีมากถาเคร่อื งเรือนบางช้นิ สามารถทจ่ี ะใชง านไดหลายหนาท่ี หรือหลายตําแหนง เชน ตเู ลก็ ๆ ในหองนอนใหญ สามารถนําไปใชในหองนอนเด็กได เมื่อมีตูใบใหญมาใชในหองนั้นแทน หรือเกาอี้หวายในหองนั่งเลน สามารถนําไปใชน ง่ั เลนทร่ี ะเบยี งบานไดด ว ย 7. ความสมดุล ตองคํานึงถึงความสมดุลในการจัดวางเคร่ืองเรือนแตละหอง โดยการจัดวางใหแบงกระจาย เฟอรน ิเจอรใ หเ หมาะสมกบั พ้นื ทแ่ี ละไมจดั เคร่ืองเรือนใหรวมกันอยูทางดานใดดานหน่ึงของหอง โดย ปลอยใหอ ีกดานหนึ่งวางเปลา อยา งไมม เี หตผุ ล 8. การจดั ระบบทางเดินภายในแตละหอง ทางเดินภายในแตละหอง ทางเดินจากประตูหนึ่งไปยังอีกประตูหน่ึง จะตองสะดวกและ กวางขวางเพียงพอ ตองไมม ีการจัดวางทางเดนิ ภายในแตละหอ งกีดขวางในเสนทางที่ใชส ัญจร สภาพโดยท่วั ๆ ไปของหองทุกหอ ง จะทาํ หนา ท่เี ปน ตวั บงั คับจาํ นวนในการจัดวาง เครือ่ งเรือน ไดในตวั เองอยแู ลว เชน หองนอนจะตองประกอบดว ย เตยี งนอน ตเู สื้อผา โตะ แตง ตัว โตะทาํ งาน โตะ วางโทรทัศน การจัดวางจงึ ถูกกําหนดใหต ูเสื้อผา ตองวางชดิ ผนังดา นทบึ สว นเตียงนอนนิยมจัดวางดาน หวั นอนไปทางทศิ ตะวนั ออกหรอื ทิศเหนอื ตามความเชอื่ โตะ วางโทรทัศนจ ดั วางไวปลายเตียงเพ่ือความ สะดวกในการใชงาน โตะ แตง ตัวและโตะ ทํางานจดั วางอยใู นพนื้ ทซ่ี ึ่งเหลืออยู หองโถงของตัวบาน จึงเปนหองท่ีคอนขางจะสรางความยุงยากในการจัดวางเครื่องเรือน พอสมควร กอ นการจดั วางเคร่ืองเรือนควรที่จะมีการวางแผนงานสาํ หรับหอ งนอี้ ยางรัดกุมเสียกอน ทางเดนิ ทม่ี คี วามกวางประมาณ 90 เซนตเิ มตร จะเปนชองทางเดินที่มีขนาดกําลังพอดี ชองวาง ระหวางโตะกลางกบั เกาอีร้ ับแขก ควรเปน ระยะประมาณ 45 เซนตเิ มตร อันเปน ระยะทส่ี ามารถเดินผาน เขามายังเกาอร้ี ับแขกไดสะดวก อีกท้งั แขกสามารถเออ้ื มมอื มาหยิบแกวนาํ้ หรือหยิบอาหาร ตลอดจนเขยี่ บุหรี่ลงในทีเ่ ขยี่ บุหร่ไี ดสะดวกอกี ดว ย เคร่ืองเรือนชิ้นใหญ ๆ ในหอง เชน โซฟา ตูโชว โตะ ฯลฯ ควรจัดวางใหลงในตําแหนงที่ เหมาะสมเสียกอน เพ่ือท่ีจะใชเปนหลักในการจัดวางเคร่ืองเรือนช้ินเล็ก ๆ ตอไป และไมควรจัดวาง เคร่ืองเรือนชิ้นใหญ ๆ รวมกันอยูเปนกลุม แตควรจัดวางใหกระจายกันออกไป ตามการใชสอย ทั้งนี้ เพือ่ ผลในดา นความสมดลุ แตอยางไรก็ตามในสภาพปกติควรคํานึงถึงดวยวาแขกที่นั่งบนเกาอ้ีทุกตัวควรท่ีจะ สามารถเออ้ื มมอื ถึงสงิ่ ของท่ีอยูบนโตะขาง หรือโตะกลางได

40 การวางเคร่อื งเรือนท่ีเหมาะสมและมีระบบทางเดินท่ีดี สาํ หรับโตะทาํ งานเปนเฟอรนิเจอรท่ีสําคัญชิ้นหนึ่งในหองนี้ ถามีเน้ือที่เพียงพอควรจะจัดวาง โตะทํางานไวดวย โตะทํางานตัวนี้ในเวลาท่ีไมไดใชงานอาจใชเปนที่วางโชวของหรือใชเปนที่พัก อาหารขณะนํามาเสิรฟ ท่โี ตะไดด ว ย เครื่องเรือนท่ีดีท่ีสุด สวยที่สุดอาจกลายเปนเครื่องเรือนชิ้นที่แยที่สุด ถาหากฉากหลังมี ขอบกพรอง เชน มีสีตัดกันมากเกินไปหรือตกแตงไมสัมพันธกับเคร่ืองเรือน หองบางหองอาจดู เหมอื นกับวาเคร่อื งเรือนในหอ งไดถกู เปลยี่ นแปลงใหมหมดเพียงแตเจาของหองดัดแปลงฉากหลังของ หองเทา นน้ั ฉากหลังจึงนับวา มีความสาํ คญั และสามารถชวยในการตกแตง ภายในไดอยา งดี เกร็ดความรู การสรา งบา นควรที่จะมกี ารออกแบบตกแตง ภายในไปพรอ มกนั ดว ย เพ่อื เปนความลงตวั ในการ ออกแบบกอสรา งและการวางสายไฟฟา ทอน้ําภายในระหวา งกอสราง หากผูร บั เหมากอสรางและ ตกแตง ภายในเปน ผเู ดียวกนั การประสานงานในสว นนี้จะเปน ไปอยา งราบรืน่ ทาํ ใหงานเสรจ็ ไดร วดเรว็ ขน้ึ อกี ทั้งการกอสรางบา นและตกแตงภายในไปพรอ มกนั ยงั สามารถชวยประหยัดงบประมาณในการ สรา งบา นใหน อยลงอีกดว ย

41 กิจกรรม จากแบบรา งแปลนหอ งนอนดา นลาง ใหผูเรยี นออกแบบจดั วางเครอื่ งเรอื นใหถ ูกตองตาม หลกั การออกแบบที่ไดศ กึ ษามา โดยใหร า งผงั เคร่อื งเรอื นจดั วางลงในผังแปลนนจ้ี ากนัน้ นํามา แลกเปล่ียนและวจิ ารณก ันในกลุมเรยี น

42 เรอื่ งที่ 7 คณุ คาของทศั นศลิ ปพ ื้นบาน วฒั นธรรม โดยท่วั ไปหมายถึง รปู แบบของกิจกรรมมนษุ ยและโครงสรางเชิงสัญลักษณท่ีทําให กิจกรรมนั้นเดน ชดั และมคี วามสาํ คญั วถิ ีการดาํ เนินชวี ิต ซ่ึงเปนพฤติกรรมและส่ิงท่ีคนในหมูผลิตสราง ขน้ึ ดว ยการเรยี นรูจากกนั และกนั และรว มใชอ ยูใ นหมูพ วกของตน วฒั นธรรมที่เปนนามธรรม หมายถงึ ส่ิงที่ไมใชวัตถุ ไมสามารถมองเห็น หรือจับตองได เปนการแสดงออกในดาน ความคิด ประเพณี ขนบธรรมเนยี ม แบบแผนของพฤตกิ รรมตา ง ๆ ท่ีปฏิบตั ิสืบตอกนั มา เปน ท่ยี อมรบั กันในกลุมของตนวา เปนส่ิงที่ดีงามเหมาะสม เชน ศาสนา ความเชื่อ ความสนใจ ทัศนคติ ความรู และความสามารถ วัฒนธรรม ประเภทนเี้ ปน สว นสําคัญท่ีทําใหเกิด วัฒนธรรมท่ีเปนรูปธรรมขึ้นได และในบางกรณีอาจ พัฒนาจนถึงข้ันเปนอารยธรรมกไ็ ด เชน การสรางศาสนสถานในสมัยกอ น เม่ือเวลาผานไปจึงกลายเปน โบราณสถาน ทีม่ คี วามสําคัญทางประวตั ศิ าสตร โบราณสถานคอื ส่ิงทไ่ี ดรับการพัฒนามาจากวฒั นธรรม (รูปภาพจาก www.elbooky.multiphy.com) ประเพณี เปนกิจกรรมทมี่ กี ารปฏิบตั ิสืบเน่ืองกนั มา เปนเอกลักษณและมีความสําคัญตอสังคม เชน การแตง กาย ภาษา วฒั นธรรม ศาสนา ศลิ ปกรรม กฎหมาย คุณธรรม ความเชือ่ การทาํ บุญใสบ าตรเปนประเพณีที่ปฏิบัติสืบตอ กนั มา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook