43 4. คําวิเศษณ คือ คาํ ท่ใี ชประกอบคํานาม คําสรรพนาม และคํากริยา เพ่ือบอกลักษณะหรือ รายละเอยี ดของคําน้นั ๆ คําวเิ ศษณส วนมากจะวางอยหู ลังคําทีต่ องการบอกลักษณะหรือรายละเอยี ด คาํ วิเศษณ ไดแ ก สงู ตาํ่ ดํา ขาว แก รอน เยน็ เลก็ ใหญ ฯลฯ ตวั อยา ง เขาใสเสอ้ื สแี ดง จม๋ิ เรียนหนงั สอื เกง คนตัวสูงวง่ิ เรว็ 5. คาํ บพุ บท คือ คําทแ่ี สดงความสัมพนั ธร ะหวางประโยคหรือคําหนา กับประโยคหรือ คาํ หลัง ตวั อยา ง บอกสถานท่ี ใน นอก บน ใต ลาง ไกล ใกล นกเกาะอยูบนตนไม บอกความ แหง ของ เปน เจา ของ การรถไฟแหง ประเทศไทย แสดงความเปน ผูรับหรอื แสดง กบั แก แด ตอ โดย เพือ่ ดวย สง่ิ ทที่ ํากรยิ า 6. คาํ สนั ธาน คอื คาํ ทใ่ี ชเ ชอื่ มขอ ความหรอื ประโยคใหเปน เรอื่ งเดียวกัน ตวั อยาง แต กวา ...ก็ ถึง...ก็ เชอ่ื มความขัดแยงกนั กวาถว่ั จะสุกงากไ็ หม พไ่ี ปโรงเรียนแตน องอยบู า น เชอื่ มความท่ี กบั พอ...ก็ ครัน้ ...ก็ คลอยตามกนั พอกบั แมไปเท่ียว พอฝนหายตกฟา กส็ วา ง
44 เชือ่ มความท่ีเปน เน่ืองจาก จงึ ฉะนั้น เพราะ เหตเุ ปน ผลกัน เนือ่ งจากฉนั ต่นื สายจงึ ไปทาํ งานไมทนั สาเหตขุ องวัยรุนติดยาเสพตดิ เพราะครอบครวั แตกราว 7. คําอทุ าน คือ คําที่เปลงออกมา แสดงถงึ อารมณหรือความรูส กึ ของผพู ูด มักอยหู นาประโยค และใชเคร่อื งหมายอศั เจรีย (! )กาํ กบั หลังคาํ อุทาน ตัวอยา ง คําอุทาน ไดแ ก โธ! อุย! เอา! อา ! กลุมคําวลี คอื คาํ ทเ่ี รยี งกันต้งั แต 2 คาํ ขึ้นไป สื่อความได แตย ังไมส มบูรณ ไมเปน ประโยค กลุมคําสามารถทําหนาทเ่ี ปน ประธาน กริยา หรือกรรมของประโยคได ประโยค คือ ถอยคําท่ีเรียบเรียงขึ้นไดใจความสมบูรณ ใหรูวา ใคร ทําอะไร อยางไร ในประโยคอยา งนอ ยตอ งประกอบดว ยประธานและกรยิ า โครงสรางของประโยค ประโยคจะสมบูรณไ ด จะตองประกอบดว ย 2 สวน คือ สว นทเี่ ปน ภาคประธาน และสว นท่เี ปน ภาคแสดง สว นทเี่ ปนภาคประธาน แบงออกเปน ประธาน และสวนขยาย สว นท่เี ปน การแสดง แบง ออกเปน กรยิ า สว นขยาย กรรม สวนขยาย ตวั อยา ง ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง ประธาน สว นขยาย กริยา สว นขยาย กรรม สวนขยาย เด็กเดนิ เด็ก - เดิน - - - พอกนิ ขาว พอ - กิน - ขาว - พค่ี นโตกนิ ขนม พ่ี คนโต กิน - ขนม - แมของฉันวง่ิ แม ของฉัน วงิ่ ทกุ เชา - - ทุกเชา สนุ ัขตัวใหญ สนุ ัข ตัวใหญ ไล กัด สนุ ัข ตวั เลก็ ไลกัดสนุ ัขตัวเล็ก นกั เรยี นหญงิ นกั เรยี น หญิง เลน - ดนตรี ไทย เลนดนตรีไทย
45 การใชป ระโยคในการสอ่ื สาร ประโยคที่ใชใ นการส่ือสารระหวางผูส ื่อสาร (ผูพ ูด) กับผูร ับสาร (ผูฟ ง, ผูอานและผูดู) เพ่ือใหม ี ความเขา ใจตรงกันนน้ั จําเปน ตอ งเลอื กใชป ระโยคใหเ หมาะสมกบั การสอื่ สาร ซง่ึ จาํ แนกไดด งั นี้ 1. ประโยคบอกเลา เปนประโยคท่ีบอกเร่ืองราวตา งๆใหผ ูอ ่ืนทราบวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมอ่ื ใด ทาํ อยา งไร เชน คณุ พอ ชอบเลน ฟุตบอล 2. ประโยคปฏเิ สธ เปน ประโยคทม่ี ีใจความไมต อบรบั มักมีคําวา ไม ไมใ ช ไมได มไิ ด เชน ฉันไม ชอบเดนิ กลางแดด 3. ประโยคคําถาม เปนประโยคท่ีมีใจความเปน คําถามซ่ึงตองการคําตอบ มักจะมีคําวา ใคร อะไร เมือ่ ไร เหตใุ ด เทา ไร วางอยูตน ประโยคหรอื ทายประโยค เชน ใครขโมยปากกาไป ปลาชอนตัวน้ีมี นํา้ หนกั เทา ไร 4. ประโยคแสดงความตอ งการ เปน ประโยคที่มีใจความท่ีแสดงความอยากได อยากมี หรือ อยากเปน มกั จะมคี าํ วา อยาก ตองการ ปรารถนา เชน นักเรยี นไมอยากไปโรงเรยี น หมอตองการรักษา คนไขใหหายเร็วๆ 5. ประโยคขอรอ ง เปนประโยคท่มี ีใจความ ชกั ชวน ขอรอ ง มักจะมคี ําวา โปรด วาน กรุณา ชว ย เชน โปรดใหความชว ยเหลืออีกครง้ั ชว ยยกกลองน้ไี ปดวย 6. ประโยคคําสั่ง เปนประโยคที่มีใจความท่ีบอกใหท ําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือหามทํา ไมใหทํา เชน นายสมศกั ดิ์ตองไปจังหวดั ระยอง บคุ คลภายนอกหามเขา เด็กทุกคนอยา เลนเสียงดัง กจิ กรรม จงสรางกลุมคําและประโยคที่กาํ หนดใหตอไปน้ี 1. สรา งกลมุ คําหรอื วลีโดยใชคาํ ท่ีกําหนดให 1. เดิน _________________________________________________ 2. ชน _________________________________________________ 3. แดง _________________________________________________ 4. น้าํ _________________________________________________ 2. สรา งประโยคโดยใชก ลุมคําจากขอ 1 มาจํานวน 4 ประโยค พรอ มกับระบุดว ยวา เปนประโยค ประเภทใด 1. _____________________________________________________ 2. _____________________________________________________ 3. _____________________________________________________ 4. _____________________________________________________
46 เร่อื งที่ 3 เครอ่ื งหมายวรรคตอนและอักษรยอ 1. เครื่องหมายวรรคตอน การใชเคร่ืองหมายในภาษาไทย นอกจากจะเขาใจในเรื่องการเวนวรรคตอนแลว ยังมเี ครื่องหมายอ่ืน ๆ อกี มาก ท้งั ทใี่ ชแ ละไมค อยไดใช ไดแก เครื่องหมาย วธิ กี ารใช 1. , จลุ ภาค ใชค่นั ระหวา งคาํ หรอื ค่ันกลมุ คาํ หรือค่นั ช่อื เฉพาะ เชน ด,ี เลว 2. . มหพั ภาค ใชเขยี นจบขอความประโยค และเขียนหลังตัวอักษรยอ หรือตัวเลขหรอื กาํ กับอกั ษรขอ ยอ ย เชน ม.ี ค. , ด.ช. , 1. นาม, ก.คน ข. สัตว, 10.50 บาท, 08.20 น. 3. ? ปรัศนี ใชกับขอ ความท่ีเปน คาํ ถาม เชน ปลาตวั นรี้ าคาเทาไร? 4. ! อัศเจรีย ใชกับคําอทุ าน หรอื ขอความท่ีแสดงอารมณตา งๆ เชน อุย ตายตาย! พุทธโธเ อย! อนจิ จา! 5. ( ) นขลิขิต ใชค ัน่ ขอ ความอธบิ ายหรอื ขยายความขางหนา ใหแ จมแจง เชน นกมีหูหนมู ปี ก (คางคาว) ธ.ค.(ธันวาคม) 6. ___ สัญประกาศ ใชขดี ใตขอ ความสําคญั หรอื ขอความทใ่ี หผ อู านสงั เกต เปนพเิ ศษ เชน งานเรมิ่ เวลา 10.00 น. 7. “ ” อัญประกาศ ใชสาํ หรบั เขียนครอ มคาํ หรือขอความ เพ่อื แสดงวา ขอ ความน้นั เปน คําพูดหรอื เพ่อื เนนความนั้นใหเ ดน ชัดขนึ้ เชน “พูดไป สองไพเบ้ยี น่งิ เสยี ตาํ ลงึ ทอง” 8. – ยัตภิ ังค ใชเ ขียนระหวางคาํ ที่ เขยี นแยกพยางคก นั เพอื่ ใหร พู ยางค หนา กบั พยางคห ลังนนั้ ติดกันหรอื เปนคําเดยี วกัน คําท่ีเขียน แยกนน้ั จะอยูในบรรทัดเดียวกันหรอื ตางบรรทัดกันก็ ได เชน ตวั อยา งคําวา ฎกี า ในกรณีคําอยูในบรรทัดเดียว
47 เครอ่ื งหมาย วิธีการใช เชน คําวา สปั ดาห อานวา สับ - ดา 9. ..... เสนไขปลาหรือ ใชแ สดงชอ งวาง เพื่อใหเติมคาํ ตอบ หรอื ใชละขอ ความที่ เสนปรุ ไมต อ งการเขยี น เชน ไอ ........า ! หรอื ละขอ ความทย่ี กมา เพยี งบางสวน หรอื ใชแสดงสวนสมั ผสั ทไี่ มบงั คับของ คําประพนั ธ 10. ๆ ไมย มก ใชเขยี นเพอ่ื ซํ้าคํา ซํ้าวลี ซ้ําประโยคส้ัน ๆ เชน ดาํ ๆ แดง ๆ วนั หน่ึง ๆ ทีละนอย ๆ พอมาแลว ๆ 11. ฯลฯ ไปยาลใหญ ใชล ะขอความตอนปลายหรอื ตอนกลาง เชน สัตวพาหนะ ได (เปยยาลใหญ) แก ชา ง มา วัว ควาย ฯลฯ 12. ฯ ไปยาลนอ ย ใชละบางสว นของคาํ ที่เนน ชอ่ื เฉพาะและรูจ กั กนั ดีแลว (เปยยาลนอย) เชน อดุ รฯ กรงุ เทพฯ 13. ” บพุ สญั ญา ใชเขียนแทนคาํ ที่ตรงกนั กับคาํ ขา งบน เชน ซ้อื มา 3 บาท ขายไป 5” 14. ๏ ฟองมนั ใชเ ขียนขนึ้ ตน บทยอยของคํารอยกรอง ปจ จุบนั ไมน ยิ มใช 15. มหรรถสญั ญา ขนึ้ บรรทัดใหมใ หตรงยอ หนา แรก หรือยอ หนา 16. เวน วรรค ใชแยกคําหรือความทไ่ี มต อ เนื่องกัน ซึง่ แบง เปน เวน วรรคใหญ จะใชกบั ขอ ความที่เปน ประโยคยาวหรอื ประโยคความซอน และเวนวรรคนอ ยใชกบั ขอ ความทใี่ ชตวั เลขประกอบหนาหลงั อักษรยอ หรือยศ ตาํ แหนง
48 กจิ กรรม จงใชเคร่อื งหมายวรรคตอน ตามความเหมาะสมกบั ขอความตอไปนี้ 1. วนั นล้ี กู สาวส่งั ซ้อื ขนมทองหยิบทองหยอดเมด็ ขนนุ ฝอยทอง ฯลฯ 2. นทิ านมหี ลายชนิดเชนนิทานชาดกนิทานปรัมปรานทิ านคตสิ อนใจ 3. คําตอบขอ นถ้ี ูกทัง้ ก ข ค ง 4. เธอนดั ใหฉนั ไปพบในเวลา 08.00 น. 2 . อกั ษรยอ อักษรยอ หมายถึง พยัญชนะที่ใชแทนคําหรือขอ ความยาว ๆ เพื่อประหยัดเวลา เนื้อท่ี และสะดวกตอการเขยี น การพูด ประโยชน ของการใชค ํายอ จะทําใหส ื่อสารไดสะดวก รวดเร็ว แตการใชจ ะตอ งเขา ใจความหมายและคาํ อานของคํานนั้ ๆ คํายอแตล ะคําจะตองมีการประกาศเปน ทางการใหท ราบท่ัวกัน เพ่ือความเขาใจทีต่ รงกนั ปจจุบันมีมากมายหลายคําดว ยกนั วธิ ีการอา นคาํ ยอ จะอานคํายอ หรือคําเต็มก็ไดแ ลว แตโ อกาส ตวั อยา ง 1. อกั ษรยอ ของเดอื น ม.ค. ยอมาจาก มกราคม อานวา มะ-กะ-รา-คม ก.พ. ยอ มาจาก กุมภาพนั ธ อา นวา กุม-พา-พนั มี.ค. ยอ มาจาก มีนาคม อานวา ม-ี นา-คม 2. อักษรยอ จงั หวดั กบ. ยอ มาจาก กระบ่ี กทม. ยอมาจาก กรุงเทพมหานคร ลย. ยอ มาจาก เลย 3. อกั ษรยอลาํ ดับยศ ทหารบก พล.อ. ยอ มาจาก พลเอก อานวา พน-เอก พ.ต. ยอ มาจาก พันตรี อา นวา พัน-ตรี ร.ท. ยอมาจาก รอยโท อานวา รอ ย-โท ทหารอากาศ พล.อ.อ. ยอ มาจาก พลอากาศเอก อานวา พน-อา-กาด-เอก น.ท. ยอมาจาก นาวาอากาศโท อานวา นา-วา-อา-กาด-โท ร.ต. ยอ มาจาก เรอื อากาศตรี อา นวา เรือ-อา-กาด-ตรี
49 ทหารเรอื พล.ร.อ.......ร.น. ยอ มาจาก พลเรอื เอก....แหง ราชนาวี อานวา พน-เรอื -เอก-แหง-ราด-ชะ-นา-วี น.ท....ร.น.ยอ มาจาก นาวาโท....แหงราชนาวี อา นวา นา-วา-โท-แหง –ราด-ชะ-นา-วี ร.ต.....ร.น.ยอ มาจาก เรอื ตรี......แหงราชนาวี อานวา เรือ-ตรี-แหง -ราด-ชะ-นา-วี ตาํ รวจ พล.ต.อ ยอ มาจาก พลตาํ รวจเอก อานวา พน-ตํา-หรวด-เอก พ.ต.ท. ยอมาจาก พันตาํ รวจโท อา นวา พนั -ตํา-หรวด-โท ร.ต.ต. ยอมาจาก รอยตํารวจตรี อา นวา รอย-ตาํ -หรวด-ตรี 4. อกั ษรยอ วุฒทิ างการศึกษา กศ.ม. ยอมาจาก การศึกษามหาบณั ฑติ กศ.บ. ยอ มาจาก การศกึ ษาบณั ฑิต ป.กศ. ยอมาจาก ประกาศนียบัตรวชิ าการศกึ ษา อานวา ประ-กา-สะ-นี-ยะ-บัด-วิ-ชา-กาน-สกึ -สา ป.วส. ยอ มาจาก ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้ันสูง ป.วช. ยอมาจาก ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ 5. อักษรยอ มาตรา ช่งั ตวง วัด กก. ยอ มาจาก กิโลกรมั (มาตราชั่ง) ก. ยอมาจาก กรมั ล. ยอมาจาก ลติ ร (มาตราตวง) กม. ยอ มาจาก กโิ ลเมตร ม. ยอมาจาก เมตร (มาตราวดั ) ซม. ยอ มาจาก เซนติเมตร 6 . อักษรยอ บางคําท่คี วรรู ฯพณฯ ยอ มาจาก พณหวั เจา ทา น อา นวา พะ-นะ-หวั -เจา-ทาน โปรดเกลาฯ ยอ มาจาก โปรดเกลาโปรดกระหมอม ทลู เกลา ฯ ยอมาจาก ทลู เกลา ทูลกระหมอ ม นอ มเกลา ฯ ยอมาจาก นอ มเกลานอ มกระหมอม
50 กิจกรรม ใหผ เู รียนฝก เขยี นอักษรยอประเภทตา ง ๆ นอกเหนือจากตัวอยางท่ยี กมา --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เร่ืองที่ 4 หลกั การใชพจนานกุ รม คําราชาศัพทและคาํ สภุ าพ 1. การใชพ จนานกุ รม การใชภาษาไทยใหถ ูกตองทั้งการพูด การอานและการเขียน เปนสิ่งที่คนไทยทุกคนควร กระทาํ เพราะภาษาไทยเปนภาษาประจําชาติ แตบ างคร้ังเราอาจสับสนในการใชภาษาไทยไมถูกตอง เชน อาจจะเขียนหรืออานคําบางคําผิด เขาใจความหมายยาก ส่ิงหน่ึงที่จะชว ยใหเ ราใชภาษาไทย ไดถ ูกตองกค็ ือ พจนานุกรม พจนานุกรมเปนหนังสือท่ีใชค นควาความหมายของคําและการเขียนคําให ถกู ตอ ง ซง่ึ เรยี งลําดับตวั อักษรและสระ ผูเรียนควรมีพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานไวใ ชและควร เปน ฉบับลาสดุ วธิ ีใชพจนานกุ รม การใชพ จนานกุ รมมหี ลกั กวา ง ๆ ดังน้ี 1. การเรียงลาํ ดบั คํา 1.1 เรยี งตามลาํ ดบั พยัญชนะ ก ข ค ง.......ฮ 1.2 เรยี งลําดบั ตามรปู สระ เชน ะ ั า ิ ี ึ ุ ู เ แ โ ใ ไ 1.3 วรรณยุกต และ ็ (ไมไตคู) กับ (ไมท ัณฑฆาต) ไมไ ดจ ัดเปนลําดับ พจนานกุ รม 2. การพจิ ารณาอักขรวธิ ี ในพจนานุกรมจะบอกการพิจารณาอักขรวิธีโดยละเอียด เชน กรณที ต่ี วั สะกดมีอักขระซ้ํากัน หรือตัวสะกดที่มอี กั ษรซอนกัน ตลอดจนบอกถึงหลักการประวิสรรชนีย ฯลฯ 3. การบอกเสียงการอาน คําท่ีมีการสะกดตรง ๆ จะไมบ อกเสียงอาน แตจะบอกเสียง อานเฉพาะคําที่อาจมีปญหาในการอาน 4. การบอกความหมาย ใหความหมายไวห ลายนยั โดยจะใหค วามหมายท่ีสาํ คัญหรอื เดน ไวก อน 5. บอกประวัตขิ องคาํ และชนดิ ของคํา ในเรอ่ื งประวตั ขิ องคาํ จะบอกทีม่ าไวท า ยคาํ โดยเขียนเปน อกั ษรยอไวในวงเล็บ เพอ่ื รวู า คาํ นัน้ มาจากภาษาใด และเพือ่ ใหรวู าคํานั้นเปนคาํ ชนิดใด ในพจนานุกรมจะมตี วั อักษรยอ เลก็ ๆ หลงั คํานั้น เชน ก. = กรยิ า บ.= บุพบท เปน ตน เพ่อื ใหผเู รียนไดรบั ประโยชนเ ตม็ ทจี่ ากการใชพจนานกุ รม ผูเรยี นควรอานวิธีใชพจนานุกรม โดยละเอียดกอ นจะใช
51 ประโยชนของพจนานกุ รม พจนานุกรมชวยใหอ า นและเขียนภาษาไทยไดอยางถูกตองและเขาใจภาษาไดอยา งลึกซึ้ง ทําใหเปนคนท่ีมีความสามารถในการใชภ าษาไดอยา งดีและมั่นใจเม่ือตอ งติดตอธุรกิจการงานหรือส่ือ ความหมายกบั บุคคลตา ง ๆ 2. คําราชาศัพทแ ละคาํ สภุ าพ ชาติไทยมีลกั ษณะพเิ ศษในการใชภ าษากับบุคคลชั้นตา งๆ ภาษาที่ใชจะแสดงความสุภาพ และคํานงึ ถงึ ความเหมาะสมเสมอ ภาษาท่ีถือวา สุภาพ ไดแก คําราชาศัพทและคําสุภาพ คําราชาศัพท หมายถงึ คาํ ท่ีใชกบั พระมหากษตั รยิ พระบรมวงศานวุ งศ ขาราชการและพระสงฆ สว นคําสุภาพ หมายถึง คาํ ท่สี ภุ าพชนทัว่ ไป นิยมใช ไมใ ชคาํ หยาบ ไมใชคําสบถสาบาน เชน โกหก ใช พูดเท็จ รู ใช ทราบ หัว ใช ศีรษะ กนิ ใช รับประทาน โวย -คะ ครับ ฯลฯ ตัวอยา งคาํ ราชาศพั ท 1. คาํ นามราชาศัพท คาํ ราชาศพั ท คําแปล พระราชบิดา พระชนกนาถ พอ พระราชมารดา พระราชชนนี แม สมเด็จพระเจา ลูกยาเธอ พระราชโอรส ลกู ชาย สมเด็จพระเจาลกู เธอ พระราชธดิ า ลูกสาว พระตําหนัก ทพี่ กั พระบรมฉายาลกั ษณ รปู ภาพ 2. กริยาราชาศพั ท 2.1 กรยิ าไมตองมีคาํ “ทรง” นํา คาํ ราชาศัพท คาํ แปล ตรสั พดู ประทับ อยู น่งั รับสัง่ สัง่ เสด็จ ไป 2.2 คํากริยาที่เปน ภาษาธรรมดา เม่ือตอ งการใหเปนราชาศัพท ตองเติม “ทรง” ขา งหนา เชน ฟง เปน ทรงฟง ทราบ เปน ทรงทราบ เปน ตน 2.3 คาํ กริยาสาํ หรบั บุคคลทั่วไปใชก ับพระเจา แผน ดิน คาํ ราชาศัพท คาํ แปล ถวายพระพร ใหพ ร ขอพระราชทาน ขอ เฝาทูลละอองธลุ ีพระบาท ไปหา หรอื เขาพบ
52 2.4 คาํ กริยาเก่ยี วกับพระสงฆ คาํ แปล คําราชาศัพท เชิญ อาราธนา ไหว นมัสการ ปวย อาพาธ ให ถวาย ดังน้นั สรุปไดว า 1. การใชพ จนานกุ รมใหไ ดป ระโยชนอยางเตม็ ที่ ควรอา นวิธีใชพ จนานกุ รมโดยละเอยี ดกอนใช 2. การเรียนรกู ารใชอักษรยอ เปนการประหยดั เวลาในการส่ือความหมาย ผเู รียนควรจะศกึ ษา ไวเ พือ่ ใชใหถ ูกตอ งท้งั การอา นและการเขยี น 3. การเรียนรูค ําราชาศัพทเปนประโยชนตอ ผูเรียนในการเลือกใชค ําศัพทใ หเ หมาะสมกับ โอกาสและบคุ คลระดบั ตา ง ๆ กิจกรรม จงเตมิ คาํ หรือขอความใหถูกตอ ง 1. วธิ ีการใชพจนานกุ รม 1. _____________________________________________ 2. _____________________________________________ 3. _____________________________________________ 4. _____________________________________________ 5. _____________________________________________ 2. เขยี นคําราชาศพั ทมา 7 คํา ________________________________________________ ________________________________________________ ________________________________________________ 3. เขยี นคาํ สภุ าพมา 7 คํา ________________________________________________
53 เรอ่ื งท่ี 5 สาํ นวนภาษา สํานวนภาษา สํานวนภาษา หมายถึง ถอ ยคําที่มีลักษณะพิเศษ ใชเพื่อรวบรัดความที่ยาวๆ หรือเพ่ือ เปรียบเทยี บ เปรยี บเปรย ประชดประชัน หรอื เตอื นสติ ทําใหม คี วามหมายลึกซึ้งยิ่งกวา ถอยคําธรรมดา สํานวนภาษามีความหมายคลา ยกับโวหารซึ่งรวมถึงอุปมาและอุปไมย บางครั้งจะเรียกซอนกันวา สํานวนโวหาร คนไทยใชสํานวนหรือสํานวนภาษามานานจนถึงปจ จุบัน จึงมีสํานวนภาษารุน เกา และ สํานวนท่ีเกิดข้ึนใหม สํานวนภาษาเปนวัฒนธรรมทางภาษาซ่ึงเปนมรดกตกทอดมาถึงปจ จุบัน และ สืบสานมาเปน สํานวนภาษารุนใหมอ ีกมากมาย ภาษาไทยท่เี ราใชพ ดู จาส่ือสารกนั นน้ั ยอ มมสี องลกั ษณะ ลกั ษณะหนึ่งคือ เปนถอ ยคํา ภาษาท่ี พดู หรอื เขียนกันตรงไปตรงมาตามความหมาย เปนภาษาทีท่ ุกคนฟงเขาใจกัน อกี ลักษณะหน่ึงคือถอ ยคํา ภาษาที่มีชั้นเชิงผูฟง หรือผูอานตองคิดจึงจะเขาใจ แตบางคร้ังถาขาดประสบการณดานภาษาก็จะไม เขา ใจ ภาษาที่มีชั้นเชิงใหอีกฝายหนึ่งตองคิดน่ีเอง คือสํานวนภาษา บางคนเรียกวา สําบัดสํานวน สํานวนภาษามีสักษณะตา ง ๆ ดังกลา วขา งตน นนั้ เรยี กแตกตางกัน ดงั นี้ 1. สาํ นวน คือ สํานวนภาษาทใ่ี ชเ พ่ือเปนการรวบรดั ตดั ขอ ความทีต่ อ งพูดหรืออธิบายยาว ๆ ใหส้นั ลงใชเพยี งสั้น ๆ ใหกินความหมายยาว ๆ ได เชน ปลากระด่ีไดนํ้า หมายถึง แสดงกริ ยิ าทาทางดดี ดิน้ ราเรงิ ท่เี ทา แมวด้ินตาย ท่ีดินหรือเนื้อท่เี พยี งเลก็ นอย ไมพอจะทาํ ประโยชนอ ะไรได เลอื ดเย็น ไมส ะทกสะทาน เหี้ยม แพแตก พลดั พรากจากกนั อยา งกระจัดกระจาย ไมอ าจ จะมารวมกนั ได ไมมีปม ีกลอง ไมมีปมีขลยุ ไมมีเคามากอนเลยวาจะเปน เชนน้ี จู ๆ ก็เปน ขึน้ มา หรอื ตดั สนิ ใจทําทันที รกั ดีหามจว่ั รักช่วั หามเสา หมายถงึ ใฝดจี ะมีสขุ ใฝช ัว่ จะพบความลาํ บาก สวยแตรูป จบู ไมหอม มรี ูปรา งหนาตางาม แตค วามประพฤตแิ ละ กิริยามารยาทไมดี อดเปรีย้ ว ไวกินหวาน อดใจไวก อ น เพราะหวงั ส่ิงทด่ี ี ส่งิ ทีป่ รารถนาขา งหนา ฯลฯ
54 สํานวนตาง ๆ ยอมมที มี่ าตา ง ๆ กัน เชน จากการดูลักษณะนิสัยใจคอของคน จากเหตุการณ แปลก ๆ จากความเปน ไปในสังคม จากสิ่งแวดลอม นิทาน ประวัติศาสตร ตํานาน ฯลฯ สํานวนจึง เกดิ ข้ึนเสมอ เพราะคนชางคิดยอ มจะนําเรอื่ งน้ันเร่ืองน้มี าผูกเปน ถอ ยคาํ สํานวนสมัยใหมท ่ีไดยินเสมอ ๆ เชน เข้ียวลากดิน หมายถงึ คนเจาเลห รมู าก ชํานาญ เช่ยี วชาญ (ในเร่อื งไมดี) ชนั้ เชงิ มาก สม หลน หมายถงึ ไดร บั โชคลาภโดยไมไดค ดิ หรอื คาดหวัง ไวกอน เด็กเสน หมายถึง มีคนใหญคนโต หรอื ผมู ีอิทธิพลทีค่ อย ชว ยเหลือหนุนหลงั อยู อม หมายถงึ แอบเอาเสยี คนเดยี ว ยกั ยอกไว ฯลฯ 2. คําพังเพย คอื สาํ นวนภาษาทใี่ ชเปรยี บเทยี บหรือเปรยี บเปรย ประชดประชัน มีความหมายเปนคตสิ อนใจ มีลกั ษณะคลายกับสุภาษิต อาจจะเปนคาํ กลา วติชมหรือแสดงความคิดเห็น คาํ พังเพยเปนลกั ษณะหนงึ่ ของสาํ นวนภาษา เชน กนิ บนเรือน ขีบ้ นหลังคา หมายถึง เปรยี บกบั คนอกตญั ู หรอื เนรคุณ ขายผาเอาหนารอด หมายถึง ยอมเสียสละแมส่ิงจาํ เปน ท่ตี นมอี ยู เพ่ือรักษาชื่อเสียงของตนไว คางคกข้ึนวอ แมงปอใสต งุ ต้งิ หมายถงึ คนทีฐ่ านะตาํ่ ตอยพอไดด บิ ไดด ี ก็มักแสดงกริ ิยา อวดดี ตาํ ขา วสารกรอกหมอ หมายถงึ คนเกียจครานหาเพยี งพอกินไปมอื้ หนึง่ ๆ ทาํ พอใหเ สรจ็ ไปเพยี งครงั้ เดียว นาํ้ ทวมปาก หมายถงึ พดู ไมอ อก เพราะเกรงจะมภี ัย แกต นและคนอนื่ บอกหนังสอื สังฆราช หมายถงึ สอนส่งิ ท่ีเขารอู ยูแ ลว ปลาํ้ ผลี ุก ปลกุ ผีน่ัง หมายถึง พยายามทาํ ใหเ ปนเร่อื งเปน ราวขนึ้ มา มงั่ มีในใจ แลน ใบบนบก หมายถึง คิดฝน ในเร่ืองท่เี ปนไปไมไ ด คดิ สมบตั บิ าสรา งวมิ านในอากาศ รําไมดโี ทษปโ ทษกลอง หมายถงึ ทําไมด ี หรือทําผิดแลว ไมร ับผดิ กลับโทษผอู ื่น หาเลอื ดกับปู หมายถึง เคยี่ วเข็ญหรอื บีบบังคบั เอากับผูท ี่ ไมม จี ะให
55 เอามือซกุ หีบ หมายถงึ หาเรอ่ื งเดอื ดรอ นหรือความลําบาก ใสต วั โดยใชท ่ี 3. สภุ าษติ คือ สาํ นวนภาษาท่ีใชเปนเคร่ืองเตือนสติ คาํ กลา วสอนใจในสิ่งที่เปนความจริงแท แนน อนเปนสจั ธรรม มกั กลาวใหทําความดีหลกี หนีความชวั่ เชน กลานักมกั บิ่น หมายถงึ กลาหรือหาวหาญเกินไปมกั ได รบั อนั ตราย เขา เถอื่ นอยาลืมพรา หมายถงึ ใหม สี ติอยาประมาท เชนเดยี วกับ เวลาจะเขาปาตองมมี ีดติดตวั ไปดว ย เดนิ ตามหลงั ผูใหญหมาไมก ัด หมายถึง ประพฤตติ ามผูใ หญย อมปลอดภัย ตัดหนามอยา ไวห นอ หมายถึง ทําลายส่ิงช่วั รา ยตองทําลายใหถงึ ตน ตอ นํา้ ข้ึนใหรีบตกั หมายถงึ มีโอกาสควรฉวยไว หรือรีบทํา บวั ไมช้าํ น้ําไมขุน หมายถงึ รจู กั ผอ นปรนเขาหากัน มิใหก ระทบ กระเทือนใจกนั รจู ักถนอมนํา้ ใจกัน มิใหข นุ เคอื งกนั ใฝร อ นจะนอนเยน็ หมายถงึ ขยันขันแข็งต้งั ใจทํางานจะสบายเมื่อ ภายหลงั ใฝเ ย็นจะดน้ิ ตาย หมายถงึ เกียจครา นจะลาํ บากยากจนภายหลัง แพเปนพระ ชนะเปน มาร หมายถงึ การรจู กั ยอมกนั จะทําใหเรือ่ งสงบ มงุ แตจะเอาชนะจะมีแตความ เดือดรอ น รักยาวใหบ่นั รกั สนั้ ใหต อ หมายถงึ รกั จะอยดู ว ยกันนานๆ ใหตดั ความโกรธอาฆาตพยาบาทออกไป ถา ไมค ดิ จะรักกนั นานกใ็ หโตเถยี ง เรอ่ื งทโี่ กรธกันและทําใหไมตรี ขาดสะบน้ั เอาพมิ เสนไปแลกเกลือ หมายถงึ ลดตวั ลงไปทะเลาะหรือมีเรอ่ื งกบั คนทต่ี ่ํากวามแี ตจะเสีย สาํ นวนภาษาน้เี ปนวฒั นธรรมอยา งหน่งึ ของคนไทย จึงมีอยทู ุกทอ งถ่นิ เชน ภาคเหนอื ทาํ มิชอบเขา ลอบตนเอง หมายถึง กรรมท่ผี ใู ดทาํ ไวย อ มสง ผลใหแ กผนู ั้น คนรักใหญเ ทา รอยตีนเสือ หมายถึง คนรกั มีนอ ย คนชงั มมี าก ขาวเหลอื เกลืออม่ิ หมายถงึ อยดู กี ินดี
56 ภาคใต ปากอฆี้ าคอ หมายถงึ ปลาหมอตายเพราะปาก ใหญพ รา วเฒาลอกอ หมายถึง อายุมากเสยี เปลาไมไดม ลี ักษณะเปนผใู หญ ชางแลน อยายุงหาง หมายถึง อยา ขัดขวางผูทม่ี ีอาํ นาจ หรือเหตุการณท ่ี กาํ ลังรุนแรงอยา ไปขัดขวาง ฯลฯ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ตีกลองแขง เสยี งฟา ข่มี า แขง หมายถึง แขง ดหี รอื ผมู ีอาํ นาจวาสนาไมมที างจะสไู ด ตาแวน(ตะวัน) นาํ้ ข้นึ ปลาลอย น้ําบกหอยไต หมายถึง ทีใครทีมัน ตกหมูแ ฮง (แรง ) เปนแฮง หมายถงึ คบคนดจี ะพาใหตนดีดว ย ตกหมกู าเปนกา หมายถึง คบคนช่ัวจะพาใหต นชว่ั ตาม ฯลฯ การรูจักสาํ นวนไทย มีประโยชนใ นการนํามาใชในการพูดและการเขียน ทําใหไ มตองพูดหรือ อธิบายยาวๆ เชน ในสํานักแหงหนึ่ง จู ๆ ก็เกิดมีของหาย ท้ัง ๆ ท่ีไดมีการรักษาปอ งกันอยา งเขมงวด กวดขัน ไมใหมีคนภายนอกเขามาได แตข องก็ยังหายได เหตุการณ เชน น้ีก็ใชส ํานวนภาษาสั้น ๆ วา “เกลือเปนหนอน” ไดซ งึ่ หมายถงึ คนในสํานักงานน้ันเองเปนไสศ ึกใหค นภายนอกเขามาขโมยของหรือ เปน ขโมยเสียเอง ถาจะเตือนสติคนท่ีกําลังหลงรักหญิงที่มีฐานะสูงกวา ซ่ึงไมมีทางจะสมหวังในความรัก ก็ใช สาํ นวนภาษาเตอื นวา “ใฝสงู เกนิ ศกั ดิ์” นอกจากจะใชสํานวนภาษาในการประหยดั คําพูด หรอื คําอธบิ ายไดแ ลว ยังทําใหคําพูดหรือ ขอเขยี นน้ันมีคณุ ภาพแสดงความเปนผรู จู กั วฒั นธรรมของผูใ ชดว ย
57 กิจกรรม จงตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. ใหเขียนสํานวน 3 สํานวน ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ 2. ใหเ ขียนคําพังเพย 3 คาํ พังเพย ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ 3. ใหเ ขียนสุภาษติ 3 สภุ าษติ ___________________________________________________ ___________________________________________________ เรื่องท่ี 6 การใชทกั ษะทางภาษาเปนเครอ่ื งมอื การแสวงหาความรู การสื่อความหมายของมนษุ ยเปน สงิ่ ที่จําเปนอยา งยิ่ง และการสื่อสารจะดีหรือไมด ีขึ้นอยูกับ ทักษะทางภาษาของแตละคน ซง่ึ เกิดขนึ้ ไดจะตอ งมกี ารฝกเปนประจาํ เชน ทักษะการฟง ทักษะการพูด ทกั ษะการอาน ทักษะการเขยี น และทักษะตาง ๆ เหลาน้ีไดม ีการซึมซับอยูในคนทุกคนอยูแลว เพียงแตว า ผูใ ดจะมโี อกาสไดใ ชไดฝก ฝนบอย ๆ กจ็ ะเกิดทักษะทีช่ ํานาญข้ึน ในการแลกเปลี่ยนขอ มูล ขาวสาร ความรู ความเขาใจของคนในอดีตจะเปนการสื่อสาร โดยตวั ตอ ตัวเพราะอดตี คนในสงั คมมีไมม าก แตป จ จบุ ันคนในสังคมเร่ิมมากข้ึน กวา งข้นึ การแลกเปลี่ยน ขาวสารขอ มูลจงึ จาํ เปน ตอ งใชเ คร่ืองมือสื่อสารไดร วดเร็วกวา งไกลและท่ัวถึง ไดแ ก โทรศัพท โทรเลข โทรทศั น วิทยุ โทรสาร คอมพิวเตอร ซ่งึ เครอื่ งมือแตล ะประเภทมจี ุดเดนหรอื ขอจาํ กัดทแี่ ตกตางกันไป การใชภาษาในชีวิตประจําวนั ไมว าจะเปนภาษาพูดหรือภาษาการเขียน จะตองใหเ หมาะสมกับ บุคคลและสถานการณ เชน กิน เปนภาษาท่ใี ชก ันในกลุมเพ่อื นหรอื บุคคลคุนเคย แตถาใชกับบุคคลท่ีเปน ผใู หญหรอื คนท่ไี มคุนเคย จะตอ งใชภ าษาที่สภุ าพวา ทาน หรอื รับประทาน แม คุณแม มารดา หมอ คณุ หมอ แพทย เปน ตน
58 การใชภ าษาไทยนอกจากจะตองมคี วามรู ความเขา ใจของภาษาแลว สง่ิ สาํ คญั อยางย่ิงประการ หนงึ่ คอื ความมคี ณุ ธรรมในการใชภาษา ไมวาจะเปนภาษาพดู หรอื ภาษาเขียน วิธกี ารใชภ าษาไดเ หมาะสม ดงี าม มดี งั น้ี 1. ใชภาษาตรงไปตรงมาตามขอเทจ็ จริงทเี่ กดิ ข้นึ ไมพ ูดโกหก หรอื หลอกลวง ใหรายผอู ืน่ 2. ใชภ าษาไพเราะ ไมใ ชค าํ หยาบ 3. ใชภ าษาใหเหมาะสมกับกาลเทศะและระดับของบคุ คลทีส่ ื่อสารดว ย 4. ใชภ าษาเพือ่ ใหเ กดิ ความสามคั คี ความรัก ไมทาํ ใหเกิดความแตกแยก 5. ใชภ าษาใหถ ูกตอ งตามหลกั การใชภ าษา กิจกรรม จงตอบคาํ ถามตอไปนี้ วธิ กี ารใชภ าษาไดเ หมาะสม มอี ะไรบา ง 1. ___________________________________________________ 2. ___________________________________________________ 3. ___________________________________________________ 4. ___________________________________________________ 5. ___________________________________________________ เร่อื งที่ 7 ลกั ษณะของคําไทย คาํ ภาษาถ่นิ และคาํ ภาษาตางประเทศในภาษาไทย การนําคําภาษาถิ่นและภาษาตา งประเทศมาใชในภาษาไทย จึงทําใหภ าษาไทยมีคําท่ีใช ส่ือความหมายหลากหลายและมีจํานวนมากข้ึน ซ่ึงไมวาจะเปน คําไทย คําภาษาถิ่น หรือคําภาษา ตางประเทศตางกม็ ลี ักษณะเฉพาะท่ีแตกตา งกนั 1. ลกั ษณะของคาํ ไทย มีหลักการสังเกต ดงั นี้ 1.1 มลี กั ษณะเปน คําพยางคเ ดียวโดด ๆ มีความหมายชดั เจน เปน คําที่ใชเรยี กช่ือ คน สัตว สิ่งของ เชน แขน ขา หัว พอ แม เดนิ วง่ิ นอน ฯลฯ แตม คี ําไทยหลายคําหลายพยางคซ ่ึงคําเหลา น้ีมสี าเหตมุ าจากการกรอ นเสียงของคําหนาที่ นํากรอ นเปนเสยี งสั้น (คําหนา กรอนเปน เสยี งส้นั ) กลายเปนคาํ ท่ปี ระวิสรรชนยี เชน
59 มะมวง มาจาก หมากมวง มะนาว มาจาก หมากนาว มะกรูด มาจาก หมากกรดู ตะขบ มาจาก ตน ขบ ตะขาบ มาจาก ตวั ขาบ - การแทรกเสยี ง หมายความวา เดิมเปน คําพยางคเดียว 2 คําวางเรียงกัน ตอมาแทรก เสียงระหวางคาํ เดิม 2 คาํ และเสียงทแี่ ทรกมกั จะเปนเสียงสระอะ เชน ผกั กะเฉด มาจาก ผกั เฉด ลกู กระดุม มาจาก ลกู ดุม ลูกกะทอน มาจาก ลูกทอน - การเตมิ เสยี งหนาพยางคหนา เพื่อใหมีความหมายใกลเ คียงคําเดิม และมีความหมาย ชัดเจนขนึ้ เชน กระโดด มาจาก โดด ประทว ง มาจาก ทวง ประทบั มาจาก ทบั กระทํา มาจาก ทํา ประเดยี๋ ว มาจาก เดยี๋ ว 1.2 มีตวั สะกดตรงตามมาตรา เชน จง (แมกง) ตัก (แมก ก) กบั (แมก บ) เปน ตน 1.3 ไมนิยมมคี าํ ควบกล้ํา เชน ทราบ ตราบ สรวง ประพฤติ เปน ตน 1.4 ไมม ีตวั การันต คําทุกคาํ สามารถอานออกเสยี งไดหมด เชน แม นารัก ไกล 1.5 คําไทยคําเดียว อาจมีความหมายไดหลายอยาง เชน ขันตักนํ้า นกเขาขัน หวั เราะขบขัน 1.6 มีรูปวรรณยุกตก ํากับเสียง ทั้งท่ีปรากฏรูปหรือไมปรากฏรูป เชน นอน (เสียงสามัญ ไมป รากฏรูป) คา (เสียงตรี ปรากฏรปู ไมโท) 1.7 คําทีอ่ อกเสยี ง ไอ จะใชไ มม วน ซ่ึงมอี ยู 20 คํา นอกนั้นใชไ มมลาย ผูใ หญหาผาใหม ใหสะใภใ ชค ลอ งคอ ใฝใ จเอาใสห อ มหิ ลงใหลใครขอดู จะใครลงเรือใบ ดูนํา้ ใสและปลาปู สิ่งใดอยใู นตู มิใชอยใู ตต ั่งเตียง บาใบถ อื ใยบัว หูตามัวมาใกลเคยี ง เลาทอ งอยา ละเลยี่ ง ย่ีสบิ มว นจาํ จงดี
60 2. ลกั ษณะของคําภาษาถ่นิ ภาษาถ่ิน หมายถึง คําที่ใชในทอ งถิ่นตางๆ ของประเทศไทยที่มีลักษณะแตกตางจาก ภาษากลาง เชน ภาษาถิน่ ใต ภาษาถ่นิ อสี าน ภาษาถ่นิ เหนอื ซ่ึงภาษาถน่ิ เหลา นี้เปน ภาษาที่ใชกันเฉพาะ คนในถิ่นนั้น ตัวอยาง เปรียบเทยี บภาษากลาง และภาษาถิ่น ภาษากลาง ภาษาถนิ่ เหนอื ภาษาถนิ่ อสี าน ภาษาถิ่นใต พดู อู เวา แหลง มะละกอ มะกวยเตด หมากหงุ ลอกอ อรอ ย ลํา แซบ หรอย สบั ปะรด มะขะนดั หมากนัด ยา นัด ผม/ฉนั ขาเจา เฮา ขอย ฉาน 3. ลกั ษณะของคําภาษาถ่ินตางประเทศทีป่ รากฏในภาษาไทย คาํ ภาษาตา งประเทศที่ใชอ ยูใ นภาษาไทยมีอยูมากมาย เชน ภาษาจีน ภาษาเขมร ภาษา องั กฤษ แตท ใ่ี ชกันอยูส วนใหญม าจากภาษาจนี และภาษาอังกฤษ ซ่ึงมีสาเหตุมาจากประเทศไทยมีการ ติดตอและมกี ารเจรญิ สมั พันธไมตรีกับชาติน้ัน ๆ จึงยืมคํามาใช ซ่ึงทําใหภ าษาไทยมีคําใชใ นการติดตอ ส่ือสารมากข้นึ ตวั อยาง ภาษาจนี ภาษาอังกฤษ ตงฉนิ แปะเจีย๊ ะ กว ยจบ๊ั ชินแส กก อั้งโล โฮมรมู ซอส โชว แชมป คลนิ ิก แทก็ ซ่ี ปม แสตมป เหลา ฮอ งเต ตง้ั ฉาย แซยดิ ซอี ้ิว เซยี น มอเตอรไ ซค ฟต อิเลก็ ทรอนกิ ส คอมพิวเตอร คอรด เตา ฮวย เตาหู
61 กจิ กรรม จงตอบคําถามตอไปนี้ 1. ลักษณะของคําไทยมอี ะไรบา ง 1. _________________________________________________ 2. _________________________________________________ 3. _________________________________________________ 2. จงเขยี นคาํ ภาษาตา งประเทศทนี่ ํามาใชใ นภาษาไทยมา 10 คํา ____________________________________________________ ____________________________________________________
62 บทที่ 6 วรรณคดีและวรรณกรรม สาระสําคญั วรรณคดีและวรรณกรรม เปน สื่อทมี่ คี ณุ คาควรไดอ า นและเขาใจ จะมปี ระโยชนต อตนเองและ ผูอ ่ืน โดยการอธิบายและเผยแพรนิทาน นิทานพื้นบาน วรรณกรรมทอ งถ่ิน และวรรณคดีเรื่องน้ัน ๆ ตอ ๆ กันไป ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวงั ผเู รียนสามารถ 1. อธบิ ายความหมาย คณุ คาและประโยชนข องนทิ าน นทิ านพ้นื บา น และวรรณกรรมทอ งถน่ิ ได 2. อธิบายความหมายของวรรณคดี และขอ คดิ ท่ไี ดรับจากวรรณคดที ่ีนาศกึ ษาได ขอบขา ยเน้ือหา เรือ่ งท่ี 1 ความหมาย คณุ คา และประโยชนของนิทาน นทิ านพ้นื บาน และ วรรณกรรมทอ งถ่ิน เร่อื งที่ 2 ความหมายของวรรณคดี และวรรณคดที นี่ าศกึ ษา
63 เรื่องที่ 1 ความหมาย คณุ คา และประโยชนข องนิทาน นิทานพนื้ บาน และวรรณกรรมทอ งถิ่น 1. ความหมาย คุณคา และประโยชนของนิทาน 1.1 นิทาน หมายถึง เรื่องทเ่ี ลา สืบทอดกันมา ไมม กี ารยืนยนั วา เปน เรอ่ื งจรงิ เชน นทิ าน เด็กเล้ยี งแกะหรือเทวดากับคนตดั ไม เปนนทิ านสวนใหญ จะแฝงดว ยคติธรรม ซึ่งเปน การสรปุ สาระให ผฟู ง หรือผอู านปฏบิ ัตติ าม 1.2 คณุ คา 1.2.1 ใชเ ปน ขอคดิ เตอื นใจ เชน ทําดไี ดด ี ทาํ ชัว่ ไดช วั่ 1.2.2 เปนมรดกของบรรพบรุ ษุ ทีเ่ ปนเรอื่ งเลา ใหฟ ง ทง้ั ไดรบั ความรแู ละ ความเพลดิ เพลนิ 1.2.3 ไดรบั ประโยชนจ ากการเลา และการฟงนทิ านทัง้ ดา นภาษาและคติธรรม 1.3 ประโยชนของนทิ าน 1.3.1 ไดร บั ความรเู พ่ิมเตมิ 1.3.2 ไดรบั ความเพลดิ เพลิน สนุกสนาน 1.3.3 ไดข อ คิดเตอื นใจนําไปใชประโยชน 2. ความหมาย คุณคา และประโยชนจากนทิ านพนื้ บา น 2.1 นิทานพ้นื บาน หมายถึง เร่อื งเลาทเ่ี ลา สืบทอดกันมา สว นใหญเน้อื หาจะเปนลกั ษณะ เฉพาะถน่ิ โดยอา งอิงจากสถานทหี่ รือบุคคลซ่งึ เปน ทีร่ จู กั รวมกนั ของคนในถ่นิ น้นั ๆ เชน นิทานพน้ื บา น ภาคกลาง เร่อื งลูกกตญั ู นทิ านพ้นื บานภาคใต เรอื่ งพษิ งเู หลอื ม นทิ านพนื้ บา นภาคเหนอื เรอ่ื งเชียงเหม้ยี ง ตาํ พระยา และนทิ านพืน้ บา นภาคอีสาน เร่ือง ผาแดงนางไอ 2.2 คุณคา 2.2.1 เปนเรอ่ื งเลา ที่เลาสืบทอดกันมา ซง่ึ แสดงใหเ ห็นถงึ ส่ิงแวดลอม ชวี ติ ความเปนอยใู นสมัยกอน 2.2.2 ถือเปนมรดกสาํ คัญท่ีบรรพบรุ ุษมอบใหแ กค น 2.2.3 ใหขอคดิ เตือนใจทจี่ ะนําไปใชป ระโยชนได 2.3 ประโยชน 2.3.1 ไดร บั ความรูแ ละความเพลิดเพลินจากการเลา การอา น และการฟง 2.3.2 ไดน ําความรไู ปใชป ระโยชน 2.3.3 ใชเ ผยแพรใ หเ ยาวชนรนุ หลงั ไดร ู ไดเขา ใจนทิ านพื้นบานของบรรพบรุ ุษ
64 3. ความหมาย ความสําคญั และประโยชนจ ากวรรณกรรมทอ งถ่ิน 3.1 ความหมาย วรรณกรรมทอ งถิน่ เปน เรือ่ งราวทม่ี มี านานในทองถน่ิ และมตี ัวละครเปน ผนู าํ เสนอ เนือ้ หาสาระของเร่อื งราวน้ัน เชน เรือ่ งสาวเครือฟา หรือวงั บัวบาน เปนตน 3.2 คณุ คา 3.2.1 แสดงถึงชวี ติ ความเปนอยู สังคม และวฒั นธรรมของทอ งถิน่ น้นั 3.2.2 เปนเร่อื งท่ใี หขอคิด ขอ เตอื นใจ 3.2.3 เปนมรดกสาํ คัญทีม่ คี ุณคา 3.3 ประโยชน 3.3.1 ไดความรู ความเพลดิ เพลนิ 3.3.2 นาํ ขอคดิ ขอ เตือนใจ และสรปุ นํามาใชใหเ ปน ประโยชนตอตนเอง 3.3.3 เปนความรูทเี่ ผยแพรไ ด เร่อื งท่ี 2 ความหมายของวรรณคดี และวรรณคดที ่ีนาศกึ ษา 1. ความหมายของวรรณคดี วรรณคดี หมายถงึ เรือ่ งแตงท่ีไดร ับยกยองวา แตง ดี เปนตัวอยา งดานภาษา แสดงใหเ ห็น ถึงวัฒนธรรมความเปน อยูในยุคน้ัน ๆ แตงโดยกวีที่มีช่ือเสียง เชน วรรณคดีเรื่อง ขุนชา งขุนแผน พระอภัยมณี และสงั ขท อง เปน ตน วรรณคดีทแ่ี ตงดีมลี ักษณะดังน้ี 1. เน้อื เรื่องสนุกสนาน ใหข อ คิด ขอ เตือนใจ ท่ไี มลาสมยั 2. ใชภาษาไดเ พราะ และมีความหมายดี นาํ ไปเปนตวั อยางของการแตง คําประพันธได 3. ใชฉ ากและตัวละครบรรยายลักษณะนิสยั และใหขอคดิ ทผ่ี อู า นตคี วาม โดยฉากหรือ สถานทเี่ หมาะสมกบั เรอ่ื ง 4. ไดรับการยกยอ ง และนําไปเปน เรื่องใหศ กึ ษาของนักเขียนและนักคดิ ได 2. วรรณคดีท่ีนา ศึกษา สําหรับระดับประถมศึกษาน้ีมีวรรณคดีที่แนะนําใหศ ึกษา 3 เรื่อง คือ สังขทองซึ่งเปน กลอนบทละคร พระอภัยมณีเปน กลอนนิทาน และขุนชางขุนแผนเปนกลอนเสภา โดยขอใหนักศึกษา คน ควาวรรณคดี 3 เรอ่ื งและสรุปเปนสาระสําคัญ ในหัวขอตอ ไปน้ี (อาจใหผ ูเรียนนําหัวขอ เหลานี้แยก เขียนภายนอกโดยไมต อ งเขยี นลงในหนงั สือนไ้ี ด)
65 1. สังขท อง 1.1 ผแู ตง _____________________________________________ 1.2 เนอื้ เร่ืองโดยสรปุ ยอ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ 1.3 ขอ คดิ และความประทับใจทไี่ ดร ับจากเรอ่ื งน้ี ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ 2. พระอภยั มณี 2.1 ผแู ตง _____________________________________________ 2.2 เนื้อเร่ืองโดยสรปุ ยอ___________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ 2.3 ขอคดิ และความประทบั ใจทไ่ี ดร ับจากเรอื่ งน้ี ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________
66 3. ขนุ ชา งขนุ แผน 3.1 ผแู ตง _____________________________________________ 3.2 เน้ือเรอื่ งโดยสรุปยอ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ 3.3 ขอคดิ และความประทับใจที่ไดรับจากเรอื่ งนี้ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ ___________________________________________________ (สถานทค่ี น ควา คอื กศน.ตําบล หอ งสมดุ ประชาชน ศูนยการเรยี นชมุ ชนและแหลง เรยี นรอู ่นื ๆ สาํ หรับขอ คดิ และความประทบั ใจผเู รยี นแตละคนอาจเขียนแตกตางกัน ซงึ่ ควรไดอานและพจิ ารณาขอ คิด เหลานั้นวาถูกตองเหมาะสมกบั เนือ้ หาของแตละเรือ่ งเหลานี้หรือไม)
67 บทที่ 7 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชีพ สาระสาํ คัญ ภาษาไทยเปน ภาษาประจําชาติ เปนภาษาทใ่ี ชใ นการสอ่ื สารในชีวิตประจาํ วัน อีกทั้งยงั เปน ชอ งทางทส่ี ามารถนาํ ความรภู าษาไทยไปใชในการประกอบอาชีพตาง ๆ โดยใชศ ลิ ปทางภาษาเปนสอ่ื นาํ ผลการเรยี นรูท ่ีคาดหวัง เม่ือศึกษาจบบทท่ี 7 แลว คาดหวังวา ผเู รียนจะสามารถ 1. มคี วามรู ความเขาใจ สามารถวเิ คราะหศักยภาพตนเอง ถึงความถนัดในการใชภาษาไทย ดานตา ง ๆ ได 2. เห็นชองทางในการนาํ ความรภู าษาไทยไปใชใ นการประกอบอาชีพ 3. เหน็ คุณคาของการใชภ าษาไทยในการประกอบอาชีพ ขอบขา ยเนอ้ื หา เรื่องที่ 1 คุณคา ของภาษาไทย เร่ืองท่ี 2 ภาษาไทยกับชอ งทางการประกอบอาชีพ เรือ่ งท่ี 3 การเพม่ิ พูนความรูและประสบการณทางดา นภาษาไทยเพือ่ การประกอบอาชีพ
68 เรื่องท่ี 1 คณุ คา ของภาษาไทย ภาษาไทย นอกจากจะเปนภาษาที่ใชสื่อสารในชีวิตประจําวันของชาวไทยแลว ภาษาไทยยังบงบอกถึงเอกลักษณความเปนไทย มาตั้งแตโบราณกาลเปนภาษาที่ประดิษฐคิดคนขึ้น โดยพระมหากษตั ริยไ ทย ไมไดลอกเลยี นแบบมาจากภาษาอืน่ หรือชาตอิ น่ื ประเทศไทยมีภาษาไทยเปน ภาษาประจาํ ชาติ ซึ่งถอื ไดวา เปนประเทศท่ีมีศิลปะ วัฒนธรรมทางภาษา กลาวคือ เปนภาษาท่ีไพเราะ สภุ าพ ออนหวาน แสดงถงึ ความนอบนอ ม มสี ัมมาคารวะ นอกจากนยี้ ังสามารถนาํ มาเรยี บเรยี ง แตงเปน คําประพันธประเภทรอยแกว รอยกรอง นิยาย นิทาน วรรณคดี และบทเพลงตางๆ ไดอยางไพเราะ ทาํ ใหเพลดิ เพลิน ผอนคลายความตงึ เครียดใหก ับสมอง แมช าวตา งชาตกิ ็ยังชืน่ ชอบ ในศลิ ปะวัฒนธรรม ไทยของเรา ดังนั้น พวกเราชาวไทย จึงควรเห็นคุณคา เห็นความสําคัญและรวมกันอนุรักษ ภาษาไทยไวใหชนรุนหลังไดศึกษาเรียนรู และสืบทอดกันตอ ๆ ไป เพ่ือใหภาษาไทยของเราอยูคูกับ ประเทศไทยและคนไทยตลอดไป ความสาํ คญั ของภาษาไทย ภาษาไทยมคี วามสําคญั และกอ ใหเกิดประโยชนหลายประการ เชน 1. เปนพน้ื ฐานในการศกึ ษาเรียนรูแ ละแสวงหาความรู บรรพบรุ ุษไดสรางสรรค สะสม อนรุ กั ษและถายทอดเปนวัฒนธรรมจนเปน มรดกของชาติ โดยใชภาษาไทยเปนสอ่ื ทําใหคนรุนหลังไดใช ภาษาไทยเปนเครือ่ งมอื ในการแสวงหาความรู ประสบการณ เลอื กรับสิ่งที่เปน ประโยชนมาใชในการพัฒนา ตนเอง พฒั นาสติปญ ญา กระบวนการคือ การวเิ คราะห วิพากษ วิจารณ การแสดงความคิดเห็น ทําให เกดิ ความรูและประสบการณที่งอกงาม 2. เปนพื้นฐานในการศึกษาตอในระดับท่ีสูงข้ึน เชน ศึกษาตอในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ระดบั อุดมศกึ ษา เปน ตน ลวนตองใชภาษาไทยเปน พนื้ ฐานในการศึกษาตอ 3. เปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพ หรือพัฒนาอาชีพ การบันทึกเร่ืองราวตาง ๆ การจดบันทึก การอา น การฟง การดู ทําใหเ กิดประสบการณเห็นชองทางการประกอบอาชีพ เรื่องที่ 2 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี การศึกษาและเรียนรูรายวิชาภาษาไทย นับเปนพ้ืนฐานสําคัญในการประกอบอาชีพ หากมีการฝก ฝนเพิม่ พนู ทกั ษะดา นตา ง ๆ เชน การฟง การพูด การอาน และการเขียน ก็จะสามารถใช ประโยชนจ ากภาษาไทยไปประกอบอาชีพได ในการประกอบอาชพี ตางๆ นน้ั ลว นตอ งใชภ าษาไทยเปน พน้ื ฐาน การไดฟง ไดอา น ไดเขยี นจดบันทึก ตัวอยางเรอ่ื งราวตางๆ จะทําใหไดรับความรแู ละขอ มลู เกีย่ วกบั อาชพี ตา ง ๆ ทําให
69 มองเหน็ ชองทางการประกอบอาชีพ ชว ยใหต ดั สนิ ใจประกอบอาชีพไดอยางมั่นใจ นอกจากน้ียงั เปน ขอ มลู ท่ีจะชว ยสงเสริมใหบุคคลผูทม่ี อี าชพี อยูแลว ไดพัฒนาอาชพี ของตนใหเจรญิ กาวหนาอกี ดวย นอกจากน้ียงั สามารถใชการฟง การดู และการอา นเปนเคร่ืองมอื ทจี่ ะชว ยใหผ เู รียนมี ขอ มูล ขอเทจ็ จรงิ หลกั ฐาน เหตผุ ล ตวั อยา งแนวคิดเพือ่ นําไปใชในการวเิ คราะห วิจารณ และตัดสนิ ใจ แกป ญหาตางๆ รวมท้งั ตดั สนิ ใจในการประกอบอาชีพไดเ ปน อยางดี ชองทางการประกอบอาชีพ วชิ าชพี ทใ่ี ชภ าษาไทย เปนทักษะพืน้ ฐานในการประกอบอาชพี ไดแ ก อาชีพนักพูด นกั เขียนทต่ี อ งใชท กั ษะการพดู และการเขียนเปนพื้นฐาน เชน 1. ผปู ระกาศ 2. พิธีกร 3. นักจัดรายการวทิ ยุ 4. นักเขยี นโฆษณาประชาสัมพันธ 5. นักขาว 6. นักเขียนประกาศโฆษณาขาวทองถนิ่ 7. นกั เขียนบทความ ทงั้ น้ี ในการตัดสนิ ใจเลอื กอาชพี ตางๆ ขน้ึ อยูกบั ความถนัด ความสามารถและ ประสบการณท แ่ี ตล ะคนไดสั่งสมมา รวมทั้งตอ งมกี ารฝกฝนเรยี นรเู พ่มิ เตมิ ดว ย การเตรยี มตวั เขา สอู าชพี พิธกี ร อาชีพพิธีกร เปนอาชีพที่ตองใชทักษะการพูดมากที่สุด รองลงมาเปนการใชทักษะ การฟง การดู การอาน ที่จะชวยสะสมองคความรูไวในตน พรอมที่จะดึงออกมาใชไดตลอดเวลา สิง่ สาํ คัญในการเปน พธิ ีกร คือ การพูด จึงตองเตรียมตัวเขาสูอาชีพ เชน ศึกษาเรื่องลักษณะการพูดท่ีดี หนาทีข่ องพธิ กี ร คุณสมบัตขิ องผูท่ีเปน พธิ ีกร ข้นั ตอนการพูดของพธิ กี ร เปนตน ลักษณะการพดู ท่ีดี 1. เนือ้ หาทพ่ี ูดดี ตรงตามจดุ ประสงคเ ปน ไปตามข้นั ตอนของงานพิธนี ้นั ๆ 2. มีวิธกี ารพูดท่ดี ี นาํ้ เสยี งนุมนวล ชดั ถอ ย ชัดคํา ใชค ําพดู ถกู ตองเหมาะสม พดู สนั้ ๆ กระชับ ไดใ จความและประทบั ใจ เชน การพดู แสดงความเสยี ใจกรณีเสยี ชวี ิต เจบ็ ปว ย หรอื ประสบเคราะหก รรม ควรมีวิธกี ารพดู ดงั นี้ - พูดใหร สู กึ วา เหตุการณท ่เี กดิ ขึ้นเปนเร่ืองปกติ - แสดงความรสู กึ หวงใย รวมทุกขร วมสุข - พดู ดว ยนํ้าเสยี งแสดงความเศรา สลดใจ - พดู ดวยวาจาสุภาพ - ใหกาํ ลงั ใจและยินดจี ะชวยเหลือ
70 3. มีบุคลกิ ภาพทีด่ ี ผพู ดู มีการแสดงออกทางกาย ทางสหี นา ทางจิตใจที่เหมาะสมกับลักษณะ งานน้ัน ๆ ซ่งึ มลี กั ษณะแตกตา งกัน เชน งานศพ งานมงคลสมรส งานอปุ สมบท เปนตน หนาทขี่ องพิธีกร พธิ กี ร คือ ผดู ําเนนิ การในพิธี ผดู าํ เนินรายการ ผทู ําหนา ท่ดี ําเนินรายการของงานทีจ่ ดั ขึน้ อยา งมี พธิ ีการ หนาท่ขี องพิธกี ร จะเปน ผทู ําหนาทบี่ อกกลา วใหผรู วมพธิ กี ารตา งๆไดทราบถึงขั้นตอนพธิ กี าร วา มอี ะไรบา ง ใครจะเปน ผูพดู พดู ตอนไหน ใครจะทาํ อะไร พธิ กี รจะเปน ผแู จง ใหท ราบ นอกจากนี้ พิธีกรจะทําหนาท่ีประสานงานกับทุกฝายใหรับทราบตรงกนั พิธีกร จงึ เปน ผูม คี วามสาํ คญั ย่งิ ตอ งานพิธนี น้ั ๆ ถาพิธีกรทําหนา ที่ไดดี งานพิธนี นั้ กจ็ ะดําเนินไป ดว ยความราบร่ืนเรียบรอ ย แตถ าพธิ ีกรทําหนาที่บกพรอ งกจ็ ะทาํ ใหงานพธิ ีนัน้ ไมร าบร่นื เกดิ ความ เสียหายได คุณสมบัตขิ องพิธีกร 1. เปน ผูท ่ีมบี ุคลกิ ดี รปู รา งดี สงา มีใบหนาย้มิ แยมแจมใส รจู ักแตง กายใหส ุภาพเรียบรอ ย เหมาะกบั กาลเทศะ 2. มนี ้ําเสียงนมุ นวล นาฟง มลี ลี าจังหวะการพูดพอเหมาะ ชวนฟง มีชีวติ ชีวา 3. พดู ออกเสยี งถกู ตอ งตามอักขรวิธี ชดั เจน ออกเสียงคําควบกลา้ํ ไดถูกตอง 4. ใชภ าษาดี เลอื กสรรถอยคาํ นาํ มาพูดใหผ ูฟง เขา ใจงาย สอื่ ความหมายไดดี ส้นั และกระชบั มศี ลิ ปะในการใชภ าษา 5. มมี ารยาทในการพดู ใหเ กยี รติผฟู ง ควบคุมอารมณไดดี 6. มมี นษุ ยสมั พันธท ด่ี ี มวี ิธสี รา งบรรยากาศดวยสีหนา ทา ทาง ลีลาและนํา้ เสียง ฯลฯ 7. เปนผูใฝใจศกึ ษารูปแบบวธิ ีการใหม ๆ มาใช มคี วามคิดสรางสรรค ยอมรบั ฟง ความคดิ เหน็ ของบุคคลอนื่ และพยายามพัฒนาปรบั ปรงุ ตนเองอยเู สมอ 8. มคี วามรูใ นรายละเอยี ด ข้ันตอน วิธีการของกิจกรรมที่จะทําหนาที่พิธีกรเปนอยางดี ดวย การศกึ ษา ประสานงาน ซักซอ มสอบถามจากทกุ ฝา ยใหชดั เจนและแมน ยาํ 9. เปน คนมปี ฏภิ าณไหวพริบดี มีความสามารถในการแกป ญ หาเฉพาะหนาไดอยางฉบั ไว ขัน้ ตอนการพดู ของพิธกี ร 1. กลาวทกั ทายกับผฟู ง 2. แจง วตั ถุประสงคห รอื กลาวถึงโอกาสของการจัดงาน 3. แจงถึงกจิ กรรมหรอื การแสดงท่ีจะจดั ข้ึนวามีอะไร มขี ้ันตอนอยางไร 4. กลาวเชิญประธานเปดงาน เชิญผูกลาวรายงาน (ถามี) และกลาวขอบคุณเม่ือประธาน กลาวจบ 5. แจงรายการท่จี ะดาํ เนนิ การในลําดบั ตอ ไป ถา มีการอภิปรายก็เชิญคณะผอู ภิปราย
71 เพ่ือดาํ เนนิ การอภปิ ราย ถาหากงานน้ันมีการแสดงก็แจง รายการแสดง ดังน้ี 5.1 บอกช่ือรายการ บอกท่ีมา หรอื ประวัตเิ พอื่ เกร่นิ ใหผ ฟู ง เขาใจเปน พื้นฐาน 5.2 ประกาศรายนามผูแสดง ผฝู ก ซอ ม ผูควบคมุ 5.3 เชิญชมการแสดง 5.4 มอบของขวญั ของทร่ี ะลกึ หลังจบการแสดง 6. พดู เช่ือมรายการ หากมกี ารแสดงหลายชดุ กจ็ ะตอ งมกี ารพูดเชื่อมรายการ 7. เม่ือทุกรายการจบส้ินลง พิธีกรจะกลาวขอบคุณแขกผูมีเกียรติ ผูฟงและผูชม ผูท่ีใหการ ชว ยเหลอื สนบั สนุนงาน หากมพี ธิ ีปด พิธกี รก็จะตองดาํ เนินการจนพธิ ปี ดเสรจ็ เรยี บรอย เรอ่ื งที่ 3 การเพ่มิ พนู ความรแู ละประสบการณท างดานภาษาไทยเพอ่ื การประกอบอาชีพ ผูเ รียนท่มี องเห็นชองทางการประกอบอาชีพแลว และในการตดั สนิ ใจเลือกอาชีพ จําเปนตอ งศกึ ษา เรียนรเู พม่ิ เตมิ เพอ่ื เพมิ่ พูนความรแู ละประสบการณ นําไปประกอบอาชีพไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ การศกึ ษาเรยี นรเู พม่ิ เติม อาจทําไดห ลายวธิ ี 1. ศกึ ษาตอในระดับท่ีสงู ข้นึ 2. ศกึ ษาตอ เรียนรูเ พ่ิมโดยเลือกเรยี นในรายวิชาเลือกตา งๆ ทีส่ ํานักงาน กศน. จัดทําไวให ตามความตองการ 3. ฝกฝนตนเองใหม ที กั ษะ มปี ระสบการณเ พ่ิมมากขนึ้ เชน อาชีพพิธกี ร ควรฝก ทกั ษะดา น 3.1 การมบี คุ ลกิ ภาพทีด่ ี 3.2 การพูดในทีช่ มุ ชน 3.3 มารยาทในการพูด กจิ กรรม ใหผ ูเรียนตอบคําถามตอไปนี้ 1. บอกคณุ คาของภาษาไทย 1).................................................................... 2).................................................................... 3).................................................................... 4).................................................................... 5)....................................................................
72 2. ใหผเู รยี นดูและฟง การพดู ของพธิ กี รในรายการตา งๆ จากโทรทัศน วิทยุ รวมทง้ั จากงานพิธี จริง เพอ่ื สงั เกตขั้นตอน วิธีการและเทคนิคตา ง ๆ ของพิธีกรเพือ่ เปน ตัวอยาง และใหพจิ ารณาเลือกใชสิ่ง ดีๆ มาเปนแบบอยา ง สวนทมี่ องเหน็ วา บกพรอง กน็ ํามาเปนขอ ควรระวัง โดยบนั ทกึ ขอ ดแี ละขอ ควร ปรบั ปรงุ จากการดูและฟง ในรายการตาง ๆ 3. ใหผ ูเรยี นแสดงบทบาทสมมุติใหต ัวเองเปน พิธีกรในงานใดงานหนง่ึ แลวใหเ พื่อนชว ยวิจารณ จากน้ันครปู ระจาํ กลุม ชวยสรปุ และใหคําแนะนาํ ก็จะทําใหผ เู รยี นไดพัฒนาปรบั ปรงุ ตนเอง และ พฒั นาการพูดในฐานะพิธีกรไดอ ยา งดี เฉลยแบบฝก หัด ในการเฉลยแบบฝก หดั ผสู อนสามารถพิจารณาปรับเปลีย่ นไดตามความเหมาะสม บทที่ 1 การฟง และการดู เรือ่ งท่ี 1 1. หลกั การฟงและดู 1. ฟง และดูอยางต้ังใจ 2. มจี ุดมงุ หมาย 3. จดบนั ทกึ ใจความสาํ คญั 4. ศึกษาความรู กอ นทจี่ ะฟง และดู 2. ความสําคัญของการฟงและดู 1. เปนการส่อื สารระหวา งกนั 2. เพ่ิมความรูแ ละประสบการณ 3. เปนการเผยแพรความรู 4. เปน การพัฒนาชวี ติ และความเปนอยู 3. มจี ุดมุงหมายของการฟง และดู 1. เพอ่ื ความรู 2. เพอ่ื รูเทาทันเหตุการณ 3. เพือ่ ความเพลดิ เพลิน 4. เพอื่ ใชเวลาวา งใหเกดิ ประโยชน เรือ่ งท่ี 2 1. วธิ กี ารฟง เพอ่ื จบั ใจความสาํ คญั 1. ฟงอยางตง้ั ใจและมีสมาธิ 2. ฟง ใหตลอดเรื่อง 3. ฟงอยางมวี ิจารณญาณ
73 เร่อื งท่ี 3 2. วธิ กี ารดแู ลวจบั ใจความสําคัญ เรือ่ งท่ี 4 1. ฟงแลว รรู ายละเอยี ด 2. เขาใจเนือ้ หาสาระ บทที่ 2 การพดู 3. ประเมนิ คาเรอื่ งท่ีฟง เรื่องที่ 1 4. จดบันทกึ ใจความสาํ คัญ 1. วิธกี ารของการสรปุ ความ 1. นาํ ใจความสําคญั มาเขียนสรปุ ดว ยสํานวนตนเอง 2. การใชป ระโยชนจากสรุปความ โดยนาํ มาศกึ ษาหรือเผยแพร 2. การนาํ วิธกี ารสรปุ ความไปใชป ระโยชน 1. สรปุ การฟง และดปู ระจาํ วัน 2. เผยแพรค วามรเู รือ่ งจากการฟง และดู 1. มารยาทในการฟง 1. ตงั้ ใจฟง ผูอ ่นื 2. ไมรบกวนสมาธผิ ูอืน่ 3. ใหเ กยี รตวิ ิทยากร 4. ฟง ใหจ บ 2. มารยาทในการดู 1. ตั้งใจดู 2. ไมรบกวนสมาธิผูอน่ื 3. ไมฉ ีกทําลายเอกสารทีด่ ู 4. ดูแลว ใหร กั ษาเหมือนสมบตั ขิ องตน 1. การนาํ หลักการและความสาํ คัญของการพดู ไปใช ดงั นี้ 1. มคี วามรูเ รอื่ งทพี่ ดู 2. พูดดว ยคําสุภาพ 3. สื่อสารกับผูอน่ื เขา ใจ 4. ใชแ สดงความคดิ เห็น 2. จดุ มงุ หมายของการพดู 1. เพอื่ สือ่ สารกับผูอืน่ 2. เพอ่ื แสดงความรู ความสามารถของตนเอง 3. เพื่อแสดงความเห็น
74 เรื่องที่ 2 1. การเตรียมตวั การพูด เรอื่ งท่ี 3 1. การแตงกาย 2. เนือ้ หาสาระทพี่ ูด เรอื่ งที่ 4 3. เอกสาร อปุ กรณป ระกอบการพูด 4. เตรียมพรอ มทั้งรา งกายและจิตใจ บทท่ี 3 การอาน เรอื่ งที่ 1 1. วธิ กี ารพูดในสถานการณตาง ๆ 1 การพูดอวยพร ใหมีความสุข ความเจริญ โดยอางสิ่งศักด์ิสทิ ธ์ิ ใหผ ูฟ ง ประทับใจ 2 การพดู ขอบคณุ พดู ดวยภาษาสุภาพ บอกเหตทุ ีต่ อ ง ขอบคุณ และหากมโี อกาสจะตอบแทนบางโอกาสหนา 3 การพูดตอ นรบั พดู ดว ยคาํ สภุ าพ นุมนวล ประทบั ใจ พูดแนะนําบคุ คล หรอื สถานท่ี 2. การนาํ ความรูด านการพูดไปใช 1. อวยพรวันเกดิ 2. อวยพรวนั ขึ้นปใ หม 3. กลาวตอนรับผมู าเย่ยี มเยือน 4. กลาวขอบคุณทใ่ี หก ารตอ นรบั อยางดี 1. มารยาทในการพูด 1. ใชค าํ พูดสภุ าพ 2. ไมพ ูด วารายผอู ืน่ 3. พดู คดั คานดวยเหตุผล 2. มารยาทดใี นการพดู จะมีประโยชน 1. เปนท่ีรกั ของผูอ ่ืน 2. ผอู น่ื ยินดีพูดดวย 3. ไดร ับความไวว างใจจากผอู ืน่ 1. หลกั การอาน 1. มจี ดุ มุง หมายในการอา น 2. เลือกหนงั สืออานตามความสนใจ 3. อา นถกู ตอ งตามอกั ขรวธิ ี 2. ความสําคญั ของการอา น 1. รับสารเปน ความรหู ลากหลาย 2. ไดความรู ทักษะและประสบการณ
75 3. พฒั นาความคดิ ผอู าน 3. จดุ มงุ หมายในการอาน 1. ใหม ีความรู 2. ใหเ พลดิ เพลนิ 3. นาํ ความรูไปประยุกตใช 4. เปนผทู นั สมัย ทันเหตุการณ เร่ืองที่ 2 1. อา นออกเสยี งไดโ ดย 1. ออกเสยี งถกู ตอง 2. อานอยางมีจงั หวะ 3. อา นอยางเขา ใจเนอ้ื เรือ่ ง 4. อานเสยี งดัง ฟงชัด 2. ใจความสาํ คัญและสรุปความ เร่ืองผูนาํ ยวุ เกษตรกรไทย “เตรยี มไปญี่ปนุ ” กรมสงเสรมิ การเกษตร สาํ นกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมสง เสรมิ สหกรณ กรมปศุสัตว และสํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร คัดเลือกยุวเกษตรกรเขา รับการฝก งานตาม โครงการ จาํ นวน 21 คน เขา รบั การฝก งานที่ญี่ปุน โดยเดินทาง 6 เมษายน 2552 โดยจะตอ งอบรมดา น พ้นื ฐานการเกษตรและภาษาญป่ี นุ กอน ระหวางวันที่ 16 กมุ ภาพนั ธ – 31 มีนาคม 2552 เร่ืองท่ี 3 1. รอ ยกรองคือ คาํ ประพันธท่ีแตง โดยมีการสมั ผัสใหค ลอ งจองกัน 2. การอา นกลอนสุภาพ ใหแ บงคําแยกเปน 3/2/3 หรอื บางบท อาจเปน 3/3/3 ก็ได เรอ่ื งที่ 4 1. เลือกหนังสืออานไดโดย 1. อา นหนงั สือตามความสนใจ พิจารณาจากชื่อผเู ขยี นหรือสารบญั 2. พิจารณาเนือ้ หาสาระทีเ่ ก่ยี วกับผูเขียน 3. พจิ ารณาหนงั สือประกอบการเรยี น บรรณานุกรม 2. ประโยชนข องการอาน 1. ไดร ับความรู ความคิด 2. ไดรับความเพลิดเพลนิ 3. ใชเ วลาวางใหเปน ประโยชน เร่อื งท่ี 5 1. มารยาทในการอา นทนี่ อกเหนอื จากการศกึ ษา 1. ไมอา นหนงั สอื ขณะฟงผูอืน่ พูด 2. ไมอ านหนังสือของผูอื่นที่ไมไ ดรับอนญุ าตกอ น ฯลฯ 2. การมนี สิ ยั รักการอานทนี่ อกเหนือจากการศกึ ษา 1. พยายามอา นทุกอยา งท่พี บเห็นแมจะเปน ขอ ความสั้น ๆ
76 บทที่ 4 การเขยี น หลักการเขียน ประโยชนของการเขียน เรอ่ื งท่ี 1 1. เขียนดวยความเรยี บรอย และถูกตอ งตามหลักภาษา เรือ่ งที่ 2 2. มีจดุ มุงหมายในการเขยี น บอกชื่อสระตอไปน้ี เรื่องที่ 3 1. ะ เรยี กวา วสิ รรชนยี 2. ุ เรียกวา ตนี เหยียด เรือ่ งท่ี 4 3. ู เรยี กวา ตนี คู เร่ืองท่ี 5 4. เ เรยี กวา ไมห นา 5. ไ เรยี กวา ไมม ลาย 6. โ เรียกวา ไมโอ 7. ย เรียกวา ตวั ยอ 8. ว เรยี กวา ตวั วอ 9. ฤ เรยี กวา ตัวรึ 10. ฦา เรียกวา ตวั ลอื 1. คาํ สะกดดวย - แมกง เชน งง สรง คง ฯลฯ - แมก น เชน กล คน บน ฯลฯ - แมกม เชน กลม คม ดม ฯลฯ - แมก บ เชน กบ ครบ หลับ ฯลฯ - แมเกย เชน เลย เฉย ตาย ฯลฯ 2. ประสมคาํ ทมี่ พี ยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต 1. สิน้ 2. ดา ย 3. ที่ 4. เตา 5. ตา ย ช่อื นามสกลุ เจา ของประวตั ิ 1. สว นประกอบของรายงาน 1. ปกหนา 2. คาํ นาํ 3. สารบัญ
77 4. เนือ้ หาสาระ 5. บรรณานุกรม 2. เชิงอรรถ จะมชี อ่ื ผเู ขียน ปทีพ่ ิมพ และเลขท่ีหนา หนังสือท่ี นํามาใชประกอบการเขยี น 3. บรรณานกุ รม ประกอบดว ย รายช่ือผเู ขยี นเรียงตามตัวอักษร ชือ่ หนังสอื ช่ือสถานทพี่ มิ พ ชอื่ โรงพมิ พ และ ปทพ่ี ิมพ เรอ่ื งที่ 6 1. มารยาทในการเขยี น 1. เขยี นถกู ตอง ชัดเจน 2. เขยี นเชงิ สรางสรรค 3. เขียนในส่ิงที่ควรเขียน ไมเขยี นในส่งิ ทไี่ มควรเขียน 4. เขียนทุกอยางที่เปนความจริง 5. ไมเขยี นขอ ความในหนังสือทเ่ี ปน สว นรวม 2. นิสยั รักการเขยี น 1. เริม่ ตนเขยี นจากงายไปยาก 2. เขยี นทุกๆ วนั 3. พยายามเขยี นดว ยใจรัก บทท่ี 5 หลักการใชภ าษา เรือ่ งท่ี 1 1. เสยี งพยัญชนะ มี 21 เสียง 2. เสียงสระมี 24 เสียง 3. เสียงวรรณยกุ ต มี 5 เสียง 4. นา มเี สยี งวรรณยุกตสามัญ หมา มีเสียงวรรณยุกตจตั วา กิน มีเสยี งวรรณยุกตส ามัญ สิน มเี สยี งวรรณยกุ ตจ ตั วา พลอย มเี สียงวรรณยุกตสามัญ 5. ไตรยางค คือ อกั ษร 3 หมู ไดแ ก อักษรสงู กลาง และต่ํา เร่ืองที่ 2 1. สรา งกลุมคาํ 1. เดิน เดนิ ไปโรงเรยี น 2. ชน ชนกันอยางแรง 3. แดง แดงมาก 4. น้ํา น้าํ สกปรก
เร่อื งท่ี 3 78 เรอ่ื งท่ี 4 เรือ่ งท่ี 5 2. สรางประโยค 1. บญุ ศรเี ดินไปโรงเรียน (บอกเลา) 2. รถโรงเรียนชนกนั อยา งแรง (บอกเลา) 3. เสือ้ ตวั น้ีแดงมากไปหรอื (คําถาม) 4. อยา ดม่ื นาํ้ สกปรก (คําส่ัง) ใชเ ครอ่ื งหมายวรรคตอนทีเ่ หมาะสม 1. วนั น้ีลกู สาวส่งั ซื้อขนมทองหยิบ ทองหยอด เมด็ ขนนุ ฝอยทอง ฯลฯ 2. นทิ านมีหลายชนิด เชน นทิ านชาดก นิทานปรมั ปรา นิทานคติสอนใจ 3. คําตอบขอ นถ้ี กู ทัง้ ก. ข. ค. ง. 4. เธอนัดใหฉ ันไปพบในเวลา 08.00 น. อกั ษรยอ พ.ศ. ร.ร. น.ส. 1. วธิ กี ารใชพจนานกุ รม 1. เรยี งลําดับคํา 2. พจิ ารณาอกั ขรวธิ ี 3. การบอกเสยี งอาน 4. การบอกความหมาย 5. การบอกประวัติของคําและชนดิ ของคาํ 2. คําราชาศัพท 7 คาํ พระราชบิดา ตรัส พระราชทาน พระบรมฉายาลักษณ ประทับ เสด็จ รบั สัง่ 3. คาํ สภุ าพ 7 คํา สนุ ัข รับประทาน ทราบ มูลดนิ ไมตีพริก ครับ ศีรษะ 1. สาํ นวน ในนํา้ มปี ลา ในนามีขาว คนรกั เทาผืนหนัง คนชงั เทาผืนเส่อื ฝนท่งั ใหเปน เข็ม ฯลฯ 2. คําพังเพย รกั วัวใหผ ูก รักลกู ใหต ี สอนหนังสอื สังฆราช
79 ชางตายท้งั ตวั เอาใบบวั ปด ฯลฯ 3. สุภาษติ รกั ยาวใหบ นั่ รกั ส้ันใหต อ นํา้ รอนปลาเปน นํา้ เยน็ ปลาตาย เหน็ ชา งข้ี อยาข้ีตามชาง ฯลฯ เรอื่ งท่ี 6 วิธใี ชภ าษาไดอ ยา งเหมาะสม 1. ใชภ าษาตรงไปตรงมา ไมโกหกหลอกลวง ใหรายผอู นื่ 2. ไมใชค าํ หยาบ 3. ใชภาษาใหเหมาะสมกับกาลเทศะและระดับของบคุ คล 4. ใชภ าษาใหเกดิ ความรกั สามคั คี 5. ใชภ าษาใหถ กู ตอ งตามหลักภาษา เรือ่ งท่ี 7 1. ลกั ษณะคาํ ไทย 1. เปน คาํ เดยี วโดดๆ มีความหมายชัดเจน 2. ตัวสะกดตรงตามมาตรา 3. ไมม ีตวั การันต ฯลฯ 2. คําภาษาตางประเทศ 10 คํา แปะเจ๊ียะ กวยจ๊ับ ซินแส อ้ังโล โฮเต็ล ปม แชมป แท็กซี่ แสตมป ฟต บทที่ 6 วรรณคดีและวรรณกรรม เร่ืองที่ 1 1. คณุ คา 1. คณุ คา ของนทิ าน ไดแก ใชเ ปนขอ คติเตอื นใจ เปนมรดกของ บรรพบรุ ุษและไดประโยชนจ ากการเลาและฟง 2. คณุ คาของนทิ านพนื้ บา น ไดแก เปนเร่ืองเลา ทแี่ สดงใหเห็นถึงชวี ิต ความเปน อยขู องคนพ้นื บานทีเ่ ปน อยกู นั มาแตดง้ั เดมิ และไดขอคิด ขอเตอื นใจ รวมทั้งความภมู ิใจของคนรนุ หลังตอ มา 3. คณุ คาของวรรณกรรมทอ งถน่ิ ไดแ ก การแสดงถึงวิถีชีวิต ความเปนอยขู องทองถิ่น ใหขอคดิ ขอเตือนใจ เปนมรดก ที่ควรรักษาไว
80 2. นาํ ไปใชประโยชนไ ดโ ดย 1. อานเพิม่ ความรู ความเพลดิ เพลนิ 2. ใชเวลาวา งใหเ ปน ประโยชน 3. นําขอดีเปน ตัวอยา งไปใช บทที่ 7ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชพี เร่อื งท่ี 1 คณุ คาของภาษาไทย 1. ใชสอื่ สารในชีวติ ประจําวนั 2. บง บอกถงึ เอกลกั ษณค วามเปน ไทย 3. เปน วัฒนธรรมทางภาษา 4. เปน ภาษาท่ีสามารถแสดงถึงความนอบนอม สภุ าพ ออนหวาน 5. สามารถเรยี บเรียงแตง เปนคาํ ประพันธ
81 บรรณานุกรม การศกึ ษานอกโรงเรียน, กรม. ชุดวิชาภาษาไทย ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : คุรุสภา, 2546. เรอื งอุไร อินทรประเสรฐิ . ภาษาไทย 1. กรุงเทพฯ : ศนู ยสงเสริมวิชาการ, 2546. อคั รา บุญทพิ ย และบปุ ผา บุญทพิ ย. ภาษาไทย 1. กรุงเทพฯ : ประสานมติ ร, 2546.
82 หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 รายชอ่ื ผูเขา รวมประชุมปฏิบตั กิ ารพฒั นาหนังสอื เรียนวิชาภาษาไทย ระหวา งวนั ที่ 10 – 13 กุมภาพันธ 2552 ณ บา นทะเลสีครมี รสี อรท จังหวัดสมุทรสงคราม 1. นางสาวพมิ พใ จ สิทธิสรุ ศักด์ิ ขา ราชการบาํ นาญ 2. นางพมิ พาพร อนิ ทจักร สถาบัน กศน. ภาคเหนือ 3. นางกานดา ธิวงศ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื 4. นายเรงิ กองแกว สํานกั งาน กศน. จังหวดั นนทบุรี รายช่ือผเู ขารว มประชมุ บรรณาธิการหนงั สือเรยี นวิชาภาษาไทย คร้ังที่ 1 ระหวางวนั ที่ 7 – 10 กันยายน 2552 ณ โรงแรมอูท องอินน จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา 1. นางสาวพมิ พใ จ สทิ ธสิ ุรศักด์ิ ขาราชการบํานาญ สาํ นักงาน กศน. จังหวดั นนทบุรี 2. นายเรงิ กองแกว กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางนพรัตน เวโรจนเ สรวี งศ ครั้งที่ 2 ระหวา งวันที่ 12 – 15 มกราคม 2553 ณ โรงแรมอทู องอินน จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 1. นางสาวพมิ พใจ สทิ ธิสรุ ศักด์ิ ขา ราชการบํานาญ สาํ นกั งาน กศน. จังหวัดนนทบุรี 2. นายเรงิ กองแกว กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางนพรัตน เวโรจนเสรวี งศ
83 คณะผูจดั ทาํ ที่ปรกึ ษา บุญเรอื ง เลขาธกิ าร กศน. 1. นายประเสริฐ อิม่ สุวรรณ รองเลขาธกิ าร กศน. 2. ดร.ชยั ยศ จาํ ป รองเลขาธิการ กศน. 3. นายวชั รินทร แกวไทรฮะ ที่ปรกึ ษาดานการพฒั นาหลกั สตู ร กศน. 4. ดร.ทองอยู งามเขตต ผอู ํานวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 5. นางศุทธินี กลุม พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น คณะทํางาน มัน่ มะโน กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 1. นายสรุ พงษ ศรีรัตนศลิ ป กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 2. นายศุภโชค ปทมานนท กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 3. นางสาววรรณพร กลุ ประดิษฐ กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวศริญญา เหลืองจิตวฒั นา 5. นางสาวเพชรินทร กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น ผพู ิมพตน ฉบับ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 1. นางปย วดี คะเนสม กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 2. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจติ วัฒนา กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางสาวกรวรรณ กววี งษพ ิพัฒน 4. นางสาวชาลีนี ธรรมธษิ า 5. นางสาวอลศิ รา บานชี ผูออกแบบปก นายศภุ โชค ศรีรัตนศลิ ป
84 รายช่อื ผเู ขารว มประชุมปฏบิ ตั กิ ารปรับปรงุ เอกสารประกอบการใชหลกั สตู รและ ส่ือประกอบการเรียนหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ระหวางวันท่ี 4 – 10 พฤศจกิ ายน 2554 ณ โรงแรมมิรามา กรงุ เทพมหานคร สาระความรพู ืน้ ฐาน (รายวิชาภาษาไทย) ผูพ ัฒนาและปรับปรงุ 1. นางอัชราภรณ โควคชาภรณ หนวยศึกษานิเทศก 2. นางเกล็ดแกว เจริญศกั ด์ิ หนวยศกึ ษานเิ ทศก 3. นางนพรตั น เวโรจนเ สรวี งศ กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 4. นางสาวสมถวิล ศรจี นั ทรวโิ รจน กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน 5. นางสาววันวสิ าข ทองเปรม กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
85 คณะผปู รบั ปรุงขอมูลเกีย่ วกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ ป พ.ศ. 2560 ท่ปี รกึ ษา จําจด เลขาธิการ กศน. หอมดี ผูตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ 1. นายสรุ พงษ ปฏบิ ตั หิ นาทร่ี องเลขาธิการ กศน. 2. นายประเสรฐิ สุขสเุ ดช ผอู าํ นวยการกลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั 3. นางตรนี ุช ผปู รบั ปรงุ ขอมลู วงคเ รอื น กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สังขพ ชิ ยั กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 1. นางสาวทิพวรรณ 2. นางสาวชมพูนท คณะทาํ งาน 1. นายสุรพงษ มั่นมะโน กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 2. นายศุภโชค ศรีรตั นศลิ ป กลุมพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 4. นางเยาวรตั น ปนมณีวงศ กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 5. นางสาวสุลาง เพ็ชรสวาง 6. นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รือน 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน 8. นางสาวชมพูนท สังขพิชัย
Search