Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่ม 1 (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม

เล่ม 1 (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม

Published by agenda.ebook, 2021-05-30 02:59:42

Description: (2) เรื่องที่ประธานจะแจ้งต่อที่ประชุม การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 4 ครั้งที่ 24 (สมัยสามัญประจำปีครั้งที่สอง) วันที่ 26 มกราคม 2566

Search

Read the Text Version

46 ๑.๑)กาหนดประเด็นนโยบายสาคัญ (Agenda) และศึกษา วิเคราะห์บทบาทภารกิจ โครงสร้างและระบบบริหารราชการของหน่วยงานท่ีขับเคลื่อน Agenda นั้น ท้ังหน่วยงานส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถ่ิน เพ่ือจัดทารูปแบบการทางานที่เน้นการบูรณาการ/เช่ือมโยงการทางานของ หนว่ ยงานในพ้ืนท่ขี องกระทรวงนาร่อง ๑.๒)เสนอคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อให้ข้อเสนอแนะท่ีมีความเหมาะสมกับ บริบทใหม่ ๆ ของการบริหารราชการในสว่ นภูมิภาค ๑.๓)นารูปแบบที่เหมาะสมตามข้อ ๑.๒) ไปจัดทาแผนปฏิบัติการเพ่ือนาไปสู่การ ปฏบิ ัตใิ นส่วนราชการ ๑.๔)ตดิ ตามความกา้ วหน้า และผลการดาเนนิ งาน เพื่อปรับบทบาทภารกิจ โครงสร้าง และระบบบริหารราชการในส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถ่ิน ให้สามารถดาเนินงานในพ้ืนท่ีท่ีตอบสนองความ ตอ้ งการของประชาชนอยา่ งแท้จริง ๒) พัฒนารูปแบบการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการในจังหวัดที่มีความ คล่องตัว ในระบบงาน ระบบแผน ระบบงบประมาณ และระบบบริหารงานบุคคลให้มีการทางานท่ีมี ผลสมั ฤทธ์ิสงู โดยมวี ธิ ีการดาเนินงาน ดังนี้ ๒.๑) นารูปแบบการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการในจังหวัดที่ได้จากการ ทดลองนาร่องใน ๖ จงั หวัด โดยปลดล็อกขอ้ จากัดทเ่ี กิดขนึ้ มาพฒั นาและจัดทารูปแบบท่ีดี เพ่ือเป็นต้นแบบใน การขยายผลไปยงั จงั หวัดนารอ่ งอืน่ ๒.๒) ขยายผลการขับเคล่ือนจังหวัดท่ีมีผลสัมฤทธ์ิสูงไปยังจังหวัดนาร่องอื่น เพิ่มเติมอีก ๗ จังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ และเพ่ิมอีก ๑๔ จังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ โดยมีประเด็นในเบือ้ งต้นทีจ่ ะใช้เปน็ แนวทางดาเนินการในจงั หวัดท่ีมีการขยายผล ดงั นี้ (๑) กาหนดให้อาเภอ และท้องถิ่นในจังหวัดท่ีมีผลสัมฤทธิ์สูงนาระบบ e-Service ไปทดลองให้บรกิ ารแก่ประชาชนในพ้ืนท่ีอย่างทว่ั ถึง (๒) ปลดล็อกข้อจากัดท่ีเป็นอุปสรรคต่อการดาเนินงานของจังหวัดฯ ท่ีมีการ ขยายผลทงั้ ในเรอื่ งระบบงาน การบรหิ ารงบประมาณ และการบรหิ ารงานบุคคล (๓) วางรูปแบบ/กลไกวิธีการทางาน ระหว่างราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนทอ้ งถิน่ และภาคส่วนอืน่ ๆ โดยเน้นความรว่ มมอื เพื่อให้เกดิ การบรู ณาการในการปฏิบัติงานรว่ มกนั ของจังหวดั นารอ่ ง (๔) ติดตามความก้าวหน้า และประเมินผลการขับเคล่ือนจังหวัดที่มีผลสัมฤทธิ์สูง ๒-๒๒

47 ๒.๕ กิจกรรมปฏริ ูปที่ ๕ ขจดั อปุ สรรคในการจัดซื้อจดั จา้ งภาครฐั และการเบิกจา่ ยเงินเพ่ือให้เกิดความ รวดเรว็ คมุ้ ค่า โปร่งใส ปราศจากการทจุ ริต การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ เป็นกระบวนการท่ีสาคัญของการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐ ซึ่งพระราชบัญญัติ การจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ซึ่งมีผลใช้บังคับเม่ือวันท่ี ๒๓ สิงหาคม ๒๕๖๐ มีเจตนารมณ์เพ่ือให้การดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐมีกรอบการปฏิบัติงานที่เป็น มาตรฐานเดียวกัน หน่วยงานของรัฐทุกแห่งสามารถนาไปใช้เป็นหลักปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นการเปิดเผยข้อมูลต่อ สาธารณชนให้มากท่ีสุด เพื่อให้เกิดความโปร่งใสและเปิดโอกาสให้มีการแข่งขันอย่างเป็นธรรม มีการ ดาเนินการจัดซ้ือจัดจ้างท่ีคานึงถึงวัตถุประสงค์ของการใช้งานเป็นสาคัญซึ่งจะก่อให้เกิดความคุ้มค่าในการ ใช้จ่ายเงิน มีการวางแผนการดาเนินงานและมีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ซ่ึงจะทาให้การจัดซื้อจัดจ้าง มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล รวมทั้งเพ่ือให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล มีการส่งเสริมให้ภาคประชาชน มีส่วนร่วมในการตรวจสอบการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐซ่ึงเป็นมาตรการหนึ่งเพื่อป้องกันปัญหาการทุจริตและ ประพฤติมิชอบในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ โดยท่ีผ่านมา คดีการทุจริตที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ช้ีมูลความผิด ในองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๙ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ ๕๔) เกิดจากการทุจริต ด้านการจดั ซอ้ื จัดจา้ ง อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติยังพบปัญหาในการดาเนินการหลายด้าน อาทิ ระบบการตรวจสอบที่มี ความเข้มข้นมากเกินไป จนกระท่ังเจ้าหน้าท่ีที่รับผิดชอบงานพัสดุมีความเกรงกลัวโทษทางอาญาจนทาให้ การดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างเป็นไปด้วยความล่าช้า ยากลาบาก และอาจจาเป็นต้องจัดซื้อส่ิงของท่ีมีราคาถูก แต่ไม่มีคุณภาพ เพ่ือความถูกต้องและตามกฎหมาย ประกอบกับหน่วยงานของรัฐบางแห่งยังไม่ค่อย ให้ความสาคญั กับเจ้าหนา้ ทีท่ ่รี บั ผดิ ชอบงานพสั ดเุ ท่าท่ีควร ทาให้บุคลากรเหล่านี้ขาดความก้าวหน้าในสายงาน นอกจากนี้ การนาระบบดิจิทลั มาใชส้ นบั สนุนการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐยังไม่สามารถทาได้ครบวงจร จากสาเหตุ หลายประการ อาทิ งบประมาณในการพฒั นาระบบ กฎระเบียบราชการบางเรือ่ งไม่เอื้อต่อระบบดิจิทัล รวมท้ัง ขาดการบรู ณาการขอ้ มูลการจัดซอื้ จดั จา้ งระหว่างหนว่ ยงาน การปฏริ ูประบบการจดั ซอ้ื จัดจ้างภาครฐั ควรจะมุ่งเน้นการวางระบบท่ีรวดเร็ว และโปร่งใสด้วยการใช้ เทคโนโลยีเข้ามาจัดการแทนบุคคล และควรให้ความสาคัญกับเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลด้านการจัดซ้ือจัดจ้าง และ บู ร ณ า ก า ร ท า ง า น ร่ ว ม กั น ร ะ ห ว่ า ง ก ร ม บั ญ ชี ก ล า ง แ ล ะ ห น่ ว ย ง า น ต ร ว จ ส อบ ก า ร ทุ จ ริ ต เ พ่ื อ ใ ห้ มี แ น ว ท า ง การป้องกันการทุจริตท่ีชัดเจน มีมาตรฐาน สร้างความเช่ือม่ันต่อเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติ บุคลากรด้านพัสดุมีความรู้ ความสามารถ มีความภาคภูมิใจในวิชาชีพและมีเส้นทางความก้าวหน้าในสายงาน รวมทั้งส่งเสริมบทบาท ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการเสรมิ สร้างความเข้มแข็งของกลไกการตรวจสอบการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ เพ่อื ปอ้ งกันและขจัดการทจุ ริตประพฤติมชิ อบในภาคราชการได้อย่างครบวงจร ๒.๕.๑ เป้าหมายและตัวช้ีวดั ของกิจกรรมปฏิรูป ๑) เป้าหมาย ๑.๑) หน่วยงานภาครัฐสามารถดาเนิน การจัดซื้อจัดจ้างได้โดยรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ มีความคล่องตัว โปร่งใส ตรวจสอบได้ ผ่านระบบสนับสนุนจัดซื้อจัดจ้างเป็นแบบดิจิทัลในทุก ขั้นตอน มกี ารบูรณาการ และเชอื่ มโยงข้อมลู ดา้ นการจัดซอ้ื จัดจา้ งกบั ระบบอนื่ ๆ อยา่ งเต็มรูปแบบ ๑.๒) มีระบบในการติดตามและป้องกันการทุจริตท่ีรวดเร็ว มีมาตรฐาน ส่งเสริม บทบาทภาคเอกชน ประชาชน เข้ามามีส่วนร่วมตรวจสอบป้องกันการทุจริต เพ่ือสร้างความโปร่งใส และการ ทจุ ริตการจัดซ้ือจดั จ้างลดลง ๒-๒๓

48 ๒) ตวั ชี้วดั ๒.๑) มีระบบสนับสนุนจัดซ้อื จดั จา้ งภาครัฐเปน็ แบบดิจทิ ลั ในทกุ ข้ันตอน ๒.๒) มีกฎระเบียบ หรือกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐที่ได้รับการปรับปรุง แก้ไขเพ่อื ให้เกิดความคล่องตวั ในการปฏบิ ัติงาน มปี ระสิทธิภาพ และเกิดความคมุ้ คา่ หนว่ ยงานอืน่ ๆ ๒.๓) มีการเช่ือมโยงระบบฐานข้อมูลด้านการจัดซื้อจัดจ้างของกรมบัญชีกลางกับ ๒.๔) มีกลไกการบูรณาการทางานร่วมกันระหว่างกรมบัญชีกลางและหน่วยงาน ด้านการตรวจสอบการทจุ ริต ๒.๕) มีผู้แทนภาคเอกชนและภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมป้องกันการทุจริต ในโครงการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐเพม่ิ มากข้ึน ๒.๕.๒ หนว่ ยงานผรู้ ับผดิ ชอบหลัก กรมบญั ชีกลาง ๒.๕.๓ ระยะเวลาดาเนินการรวม ๒ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๕) ๒.๕.๔ ประมาณการวงเงนิ รวม และแหล่งท่ีมาของเงนิ งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท (หน่งึ รอ้ ยล้านบาท) จากงบดาเนินงานของหน่วยงาน ๒.๕.๕ ขัน้ ตอนและวิธกี ารการดาเนินการปฏิรูป กรมบัญชีกลาง จะเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการดาเนินงานร่วมกับหน่วยงานอื่น ท่เี กย่ี วข้อง โดยเฉพาะสานกั งานการตรวจเงินแผน่ ดิน เป็นอยา่ งนอ้ ยในการดาเนินการ ดังน้ี ๑) พฒั นาระบบสนับสนนุ จดั ซอ้ื จดั จา้ งภาครัฐเปน็ แบบดิจิทัลในทกุ ขั้นตอน ๒) กาหนดแนวทางปฏิบัติในการจัดซ้ือ จัดจ้างและการผูกพันงบประมาณให้รวดเร็ว คล่องตัว โดยลดขั้นตอนการปฏิบัติและวางระบบการตรวจสอบท่ีมุ่งผลสัมฤทธ์ิเพ่ือให้การใช้จ่ายงบประมาณ ประจาปสี ามารถแกป้ ญั หาของประชาชนที่ได้รบั ผลกระทบจาก COVID-19 ไดท้ นั ต่อเหตุการณ์ ๓) เช่ือมโยงฐานข้อมูลการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐเข้ากับระบบของหน่วยงานตรวจสอบ และหน่วยงานอ่นื ๆ ที่เก่ียวข้อง ๔) กาหนดกลไกการบูรณาการทางานร่วมกันระหว่างกรมบัญชีกลางและหน่วยงาน ตรวจสอบการทุจริต ๕) เพิ่มขีดความสามารถและคุณภาพการมีส่วนร่วมของภาคเอกชน และประชาชนใน การป้องกันการทจุ ริตดา้ นการจัดซ้ือจัดจ้างภาครฐั ๒-๒๔

ตารางสรปุ เปา้ หมาย ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายของกิจกรรมปฏิรูปภายใต้แผนการปฏริ ปู ประเทศ ด้านการบริหารราชการแผ่นดนิ เปา้ หมาย ตวั ช้ีวดั ค่าเปา้ หมาย ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ กจิ กรรมปฏิรปู ที่ ๑ ปรบั เปลี่ยนรปู แบบการบรหิ ารงานและการบรกิ ารภาครัฐไปสูร่ ะบบดิจทิ ัล ๑.๑ ประชาชนไดร้ ับการดแู ล (๑) ระดับความสําเร็จของการพัฒนา - ร้อยละ ๕๐ ของหน่วยงานภาครัฐมีการ - ระบบบริการบัญชีข้อมูล (Data Catalog เข้าถึง และได้รับบรกิ าร ข้อมูลดจิ ิทัลและข้อมูลขนาดใหญ่ (Big จัดทําบัญชขี อ้ มลู (Data Catalog) Service Portal) ของสํานกั งานสถติ ิแห่งชาติ รวมถึงขอ้ มูลดิจทิ ลั สาํ คัญ data) ภาครฐั ใหพ้ ร้อมสําหรับการใช้ บนระบบบรกิ ารบญั ชีข้อมูล (Data มีบัญชีขอ้ มลู สาํ คัญใน ๕ ด้านทีก่ ําหนด ของภาครัฐท่มี ีคุณภาพ ประโยชน์ Catalog Service Portal) ของ ครบถ้วนและถูกต้อง โดยเปดิ ใหเ้ ชื่อมโยงและ โดยสะดวก รวดเรว็ สํานกั งานสถติ ิแห่งชาติ แลกเปลยี่ นข้อมูลตามนโยบายทก่ี ําหนด ผ่าน ๔๙ Application Programming Interface : API เสยี ค่าใช้จ่ายน้อย และ - ขอ้ เสนอการพัฒนาต้นแบบการพัฒนา บนระบบดังกล่าวได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ตรงตามความจําเปน็ ท้ังใน คณุ ภาพข้อมูล (Data Quality) และ - ร้อยละ ๘๐ ของหน่วยงานภาครฐั มกี าร สภาวการณ์ปกติและฉุกเฉนิ ความพรอ้ มใช้งานข้อมูล (Data ใหบ้ รกิ ารข้อมูลเปดิ ภาครัฐ เรง่ ดว่ น Availability) ใน ๓ ระดับ ไดแ้ ก่ - รอ้ ยละ ๘๐ ของหนว่ ยงานภาครฐั มกี ารจัดทํา ๑.๒ ภาครัฐมีดจิ ิทัลแพลตฟอร์ม ระดับประเทศ ระดับจงั หวัด และระดับ ธรรมาภบิ าลขอ้ มลู ภาครัฐ ตามเป้าหมายและ (Digital Platform) และ ทอ้ งถ่ิน โดยอย่างนอ้ ยให้มีการระบุถึง แนวทางท่ีสํานักงานพฒั นารัฐบาลดิจิทลั กําหนด บริการดิจิทลั รวมถึงระบบ ประเด็นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม - ภาครฐั มีต้นแบบการพฒั นาคุณภาพขอ้ มลู ข้อมูล และขอ้ มลู ขนาดใหญ่ และรายการชุดขอ้ มลู การพัฒนาด้วย (Data Quality) และความพรอ้ มใช้งานขอ้ มลู (Big data) สาํ หรับการ ท้งั น้ี โดยความเห็นชอบจาก (Data Availability) ท่ีสามารถถอดบทเรียน ตัดสินใจ การบรหิ ารจัดการ คณะกรรมการพฒั นารัฐบาลดจิ ิทัล และกําหนดเปน็ แนวทางสําหรบั สําหรบั การ การดําเนินงาน และการกํากับ ๒-๒๕

เปา้ หมาย ตัวช้ีวัด ค่าเปา้ หมาย ตดิ ตาม ประเมินผล บนระบบ (๒) จํานวนแพลตฟอรม์ การจดั บรกิ ารแบบ นเิ วศดา้ นดิจทิ ัลท่สี ร้างความ ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ ๕๐ เชอ่ื ม่ัน ความไว้วางใจ บรู ณาการและบริการสําคญั ทม่ี ีการ - มีโมเดลต้นแบบแพลตฟอร์มการ ขยายผลในระยะต่อไป ใน ๓ ระดับ และการยอมรบั ระหว่างกัน พัฒนาหรือใหก้ ารสนับสนุนการพฒั นา จดั บริการแบบบูรณาการ โดยการนํา ได้แก่ ระดับประเทศ ระดับจังหวัด ทีซ่ งึ่ ตอบสนองความตอ้ งการ ซ่ึงอยู่ในรปู แบบการบริการแบบครบ หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้องและทกุ ภาคส่วน และระดับท้องถ่ิน พืน้ ฐานของประชาชนและ วงจร (end-to-end service) ท่ีมี เข้ามามสี ่วนร่วม - มีแพลตฟอร์มการจดั บริการแบบบรู ณาการ ภาคธุรกิจ เอกชนในระยะ คุณภาพ ตรงตามความจําเป็นท้งั ใน - มสี ถาปัตยกรรมต้นแบบ (Enterprise จํานวน ๕ ด้านทกี่ ําหนด ท่มี ีการใหบ้ รกิ าร ฟื้นตัวของประเทศ อย่าง สภาวการณ์ปกตแิ ละฉุกเฉินเร่งด่วน Architecture) และแผนปฏิบัตกิ าร ดจิ ิทัลแบบครบวงจร (ในลกั ษณะ end-to- น้อยใน ๕ ดา้ น ไดแ้ ก่ (๑) และสอดคล้องกับความต้องการ สาํ หรับการพัฒนาและบริหารจัดการที่ end service) และมีการนําระบบกลาง หรอื ด้านการมรี ายได้และมงี าน พนื้ ฐานทีแ่ ท้จรงิ ของประชาชน ชุมชน ต่อเนอื่ งและยั่งยืน แอพพลเิ คช่นั (Application) สนบั สนุนทีจ่ ํา ทํา (๒) ด้านสุขภาพและการ และภาคธุรกิจเอกชน จํานวน ๕ ด้าน - มีแพลตฟอร์มการจดั บริการแบบบูรณา เป็นมาใช้ด้วย โดยเปดิ โอกาสให้ภาคเอกชน สาธารณสุข (๓) ด้านเกษตร ทก่ี ําหนด การท่ีประชาชนสามารถเข้ารับบรกิ าร ธรุ กจิ ท่เี กิดข้ึนใหม(่ Startups) และภาคส่วน และการบรหิ ารจดั การนํ้า หลกั ได้ โดยสะดวกหลากหลายช่องทาง ต่าง ๆ ที่มีศักยภาพ เข้ามาร่วมพฒั นาและ (๔) ด้านการท่องเทยี่ ว และ อย่างครบวงจร(end-to-end service) จดั บรกิ ารท่ีประชาชนเข้าถงึ ไดโ้ ดยสะดวก (๕) ด้านการตลาดและการ จํานวนอย่างน้อย ๓ จาก ๕ ด้านท่ี รวดเร็ว หลากหลายชอ่ งทาง และเสยี ค่าใช้จ่าย กระจายสนิ ค้าสาํ หรับ กําหนด และมีการพฒั นาระบบการ นอ้ ย เกษตรกร วิสาหกจิ ชุมชน จัดเก็บรวมถึงบริหารจัดการข้อมูลที่ วิสาหกิจขนาด กลางและ รองรับการพฒั นาต่อยอดแพลตฟอรม์ ขนาดย่อม (SMEs) และ ในระยะต่อไป ๒-๒๖

เปา้ หมาย ตัวชี้วดั ค่าเป้าหมาย ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ ธรุ กจิ ทเ่ี กิดขึ้นใหม่ (๓) จํานวนระบบกลาง หรือแอพพลเิ คช่ัน - ระดบั ความสําเรจ็ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ - ระดบั ความสําเร็จจํานวนไม่น้อยกว่า ๕ ระบบ (Startups) (Application) สนบั สนุนกลาง รวมถึง ของแตล่ ะระบบทีก่ ําหนด ท่ีกําหนด ๑.๓ ภาครฐั พฒั นาสู่การเปน็ หลักเกณฑ์มาตรฐานท่ีเกี่ยวขอ้ ง องคก์ รขดี สมรรถนะสูง สําหรับการพัฒนาระบบบริการและ เทยี บเท่ามาตรฐานสากล บริหารจัดการภาครัฐ ที่มีการพัฒนา สามารถปรับเปลี่ยนได้ เสร็จสิน้ และเริ่มต้นใช้งานจริง อย่างคลอ่ งตัวตามบริบทและ (๔) จํานวน (ด้าน) ประเด็นสําคญั ที่มีการ - มีการบูรณาการและเชอ่ื มโยงข้อมลู จํานวน ๕ ด้าน + ๒ ประเดน็ ดงั น้ี สภาวการณ์ท่ีแปรเปลี่ยน นําระบบข้อมูลและข้อมลู ขนาดใหญ่ ในรูปแบบดจิ ิทัลท่พี รอ้ มสําหรับ - มีการบรู ณาการและเชื่อมโยงข้อมูลในรูปแบบ อย่างรวดเร็วและเป็นพลวตั (Big data) ภาครฐั มาบูรณาการ การประมวลผลผา่ นเครอื่ งมือดิจิทลั ดิจิทัลที่พร้อมสําหรับการประมวลผล ในยคุ ชีวติ วิถใี หม่ (New เปิดเผย แลกเปล่ียน เช่ือมโยง อย่างน้อย ๒ ใน ๕ ดา้ นท่กี ําหนด ผ่านเคร่ืองมอื ดจิ ิทัล ใน ๕ ด้านที่กําหนด ๕๑ - ศูนย์ปฏิบัติการนายกรฐั มนตรี - ศูนย์ปฏิบตั ิการนายกรัฐมนตรี (PMOC) มี Normal) เป็น ภาครัฐเพ่ือ สําหรับการตัดสินใจเชิงนโยบายการ (PMOC) มี Smart dashboard Smart dashboard สําหรับการตัดสนิ ใจ ประชาชนและขับเคลือ่ น บริหารจดั การ การดําเนนิ งาน สาํ หรับการตัดสินใจเชิงนโยบายการ เชิงนโยบายการกํากับติดตาม และหรือการ โดยความตอ้ งการและการมี การกํากับตดิ ตาม และการให้ กํากับตดิ ตาม และหรอื การบรหิ าร บริหารจัดการภาครฐั ท่ีตรงประเด็นและใช้งาน ส่วนร่วมของภาคเอกชน ขอ้ เสนอแนะ ทีเ่ ชอื่ มต่ออยา่ งเป็น จดั การภาครัฐ ท่ตี รงประเด็นและ ได้จริงใน ๕ ดา้ น (ประเด็น) ทก่ี ําหนด สงั คม ชมุ ชน และประชาชน ระบบกบั ศูนย์ปฏิบัติการ ใชง้ านได้จรงิ อย่างนอ้ ย ๒ จาก ๕ ด้าน - ศูนย์ขอ้ มูลและวิเคราะหเ์ สนอแนะการ อยา่ งแทจ้ รงิ นายกรฐั มนตรี (PMOC) และศนู ย์ (ประเด็น) ท่ีกําหนด ออกแบบนโยบายและยุทธศาสตร์ระดบั ๑.๔ ประชาชนมีความเชื่อมั่น ข้อมลู และวเิ คราะหเ์ สนอแนะการ - ข้อเสนอ (๑) การบรู ณาการและ กระทรวง และระดับจังหวัด มีการบรู ณาการ และไว้วางใจในการทํางาน ออกแบบนโยบายและยทุ ธศาสตร์ แลกเปลี่ยนเช่ือมโยงข้อมูลดิจิทัล และแลกเปล่ยี นเชื่อมโยงขอ้ มูลดิจิทัลระหว่าง ของภาครัฐ ระดบั กระทรวง ระดับหน่วยงาน และ ระหว่างศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลระดับ กัน รวมท้ังมกี ารเช่ือมโยงข้อมูลในรปู แบบ ระดบั จังหวัด ทง้ั นี้ เพ่อื การแก้ไข กระทรวงและจังหวัด (๒) ประเด็น (เรื่อง) ดิจิทัลเพอื่ การประมวลผลดว้ ยเครอ่ื งมอื ดิจิทัล ปัญหาและเยียวยาประเทศ และ ๒-๒๗

เปา้ หมาย ตัวช้ีวัด คา่ เป้าหมาย ตอบสนองความต้องการของ ประชาชนและสังคมอย่างตรง ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ ประเด็นและทันต่อเหตุการณ์ ทีม่ ผี ลกระทบต่อระบบเศรษฐกจิ และ บนศูนย์ปฏิบัติการนายกรัฐมนตรี (PMOC) (๕) ระดบั ความสําเรจ็ ในการยกระดับ สังคมของประเทศ พร้อมกับประเด็น และระบบ eMENSCR ไม่น้อยกว่า ๒ ประเด็น ความสามารถหน่วยงานภาครฐั (โจทย)์ สําหรับการจัดทาํ รายงานบนศูนย์ ท่ีกําหนด ทั้งน้ี ใหม้ ีการรับส่งขอ้ มูลผ่านระบบ รวมทง้ั การพฒั นาขดี ความสามารถ ปฏิบัตกิ ารนายกรัฐมนตรี (PMOC) และ API ดว้ ย ของบคุ ลากรภาครฐั เพือ่ ไปสู่การเป็น ระบบ eMENSCR ทกี่ ําหนดจากความ รัฐบาลดจิ ิทัล โดยมี Digital ตอ้ งการใช้งานจรงิ จํานวนอย่างนอ้ ย ๒ Government Maturity Model ประเดน็ สําคัญ รวมถึง (๓) แผนปฏิบัตกิ าร (Gartner) ระดบั ๒ และ (๔) สถาปัตยกรรมข้อมูล ทผ่ี ่าน ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการปฏริ ูป ประเทศด้านการบริหารราชการแผน่ ดิน ๕๒ - ภาครฐั มี Government Enterprise - ภาครัฐมีพัฒนาการด้านดิจิทัล ตามแนวทาง Blueprint และ Government Digital Government Maturity Model Transformation Roadmap เพือ่ (Gartner) ตามรปู แบบปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ระดับ ๒ การพัฒนาไปสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทลั ซ่ึง (หรือตามเคร่ืองมือการสํารวจอื่นท่เี ทียบเคียงกันได)้ ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการ - ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๙๐ ของหนว่ ยงาน ภาครัฐ ผูบ้ ริหารเทคโนโลยสี ารสนเทศระดบั สงู บรรลผุ ลสมั ฤทธิ์ขั้นสูงตามเป้าหมาย ภาครัฐ (GCIO Committee) จํานวน - ภาครัฐมีหน่วยงานต้นแบบการพฒั นาเป็น ๑ ชดุ หน่วยงานอัจฉรยิ ะ เพ่ิมขึ้นอีก ๕ หน่วยงาน - ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ ของหน่วยงาน พรอ้ มท้งั มแี ผน การขยายผลในระยะต่อไป ภาครัฐ เข้าส่กู ระบวนการปรับปรุงระบบ - ภาครฐั มีต้นแบบ (Sandbox) ของการนํา การทํางานและรูปแบบการปฏิบัติงานตาม เทคโนโลยีอัจฉรยิ ะมาใช้ประโยชน์ในการ ๒-๒๘

เปา้ หมาย ตวั ช้ีวัด ปี ๒๕๖๔ คา่ เปา้ หมาย ปี ๒๕๖๕ แนวทางการปรับเปล่ียนภาครัฐเป็น ให้บรกิ ารหรอื การพฒั นาคุณภาพชีวิต ๕๓ รัฐบาลดจิ ิทลั (Digital Government ประชาชนและผรู้ บั บริการ ที่สามารถนําไป Transformation) ตอ่ ยอดขยายผลได้ เชน่ ด้านการสาธารณสขุ - ภาครัฐมีหน่วยงานต้นแบบการพฒั นา การเกษตร และการพัฒนาเมือง เป็นต้น เป็นหนว่ ยงานอจั ฉริยะ ท่ีมกี ารบริหาร - ผบู้ ริหารหน่วยงานภาครฐั ตง้ั แต่ผู้อาํ นวยการกอง จัดการ วิเคราะห์ประมวลผล และใช้ หรือเทียบเท่าขึ้นไปไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ ๕๐ ประโยชน์จากข้อมูล โดยการนํา มคี วามเข้าใจโครงสรา้ งและประเภทขอ้ มูล เทคโนโลยีอัจฉริยะมาใช้ประโยชน์ เช่น สามารถนําเสนอแนวคดิ พร้อมทงั้ ระบุ ขอ้ มูลขนาดใหญ่ (Big data) ; AI; ความสมั พนั ธ์ในการนําข้อมูลจากหลากหลาย Blockchain; IoT เป็นต้น จํานวน แหลง่ มาวิเคราะห์เพื่อตอบโจทย์สําคัญของ ๕ หน่วยงาน หน่วยงาน รวมท้งั สามารถอธิบาย - บคุ ลากรภาครัฐสายงานวิชาการ Visualization เบ้ืองต้นได้ คอมพิวเตอร์ ผปู้ ฏิบตั ิงานเก่ียวกับ วิชาการคอมพิวเตอร์ และนโยบายและ แผนจํานวนไม่นอ้ ยกว่า ๑,๕๐๐ คน ได้รับการพัฒนาความสามารถ (Up skill) ด้าน Computer Science; Data Science; และ Digital Security รวมทงั้ มีความสามารถในการจดั จ้าง หนว่ ยงานภายนอกมาดําเนินการแทน อย่างมีกลยุทธ์ (Strategic Outsourcing) ๒-๒๙

เปา้ หมาย ตัวชี้วัด คา่ เปา้ หมาย (๖) อตั ราการเข้ารับบรกิ ารดิจิทัลภาครัฐ ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ เพม่ิ ขน้ึ (Digital Service Adoption - มีกิจกรรมการสอื่ สารประชาสัมพันธ์ - ประชาชนมีความเชอื่ ม่ันและมีอตั ราการเข้ารบั Rate) อย่างตอ่ เน่ืองเพื่อสรา้ งความเข้าใจ บริการดิจทิ ลั ของหน่วยงานภาครฐั ในภาพรวม ความเช่ือมั่น เกย่ี วกับนโยบายและการ เพ่ิมขึ้น รอ้ ยละ ๓๐ จากปีฐาน ดําเนินงานของรฐั บาลท่ีชัดเจน ควบคู่ - มีแนวทางและระบบรกั ษาความม่ันคงปลอดภัย ไปกับระบบการตดิ ตามผลที่มี และความเป็นสว่ นบคุ คล และการสร้างความ ประสิทธภิ าพ ตระหนกั รู้และความเข้าใจ ในการเข้าใช้ระบบ - มกี ารสง่ เสริมและพฒั นาทกั ษะด้าน ดจิ ิทลั อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ และเกิด ดิจิทัลให้กับผู้ใช้ เพอื่ ขยายโอกาสการ ประโยชน์สูงสดุ เข้าถึง และสรา้ งเสริมความสามารถใช้ ประโยชน์และต่อยอดคุณค่าจากบรกิ าร ๕๔ ดจิ ิทลั ทง้ั ของภาครฐั รวมถึงช่วย สนับสนุนการปรับตัวเข้ากับกตกิ าหรอื ขอ้ ตกลงของสงั คมแบบใหม่บนโลก online และ offline ไดอ้ ย่างปลอดภัย คงไว้ซ่ึงความเป็นสว่ นตัว มีจริยธรรม เคารพสทิ ธิของผู้อ่ืน ๒-๓๐

เปา้ หมาย ตัวช้ีวัด คา่ เป้าหมาย ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ กจิ กรรมปฏริ ูปท่ี ๒ จดั โครงสรา้ งองค์กร และระบบงานภาครัฐให้มีความยดื หยุ่น คล่องตวั และเปลยี่ นแปลงไดต้ ามสถานการณ์ ๒.๑ โครงสร้างและระบบการ (๑) ข้อเสนอการปรบั เปล่ียนระบบการ - มีผลการศกึ ษา ทบทวนและสงั เคราะห์ - มีข้อเสนอการปรับเปลี่ยนระบบการบริหาร บริหารราชการของส่วน บริหารราชการของสว่ นราชการ ผลการศึกษาท่ีมอี ยเู่ ก่ียวกับการลด ราชการของสว่ นราชการระดับกระทรวงและ ราชการระดับกระทรวงและ ระดับกระทรวงและกรม และลด ความเป็นนิติบุคคลของส่วนราชการ กรม และลดสถานะความเป็นนติ ิบุคคลของ กรม มีความยืดหยุ่น คลอ่ งตัว สถานะความเป็นนิติบคุ คลของสว่ น ระดบั กรม สว่ นราชการระดับกรม โดยจัดทําร่างกฎหมาย ทันตอ่ การเปลี่ยนแปลง ราชการระดับกรม เพ่ือรองรับการดําเนินการและขอ้ เสนอแนะ สามารถบูรณาการ ข้ันตอนปฏิบตั ิและขั้นตอนให้บรรลตุ ามกรอบ ระบบงาน เงิน คน ได้อย่าง ระยะเวลา มีประสิทธิภาพสอดคล้อง (๒) มีหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารจัดโครงสร้าง - มีหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการจัดโครงสรา้ ง - มรี ่างกฎหมายหรอื ระเบียบท่ีให้อํานาจฝ่าย กบั นโยบายของรฐั และ องค์กรบริหารเฉพาะกิจ (Adhoc) องคก์ รบริหารเฉพาะกิจ (Adhoc) และ บริหารสามารถกําหนดให้มีหนว่ ยงานที่มีการ ๕๕ สถานการณ์ทเ่ี ปลี่ยนแปลง และรา่ งกฎหมายหรอื ระเบียบท่ี รปู แบบ Agile Organization บริหารจดั การและบูรณาการในลักษณะองค์กร เพ่อื ตอบสนองความ สามารถใชอ้ ํานาจของฝ่ายบริหารใน บริหารเฉพาะกจิ ตอ้ งการของประชาชนและ การบริหารราชการในสภาวการณ์ทม่ี ี ประโยชนส์ ูงสดุ ของประเทศ ความจําเป็น ฉุกเฉิน เร่งด่วน และ รูปแบบ Agile Organization (๓) มีหลกั เกณฑ์และวธิ ีมอบอํานาจการ - มผี ลการศกึ ษาแนวทางการมอบอํานาจ - มีหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการมอบอํานาจ การจดั จดั สว่ นราชการพรอ้ มระบบประเมิน การจัดสว่ นราชการที่ยดื หยุ่น คลอ่ งตวั ส่วนราชการรวมทั้งการนําร่องระบบประเมิน ความเหมาะสมการจัดสว่ นราชการ และทันตอ่ การเปลี่ยนแปลง และ ความเหมาะสมประสิทธิภาพและความคุ้มคา่ รวมทง้ั การประเมินประสทิ ธิภาพ แนวทางการประเมินความเหมาะสม การจัดส่วนราชการที่ตอบสนองความต้องการ และความคุ้มค่าการจัดสว่ นราชการ ประสทิ ธภิ าพและความคมุ้ ค่าการจัด ของประชาชนและประโยชน์สงู สดุ ของประเทศ และการบริหารงานภาครัฐที่ตอบสนอง ส่วนราชการ ๒-๓๑

เป้าหมาย ตัวชี้วดั ค่าเปา้ หมาย ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ ความต้องการของประชาชนและ ประโยชน์สูงสดุ ของประเทศ (๔) มแี นวทางทบทวนบทบาทภารกิจของ - มีแนวทางทบทวนบทบาทภารกิจของ - มีการนําแนวทางทบทวนบทบาทภารกิจไป ภาครัฐที่มคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสม ภาครฐั ท่ีมีความสอดคล้องเหมาะสมกับ ดําเนินการในหนว่ ยงานนําร่อง จํานวน กับความต้องการของประชาชนและ ความตอ้ งการของประชาชนและบริบท ๑ ประเด็นสําคญั บริบทที่เปล่ยี นแปลงไป รวมท้ังมี ทีเ่ ปล่ียนแปลงไป หนว่ ยงานนําร่องเพอ่ื เป็นตัวอย่าง ในการพัฒนาต่อยอดในอนาคต (๕) มแี นวทางการปฏิบัติงานนอกสถาน - มรี ะบบการปฏิบตั ิงานภายในของ - มกี ารปรับปรุง/แก้ไขกฎระเบียบทเี่ ป็นอุปสรรค ทีต่ ้งั (Work From Anywhere) หนว่ ยงานภาครฐั ให้สอดคลอ้ งกบั การ ตอ่ การปฏิบตั ิงานนอกสถานทีต่ ้งั (Work From ๕๖ ที่รองรับชีวติ วิถใี หม่ (New Normal) ปฏิบัตงิ านนอกสถานทต่ี ้ัง (Work From Anywhere) เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน Anywhere) และลกั ษณะงานขององค์กร กิจกรรมปฏริ ปู ที่ ๓ ปรบั เปลยี่ นการบริหารทรัพยากรบคุ คลภาครัฐสู่ระบบเปดิ เพือ่ ใหไ้ ด้มาและรักษาไว้ซง่ึ คนเกง่ ดแี ละมคี วามสามารถอยา่ งคลอ่ งตัว ตามหลักคณุ ธรรม ๓.๑ ภาครัฐสามารถบรหิ าร (๑) ข้อเสนอการปรบั เปลี่ยนระบบการ - มีขอ้ เสนอการปรับเปลี่ยนระบบการ - มีข้อเสนอการปรับเปล่ียนระบบการบริหาร จัดการกําลังคนได้อย่างมี บริหารจัดการกําลงั ภาครฐั ใหเ้ ป็น บริหารจัดการกาํ ลงั ภาครฐั ใหเ้ ป็นระบบ จดั การกําลังภาครัฐใหเ้ ป็นระบบเปิด เอกภาพมีประสทิ ธภิ าพ ระบบเปิด ดําเนินการแลว้ เสร็จ และ เปิด ดําเนินการแลว้ เสรจ็ และผ่านการ ดําเนินการแล้วเสรจ็ และผ่านการพิจารณาของ และความคลอ่ งตัว สามารถ ผา่ นการพิจารณาของ ก.พ. อย่าง พิจารณาของ ก.พ. ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ก.พ. ในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ อย่างนอ้ ย ๑ เร่ือง สรรหารักษา เคลื่อนย้าย นอ้ ย ๒ เรื่อง อย่างน้อย ๑ เรอ่ื ง ๒-๓๒

เปา้ หมาย ตัวชี้วัด ปี ๒๕๖๔ ค่าเปา้ หมาย และใช้ประโยชนก์ ําลงั คน ให้ตรงกับความรู้ ปี ๒๕๖๕ ความสามารถ เพื่อ ตอบสนองต่อการพฒั นา (๒) กฎหมาย กฎ ระเบียบ และหลักเกณฑ์ - มกี ฎหมาย กฎ ระเบียบ และหลักเกณฑ์ - มกี ฎหมาย กฎ ระเบียบ และหลกั เกณฑ์การ ประเทศในด้านต่าง ๆ และ การบริหารงานบคุ คลได้รับการแก้ไข การบรหิ ารงานบคุ คลได้รับการแก้ไขเพอื่ บริหาร งานบุคคลได้รบั การแก้ไขเพื่อเพ่ิม สถานการณ์ที่เปลยี่ นแปลง เพอ่ื เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารงาน เพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารงานบคุ คล ประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคลภาครฐั อย่างรวดเร็ว บคุ คลภาครัฐ อย่างนอ้ ย ๕ เร่อื ง ภาครฐั ภายในสน้ิ ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ภายในส้ินปี พ.ศ. ๒๕๖๕ อย่างนอ้ ย ๓ เร่ือง ๓.๒ สว่ นราชการและหน่วยงาน อย่างน้อย ๒ เรอ่ื ง ของรัฐมีการวางแผน (๓) ขอ้ เสนอในการจดั องคก์ ร ระบบ - มีผลการศกึ ษาในการจัดองค์กร ระบบ - มีข้อเสนอในการจัดองค์กร ระบบ หรอื กลไก กําลังคน เพื่อให้การใช้ หรือกลไกการบริหารจัดการกําลงั คน หรอื กลไกการบรหิ ารจดั การกําลงั คน การบริหารจดั การกําลังคนภาครฐั ท่ีมีเอกภาพ อตั รากําลงั เกิด ภาครฐั ที่มีเอกภาพ และเป็น ภาครัฐที่มีเอกภาพ และเป็นมาตรฐานท่ี และเป็นมาตรฐานที่เทียบเคียงกันได้ระหว่าง ประสทิ ธภิ าพสูงสดุ และ มาตรฐานที่เทียบเคียงกันได้ระหว่าง เทียบเคียงกันไดร้ ะหว่างบคุ ลากรภาครัฐ บุคลากรภาครัฐแต่ละประเภท ไมก่ ่อใหเ้ กิดภาระผกู พนั บคุ ลากรภาครัฐแต่ละประเภท แตล่ ะประเภท ๕๗ ด้านงบประมาณภาครัฐ ในระยะยาว (๔) รอ้ ยละของบุคลากรในสว่ นราชการ - ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๕๐ - ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ และหน่วยงานของรัฐแต่ละแห่งทีม่ ี ความรู้ ทกั ษะ ทัศนคติ และกรอบ ความคิด (Mindset) ในการ ปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล และภาวะ ชีวติ วิถีใหม่ รวมทั้งรองรับการ เปลี่ยนแปลง (๕) สัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรต่อ - สัดส่วนเพิ่มขึน้ ในอตั ราทลี่ ดลงรอ้ ยละ ๓ - สัดสว่ นเพ่ิมข้ึนในอตั ราทล่ี ดลงร้อยละ ๓ งบประมาณรายจ่ายประจําเพมิ่ ขึ้นใน อตั ราทลี่ ดลง ๒-๓๓

เป้าหมาย ตัวช้ีวดั คา่ เป้าหมาย ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ (๖) มีมาตรการท่ีเพิ่มประสทิ ธิภาพการใช้ - มาตรการท่ีเพิ่มประสิทธภิ าพการใช้ - มาตรการที่เพ่ิมประสทิ ธิภาพการใชอ้ ัตรากําลงั อตั รากําลงั หรอื ลดค่าใช้จ่ายด้าน อตั รากําลงั หรือลดค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร หรือลดค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรผา่ นการ บคุ ลากร ผ่านการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี พิจารณาของคณะรฐั มนตรี อย่างนอ้ ย ๒ เรื่อง อย่างนอ้ ย ๑ เรอื่ ง - มรี ูปแบบการทํางานท่เี น้นการบูรณาการ กจิ กรรมปฏริ ปู ที่ ๔ สร้างความเข้มแข็งในการบรหิ ารราชการในระดับพนื้ ที่ โดยการมีสว่ นร่วมของประชาชน ในประเด็นนโยบายสําคญั (Agenda) ของกรม ๔.๑ สร้างความเขม้ แข็งของระบบ (๑) มรี ูปแบบการทํางานท่ีเน้นการ - มีรูปแบบการทํางานที่เน้นการ และหน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ งในพ้นื ท่ี จํานวน การบรหิ ารราชการเชิงพื้นท่ี บรู ณาการในประเดน็ นโยบายสําคัญ บรู ณาการในประเดน็ นโยบายสําคญั ๑ ประเด็นนโยบาย ใหร้ าชการในส่วนภูมภิ าค (Agenda) ของกรมและหน่วยงาน (Agenda) ของกรมและหนว่ ยงาน - กรมและจังหวัดนํารูปแบบการทํางานเชิง มคี วามคล่องตวั สามารถ ที่เก่ียวขอ้ งในพนื้ ท่ี ทเี่ ก่ียวข้องในพื้นที่ จํานวน ๑ ประเด็น บรู ณาการไปปรับใช้ จํานวน ๑ กรม/๒ จังหวดั บรู ณาการระบบงาน ระบบ นโยบาย ๕๘ - ไม่น้อยกว่า ๑๔ จังหวัด แผนและงบประมาณ และ (๒) กรมและจังหวดั นํารูปแบบการ - กรมและจงั หวัดนํารูปแบบการทํางาน ระบบบริหารงานบคุ คลได้ ทํางานเชิงบรู ณาการ ไปปรับใช้ เชิงบรู ณาการไปปรับใช้จํานวน อย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยให้ ให้สอดคล้องกับบทบาทภารกจิ ๑ กรม/๒ จังหวดั เกดิ การสานพลัง และสอดคลอ้ งกบั การขับเคล่ือน (Collaboration) ระหว่าง ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนแม่บท ภาครฐั ภาคประชาชน ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติที่เก่ียวขอ้ ง และภาค เอกชน เพื่อให้ (๓) จํานวนจังหวดั ทมี่ กี ารพฒั นารปู แบบ - ไม่น้อยกว่า ๗ จงั หวัด เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร ของการบริหารกิจการ ราชการในจังหวดั ที่มีผลสมั ฤทธิ์สงู ๒-๓๔

เปา้ หมาย ตวั ช้ีวัด คา่ เป้าหมาย ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ บ้านเมอื งที่ดี (๔) ระดับความพงึ พอใจของประชาชน - ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ - ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ ที่มีต่อการให้บริการประชาชนของ ศนู ยด์ ํารงธรรมของจังหวดั กจิ กรรมปฏริ ูปท่ี ๕ ขจดั อปุ สรรคในการจัดซือ้ จดั จ้างภาครฐั และการเบิกจ่ายเงนิ เพื่อใหเ้ กดิ ความรวดเร็ว ค้มุ ค่า โปรง่ ใส ปราศจากการทุจริต ๕.๑ หนว่ ยงานภาครัฐสามารถ (๑) มีระบบสนับสนุนจัดซอื้ จดั จ้างภาครัฐ - มรี ะบบสนับสนุนกระบวนการจัดซ้ือจัด - มรี ะบบสนับสนนุ จดั ซอ้ื จดั จ้างภาครฐั เป็นแบบ ดําเนินการจัดซื้อจัดจ้างได้ เป็นแบบดิจิทัลในทกุ ขั้นตอน จ้างภาครฐั เป็นแบบดิจิทลั ใน ดิจิทัลในทกุ ข้ันตอน โดยรวดเร็ว มีประสทิ ธภิ าพ กระบวนการที่สาํ คญั ประกอบ ดว้ ย (๑) มีความคล่องตวั โปร่งใส ระบบขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการงาน ตรวจสอบได้ ผา่ นระบบ กอ่ สร้างอิเล็กทรอนกิ ส์ และ (๒) ระบบ สนับสนุนจัดซ้ือจัดจ้างเป็น อุทธรณ์ออนไลน์ ๕๙ แบบดิจิทลั ในทุกขั้นตอน (๒) มีกฎระเบียบ หรือกระบวนการจดั ซื้อ - มกี ฎระเบียบ หรือกระบวนการจดั ซือ้ จัด - มกี ฎระเบียบ หรอื กระบวนการจดั ซอื้ จดั จ้าง มกี ารบูรณาการ และ จัดจ้างภาครฐั ท่ีได้รับการปรับปรุง จ้างภาครฐั ท่ีไดร้ บั การปรับปรงุ แก้ไข ภาครฐั ท่ีไดร้ ับการปรับปรุงแก้ไขไมน่ ้อยกว่า เชื่อมโยงขอ้ มูลด้านการ แก้ไขเพอ่ื ใหเ้ กิดความคล่องตัวในการ ไม่นอ้ ยกว่า ๑ เรือ่ ง ๑ เรื่อง จัดซ้ือจดั จ้างกับระบบอ่ืน ๆ ปฏิบัตงิ าน มีประสิทธิภาพ และเกิด อย่างเต็มรูปแบบ ความค้มุ คา่ ๕.๒ มรี ะบบในการติดตามและ (๓) มกี ารเชอื่ มโยงระบบฐานข้อมูลด้าน - สามารถเช่อื มโยงระบบฐานข้อมูลด้าน - สามารถเชอื่ มโยงระบบฐานข้อมูลด้านการ ป้องกันการทุจรติ ท่ี การจดั ซื้อจัดจ้างของกรมบัญชีกลาง การจัดซือ้ จัดจ้างของกรมบัญชีกลางกับ จัดซอ้ื จดั จ้างของกรมบัญชกี ลางกับหน่วยงาน รวดเร็ว มีมาตรฐาน กับหน่วยงานอ่ืน ๆ หนว่ ยงานอ่ืน ๆ ไม่นอ้ ยกว่า ๑ อนื่ ๆ ไม่น้อยกว่า ๒ หน่วยงาน ส่งเสรมิ บทบาท หนว่ ยงาน ๒-๓๕

เป้าหมาย ตวั ชี้วดั ค่าเปา้ หมาย ภาคเอกชน ประชาชน เข้ามามสี ว่ นร่วม (๔) มีกลไกการบูรณาการทํางานรว่ มกัน ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ ตรวจสอบป้องกนั การ ระหว่างกรมบัญชกี ลางและ - มีการร่วมกําหนดแนวทางการ - มกี ลไกการบูรณาการทํางานรว่ มกันระหว่าง ทุจรติ เพือ่ สรา้ งความ หนว่ ยงานด้านการตรวจสอบการ บรู ณาการทํางานร่วมกันระหว่าง กรมบญั ชกี ลางและหน่วยงานด้านการ โปร่งใสและการทุจริต ทุจริต กรมบัญชกี ลางและหน่วยงาน ตรวจสอบการทุจรติ การจัดซื้อจัดจ้างลดลง ด้านการตรวจสอบการทุจริต (๕) มีผู้แทนภาคเอกชนและภาค ประชาชนเข้ามามีสว่ นร่วมป้องกัน - มีองค์กรภาคเอกชนท่ีมีบทบาทเข้ามา - มีการจดั สรรงบประมาณสนับสนุนโครงการ ๖๐ การทุจรติ ในโครงการจัดซอ้ื จัดจ้าง มสี ่วนร่วมในการป้องกันและปราบปราม ขอ้ ตกลงคุณธรรมให้มจี ํานวนภาคเอกชน ภาครฐั เพ่ิมมากข้ึน การทุจริต และถ่ายทอดองคค์ วามรู้ และภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมปอ้ งกัน แก่ภาคเอกชน และประชาชนในเรื่อง การทุจรติ ในโครงการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ การจัดซอ้ื จัดจ้างภาครฐั เพิ่มข้ึน เพิม่ ขึน้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕ จากปีที่ผ่านมา อย่างนอ้ ย ๑ หนว่ ยงาน - มีผูแ้ ทนภาคเอกชนในคณะกรรมการ ความรว่ มมือป้องกันการทุจริตเพ่มิ ขึ้น อย่างนอ้ ย ๑ คน ๒-๓๖

61 สว่ นที่ ๓ ข้อเสนอในการมหี รอื แกไ้ ขปรับปรงุ กฎหมาย (เรียงลาดับความสาคญั ) ๓.๑ พระราชบัญญัตริ ะเบยี บบริหารราชการแผ่นดนิ พ.ศ. ๒๕๓๔ และท่ีแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ สาระสาคัญโดยสังเขป เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพและสร้างให้หน่วยงานภาครัฐมีความยืดหยุ่นสามารถ ปรับตัวเข้าสู่การเป็นสานักงานสมัยใหม่ ภายใต้ระบบการบริหารราชการบนฐานกระทรวงนาไปสู่การเป็น องคก์ รทีม่ ีขีดสมรรถนะสูง สามารถปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล มีความคล่องตัว ไม่ยึดติดกับการจัด โครงสร้างองค์กรแบบราชการบนฐานของกรมแบบเดิม โดยลดความเป็นนิติบุคคลของกรม สามารถยุบ เลิก ปรับเปลยี่ นโครงสรา้ งองค์กร กฎ ระเบียบได้ตามสถานการณ์ ๓.๒ พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๑ และท่ีแกไ้ ขเพม่ิ เติม สาระสาคัญโดยสังเขป ปรับปรุงสาระสาคัญภายใต้พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ให้ครอบคลมุ แนวคิดและทิศทางในการปรับปรุงระบบการบริหารทรัพยากรบุคคล ในราชการพลเรือน เพื่อให้ส่วนราชการเกิดความคล่องตัวในการบริหารทรัพยากรบุคคลภายใต้ระบบคุณธรรม ตลอดจนสามารถดึงดูด รักษา และใช้ประโยชน์คนดี เก่ง และมีความสามารถได้อย่างมีประสิทธิภาพ และให้ ข้าราชการพลเรือนสามัญสามารถเคลื่อนย้าย หมุนเวียนสับเปล่ียนหน้าท่ี ทั้งระหว่างกรม กระทรวง และ ระหวา่ งกรม กระทรวงกับหน่วยงานของรัฐ และหน่วยงานประเภทอื่น ๆ ได้อย่างคล่องตัวและเหมาะสม ตาม เหตุผลความจาเป็นและประโยชนข์ องภาครฐั เปน็ สาคญั ๒-๓๗



63 (ร่าง) แผนการปฏริ ปู ประเทศ ดา้ นกฎหมาย (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) คณะกรรมการปฏริ ูปประเทศด้านกฎหมาย

64 สารบญั สาระสาคญั ของแผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นกฎหมาย หน้า สว่ นที่ ๑ บทนา ๓-๑ ๑.๑ ความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ๓-๒ ๑.๑.๑ ความสอดคล้องของการปฏริ ปู ดา้ นกฎหมายกับยทุ ธศาสตรช์ าติ ๓-๒ ๑.๑.๒ ความสอดคล้องของการปฏิรูปดา้ นกฎหมายกบั แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ๓-๒ ๑.๒ ผลอนั พงึ ประสงค์ ผลสมั ฤทธิ์ทคี่ าดว่าจะเกดิ ข้ึน ค่าเป้าหมายและตัวชีว้ ดั ๓-๓ ส่วนที่ ๒ กจิ กรรมปฏริ ูปทจี่ ะสง่ ผลใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอยา่ งมนี ยั สาคญั ๓-๔ ๒.๑ กิจกรรมปฏริ ปู ท่ี ๑ มกี ลไกยกเลกิ หรอื ปรับปรงุ กฎหมายทีเ่ ปน็ อปุ สรรค ๓-๔ ต่อการดารงชีวติ และการประกอบอาชพี ของประชาชน ๒.๒ กจิ กรรมปฏิรูปท่ี ๒ จดั ใหม้ กี ลไกทางกฎหมายเพือ่ ให้มกี ารพิจารณาปรบั เปล่ียนโทษ ๓-๖ ทางอาญาท่ีไม่ใชค่ วามผดิ ร้ายแรงให้เป็นโทษปรับเป็นพินัย เพอ่ื ลดผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ๒.๓ กิจกรรมปฏิรูปท่ี ๓ จัดให้มีกลไกกาหนดให้ส่วนราชการหรือหนว่ ยงานของรัฐซึง่ มีหนา้ ท่ี ๓-๗ ควบคุม กากับดูแล และบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย นาเทคโนโลยี มาใช้ในการดาเนินการเพื่อเพ่ิมประสทิ ธิภาพในการบังคบั ใชก้ ฎหมาย ๒.๔ กิจกรรมปฏริ ูปที่ ๔ จดั ใหม้ ีกลไกช่วยเหลือประชาชนในการจดั ทาและเสนอร่างกฎหมาย ๓-๙ ๒.๕ กิจกรรมปฏิรปู ท่ี ๕ จัดทาประมวลกฎหมายเพื่อรวบรวมกฎหมายเรื่องเดยี วกนั ไวด้ ว้ ยกัน ๓-๑๐ เพอื่ ความสะดวกในการใชง้ าน ส่วนที่ ๓ ข้อเสนอในการมหี รือแกไ้ ขปรับปรงุ กฎหมาย ๓-๑๒

65 สว่ นที่ ๑ บทนา สังคมจำเป็นต้องมีกฎหมำยเพ่ือกำหนดกฎเกณฑ์อันเป็นกติกำให้สังคมถือปฏิบัติเพ่ือรักษำควำมสงบ เรียบร้อยและเป็นเคร่ืองมือสำคัญของรัฐในกำรดำเนินนโยบำยสำธำรณะในนิติรัฐ รัฐและเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ จะกระทำกำรใดที่กระทบสิทธิและเสรีภำพของประชำชนได้ก็ต่อเม่ือมีอำนำจตำมกฎหมำยที่ปวงชนหรือผู้แทน ปวงชนให้ควำมเห็นชอบ แต่กฎหมำยอำจสร้ำงปัญหำให้สังคมได้เช่นกัน หำกกฎหมำยน้ันเป็นกฎหมำย ท่ีไม่เคำรพหลักนิติธรรม ไม่มีคุณภำพ หรือมีจำนวนมำกเกินไป จนกลำยเป็นกำรจำกัดสิทธิ และเสรีภำพ ของประชำชนตำมจำนวนกฎหมำยท่ีเพิ่มมำกข้ึน นอกจำกนี้ อำจทำให้ประชำชนเข้ำถึงกฎหมำยได้โดยยำก สร้ำงภำระค่ำใช้จ่ำยแก่ประชำชนและภำคธุรกิจ และเป็นที่มำของกำรทุจริตและประพฤติมิชอบของผู้บังคับใช้ กฎหมำย กำ ร ป ฏิ รู ป ก ฎ ห มำ ย จึ ง มุ่ ง เ น้ น ใ ห้ เ กิ ด ผ ล อั น พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ ใ น ก ำ ร มี ก ฎ ห ม ำย ท่ี ดี แ ล ะ มี เ พี ย ง เท่ำที่จำเป็นเพ่ือขจัดปัญหำต่ำง ๆ ท่ีเกิดขึ้นจำกกฎหมำย เพ่ือให้สอดคล้องกับหลักกำรตำมมำตรำ ๒๕๘ ค. ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย โดยแผนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกฎหมำยท่ีได้ประกำศ ในรำชกิจจำนุเบกษำ เมื่อวันที่ ๖ เมษำยน ๒๕๖๑ ได้มีกำรกำหนด ๑๐ เป้ำหมำยหรือผลอันพึงประสงค์ อันประกอบด้วย (๑) มีกลไกให้กำรออกกฎหมำยเป็นกฎหมำยที่ดีและเท่ำที่จำเป็น รวมทั้งมีกลไก ในกำรทบทวนกฎหมำยท่ีมีผลใช้บังคับแล้ว เพ่ือให้สอดคล้องกับหลักกำรตำมมำตรำ ๗๗ ของรัฐธรรมนูญ แห่งรำชอำณำจักรไทย (๒) ยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมำยที่ล้ำสมัย และเป็นอุปสรรคต่อกำรดำรงชีวิตและกำร ประกอบอำชีพของประชำชน (๓) มีกลไกทำงกฎหมำยเพ่ือขจัดควำมเหลื่อมล้ำและสร้ำงควำมเป็นธรรม ในสังคม (๔) มีกลไกให้มีกำรตรำกฎหมำยเพื่อเพิ่มควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศ (๕) พัฒนำ กระบวนกำรจัดทำและตรวจพิจำรณำร่ำงกฎหมำยให้รวดเร็ว รอบคอบ และสอดคล้องกับเง่ือนเวลำในกำร ตรำกฎหมำยตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย (๖) มีกลไกให้ประชำชนมีส่วนร่วมในกำรจัดทำและเสนอ ร่ำงกฎหมำยท่ีมีควำมสำคัญ และจัดให้มีกลไกช่วยเหลือประชำชนในกำรจัดทำและเสนอร่ำงกฎหมำย รวมทั้ง กำรให้ควำมช่วยเหลือทำงกฎหมำยแก่ประชำชน (๗) มีกลไกให้ประชำชนเข้ำถึงกฎหมำย กฎ โดยสะดวกและ เข้ำใจกฎหมำยได้ง่ำยรวมท้ังกำรพัฒนำระบบฐำนข้อมูลของกฎหมำย คำพิพำกษำ คำวินิจฉัย หรือกำรตีควำม กฎหมำย หรือกฎให้ประชำชนเข้ำถึงได้โดยสะดวก (๘) ปฏิรูปกำรเรียนกำรสอนและกำรศึกษำอบรมวิชำกฎหมำย เพ่ือพัฒนำนักกฎหมำยให้เป็นผู้ประกอบวิชำชีพท่ีดี (๙) พัฒนำระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพี่อสนับสนุน ให้ประชำชนติดต่อกับเจ้ำหน้ำท่ีผู้บังคับใช้กฎหมำยได้โดยสะดวก เพื่อลดค่ำใช้จ่ำยและขจัดช่องทำงกำรทุจริต ประพฤตมิ ิชอบ และ (๑๐) มีกลไกส่งเสรมิ กำรบังคบั ใช้กฎหมำยให้มีประสิทธภิ ำพยิง่ ข้ึน นับตั้งแต่กำรประกำศแผนกำรปฏิรูปประเทศในรำชกิจจำนุเบกษำ เมื่อวันที่ ๖ เมษำยน ๒๕๖๑ ได้มีกำรดำเนินกำรตำมเร่ืองและประเด็นปฏิรูปทั้ง ๑๐ เร่ือง ซึ่งในหลำยเร่ืองได้มีกำรดำเนินกำรจนแล้วเสร็จ ไม่ว่ำจะเป็นกำรจัดทำพระรำชบัญญัติหลักเกณฑ์กำรจัดทำร่ำงกฎหมำยและกำรประเมินผลสัมฤทธ์ิของกฎหมำย พ.ศ. ๒๕๖๒ ซ่ึงประกำศใช้เป็นกฎหมำยโดยได้มีกำรประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ เมื่อวันท่ี ๓๑ พฤษภำคม ๒๕๖๒ และมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ ๒๗ พฤศจิกำยน ๒๕๖๒ รวมถึงกำรจัดทำกฎหมำยลำดับรองตำม พระรำชบัญญัติดังกล่ำวเพ่ือกำหนดหลักเกณฑ์และรำยละเอียดรองรับกำรปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัติดังกล่ำว ให้เกิดควำมชัดเจน กำรจัดทำกฎหมำยเพ่ือเป็นกลไกในกำรแก้ไขปัญหำควำมเหลื่อมล้ำและควำมไม่เป็นธรรม ท่ีเกิดขึ้นในสังคม เช่น พระรำชบัญญัติคุ้มครองประชำชนในกำรทำสัญญำขำยฝำกที่ดินเพ่ือกำรเกษตรกรรมหรือ ท่ีอยู่อำศัย พ.ศ. ๒๕๖๒ พระรำชบัญญัติส่งเสริมวิสำหกิจเพ่ือสังคม พ.ศ. ๒๕๖๒ และกำรจัดทำโครงกำรทบทวน กำรอนุญำตของทำงรำชกำร เพื่อศึกษำกลไกกำรอนุญำตของทำงรำชกำรที่เป็นกำรสร้ำงภำระหรือก่อให้เกิด อุปสรรคต่อกำรประกอบอำชีพและกำรดำเนินธุรกิจของประชำชนเพ่ือนำไปสู่กำรพิจำรณำทบทวนกระบวนกำร ๓-๑

66 อนญุ ำต หรือเสนอแนะให้มีกำรแก้ไขปรับปรุงกฎหมำย กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับท่ีเกี่ยวกับกำรอนุญำตของทำง รำชกำร เพื่อลดข้ันตอนกำรดำเนินกำรและกำรอนุญำตที่ไม่จำเป็น หรือที่เป็นอุปสรรคต่อกำรประกอบอำชีพและ กำรดำเนินธรุ กิจของประชำชน เปน็ ต้น อย่ำงไรก็ดี ยังคงมีควำมจำเป็นท่ีจะต้องขับเคลื่อนกำรดำเนินกำรตำมแผนปฏิรูปประเทศ ด้ำนกฎหมำยโดยเฉพำะกิจกรรมปฏิรูปท่ีมีควำมสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อประชำชน เพื่อผลักดันให้ดำเนินกำร แล้วเสร็จโดยเร็วและเกิดผลอย่ำงเป็นรูปธรรม คณะกรรมกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกฎหมำยจึงได้จัดทำแผนกำร ปฏิรูปประเทศด้ำนกฎหมำยฉบับปรับปรุง โดยมุ่งเน้นกิจกรรมปฏิรูปท่ีจะส่งผลให้เกิดกำรเปล่ียนแปลงภำครัฐ ทจี่ ะกอ่ ให้เกดิ ประโยชน์ต่อประชำชนอย่ำงมีนัยสำคัญ ๕ กจิ กรรม ดังน้ี (๑) มีกลไกยกเลิกหรือแก้ไขปรับปรุงกฎหมำยที่สร้ำงภำระหรือเป็นอุปสรรคต่อกำรดำรงชีวิต หรอื กำรประกอบอำชพี ของประชำชน เพอ่ื ขับเคลอ่ื นให้เกิดผลอย่ำงมปี ระสทิ ธภิ ำพและเป็นรูปธรรม (๒) จัดให้มีกลไกทำงกฎหมำยเพื่อให้มีกำรพิจำรณำปรับเปลี่ยนโทษทำงอำญำท่ีไม่ใช่ควำมผิด รำ้ ยแรงให้เปน็ โทษปรับเป็นพนิ ัย เพอื่ ลดผลกระทบต่อสทิ ธแิ ละเสรีภำพของประชำชน (๓) จัดให้มีกลไกกำหนดให้ส่วนรำชกำรหรือหน่วยงำนของรัฐซึ่งมีหน้ำที่ควบคุม กำกับดูแล และ บงั คับกำรใหเ้ ป็นไปตำมกฎหมำย นำเทคโนโลยีมำใชใ้ นกำรดำเนินกำรเพอ่ื เพ่ิมประสิทธิภำพในกำรบงั คบั ใช้กฎหมำย (๔) จัดใหม้ กี ลไกชว่ ยเหลอื ประชำชนในกำรจดั ทำและเสนอร่ำงกฎหมำย (๕) จัดทำประมวลกฎหมำยเพอ่ื รวบรวมกฎหมำยเรื่องเดยี วกนั ไวด้ ้วยกนั เพ่อื ควำมสะดวกในกำรใช้งำน ๑.๑ ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ๑.๑.๑ ความสอดคล้องของการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายกับยุทธศาสตรช์ าติ ๑) ยุทธศาสตรช์ าติดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน ๑.๑) ขอ้ ๔.๕ พฒั นำเศรษฐกจิ บนพนื้ ฐำนผู้ประกอบกำรยุคใหม่ ๔.๕.๕ ปรบั บทบำทและโอกำสกำรเข้ำถึงบริกำรภำครัฐ ๒) ยุทธศาสตรช์ าตดิ า้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ๒.๑) ขอ้ ๔.๑ กำรลดควำมเหลือ่ มล้ำ สร้ำงควำมเปน็ ธรรมในทุกมติ ิ ๔.๑.๓ กระจำยกำรถอื ครองท่ดี ินและกำรเขำ้ ถงึ ทรัพยำกร ๓) ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั ๓.๑) ข้อ ๔.๗ กฎหมำยมีควำมสอดคล้องเหมำะสมกับบริบทต่ำง ๆ และมีเท่ำท่ีจำเป็น ๔.๗.๑ ภำครฐั จัดให้มกี ฎหมำยท่ีสอดคล้องและเหมำะสมกับบรบิ ทตำ่ ง ๆ ที่เปลีย่ นแปลง ๔.๗.๒ มกี ฎหมำยเท่ำที่จำเปน็ ข้อ ๔.๗.๓ กำรบงั คับใช้กฎหมำยอย่ำงมปี ระสิทธภิ ำพ ๓.๒) ข้อ ๔.๘ กระบวนกำรยุติธรรมเคำรพสิทธิมนุษยชนและปฏิบัติต่อประชำชน โดยเสมอภำค ๔.๘.๕ พัฒนำมำตรกำรอืน่ แทนโทษทำงอำญำ ๑.๑.๒ ความสอดคลอ้ งของการปฏิรูปประเทศด้านกฎหมายกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ๑) แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็น กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ๑.๑) ๒๒๐๑๐๑ กฎหมำยไม่เป็นอุปสรรคต่อกำรพัฒนำภำครัฐและภำคเอกชนอยู่ภำยใต้ กรอบกฎหมำยที่ม่งุ ใหป้ ระชำชนในวงกวำ้ งไดร้ ับประโยชน์จำกกำรพัฒนำประเทศโดยท่วั ถึง ๑.๒) ๒๒๐๑๐๒ กำรปฏิบัติตำมและกำรบังคับใช้กฎหมำยมีควำมคุ้มค่ำทำงเศรษฐกิจ ทว่ั ถึง ไมเ่ ลือกปฏิบตั ิ และเป็นธรรม ๑.๓) ๒๒๐๑๐๓ ประชำชนมสี ่วนรว่ มในกำรพฒั นำกฎหมำย ๓-๒

๑.๒ ผลอันพงึ ประสงค์ ผลสัมฤทธิ์ท่คี าดว่าจะเกดิ ขึ้น คา่ เป้าหมายและตัวช้วี ัด เปา้ หมาย ตวั ช้ีวัด ปี ๒๕๖๔ ค่าเป้าหมาย ปี ๒๕๖๕ ๑) กฎหมำยและกระบวนงำนที่ล้ำสมัย ร้อยละของจำนวนกระบวนงำนท่ีเกี่ยวกับ ร้อยละ ๘๐ ของจำนวน ร้อยละ ๑๐๐ ของจำนวน ก่อให้เกิดควำมเหล่ือมล้ำและไม่เป็น กำรอนุญำตและกำรปรับปรุงกฎหมำยตำม กระบวนงำนทเ่ี กี่ยวกับกำรอนุญำต กระบวนงำนท่เี ก่ียวกับกำรอนุญำต ธรรม สรำ้ งภำระแก่ประชำชนและเป็น ผลกำรศึกษำวเิ ครำะห์ทบทวนกฎหมำย กฎ และกฎหมำยทส่ี รำ้ งภำระหรือเปน็ และกฎหมำยทสี่ ร้ำงภำระหรือเป็น อุปสรรคต่อกำรประกอบอำชีพได้รับ ระเบียบ ข้อบังคับและกระบวนงำน อุปสรรคต่อกำรดำรงชีวติ หรือกำร อุปสรรคต่อกำรดำรงชีวติ หรือกำร กำรยกเลิกหรอื แกไ้ ขปรับปรงุ ที่เกีย่ วกบั กำรอนุญำตไดร้ บั กำรดำเนนิ กำร ประกอบอำชีพของประชำชน ประกอบอำชีพของประชำชน ทส่ี ำนกั งำน ป.ย.ป. เสนอไดร้ ับ ทส่ี ำนักงำน ป.ย.ป. เสนอไดร้ ับ กำรปรับปรงุ กำรปรบั ปรงุ ๒) ควำมสะดวกในกำรเข้ำถึง รับรู้ และ จำนวนแผนงำนหรือโครงกำรในกำรจัดทำ ไมน่ ้อยกว่ำสองเรื่องต่อปี ไมน่ ้อยกว่ำสองเรื่องต่อปี ปฏบิ ตั ติ ำมกฎหมำยของประชำชน ประมวลกฎหมำยและกฎ เพ่ือให้ประชำชน เขำ้ ถงึ ได้โดยสะดวก 67 ๓-๓

68 ส่วนท่ี ๒ กจิ กรรมปฏิรูปทจ่ี ะส่งผลให้เกดิ การเปล่ียนแปลงตอ่ ประชาชนอย่างมีนัยสาคัญ ๒.๑ กิจกรรมปฏิรูปที่ ๑ มีกลไกยกเลิกหรือแก้ไขปรับปรุงกฎหมายท่ีสร้างภาระหรือเป็นอุปสรรคต่อ การดารงชีวติ หรือการประกอบอาชีพของประชาชน โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย มำตรำ ๗๗ กำหนดให้รัฐพึงจัดให้มีกฎหมำยเพียงเท่ำท่ีจำเป็น และยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมำยที่หมดควำมจำเป็น ไม่สอดคล้องกับสภำพกำรณ์หรือที่เป็นอุปสรรค ต่อกำรดำรงชีวิตหรือกำรประกอบอำชีพโดยไม่ชักช้ำเพื่อไม่ให้เป็นภำระแก่ประชำชน แผนกำรปฏิรูปประเทศ ด้ำนกฎหมำย เรื่องและประเด็นปฏิรูปที่ ๒ ยกเลิกหรือปรับปรุงกฎหมำยที่ล้ำสมัย และเป็นอุปสรรคต่อกำร ดำรงชีวิตและกำรประกอบอำชีพของประชำชน จึงได้กำหนดให้มีกลไกในกำรพิจำรณำเพื่อให้มีกำรยกเลิกหรือ ปรับปรุงกฎหมำยท่ีล้ำสมัย และเป็นอุปสรรคต่อกำรดำรงชีวิตและกำรประกอบอำชีพของประชำชนและแก้ไข ปรับปรุงกฎหมำยให้เหมำะสมกับบริบทต่ำง ๆ ท่ีเปลี่ยนแปลงไป โดยที่ผ่ำนมำ ได้มีกำรศึกษำ วิเครำะห์ ทบทวน กฎหมำย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และกระบวนงำนท่ีเกี่ยวกับกำรอนุมัติ/อนุญำตของรำชกำรซ่ึงมีผลควำมคืบหน้ำ ในกำรดำเนินกำรมำเป็นลำดับ อย่ำงไรก็ดี ยังคงมีควำมจำเป็นต้องขับเคลื่อนกลไกกำรทบทวนกฎหมำยหรือ ใบอนุญำตที่เป็นอุปสรรคต่อกำรประกอบอำชีพหรือกำรดำเนินธุรกิจของประชำชน โดยเฉพำะในกลุ่มกฎหมำย ที่เก่ียวข้องกับกำรดำเนินธุรกิจ และกำรขออนุญำต อนุมัติ หรือขึ้นทะเบียนในเรื่องต่ำง ๆ ท่ีเป็นอุปสรรคต่อกำร ประกอบอำชีพและกำรดำเนินกำรธุรกิจของประชำชนอันมีผลกระทบต่อกำรพัฒนำเศรษฐกิจและกำรลงทุน ของประเทศ เพ่ือให้มีกำรจัดทำข้อเสนอเพื่อยกเลิกหรือแก้ไขปรับปรุงกฎหมำยหรือข้ันตอนกำรพิจำรณำอนุมัติ หรืออนุญำตต่ำง ๆ และติดตำมกำรดำเนินกำรยกเลิกหรือแก้ไขปรับปรุงกฎหมำยให้เป็นไปอย่ำงรวดเร็ว และเกดิ ผลอย่ำงแท้จริง ๒.๑.๑ เปา้ หมายและตัวชวี้ ัดของกจิ กรรมปฏริ ปู ๑) เป้าหมาย กระบวนงำนที่เกี่ยวกับกำรอนุญำตและกฎหมำยที่สร้ำงภำระหรือเป็นอุปสรรค ตอ่ กำรดำรงชวี ิตหรือกำรประกอบอำชีพของประชำชนไดร้ บั กำรปรบั ปรงุ ๒) ตัวชี้วัด ร้อยละ ๘๐ ของจำนวนกระบวนงำนฯ ตำมที่สำนักงำน ป.ย.ป. เสนอ ได้รับกำร ปรับปรุงภำยในเดอื นกันยำยน พ.ศ. ๒๕๖๔ และร้อยละ ๑๐๐ ของจำนวนกระบวนงำนฯ ตำมที่สำนักงำน ป.ย.ป. เสนอ ไดร้ ับกำรปรบั ปรงุ ภำยในเดือนกันยำยน พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒.๑.๒ หน่วยงานผรู้ ับผดิ ชอบหลัก สำนักงำนขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศ ยุทธศำสตร์ชำติ และกำรสรำ้ งควำมสำมัคคีปรองดอง ๒.๑.๓ ระยะเวลาดาเนนิ การรวม ภำยในปี ๒๕๖๕ ๒.๑.๔ ประมาณการวงเงนิ รวม และแหลง่ ท่ีมาของเงิน งบประมำณตำมปกตขิ องหน่วยงำน ๒.๑.๕ ข้นั ตอนและวิธีการการดาเนนิ การปฏริ ปู สำนักงำนขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศ ยุทธศำสตร์ชำติ และกำรสร้ำงควำมสำมัคคีปรองดอง จะเป็นหนว่ ยงำนผู้รับผิดชอบหลกั ในกำรทำงำนร่วมกบั หนว่ ยงำนอื่นที่เกยี่ วข้อง ในกำรดำเนินกำร ดงั นี้ ๑) ขั้นตอนที่ ๑ สำนักงำนขับเคล่ือนกำรปฏิรูปประเทศ ยุทธศำสตร์ชำติ และกำรสร้ำงควำม สำมัคคีปรองดอง นำผลกำรศึกษำวิเครำะห์ทบทวนกฎหมำย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับและกระบวนงำนท่ีเกี่ยวกับ กำรอนุญำต เพื่อลดขั้นตอนกำรดำเนินกำรและกำรอนุญำตท่ีไม่จำเป็น หรือเป็นอุปสรรคต่อกำรประกอบอำชีพ และกำรดำเนินธุรกจิ ของประชำชน จัดเกบ็ เป็นแหลง่ ข้อมลู อำ้ งอิงเพื่อประโยชนส์ ำหรับกำรสืบค้นในระยะต่อไป ระยะเวลาดาเนนิ การ ภำยในเดือนธันวำคม ๒๕๖๓ ๓-๔

69 ๒) ขั้นตอนที่ ๒ สำนักงำนขับเคลื่อนกำรปฏิรูปประเทศ ยุทธศำสตร์ชำติ และกำรสร้ำงควำม สำมัคคีปรองดอง ดำเนินกำรศึกษำแนวทำงกำรกำหนดเกณฑ์สำหรับใช้ในกำรพิจำรณำตรวจสอบควำมจำเป็น ของกฎหมำยหรือกำรอนุญำตของทำงรำชกำรที่เข้ำข่ำยเป็นกำรสร้ำงภำระหรือเป็นอุปสรรคต่อกำรดำรงชีวิตหรือ กำรประกอบอำชีพของประชำชน โดยดำเนินกำรรับฟังควำมคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในเร่ืองดังกล่ำวด้วย เพ่ือเสนอต่อคณะกรรมกำรดำเนินกำรปฏิรูปกฎหมำยในระยะเร่งด่วนพจิ ำรณำ ระยะเวลาดาเนนิ การ ภำยในเดอื นมิถนุ ำยน ๒๕๖๔ ๓) ขั้นตอนท่ี ๓ คณะกรรมกำรดำเนินกำรปฏิรูปกฎหมำยในระยะเร่งด่วนจัดให้มีกำรพิจำรณำ และเสนอแนะให้มีกำรแก้ไขปรับปรุงกฎหมำยหรือทบทวนกระบวนงำนที่เกี่ยวกับกำรอนุญำตของทำงรำชกำรท่ี เขำ้ ข่ำยเปน็ กำรสร้ำงภำระหรือเป็นอุปสรรคต่อกำรดำรงชีวิตหรือกำรประกอบอำชีพของประชำชน โดยกำรจัดต้ัง คณะอนุกรรมกำรหรือคณะทำงำนเพื่อศึกษำถึงสภำพปัญหำและเสนอแนะแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำ ทเ่ี กิดขึ้น โดยจะต้องมกี ำรรับฟังควำมคิดเห็นจำกหน่วยงำนภำครัฐและเอกชนอย่ำงกว้ำงขวำง และจัดทำข้อเสนอ เพื่อปรับปรุงแก้ไขกฎหมำยหรือกระบวนงำนที่เก่ียวกับกำรอนุญำตของทำงรำชกำรให้เป็นไปอย่ำงเหมำะสมและ ไม่เป็นกำรสรำ้ งภำระหรือเป็นอุปสรรคต่อกำรดำรงชีวิตหรือกำรประกอบอำชีพของประชำชน ตลอดจนเสนอแนะ ให้มีกำรแก้ไขปรับปรุงกฎหมำยที่มีผลต่อกำรพิจำรณำจัดอันดับควำมยำกง่ำยในกำรประกอบธุรกิจ หรือกำรจัด อันดับตัวช้ีวัดของประเทศในด้ำนต่ำง ๆ เสนอต่อคณะกรรมกำรดำเนินกำรปฏิรูปกฎหมำยในระยะเร่งด่วนเพื่อ พจิ ำรณำเสนอต่อคณะรัฐมนตรีต่อไป ระยะเวลาดาเนินการ ภำยในเดอื นธนั วำคม ๒๕๖๕ ๔) ข้ันตอนท่ี ๔ สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร ดำเนินกำรติดตำมและ ประสำนงำนกบั หนว่ ยงำนของรัฐที่เกี่ยวข้องเพ่ือขับเคลื่อนกำรปรับปรุงแก้ไขกฎหมำยหรือปรับปรุงกระบวนงำนท่ี เกี่ยวกบั กำรอนุญำตของทำงรำชกำรตำมที่คณะรฐั มนตรีได้มีมตติ ่อไป ระยะเวลาดาเนนิ การ ภำยในเดอื นธันวำคม ๒๕๖๕ ๓-๕

70 ๒.๒ กิจกรรมปฏิรูปที่ ๒ จัดให้มีกลไกทางกฎหมายเพื่อให้มีการพิจารณาปรับเปล่ียนโทษทางอาญา ที่ไม่ใช่ความผิดร้ายแรงให้เป็นโทษปรับเป็นพินัย เพื่อลดผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพของ ประชาชน โดยที่รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย มำตรำ ๗๗ บัญญัติให้รัฐพึงกำหนดโทษอำญำเฉพำะควำมผิด รำ้ ยแรง แผนกำรปฏิรปู ประเทศดำ้ นกฎหมำย เรื่องและประเด็นปฏิรูปที่ ๑๐ มีกลไกส่งเสริมกำรบังคับใช้กฎหมำย ให้มีประสิทธิภำพยิ่งข้ึน จึงได้กำหนดให้มีกลไกทำงกฎหมำยเพ่ือให้มีกำรพิจำรณำปรับเปลี่ยนโทษ ทำงอำญำท่ีไม่ใช่ควำมผิดร้ำยแรงให้เป็นโทษปรับทำงปกครองหรือมำตรกำรในลักษณะอ่ืน เพ่ือมิให้เป็นกำร กระทบต่อสิทธิและเสรีภำพของประชำชนเกินสมควร โดยในกำรดำเนินกำรดังกล่ำว จำเป็นต้องมีกฎหมำยกลำง เพ่ือกำหนดหลักเกณฑ์ในทำงสำรบัญญัติและวิธีสบัญญัติสำหรับใช้ในกำรพิจำรณำและกำหนดค่ำปรับสำหรับ ควำมผิดที่มีกฎหมำยกำหนดให้ต้องชำระค่ำปรับเป็นพินัย เพื่อรองรับกำรปรับเปล่ียนโทษทำงอำญำท่ีไม่ใช่ ควำมผดิ รำ้ ยแรงให้เป็นโทษปรับเปน็ พนิ ยั หรือมำตรกำรลงโทษในลกั ษณะอื่น แทนกำรกำหนดโทษทำงอำญำ ๒.๒.๑ เป้าหมายและตัวชี้วัดของกจิ กรรมปฏริ ูป ๑) เป้าหมาย ใหม้ กี ำรปรบั เปล่ียนโทษทำงอำญำท่ีไม่ใช่ควำมผิดรำ้ ยแรงให้เป็นโทษปรับเป็น พินยั เพอื่ ลดผลกระทบตอ่ สทิ ธิและเสรภี ำพของประชำชน ๒) ตัวช้ีวัด ๒.๑) ร่ำงกฎหมำยว่ำด้วยกำรปรับเปน็ พนิ ัย มีผลบังคบั ใชเ้ ป็นกฎหมำย ๒.๒) มีกำรปรบั เปลีย่ นโทษทำงอำญำที่ไม่ใชค่ วำมผิดร้ำยแรงให้เป็นโทษปรับเปน็ พินยั ๒.๒.๒ หนว่ ยงานผู้รับผดิ ชอบหลัก สำนกั งำนคณะกรรมกำรกฤษฎกี ำ ๒.๒.๓ ระยะเวลาดาเนนิ การรวม ภำยในปี ๒๕๖๔ ๒.๒.๔ ประมาณการวงเงินรวม และแหล่งท่ีมาของเงิน งบประมำณตำมปกติของหน่วยงำน ๒.๒.๕ ขัน้ ตอนและวธิ ีการการดาเนนิ การปฏิรปู สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ จะเป็นหน่วยงำนผู้รับผิดชอบหลักในกำรทำงำนร่วมกับ หน่วยงำนอื่นทเี่ กี่ยวข้อง ในกำรดำเนินกำร ดงั นี้ ๑) ข้ันตอนที่ ๑ มีกำรจัดทำร่ำงกฎหมำยว่ำด้วยกำรปรับเป็นพินัย ซึ่งเป็นกฎหมำยกลำง ที่กำหนดหลักเกณฑ์ในทำงสำรบัญญัติและวิธีสบัญญัติสำหรับใช้ในกำรพิจำรณำและกำหนดค่ำปรับสำหรับ ควำมผิดที่มีกฎหมำยกำหนดให้ต้องชำระค่ำปรับเป็นพินัย เพื่อรองรับกำรพิจำรณำปรับเปล่ียนโทษทำงอำญำ ท่ีไมใ่ ช่ควำมผิดร้ำยแรงใหเ้ ป็นโทษปรับเป็นพินัยหรือมำตรกำรลงโทษในลักษณะอื่น แทนกำรกำหนดโทษทำงอำญำ ระยะเวลาดาเนนิ การ ภำยในเดอื นธนั วำคม ๒๕๖๓ ๒) ขั้นตอนที่ ๒ มีกำรเสนอร่ำงกฎหมำยว่ำด้วยกำรปรับเป็นพินัยต่อรัฐสภำเพื่อพิจำรณำ เป็นเรอ่ื งด่วนใหแ้ ล้วเสร็จโดยเร็ว โดยให้ถือเป็นกฎหมำยเพ่ือกำรปฏิรูปประเทศตำมมำตรำ ๒๗๐ ของรัฐธรรมนูญ แหง่ รำชอำณำจักรไทย ระยะเวลาดาเนนิ การ ภำยในเดอื นมีนำคม ๒๕๖๔ ๓-๖

71 ๒.๓ กิจกรรมปฏิรูปที่ ๓ จัดให้มีกลไกกาหนดให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐซ่ึงมีหน้าที่ ควบคุม กากับดูแล และบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมาย นาเทคโนโลยีมาใช้ในการดาเนินการ เพือ่ เพิม่ ประสิทธภิ าพในการบังคบั ใช้กฎหมาย โดยที่กำรกำหนดให้มีกำรสร้ำงกลไกกำรบังคับใช้กฎหมำยอย่ำงเคร่งครัดเพื่อลดควำมเหลื่อมล้ำ และควำมไม่เป็นธรรมในสังคม เป็นหนึ่งในเป้ำหมำยของกำรปฏิรูปประเทศท่ีกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ แห่งรำชอำณำจักรไทย ซึ่งกำรบังคับใช้กฎหมำยเป็นหลักกำรสำคัญที่นำไปสู่กำรดำเนินกำรตำมกฎหมำย และเพื่อให้กำรบังคับใช้กฎหมำยมีประสิทธิภำพ แผนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกฎหมำย เร่ืองและประเด็นปฏิรูป ท่ี ๙ พัฒนำระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพื่อสนับสนุนให้ประชำชนติดต่อกับเจ้ำหน้ำท่ีผู้บังคับใช้กฎหมำย ได้โดยสะดวก เพ่ือลดค่ำใช้จ่ำยและขจัดช่องทำงกำรทุจริตประพฤติมิชอบ และเร่ืองและประเด็นปฏิรูปที่ ๑๐ มีกลไกส่งเสริมกำรบังคับใช้กฎหมำยให้มีประสิทธิภำพย่ิงข้ึน จึงได้กำหนดให้มีกำรพัฒนำระบบกำรให้บริกำร ประชำชนผ่ำนระบบกำรให้บริกำรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) ให้สำมำรถใช้งำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ และพัฒนำให้เป็นระบบท่ีมีควำมปลอดภัยและน่ำเช่ือถือ เพื่อลดค่ำใช้จ่ำยและขจัดช่องทำงกำรทุจริต และประพฤติมิชอบ รวมถึงกำรนำอุปกรณ์หรือเทคโนโลยีต่ำง ๆ มำเป็นเครื่องมือในกำรสนับสนุนกำรบังคับใช้ กฎหมำย ทัง้ น้ี เพ่อื ให้กำรบังคบั ใช้กฎหมำยเปน็ ไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ มีควำมเป็นธรรม และป้องกันมิให้เกิดกำร ทุจริตคอร์รัปชั่นของเจ้ำหน้ำท่ี ซ่ึงกำรดำเนินกำรดังกล่ำว มีควำมจำเป็นต้องมีกำรผลักดันและขับเคลื่อนอย่ำง ตอ่ เนื่อง ๒.๓.๑ เปา้ หมายและตัวชีว้ ัดของกิจกรรมปฏริ ูป ๑) เป้าหมาย ส่วนรำชกำรหรือหน่วยงำนของรัฐซึ่งมีหน้ำท่ีควบคุม กำกับดูแล และบังคับ กำรใหเ้ ปน็ ไปตำมกฎหมำย นำเทคโนโลยมี ำใช้ในกำรดำเนินกำรเพื่อเพ่ิมประสิทธิภำพในกำรบังคับใช้กฎหมำย และกำรใหบ้ ริกำรประชำชน ๒) ตวั ชว้ี ดั ๒.๑) มีกำรนำเทคโนโลยีมำใช้ในกำรดำเนินกำรเพื่อเพ่ิมประสิทธิภำพในกำรบังคับใช้ กฎหมำย ๒.๒) มีกำรพฒั นำระบบกำรใหบ้ ริกำรประชำชนผ่ำนระบบกำรให้บริกำรอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) ๒.๓.๒ หน่วยงานผรู้ บั ผิดชอบหลกั กระทรวงยตุ ธิ รรม ๒.๓.๓ ระยะเวลาดาเนนิ การรวม ภำยในปี ๒๕๖๕ ๒.๓.๔ ประมาณการวงเงินรวม และแหลง่ ท่ีมาของเงนิ งบประมำณตำมปกติของหนว่ ยงำน ๒.๓.๕ ขั้นตอนและวิธกี ารการดาเนินการปฏิรูป กระทรวงยุติธรรม จะเป็นหน่วยงำนผู้รับผิดชอบหลักในกำรทำงำนร่วมกับหน่วยงำนอื่นท่ี เก่ียวข้อง ในกำรดำเนินกำร ดงั น้ี ๑) ข้ันตอนท่ี ๑ กระทรวงยุติธรรม โดยสำนักงำนปลัดกระทรวงและสำนักงำนกิจกำรยุติธรรม ดำเนินกำรศึกษำ วิเครำะห์ และประเมินผลกำรบังคับกำรให้เป็นไปตำมกฎหมำย รวมถึงศึกษำปัญหำเก่ียวกับ ประสิทธิภำพในกำรบังคับใช้กฎหมำย และแนวทำงกำรกำหนดกลไกให้ส่วนรำชกำรหรือหน่วยงำน ๓-๗

72 ของรัฐซ่ึงมีหน้ำท่ีควบคุม กำกับดูแล และบังคับกำรให้เป็นไปตำมกฎหมำย พิจำรณำนำเครื่องมือเทคโนโลยี ต่ำง ๆ มำใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพในกำรตรวจสอบและบังคับใช้กฎหมำยและขจัดช่องทำงกำรทุจริตประพฤติ มิชอบ โดยให้มีกำรรับฟังควำมคิดเห็นของผู้มีส่วนเก่ียวข้องในเรื่องดังกล่ำวและพิจำรณำจำกข้อร้องเรียน เกย่ี วกับกำรบังคับใช้กฎหมำยจำกผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่ำง ๆ โดยพัฒนำให้เช่ือมโยงกับกำรรับเร่ืองร้องเรียนผ่ำน ศูนย์ดำรงธรรม (กระทรวงมหำดไทย) และกำรรับเร่ืองรำวร้องทุกข์ผ่ำนศูนย์บริกำรประชำชน ๑๑๑๑ (สำนักงำนปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี) ด้วย และจัดทำข้อเสนอเพ่ือให้มีกำรแก้ไขปรับปรุงกฎหมำยเพื่อแก้ไข ปัญหำเกยี่ วกบั กำรบังคับใช้กฎหมำยตอ่ ไป ระยะเวลาดาเนนิ การ ภำยในเดอื นธนั วำคม ๒๕๖๔ ๒) ขั้นตอนที่ ๒ สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร ดำเนินกำรพัฒนำระบบกำร ให้บริกำรประชำชนผำ่ นระบบกำรให้บริกำรอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Service) ร่วมกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องให้สำมำรถใช้ งำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ และพัฒนำให้เป็นระบบที่มีควำมปลอดภัยและน่ำเช่ือถือ เพ่ือลดค่ำใช้จ่ำยและขจัด ชอ่ งทำงกำรทุจรติ และประพฤติมชิ อบ ระยะเวลาดาเนินการ ภำยในเดือนธนั วำคม ๒๕๖๕ ๓-๘

73 ๒.๔ กจิ กรรมปฏิรูปท่ี ๔ จัดใหม้ ีกลไกชว่ ยเหลือประชาชนในการจดั ทาและเสนอรา่ งกฎหมาย โดยทรี่ ฐั ธรรมนูญแห่งรำชอำณำจกั รไทย มำตรำ ๒๕๘ ค. (๔) กำหนดให้กำรปฏิรูปประเทศด้ำนกฎหมำย ต้องจัดให้มีกลไกช่วยเหลือประชำชนในกำรจัดทำและเสนอร่ำงกฎหมำย เพ่ือให้กำรใช้สิทธิของประชำชน ในกำรเสนอร่ำงกฎหมำยเกิดผลอย่ำงเป็นรูปธรรม โดยแผนปฏิรูปประเทศด้ำนกฎหมำย ประเด็นปฏิรูปท่ี ๖ มีกลไกให้ประชำชนมีส่วนร่วมในกำรจัดทำและเสนอร่ำงกฎหมำยท่ีมีควำมสำคัญและจัดให้มีกลไกช่วยเหลือ ประชำชนในกำรจัดทำและเสนอร่ำงกฎหมำย รวมทั้งกำรให้ควำมช่วยเหลือทำงกฎหมำยแก่ประชำชน จึงได้กำหนดให้จัดให้มีกลไกช่วยเหลือประชำชนในกำรจัดทำและเสนอร่ำงกฎหมำย ซึ่งในกำรดำเนินกำรดังกล่ำว จำเป็นต้องมีกฎหมำยเพ่ือกำหนดข้ันตอนและวิธีกำรเข้ำช่ือเสนอกฎหมำย รวมถึงกำหนดให้กลไกหรือหน่วยงำน ซ่ึงทำหน้ำที่ในกำรให้ควำมช่วยเหลือประชำชนท้ังในกำรจัดทำร่ำงกฎหมำยกำรรับและกำรรวบรวมหลักฐำน กำรร่วมเข้ำช่ือและกำรเสนอร่ำงกฎหมำย และกำรดำเนินกำรตำมมำตรำ ๗๗ ของรัฐธรรมนูญ แห่งรำชอำณำจักรไทย เพ่ือลดภำระในกำรดำเนินกำรและส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมของประชำชนในกำรจัดทำและ เสนอร่ำงกฎหมำยให้เกดิ ผลอย่ำงแท้จรงิ ตำมเจตนำรมณท์ ่ีกำหนดในรฐั ธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย ๒.๔.๑ เป้าหมายและตัวช้ีวดั ของกิจกรรมปฏริ ปู ๑) เปา้ หมาย ประชำชนสำมำรถใชส้ ทิ ธิในกำรเสนอรำ่ งกฎหมำย ๒) ตวั ชวี้ ัด ๒.๑) รำ่ งกฎหมำยวำ่ ด้วยกำรเข้ำชอ่ื เสนอกฎหมำย มีผลบังคับใช้เป็นกฎหมำย ๒.๒) มีกำรจดั กลไกเพ่ือชว่ ยเหลือประชำชนในกำรจดั ทำและเสนอร่ำงกฎหมำย ๒.๔.๒ หน่วยงานผรู้ ับผิดชอบหลกั สำนกั งำนเลขำธิกำรสภำผแู้ ทนรำษฎร ๒.๔.๓ ระยะเวลาดาเนนิ การรวม ภำยในปี ๒๕๖๔ ๒.๔.๔ ประมาณการวงเงินรวม และแหลง่ ที่มาของเงิน งบประมำณตำมปกติของหน่วยงำน ๒.๔.๕ ขั้นตอนและวธิ ีการการดาเนนิ การปฏริ ูป สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร จะเป็นหน่วยงำนผู้รับผิดชอบหลักในกำรทำงำนร่วมกับ หนว่ ยงำนอื่นทเี่ ก่ียวข้อง ในกำรดำเนินกำร ดังนี้ ๑) ข้ันตอนท่ี ๑ มีกำรเสนอร่ำงกฎหมำยว่ำด้วยกำรเข้ำช่ือเสนอกฎหมำยต่อรัฐสภำ เพื่อพิจำรณำเป็นเรื่องด่วนให้แล้วเสร็จโดยเร็ว โดยให้ถือเป็นกฎหมำยเพ่ือกำรปฏิรูปประเทศตำมมำตรำ ๒๗๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย ระยะเวลาดาเนินการ ภำยในเดือนมนี ำคม ๒๕๖๔ ๒) ข้ันตอนที่ ๒ ให้สำนักงำนเลขำธกิ ำรสภำผแู้ ทนรำษฎร จัดให้มีกลไกเพ่ือทำหน้ำที่รับผิดชอบ ภำรกิจช่วยเหลือประชำชนในกำรจัดทำและเสนอร่ำงกฎหมำย ตำมกฎหมำยด้วยกำรเข้ำช่ือเสนอกฎหมำย อำทิ กำรช่วยเหลือประชำชนจัดทำร่ำงกฎหมำย กำรรับและรวบรวมหลักฐำนกำรร่วมเข้ำชื่อเสนอกฎหมำย กำรจัดรับ ฟังควำมคิดเห็นของประชำชนและหน่วยงำนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจำกกำรเสนอร่ำงกฎหมำย กำรจัดทำรำยงำน วิเครำะห์ผลกระทบที่อำจเกิดขึ้นจำกกฎหมำย และกำรดำเนนิ กำรอน่ื ท่ีเก่ียวข้องกบั กำรเขำ้ ช่ือเสนอกฎหมำย ระยะเวลาดาเนินการ ภำยในเดอื นธันวำคม ๒๕๖๔ ๓-๙

74 ๒.๕ กิจกรรมปฏิรูปท่ี ๕ จัดทาประมวลกฎหมายเพื่อรวบรวมกฎหมายเร่ืองเดียวกันไว้ด้วยกัน เพ่ือความสะดวกในการใช้งาน โดยท่ีรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย มำตรำ ๗๗ กำหนดให้รัฐดำเนินกำรให้ประชำชนเข้ำถึง ตวั บทกฎหมำยตำ่ ง ๆ ได้โดยสะดวกและสำมำรถเข้ำใจกฎหมำยได้ง่ำยเพ่ือปฏิบัติตำมได้อย่ำงถูกต้อง ประกอบกับ แผนปฏิรูปประเทศ เรื่องและประเด็นปฏิรูปท่ี ๗ มีกลไกให้ประชำชนเข้ำถึงกฎหมำยโดยสะดวกและเข้ำใจ กฎหมำยได้ง่ำย รวมท้ังพัฒนำระบบฐำนข้อมูลของกฎหมำย คำพิพำกษำ คำวินิจฉัย หรือกำรตีควำมกฎหมำย ให้ประชำชนเข้ำถึงได้โดยสะดวก ได้กำหนดให้มีกำรจัดทำประมวลกฎหมำยเพื่อรวบรวมกฎหมำยเร่ืองเดียวกัน ไว้ด้วยกัน เพ่ือควำมสะดวกในกำรใช้งำน ทั้งนี้ เพ่ือให้ประชำชนสำมำรถเข้ำถึงกฎหมำยได้โดยสะดวกและเข้ำใจ เน้ือหำสำระของกฎหมำยได้โดยง่ำย ซ่ึงในกำรดำเนินกำรดังกล่ำว จำเป็นต้องมีกฎหมำยเพ่ือกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีกำร และแนวทำงในกำรจัดทำประมวลกฎหมำยและกฎดังกล่ำว ข้ันตอนต่ำง ๆ ในกำรดำเนินกำร รวมถึงกลไก ในกำรขบั เคลอื่ นกำรจัดทำประมวลกฎหมำยดังกลำ่ ว ๒.๕.๑ เป้าหมายและตัวช้ีวดั ของกจิ กรรมปฏิรูป ๑) เปา้ หมาย ประชำชนสำมำรถเขำ้ ถึงกฎหมำยไดโ้ ดยสะดวกและสำมำรถเข้ำใจเน้ือหำของ กฎหมำยได้โดยงำ่ ย ๒) ตวั ชีว้ ดั ๒.๑) ร่ำงกฎหมำยว่ำด้วยกำรจัดทำประมวลกฎหมำยและกฎเพ่ือให้ประชำชนเข้ำถึง ไดโ้ ดยสะดวก มีผลบังคบั ใช้เป็นกฎหมำย ๒.๒) มีกำรกำหนดแผนงำนหรือโครงกำรในกำรจัดทำประมวลกฎหมำยและกฎ ไม่น้อย กว่ำสองเรอ่ื งตอ่ ปี ๒.๕.๒ หนว่ ยงานผู้รบั ผดิ ชอบหลัก สำนกั งำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ ๒.๕.๓ ระยะเวลาดาเนินการรวม ภำยในปี ๒๕๖๕ ๒.๕.๔ ประมาณการวงเงนิ รวม และแหล่งท่ีมาของเงนิ งบประมำณตำมปกติของหนว่ ยงำน ๒.๕.๕ ข้ันตอนและวิธีการการดาเนนิ การปฏิรูป สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ จะเป็นหน่วยงำนผู้รับผิดชอบหลักในกำรทำงำนร่วมกับ หนว่ ยงำนอนื่ ทีเ่ กี่ยวข้อง ในกำรดำเนินกำร ดังน้ี ๑) ข้ันตอนท่ี ๑ เสนอร่ำงกฎหมำยว่ำด้วยกำรจัดทำประมวลกฎหมำยและกฎเพื่อให้ ประชำชนเข้ำถึงได้โดยสะดวกต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพจิ ำรณำเป็นเร่ืองเรง่ ดว่ น ระยะเวลาดาเนนิ การ ภำยในเดอื นพฤศจิกำยน ๒๕๖๓ ๒) ขั้นตอนที่ ๒ เสนอร่ำงกฎหมำยว่ำด้วยกำรจัดทำประมวลกฎหมำยและกฎเพ่ือให้ ประชำชนเข้ำถึงได้โดยสะดวกต่อรัฐสภำเพื่อพิจำรณำเป็นเรื่องเร่งด่วนให้แล้วเสร็จโดยเร็ว โดยให้ถือเป็น กฎหมำยเพื่อกำรปฏิรูปตำมมำตรำ ๒๗๐ ของรัฐธรรมนญู แหง่ รำชอำณำจกั รไทย ระยะเวลาดาเนนิ การ ภำยในเดอื นมีนำคม ๒๕๖๔ ๓-๑๐

75 ๓) ขั้นตอนท่ี ๓ เมื่อกฎหมำยว่ำด้วยกำรจัดทำประมวลกฎหมำยและกฎเพื่อให้ประชำชน เข้ำถึงได้โดยสะดวกมีผลบังคับใช้ ให้คณะกรรมกำรนโยบำยกำรจัดทำประมวลกฎหมำยและกฎ จัดทำแผนงำน หรือโครงกำรเก่ียวกับกำรรวบรวมกฎหมำยและกำรจัดทำประมวลกฎหมำยและกฎ เสนอคณะรัฐมนตรีให้ควำม เหน็ ชอบ และพิจำรณำแตง่ ต้ังคณะกรรมกำรหรือคณะอนุกรรมกำรเพื่อรับผิดชอบในกำรรวบรวมกฎหมำยและกฎ และจัดทำประมวลกฎหมำยท่ีสำคัญเพ่ือเป็นตัวอย่ำงในกำรดำเนินกำรโดยให้พิจำรณำจัดทำประมวลกฎหมำย ในเร่ืองท่มี ผี ลกระทบต่อกำรดำรงชีวติ และกำรประกอบอำชีพของประชำชนเป็นลำดับแรก ระยะเวลาดาเนินการ ภำยใน ๖ เดือน นบั แต่วันท่ีกฎหมำยดงั กลำ่ วมผี ลใชบ้ ังคับ ๓-๑๑

76 สว่ นท่ี ๓ ขอ้ เสนอในการมหี รอื แก้ไขปรบั ปรงุ กฎหมาย (เรยี งลาดับความสาคญั ) ๓.๑ รา่ งกฎหมายว่าด้วยการปรับเปน็ พนิ ยั สาระสาคัญโดยสังเขป มีหลักกำรและสำระสำคัญในกำรกำหนดหลักเกณฑ์กำรพิจำรณำกรณีท่ีถือ เปน็ ควำมผิดทำงพินัย โดยพิจำรณำลกั ษณะของกำรกระทำควำมผิดที่เป็นกำรฝำ่ ฝนื หรอื ไม่ปฏิบัติตำมกฎหมำย อนั ไม่ใช่กรณรี ้ำยแรงซงึ่ ไมส่ มควรกำหนดใหม้ โี ทษทำงอำญำ และให้นำวธิ กี ำรปรับเป็นพินยั มำใชบ้ งั คับแทน ๓.๒ ร่างกฎหมายวา่ ด้วยการจัดทาประมวลกฎหมายและกฎเพ่ือให้ประชาชนเขา้ ถึงไดโ้ ดยสะดวก สาระสาคัญโดยสังเขป มีหลักกำรและสำระสำคัญในกำรกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีกำร และแนวทำงใน กำรจัดทำประมวลกฎหมำยและกฎ เพ่ือรวบรวมกฎหมำยและกฎ รวมถึงอนุบัญญัติต่ำง ๆ ท่ีเก่ียวข้องมำไว้ใน ทเ่ี ดยี วกันเพอ่ื ประโยชนใ์ นกำรเข้ำถึงตัวบทกฎหมำย ๓.๓ รา่ งกฎหมายว่าดว้ ยการเขา้ ช่ือเสนอกฎหมาย สาระสาคัญโดยสังเขป มีหลักกำรและสำระสำคัญในกำรกำหนดข้ันตอนและวิธีกำรเข้ำชื่อเสนอ กฎหมำย รวมถึงกำหนดให้กลไกหรือหน่วยงำนซ่ึงทำหน้ำที่โดยตรงในกำรให้ควำมช่วยเหลือประชำชน ท้ังในกำรจดั ทำร่ำงกฎหมำย กำรรบั และกำรรวบรวมหลักฐำนกำรร่วมเขำ้ ชอื่ และกำรเสนอรำ่ งกฎหมำย ๓.๔ ร่างกฎหมายวา่ ด้วยการอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ (ฉบับที่ ..) สาระสาคัญโดยสังเขป มีหลักกำรและสำระสำคัญในเพ่ือปรับปรุงพระรำชบัญญัติกำรอำนวยควำม สะดวกในกำรพิจำรณำอนุญำตของทำงรำชกำร พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อลดข้ันตอนกำรอนุญำตที่ไม่จำเป็น และปรับปรุง ระบบและขั้นตอนกำรอนุญำตให้สะดวกและทันสมัยยิ่งขึ้น ตลอดจนกำหนดให้หน่วยงำนของรัฐ ต้องเสนอแนวทำงในกำรลดข้ันตอนกำรอนุญำตท่ีไม่จำเป็นโดยจะต้องนำมำพิจำรณำเป็นตัวช้ีวัดในกำรประเมิน ประสทิ ธิภำพกำรให้บรกิ ำรของหน่วยงำนน้ันด้วย ๓.๕ ร่างกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองทรัพย์สินตกค้างที่อยู่ในความครอบครองของหน่วยงานของรัฐ และเอกชน สาระสาคัญโดยสังเขป มีหลักกำรและสำระสำคัญในกำรกำหนดให้เงินหรือทรัพย์สิน ของประชำชนท่ีตกค้ำงอยู่ในควำมครอบครองของหน่วยงำนของรัฐและบริษัทเอกชน และไม่มีผู้มำใช้สิทธิ เรียกร้อง มำใช้เพื่อประโยชน์ในกำรสนับสนุนกำรดำเนินกำรเพื่อลดควำมเหลื่อมล้ำทำงสังคม โดยกำหนดให้ นำเข้ำกองทุนสนบั สนุนกำรลดควำมเหล่ือมล้ำเพอ่ื มำใช้ลดควำมเหล่อื มล้ำทำงเศรษฐกจิ ๓-๑๒

77 (รา่ ง) แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านกระบวนการยตุ ธิ รรม (ฉบับปรบั ปรงุ ) คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกระบวนการยตุ ิธรรม

78 สารบัญสาระสาคญั ของแผนการปฏริ ปู ประเทศด้านกระบวนการยตุ ิธรรม หนา้ ส่วนท่ี ๑ บทนา ๔-๑ ๑.๑ ความสอดคล้องกบั แผนยทุ ธศาสตรช์ าตแิ ละแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ๔-๑ ๑.๑.๑ ความสอดคล้องของการปฏริ ูปดา้ นกระบวนการยตุ ธิ รรม ๔-๑ กับยทุ ธศาสตร์ชาติ ๔-๑ ๔-๒ ๑.๑.๒ ความสอดคล้องของการปฏริ ูปด้านกระบวนการยุตธิ รรม กับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ๑.๒ ผลอันพึงประสงค์ ผลสัมฤทธิท์ ี่คาดวา่ จะเกดิ ขึน้ คา่ เป้าหมายและตวั ชว้ี ดั สว่ นที่ ๒ กิจกรรมปฏริ ปู ทจ่ี ะส่งผลใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงตอ่ ประชาชนอยา่ งมีนยั สาคัญ ๔-๓ ๒.๑ กจิ กรรมปฏิรปู ที่ ๑ การให้ประชาชนสามารถตดิ ตามความคบื หน้า ๔-๓ ขัน้ ตอนการดาเนินงานต่างๆ ในกระบวนการยุติธรรม ๒.๒ กิจกรรมปฏิรปู ท่ี ๒ การรบั แจง้ ความรอ้ งทุกข์ตา่ งท้องท่ี ๔-๕ ๒.๓ กจิ กรรมปฏริ ปู ท่ี ๓ การจัดหาทนายความอาสาประจาสถานตี ารวจ ๔-๖ ใหค้ รบทุกสถานีท่ัวประเทศ ๒.๔ กจิ กรรมปฏริ ูปท่ี ๔ ปฏริ ปู ระบบการปล่อยชั่วคราว ๔-๗ ๒.๕ กิจกรรมปฏิรูปที่ ๕ การบันทึกภาพและเสียงในการตรวจค้น จับกมุ สอบสวน ๔-๘ และการสอบปากคาในการสอบสวน ส่วนท่ี ๓ ข้อเสนอในการมหี รือแกไ้ ขปรับปรงุ กฎหมาย ๔-๙

79 สว่ นที่ ๑ บทนา ๑.๑ ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาตแิ ละแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ๑.๑.๑ ความสอดคล้องของการปฏิรูปประเทศดา้ นกระบวนการยุติธรรมกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๑) ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ๑.๑) ขอ้ ๔.๑ การลดความเหล่อื มลา้ สร้างความเป็นธรรมในทกุ มติ ิ ๔.๑.๘ สร้างความเปน็ ธรรมในการเข้าถึงกระบวนการยตุ ธิ รรมอย่างท่ัวถงึ ๒) ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการปรบั สมดุล และพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครฐั ๒.๑) ข้อ ๔.๗ กฎหมายมีความสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทต่างๆ และมีเท่าท่ี จา้ เปน็ ๔.๗.๓ การบงั คบั ใช้กฎหมายอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ โดยเสมอภาค ๒.๒) ขอ้ ๔.๘ กระบวนการยุตธิ รรมเคารพสิทธิมนษุ ยชนและปฏิบัติต่อประชาชน ๔.๘.๑ บุคลากรและหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมเตคารพและยึดม่ัน ในหลกั ประชาธิปไตย เคารพศกั ด์ิศรคี วามเป็นมนุษย์ทพี่ ึงไดร้ ับการปฏิบตั ิอย่างเท่าเทยี ม ๔.๘.๒ ทุกหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม มีบทบาทเชิงรุกร่วมกันในทุก ขนั ตอนของการค้นหาความจริง ๔.๘.๓ หน่วยงานในกระบวนการยตุ ิธรรมทังทางแพง่ อาญา และปกครองมี เปา้ หมายและยุทธศาสตร์รว่ มกัน ๔.๘.๔ สง่ เสริมระบบยุติธรรมทางเลือก ระบบยุติธรรมชุมชน และการมีส่า วนร่วมของประชาชนในกระบวนการยตุ ธิ รรม ๔.๘.๕ พัฒนามาตรการอื่นแทนโทษทางอาญา ๑.๑.๒ ความสอดคล้องของการปฏริ ปู ประเทศด้านกระบวนการยุติธรรมกับแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตรช์ าติ ๑) แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็นกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ๑.๑) ๒๒๐๑๐๒ การปฏิบัติตามและการบังคับใช้กฎหมายมีความคุ้มค่า ทางเศรษฐกิจ ทว่ั ถงึ ไม่เลอื กปฏบิ ัติ และเปน็ ธรรม ๑.๒) ๒๒๐๒๐๑ การอ้านวยความยุติธรรม มีความโปร่งใส สะดวก รวดเร็ว เสมอภาค ทัว่ ถึง เปน็ ธรรมและปราศจากการเลือกปฏบิ ัติ ๔-๑

๑.๒ ผลอันพึงประสงค์ ผลสัมฤทธ์ทิ คี่ าดว่าจะเกิดข้นึ ค่าเป้าหมายและตัวชี้วัด ค่าเปา้ หมาย เปา้ หมาย ตวั ช้วี ัด ปี ๒๕๖๔ ปี ๒๕๖๕ ๑) การอ้านวยความยุติธรรม อัตราส่วนของจ้านวนกระบวนการใน ไมต่ ้่ากว่าร้อยละ ๕๐ ของจา้ นวนกระบวนการ ร้อยละ ๑๐๐ ของจ้านวนกระบวนการ ในแต่ละขันตอนเป็นไป การอ้านวยความยุติธรรมที่มีการ ในการอ้านวยความยตุ ธิ รรมที่มีการก้าหนด ในการอ้านวยความยุตธิ รรมทีม่ ีการก้าหนดระยะเวลา อย่างโปร่งใส แล้วเสร็จ ก้าหนด ระยะเวลาการด้าเนินงานใน ระยะเวลาการด้าเนนิ งานในแตล่ ะขันตอน การด้าเนนิ งานในแตล่ ะขัน ตอนและการตรวจสอบ ตามกรอบระยะเวลาที่ แต่ละขันตอนและการตรวจสอบความ และการตรวจสอบความคบื หน้า ความคืบหน้า ก้าหนด และเข้าถึงง่าย คืบหน้า โดยเสมอภาค ประเภทและระดับของมาตรการที่ ไมต่ ้่ากวา่ ร้อยละ ๔๐ ของ หนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้อง ไมต่ ่้ากว่าร้อยละ ๘๐ ของ หนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้องใน ก้าหนดขึน เพื่อการเข้าถึงการอ้านวย ในกระบวนการยุติธรรมท่ีมีการก้าหนดมาตรการ กระบวนการยุติธรรมทีม่ ีการก้าหนดมาตรการคุ้มครอง ความยตุ ธิ รรมไดโ้ ดยงา่ ย และเสมอภาค คมุ้ ครองสทิ ธผิ ู้เสยี หาย พยาน ผตู้ ้อง/จ้าเลยให้เขา้ ถึง สทิ ธผิ ูเ้ สยี หาย พยาน ผตู้ ้อง/จา้ เลยให้เข้าถงึ กระบวนการยตุ ิธรรมไดโ้ ดยงา่ ยและเสมอภาค กระบวนการยุติธรรมทางอาญาไดโ้ ดยงา่ ยและเสมอภาค สัดส่วนของคู่ความและผู้ที่เกี่ยวข้องใน ไม่ต้่ากวา่ ร้อยละ ๕๐ ของคู่ความและผู้ทเ่ี กย่ี วข้อง ร้อยละ๑๐๐ ของคู่ความและผู้ที่เก่ยี วข้องในคดที ่ี 80 คดีที่ขาดแคลนทุนทรัพย์และด้อย ในคดที ่ีขาดแคลนทุนทรัพยแ์ ละดอ้ ยโอกาส ขาดแคลนทุนทรพั ย์และด้อยโอกาส โอกาส ที่ได้รับความคุ้มครองสิทธิและ ทไ่ี ดร้ บั ความค้มุ ครองสิทธิและเขา้ ถงึ ท่ีไดร้ ับความคุ้มครองสิทธิและเขา้ ถงึ เขา้ ถึงกระบวนการยตุ ธิ รรมไดโ้ ดยงา่ ย กระบวนการยตุ ิธรรม กระบวนการยุตธิ รรม ๒ ) ก า ร บั ง คั บ ก า ร ต า ม อัตราส่วนของจ้านวนขันตอนในการ ไม่ต้่ากวา่ ร้อยละ ๕๐ ไมต่ ้่ากว่ารอ้ ยละ ๗๕ กฎหมายเพ่ือลดความ อ้านวยความยุติธรรมท่ีใช้นวัตกรรม ของจ้านวนขนั ตอนท่สี า้ คัญ ของจ้านวนขนั ตอนทสี่ า้ คัญ เหล่ือมล้า และพัฒนา และเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อความโปร่งใส ระบบการบริหารงาน ความสะดวกและรวดเร็ว ยุติธรรมเป็นไปอย่างมี ประเภทและระดับของมาตรการท่ีรัฐ ไม่ต้่ากวา่ รอ้ ยละ ๕๐ ของมาตรการ ร้อยละ ๑๐๐ ของมาตรการ ประสิทธิภาพ ไม่เลือก ก้าหนดขึนเพ่ือความเสมอภาคใน เพื่อคมุ้ ครองหรือ อ้านวยความสะดวกใหแ้ กเ่ ด็ก เพ่อื ค้มุ ครองหรือ อ้านวยความสะดวกให้แกเ่ ด็ก ปฏิบัตแิ ละเป็นธรรม กระบวนการยตุ ิธรรม สตรี ผู้สงู อายุคนพิการ หรอื ผู้ด้อยโอกาส สตรี ผู้สูงอายุคนพิการ หรอื ผดู้ ้อยโอกาส ในกระบวนการยุติธรรม ในกระบวนการยุตธิ รรม ๔-๒

81 สว่ นที่ ๒ กิจกรรมปฏิรูปท่จี ะส่งผลให้เกดิ การเปล่ียนแปลงตอ่ ประชาชนอย่างมีนยั สาคัญ ๒.๑ กิจกรรมปฏริ ูปที่ ๑ การให้ประชาชนสามารถติดตามความคืบหน้า ข้นั ตอนการดาเนนิ งานตา่ งๆ ในกระบวนการยุตธิ รรม เพ่ือก้าหนดระยะเวลาด้าเนินงานในทุกขันตอนของกระบวนการยุติธรรมท่ีชัดเจน เพ่ือให้ประชาชน ได้รับความยุติธรรมโดยไม่ล่าช้า สร้างระบบการตรวจสอบ ติดตามและแจ้งความคืบหน้าในการด้าเนินการให้ ประชาชนทราบ ๒.๑.๑ เป้าหมายและตัวชี้วัดของกิจกรรมปฏิรูป ๑) เป้าหมาย หน่วยงานที่เก่ียวข้องในกระบวนการยุติธรรมมีระบบให้ประชาชน ตรวจสอบและหรอื แจ้งความคืบหนา้ ให้ประชาชนทราบ ๒) ตวั ชว้ี ดั ๒.๑) ร่างพระราชบัญญัติระยะเวลาในการด้าเนินงานของกระบวนการยุติธรรม พ.ศ. .... มผี ลบงั คบั ใช้ ๒.๒) จ้านวนหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมที่ก้าหนดระยะเวลาในการ ดา้ เนินงานในแตล่ ะขนั ตอน และประกาศใหป้ ระชาชนทราบ ๒.๓) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในกระบวนการยุติธรรมท่ีจัดท้าระบบตรวจสอบและ/ หรือแจง้ ความคบื หนา้ ใหป้ ระชาชนทราบแล้วเสรจ็ ๒.๔) หนว่ ยงานท่ีเก่ยี วข้องในกระบวนการยตุ ิธรรมทนี่ ้าระบบฯ ไปปฏบิ ัติ ๒.๑.๒ หนว่ ยงานผ้รู บั ผิดชอบหลัก คณะกรรมการปฏริ ูปประเทศด้านกระบวนการยุติธรรม ๒.๑.๓ ระยะเวลาดาเนนิ การรวม ๒ ปี ๒.๑.๔ ประมาณการวงเงินรวม และแหลง่ ที่มาของเงนิ งบดา้ เนนิ งานหรืองบลงทุนด้านสารสนเทศของหน่วยงาน ๒.๑.๕ ขั้นตอนและวิธีการการดาเนินการปฏริ ปู คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านกระบวนการยุติธรรม เป็นหน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก ในการท้างานร่วมกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะกระทรวงยุติธรรม ส้านักงานต้ารวจแห่งชาติ ส้านักงานอัยการสูงสุด ส้านักงานศาลยุติธรรม และหน่วยงานอ่ืนในกระบวนการยุติธรรม เป็นอย่างน้อย ในการดา้ เนนิ การ ดังนี ๑) ขั้นตอนที่ ๑ ด้าเนินการตราพระราชบัญญัติระยะเวลาในการด้าเนินงาน ของกระบวนการยตุ ิธรรม พ.ศ. .... ให้มีผลบังคับใช้ ระยะเวลาดาเนินการ ๑ ปี (๒๕๖๔) ๒) ขั้นตอนที่ ๒ จัดท้าประกาศให้ประชาชนทราบถึงระยะเวลาในการด้าเนินงาน ในแตล่ ะขนั ตอน ระยะเวลาดาเนินการ ๖ เดือน ภายหลังร่างพระราชบัญญัติระยะเวลาในการ ดา้ เนินงานของกระบวนการยุตธิ รรม พ.ศ. .... มผี ลบังคับใช้ ๔-๓

82 ๓) ข้ันตอนท่ี ๓ หน่วยงานผู้รับผิดชอบจัดท้า/พัฒนาและเชื่อมโยงระบบตรวจสอบ และ/หรือแจ้งความคบื หนา้ ใหป้ ระชาชนทราบ ระยะเวลาดาเนนิ การ ๑ ปี (๒๕๖๕) ๔) ขัน้ ตอนท่ี ๔ หนว่ ยงานผู้รับผดิ ชอบ สา้ รวจความพงึ พอใจจากประชาชนผู้มาใช้บรกิ าร ระยะเวลาดาเนินการ ทุกไตรมาสภายหลังจากระบบฯ เปดิ ใหบ้ ริการ ๕) ขั้นตอนที่ ๕ คณะกรรมการปฏิรูปฯ ประชุมหน่วยงานผู้รับผิดชอบติดตาม ความคืบหนา้ ในการด้าเนนิ การ ระยะเวลาดาเนินการ ทุก ๖ เดือน ภายหลังร่างพระราชบัญญัติระยะเวลาในการ ดา้ เนนิ งานของกระบวนการยตุ ธิ รรม พ.ศ. .... มีผลบังคับใช้ ๔-๔

83 ๒.๒ กิจกรรมปฏริ ูปที่ ๒ การรับแจ้งความรอ้ งทกุ ข์ตา่ งท้องที่ เพื่ออ้านวยความสะดวกรวดเร็ว ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมโดยไม่มีข้อจ้ากัด เร่ืองเขตพืนที่การสอบสวน พัฒนาระบบการสอบสวนเพื่อสร้างความเชื่อม่ันในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงาน สอบสวนและพนกั งานอัยการ ๒.๒.๑ เปา้ หมายและตัวชี้วดั ของกิจกรรมปฏิรปู ๑) เป้าหมาย มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการรับค้าร้องทุกข์ กล่าวโทษและ เช่ือมโยงข้อมูลระหวา่ งสถานตี ้ารวจทั่วประเทศ ๒) ตวั ชวี้ ดั ๒.๑) จ้านวนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศฯ ที่ได้รบั การจดั ท้าแลว้ เสรจ็ ๒.๒) จ้านวนระเบียบท่ีก้าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการเกี่ยวกับการร้องทุกข์ กล่าวโทษ รับแจ้งความทุกสถานีต้ารวจท่ัวประเทศ รวมทังแนวทางการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้องได้รับ การจัดท้าแลว้ และประกาศใช้ ๒.๓) จา้ นวนหน่วยงานฯ ทใี่ ช้ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศฯ และด้าเนินการตามระเบียบฯ ๒.๔) ความพงึ พอใจของประชาชนในการรับแจ้งความร้องทุกข์ต่างท้องที่ ๒.๒.๒ หนว่ ยงานผรู้ ับผิดชอบหลัก ส้านกั งานต้ารวจแหง่ ชาติ ๒.๒.๓ ระยะเวลาดาเนนิ การรวม ๒ ปี ๒.๒.๔ ประมาณการวงเงนิ รวม และแหลง่ ท่ีมาของเงนิ ๖๓,๐๐๐,๐๐๐ บาท จากงบประมาณของหน่วยงาน ๒.๒.๕ ข้นั ตอนและวธิ กี ารการดาเนินการปฏิรปู สา้ นกั งานตา้ รวจแห่งชาติ จะเป็นหนว่ ยงานผู้รับผดิ ชอบหลักในการท้างานรว่ มกบั หน่วยงานอนื่ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง ในการดา้ เนินการ ดังนี ๑) ขนั้ ตอนที่ ๑ จัดเตรยี มเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักเกณฑ์การดา้ เนนิ งาน ค่มู ือการ ดา้ เนินงาน ระยะเวลาดาเนินการ ๑ ปี (๒๕๖๔) ๒) ขั้นตอนท่ี ๒ รับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้ปฏิบัติเพ่ือพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศฯ ให้ตรงตามความต้องการของผู้ใชง้ าน ระยะเวลาดาเนินการ ๓ เดอื น (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๔) ดา้ เนนิ การ ๓) ขั้นตอนท่ี ๓ ประชาสัมพันธ์ความคืบหน้าของการด้าเนินการและผลการ ประชาชน ระยะเวลาดาเนินการ ทกุ ๖ เดอื น ๔) ข้นั ตอนที่ ๔ ตดิ ตามประเมนิ ผล ประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความพึงพอใจของ ระยะเวลาดาเนินการ ๓ เดือน (กรกฎาคม – กันยายน ๒๕๖๔) ๔-๕

84 ๒.๓ กจิ กรรมปฏิรปู ท่ี ๓ การจดั หาทนายความอาสาประจาสถานีตารวจให้ครบทุกสถานที ั่วประเทศ เพ่ือจัดให้มีมาตรการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของผู้เสียหาย ผู้ต้องหา และจ้าเลย เพื่อให้เข้าถึง กระบวนการยุตธิ รรมอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สะดวกรวดเรว็ ยง่ิ ขนึ ๒.๓.๑ เปา้ หมายและตัวชี้วัดของกจิ กรรมปฏิรูป ๑) เป้าหมาย ประชาชนได้รับความคุ้มครอง ได้รับการช่วยเหลือ ค้าแนะน้าด้าน กฎหมาย ในการดา้ เนินคดี การดา้ เนนิ การในชันพนกั งานสอบสวนสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึน ๒) ตัวชว้ี ดั ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ๒.๑) มีทนายความให้ค้าปรึกษาในสถานีต้ารวจครบทุกสถานีท่ัวประเทศ ภายใน ๒.๒) ความพึงพอใจของประชาชนในการรับบริการ ๒.๓.๒ หนว่ ยงานผู้รบั ผิดชอบหลกั สภาทนายความในพระบรมราชูปถมั ภ์ ๒.๓.๓ ระยะเวลาดาเนินการรวม ๒ ปี ๒.๓.๔ ประมาณการวงเงินรวม และแหลง่ ท่ีมาของเงิน ๑,๐๗๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท จากงบประมาณของกระทรวงยุติธรรม รายการเงินอุดหนุนสภา ทนายความในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ๒.๓.๕ ขั้นตอนและวธิ ีการการดาเนนิ การปฏริ ูป สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ จะเป็นหน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก ในการท้างาน รว่ มกบั หน่วยงานอนื่ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง โดยเฉพาะกระทรวงยตุ ิธรรม และส้านักงานต้ารวจแห่งชาติ เป็นอย่างน้อย ใน การด้าเนินการ ดังนี ๑) ข้ันตอนที่ ๑ ขยายผลให้มีทนายความให้ค้าปรึกษาในสถานีต้ารวจ ไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ ๕๐ ของสถานตี า้ รวจทว่ั ประเทศ ระยะเวลาดาเนินการ ๑ ปี (๒๕๖๔) ๒) ข้ันตอนท่ี ๒ ขยายผลให้มีทนายความให้ค้าปรึกษาในสถานีต้ารวจครบทุกสถานี ทวั่ ประเทศ ระยะเวลาดาเนินการ ๑ ปี (๒๕๖๕) ๓) ขนั้ ตอนที่ ๓ พัฒนาคุณภาพการฝึกอบรมทนายความ ระยะเวลาดาเนินการ ๑ ครัง ต่อปี ๔) ข้ันตอนท่ี ๔ เกบ็ สถติ ปิ ระชาชนและความพึงพอใจประชาชนผมู้ าใช้บรกิ าร ระยะเวลาดาเนนิ การ ทุกครังทีป่ ระชาชนมาใชบ้ ริการ ๕) ขนั้ ตอนท่ี ๕ ประเมนิ ผลการดาเนนิ โครงการ ระยะเวลาดาเนินการ ๑ ครงั ตอ่ ปี ๖) ข้นั ตอนท่ี ๖ สร้างชอ่ งทางการรับเรือ่ งร้องเรยี น กรณีเกิดการทจุ รติ หรอื ประพฤติ ผิดมรรยาททนายความ ระยะเวลาดาเนนิ การ ไตรมาสที่ ๒ ของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๔-๖

85 ๒.๔ กิจกรรมปฏิรปู ท่ี ๔ ปฏิรูประบบการปล่อยชั่วคราว เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้อย่างรวดเร็ว ลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงสิทธิที่ จะไดร้ บั การปล่อยช่วั คราว และยกระดับการปล่อยชั่วคราวให้มีประสิทธิภาพ โดยน้าระบบประเมินความเส่ียง และการก้ากับดูแลหลังปล่อยชั่วคราวท่ีมีความเหมาะสมกับผู้ต้องหาหรือจ้าเลยแต่ละรายมาใช้ทดแทนการ เรียกทรพั ย์สนิ เปน็ หลกั ประกนั ๒.๔.๑ เปา้ หมายและตัวช้ีวดั ของกิจกรรมปฏิรปู ๑) เปา้ หมาย มาตรการคุ้มครอง ผ้ตู ้องหาและจ้าเลยเพื่อให้เข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพย่ิงขนึ ๒) ตัวชี้วัด ๒.๑) สัดส่วนที่เพ่ิมข้ึนของการได้รับการปล่อยตัวช่ัวคราวของผู้ต้องหา/จาเลย โดยไม่องิ กับเงินหรือฐานะทางเศรษฐกิจ ๒.๒) ระดับความพึงพอใจของ ผู้ต้องหาหรือจาเลยต่อการดาเนินมาตรการ คุม้ ครองสทิ ธขิ องหนว่ ยงานที่เกีย่ วข้องในกระบวนการยตุ ธิ รรม ๒.๔.๒ หน่วยงานผู้รบั ผดิ ชอบหลัก ส้านักงานศาลยุติธรรม ๒.๔.๓ ระยะเวลาดาเนนิ การรวม ๒ ปี ๒.๔.๔ ประมาณการวงเงนิ รวม และแหล่งท่ีมาของเงิน ๓๕๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท จากงบประมาณส้านักงานศาลยุตธิ รรม ๒.๔.๕ ขน้ั ตอนและวิธกี ารการดาเนินการปฏริ ปู สา้ นกั งานศาลยตุ ิธรรม จะเป็นหน่วยงานผู้รับผิดชอบหลักในการท้างานร่วมกับหน่วยงาน อน่ื ทเ่ี กีย่ วข้องในการดา้ เนนิ การ ดังนี ๑) ขั้นตอนท่ี ๑ จัดระบบการปล่อยช่ัวคราวท่ีรวดเร็ว ไม่อิงกับเงินหรือฐานะทาง เศรษฐกิจของผู้ต้องหาหรือจาเลย โดยคานึงถึงความปลอดภัยของสังคมและมีมาตรการป้องกันการหลบหนี การปล่อยชั่วคราวที่มีประสิทธิภาพ ซ่ึงผู้ต้องหาหรือจาเลยสามารถร้องขอให้มีการปล่อยได้ทุกวันโดยไม่มี วนั หยดุ พร้อมทังจดั ทาค่มู อื ในการปฏบิ ตั งิ าน ระยะเวลาดาเนนิ การ ๒ ปี (๒๕๖๔-๒๕๖๕) ๒) ข้ันตอนท่ี ๒ พัฒนาระบบประเมินความเส่ียง การใช้เคร่ืองติดตามตัวอิเล็กทรอนิกส์ (EM) และพฒั นาระบบก้ากับดูแล ระยะเวลาดาเนนิ การ ๒ ปี (๒๕๖๔-๒๕๖๕) ๓) ขน้ั ตอนท่ี ๓ ประชาสมั พันธ์การดาเนนิ งาน ระยะเวลาดาเนินการ ๒ ครง้ั ต่อปี ๔) ขน้ั ตอนท่ี ๔ ตดิ ตามประเมนิ ประสิทธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล และความพึงพอใจ ระยะเวลาดาเนนิ การ ๑ ปี (๒๕๖๕) ๔-๗

86 ๒.๕ กิจกรรมปฏิรูปท่ี ๕ การบันทึกภาพและเสียงในการตรวจค้น จับกุม และการสอบปากคาใน การสอบสวน เพ่ือจัดให้มีมาตรการเพื่อคุ้มครองผู้ต้องหาและจ้าเลยให้เหมาะสม ครอบคลุมและรวดเร็ว และ สามารถใช้เป็นพยานหลักฐานท่ีมีความน่าเชื่อถือในการพิสูจน์ความผิด หรือความบริสุทธ์ิของผู้ต้องหาหรือ จา้ เลย และเปน็ การค้มุ ครองการปฏิบตั หิ น้าท่ขี องเจ้าพนกั งานตา้ รวจผจู้ ับกุม และพนักงานสอบสวน ๒.๕.๑ เปา้ หมายและตัวชี้วัดของกจิ กรรมปฏิรปู ๑) เป้าหมาย มาตรการคุ้มครอง ผู้ตอ้ งหาและจ้าเลยเพื่อให้เข้าถึงกระบวนการยุติธรรม ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพยงิ่ ขึน ๒) ตัวช้ีวัด ๒.๑) ระดับความพึงพอใจของผู้เสียหาย พยาน ผู้ต้องหา/จาเลยต่อการดาเนิน มาตรการคุ้มครองสิทธขิ องหน่วยงานท่เี กี่ยวข้องในกระบวนการยุติธรรม ๒.๒) ร้อยละของการร้องเรียนของผู้เสียหาย พยาน ผู้ต้องหา/จาเลย ต่อ การไดร้ บั การปฏิบตั ิทไี่ มเ่ หมาะสมตามหลกั สิทธมิ นุษยชนของหน่วยงานท่ีเกยี่ วข้องในกระบวนการยุติธรรม ๒.๕.๒ หน่วยงานผู้รับผดิ ชอบหลกั ส้านกั งานตา้ รวจแห่งชาติ ๒.๕.๓ ระยะเวลาดาเนินการรวม ๒ ปี ๒.๕.๔ ประมาณการวงเงนิ รวม และแหลง่ ที่มาของเงิน งบดา้ เนนิ งานของหน่วยงาน ๒.๕.๕ ข้ันตอนและวิธีการการดาเนินการปฏริ ูป ส้านักงานต้ารวจแหง่ ชาติ เป็นหนว่ ยงานผ้รู ับผิดชอบหลัก ในการท้างานรว่ มกบั หน่วยงาน อน่ื ทเี่ กย่ี วขอ้ ง โดยมีหนว่ ยงานที่เก่ยี วข้องในกระบวนการยุตธิ รรม เป็นอยา่ งน้อย ในการดา้ เนนิ การ ดังนี ๑) ข้ันตอนท่ี ๑ หน่วยงานผู้รับผิดชอบพัฒนาระบบการท้างานท่ีต้องการใช้เทคโนโลยี และประกาศใหส้ าธารณชนทราบ ระยะเวลาดาเนินการ ๖ เดอื น (มกราคม – มิถนุ ายน ๒๕๖๔) ๒) ขั้นตอนท่ี ๒ หนว่ ยงานผรู้ ับผดิ ชอบประชาสมั พนั ธผ์ ลการด้าเนินงาน ระยะเวลาดาเนินการ ๓ เดือน (กรกฎาคม – กนั ยายน ๒๕๖๔) ๓) ข้ันตอนที่ ๓ หน่วยงานผู้รับผิดชอบติดตามประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความพึงพอใจของประชาชน ระยะเวลาดาเนินการ ๑ ปี (๒๕๖๕) ๔-๘

87 สว่ นที่ ๓ ข้อเสนอในการมีหรอื แก้ไขปรบั ปรงุ กฎหมาย (เรยี งลาดบั ความสาคญั ) ๓.๑ ร่างพระราชบญั ญตั ิระยะเวลาในการดาเนินงานของกระบวนการยตุ ธิ รรม พ.ศ. .... . สาระสาคัญโดยสังเขป เพื่อให้ประชาชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถคาดการณ์และตรวจสอบได้ว่า หนว่ ยงานในกระบวนการยุติธรรมจะพจิ ารณาเร่ืองที่อยรู่ ะหวา่ งการดาเนินงานเสรจ็ ส้นิ เม่อื ใด ๔-๙



89 (รา่ ง) แผนการปฏิรูปประเทศ ด้านเศรษฐกจิ (ฉบับปรบั ปรุง) คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกจิ

90 สารบญั สาระสาคญั ของแผนการปฏริ ูปประเทศดา้ นเศรษฐกจิ หน้า สว่ นที่ ๑ บทนา ๕-๑ ๑.๑ ความสอดคล้องกบั แผนยทุ ธศาสตรช์ าติและแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ๕-๓ ๑.๑.๑ ความสอดคล้องของการปฏริ ูปด้านเศรษฐกิจกับยุทธศาสตรช์ าติ ๕-๔ ๑.๑.๒ ความสอดคล้องของการปฏริ ูปด้านเศรษฐกจิ กบั แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ๕-๖ ๕-๘ ๑.๒ ผลอันพึงประสงค์ ผลสัมฤทธ์ทิ ่คี าดว่าจะเกิดขึ้น ค่าเป้าหมายและตวั ช้วี ดั ๕-๙ สว่ นที่ ๒ กจิ กรรมปฏิรปู ที่จะส่งผลให้เกิดการเปลีย่ นแปลงต่อประชาชนอยา่ งมีนัยสาคัญ ๕-๙ ๕-๑๔ ๒.๑ กิจกรรมปฏิรปู ท่ี ๑ การสรา้ งเกษตรมลู ค่าสูง ๕-๑๘ ๒.๒ กิจกรรมปฏิรูปท่ี ๒ การส่งเสริมและพัฒนาการทอ่ งเทีย่ วคณุ ภาพสงู ๒.๓ กิจกรรมปฏิรปู ท่ี ๓ การเพิ่มโอกาสของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กในอุตสาหกรรม ๕-๒๒ ๕-๒๕ และบริการเป้าหมาย ๒.๔ กิจกรรมปฏิรูปที่ ๔ การเป็นศูนยก์ ลางด้านการค้าและการลงทนุ ของไทยในภมู ิภาค ๕-๒๘ ๒.๕ กิจกรรมปฏิรปู ที่ ๕ การพฒั นาศกั ยภาพคนเพ่อื เปน็ พลังในการขบั เคล่อื นเศรษฐกจิ สว่ นท่ี ๓ ข้อเสนอในการมีหรอื แกไ้ ขปรบั ปรุงกฎหมาย

91 ส่วนท่ี ๑ บทนา คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจได้กาหนดแนวทางการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ บนหลักการสร้างความยั่งยืนและครอบคลุมมิติท่ีสาคัญรวม ๓ ด้านหลัก ได้แก่ ด้านท่ี ๑ การเพิ่ม ความสามารถในการแข่งขันของประเทศให้กับทุกภาคส่วนในระบบเศรษฐกิจ โดยในระยะสั้นต้องเร่งเพิ่ม ผลิตภาพการผลิตในอุตสาหกรรมหลักท่ีประเทศไทยมีความชานาญและสร้างฐานอุตสาหกรรมใหม่ท่ีมีศักยภาพ ในการเติบโตในอนาคต ซึ่งต้องพัฒนาและเสริมสร้างทักษะบุคลากรในด้านต่าง ๆ ท่ีจาเป็นต่ออนาคต เพิ่มประสิทธิภาพด้วยการใช้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม รวมทั้งปรับปรุงกฎระเบียบต่าง ๆ ให้เอื้อต่อ การลงทุนและการดาเนินธุรกิจ ระยะกลางต้องสร้างการรวมกลุ่มในภูมิภาคเพ่ือขยายตลาดและสร้างฐาน การลงทุนด้วยการสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศต่าง ๆ และระยะยาวต้องสร้างระบบนิเวศด้านการวิจัยและ นวัตกรรมเพื่อเพ่ิมศักยภาพการแข่งขัน ด้านท่ี ๒ ความเท่าเทียมและการเติบโตอย่างมีส่วนร่วม เพื่อลดความเหล่ือมล้า โดยในระดับบุคคลเน้นการยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตโดยเฉพาะเกษตรกรและ แรงงาน ระดับชุมชนเน้นเสริมสร้างพลังอานาจชุมชน และในระดับประเทศมุ่งเน้นการลดความเหลื่อมล้าและ สร้างสมดุลกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค และด้านท่ี ๓ การปฏิรูปด้านสถาบันเศรษฐกิจ ให้มีวงจร การบริหารงานคุณภาพ (Plan-Do-Check-Act) เพื่อการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจ ท่ีเน้นปฏิรูปสถาบันเพ่ือ การบริหารหน่วยงานบริหาร สถาบันด้านการส่งเสริมผลิตภาพและการมาตรฐาน สถาบันเพ่ือส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม และหน่วยงานขับเคลื่อนติดตามและประเมินผลการพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดยมุ่งให้ เกิดการสรา้ งการเตบิ โตทางเศรษฐกิจอย่างย่ังยืน เกิดการกระจายโอกาสทางเศรษฐกิจสู่เศรษฐกิจระดับฐาน ราก และเร่งยกระดบั การเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ของประเทศไทยอย่างจริงจัง ซ่ึงสรุปสาระสาคัญและกิจกรรมหลัก พร้อมด้วยตวั อยา่ งได้ดงั ตาราง แผนปฏิรปู ประเทศด้านเศรษฐกจิ ครอบคลุม ๓ เรอ่ื งหลกั และ ๑๑ ประเดน็ ยอ่ ย ๑. การเพ่มิ ความสามารถ ๒. ความเทา่ เทยี มและการเติบโต ๓. การปฏริ ปู กระบวนการและ ในการแขง่ ขันของประเทศ อย่างมีส่วนรว่ ม ระบบสถาบนั ทางเศรษฐกิจ ๑.๑) ผลติ ภาพ ๒.๑) การยกระดับรายได้และ ๓.๑) ปฏริ ูปสถาบนั - เพิ่มผลผลิตและศักยภาพใน คุณภาพชีวติ ในระดับ เพ่ือการบรหิ าร การแข่งขันของอตุ สาหกรรม บคุ คล - จัดการยุทธศาสตรก์ ารพฒั นา หลัก (อุตสาหกรรมเกษตรและ - สง่ เสริมเกษตรกรรนุ่ ใหม่ และ เศรษฐกิจ อาหารท่องเที่ยวและบรกิ าร) การทาเกษตรแม่นยา - ปฏริ ูปศกั ยภาพองคก์ ร อตุ สาหกรรมใหม่ อาทิ - สร้างแรงงานคณุ ภาพเขา้ สู่ - ปฏิรปู ระบบขอ้ มลู ขนาดใหญ่ อุตสาหกรรมชีวภาพ ตลาดแรงงานอยา่ งครบวงจร ยานยนต์ไฟฟ้า เศรษฐกจิ ดิจิทัล ๑.๒) การรวมกลุ่มในภูมิภาค ๒.๒) การเสริมสร้าง ๓.๒) ปฏิรปู หนว่ ยงานบรหิ าร - พัฒนา Cluster และ Hub พลังอานาจชุมชน - ปฏริ ูปศกั ยภาพองคก์ ร ของอุตสาหกรรมเป้าหมาย - ปฏิรูประบบขอ้ มลู ขนาดใหญ่ - ขจดั อปุ สรรคทางการค้า - พฒั นาสถาบนั การเงนิ ชมุ ชน ในภมู ภิ าค - พัฒนาธรุ กิจชุมชน - ส่งเสรมิ และยกระดับสหกรณ์ ๕-๑

92 แผนปฏริ ปู ประเทศด้านเศรษฐกจิ ครอบคลุม ๓ เรือ่ งหลัก และ ๑๑ ประเดน็ ยอ่ ย ๑. การเพิม่ ความสามารถ ๒. ความเทา่ เทยี มและการเตบิ โต ๓. การปฏริ ูปกระบวนการและ ในการแข่งขนั ของประเทศ อยา่ งมีส่วนร่วม ระบบสถาบนั ทางเศรษฐกจิ - พฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน และวสิ าหกจิ เพ่ือสังคมในพื้นท่ี ในประเทศและภูมิภาค ๑.๓) ระบบนเิ วศด้านวจิ ัย ๒.๓) การลดความเหล่ือมลา้ ๓.๓) ปฏิรูปสถาบันด้าน พัฒนาและนวตั กรรม และสรา้ งสมดลุ การสง่ เสรมิ ผลติ ภาพ - ศูนย์กลางการวจิ ยั และพฒั นา - ระบบภาษแี ละเงินสวัสดกิ าร และการมาตรฐาน - การปฏิรูปกรมทรัพย์สนิ ทาง ประชาชน ๓.๔) ปฏิรูปสถาบันเพือ่ ส่งเสรมิ ปัญญา - ขยายความคุ้มครองกองทนุ SMEs - ศูนย์กลางสง่ เสรมิ ธรุ กิจสตารท์ ประกนั สังคม อพั และสเกลอพั - การจดั เก็บภาษีและระบบ ๓.๕) ปฏิรปู หน่วยงาน บานาญ ขับเคลือ่ น ตดิ ตามและ - สรา้ งความมนั่ คงดา้ นท่ีดินทากนิ ประเมินผลการพัฒนา ทางเศรษฐกจิ โดยในห้วงเวลา ๒-๓ ปีท่ีผ่านมา แผนการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ ฉบับประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันท่ี ๖ เมษายน ๒๕๖๑ ได้มีการผลักดันและขับเคล่ือนประเด็นปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจและกิจกรรม หลายเร่ืองแล้วเสร็จเห็นผลเป็นรูปธรรม โดยสรุปตัวอย่างที่สาคัญ เช่น การปฏิรูปด้านที่ ๑ การเพ่ิมขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ได้ดำเนินกำรปฏิรูปเร่ือง อุตสำหกรรมกำรท่องเที่ยวและบริกำร โดยปรับปรงุ พระรำชกฤษฎีกำจัดตง้ั องคก์ ำรพฒั นำพิเศษเพ่ือกำรทอ่ งเท่ยี วอย่ำงย่ังยืน (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ และโอนหน่วยงำนมำสังกัดกระทรวงกำรท่องเท่ียวและกีฬำ รวมท้ังมีกำรจัดทำแผนปฏิบัติกำรส่งเสริม กำรท่องเที่ยวประจำปี ๒๕๖๒ ท่ีมุ่งเน้นดึงดูดกลุ่มลูกค้ำเป้ำหมำยเฉพำะ กำรปฏิรูปด้ำนกำรเพิ่มระดับ กำรแข่งขันทำงธุรกิจ ได้มีกำรจัดตั้ง “สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรแข่งขันทำงกำรค้ำ” และออกระเบียบ ว่ำด้วยกำรรับฟังควำมคิดเห็นกับผู้มีส่วนได้เสียและประชำชนทั่วไปในกำรพิจำรณำออกระเบียบหรือประกำศ เกี่ยวกบั กำรกำกบั ดกู ำรแข่งขันทำงกำรคำ้ พ.ศ. 2561 ระเบียบว่ำด้วยกำรรับเร่ืองร้องเรียนและกำรแสวงหำ ข้อเท็จจริง พ.ศ. 2562 สำหรับประเด็นปฏิรูปเร่ือง Connectivity ได้มีกำรจัดตั้งแพลตฟอร์มร่วมสำหรับ ไทยและกัมพูชำ ลำว เมียนมำ และเวียดนำม หรือกลุ่มประเทศ CLMV ในรูปแบบของสำนักเลขำธิกำรยุทธศำสตร์ ควำมรว่ มมือทำงเศรษฐกิจอิรวดี-เจ้ำพระยำ-แม่โขง (Ayeyawady – ChaoPhraya - Mekong Economic Cooperation Strategy: ACMECS) ซึ่งปัจจุบันกำรทำงำนของ ACMECS เป็นกำรดำเนินกำรร่วมกันอย่ำงใกล้ชิดของกระทรวง กำรต่ำงประเทศของประเทศสมำชิก การปฏิรูปด้านที่ 2 ความเท่าเทียมและการเติบโตอย่างมีส่วนร่วม ในส่วนของประเด็นปฏิรูปเรื่องกำรบริหำรจัดเก็บภำษี ปัจจุบันกรมสรรพำกรได้พัฒนำระบบ e-Donation เพ่ืออำนวยควำมสะดวกให้แก่ผู้บริจำคสำมำรถใช้สิทธิลดหย่อนภำษีได้ นอกจำกน้ี ยังได้พัฒนำระบบกำรย่ืน แบบแสดงรำยกำรภำษีเงินได้บุคคลธรรมดำทำงอิเล็กทรอนิกส์ ตั้งแต่ปี ๒๕61 เป็นต้นมำ ในส่วนของประเด็น ปฏิรูปเร่ืองกำรจัดตั้งสำนักงำนบูรณำกำรกำรแก้ปัญหำควำมยำกจนและควำมเหล่ือมล้ำ ได้มีระเบียบสำนัก นำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยกำรบูรณำกำรเพื่อพัฒนำควำมเสมอภำคและควำมเท่ำเทียมทำงสังคม พ.ศ. 2563 กำหนดให้มีคณะกรรมกำรบูรณำกำรเพื่อพัฒนำควำมเสมอภำคและควำมเท่ำเทียมทำงสังคม (กบสท.) โดยมี นำยกรัฐมนตรี เป็นประธำนกรรมกำร เพ่ือให้กำรพัฒนำควำมเสมอภำคและควำมเท่ำเทียมทำงสังคมเป็นไป ๕-๒

93 อย่ำงบูรณำกำร มีประสิทธิภำพ และย่ังยืน และ การปฏิรูปด้านที่ 3 ปฏิรูปสถาบันทางเศรษฐกิจ ในประเด็น กำรปฏิรูปหน่วยงำนบริหำรสินทรัพย์ของภำครัฐ โดยประกำศใช้พระรำชบัญญัติกำรพัฒนำกำรกำกับดูแลและ บริหำรรัฐวิสำหกิจ พ.ศ. ๒๕๖๒ เมื่อวันที่ 19 พฤษภำคม 2562 ถือเป็นกฎหมำยหลักฉบับแรกของไทยท่ีใช้ ในกำรกำหนดนโยบำยและขบั เคลือ่ นกำรบรหิ ำรรัฐวิสำหกิจ ซ่งึ จะมผี ลใหเ้ กิดกำรกำกับดแู ลรฐั วิสำหกิจได้อย่ำง มปี ระสิทธิภำพต่อไป สำหรับกำรปฏิรูปสถำบันทำงเศรษฐกิจเพ่ือบริหำรกำรส่งเสริมวิสำหกิจขนำดกลำงและ ขนำดเล็กน้ัน ได้มีกำรออกกฎกระทรวงกำหนดลักษณะของวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อม พ.ศ. 2562 โดยใช้รำยได้เป็นเกณฑ์ อย่ำงไรก็ตำม ประเด็นปฏิรูปประเทศด้ำนเศรษฐกิจหลำยเรื่องยังคงต้องดำเนินกำรอย่ำง ต่อเนื่อง คณะกรรมกำรฯ จึงเห็นควรคงกิจกรรมท่ียังไม่แล้วเสร็จสมบูรณ์ เพ่ือให้เกิดแรงผลักให้หน่วยงำนเห็น ควำมสำคัญในกำรดำเนินกำรอย่ำงต่อเนื่อง ด้วยกระบวนกำรมีส่วนร่วมจำกทุกภำคส่วนอย่ำงจริงจังเพื่อให้สำมำรถ บรรลุเปำ้ หมำยของกำรปฏริ ูปอย่ำงแท้จรงิ ท้ังน้ี คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๒ เห็นชอบการปรับปรุงแผนการปฏิรูปประเทศ ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ และมติคณะรัฐมนตรีท่ีเก่ียวข้อง และ มอบหมายคณะกรรมการปฏิรูปประเทศดาเนินการตามข้ันตอนและกรอบระยะเวลาของกฎหมาย ต่อมา คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๖๓ เห็นชอบให้ขยายระยะเวลาการปรับปรุงแผนการปฏิรูป ประเทศ โดยให้คณะกรรมการปฏิรูปประเทศดาเนินการภายใน ๙๐ วัน นับต้ังแต่วันท่ีแต่งต้ังประธาน กรรมการและกรรมการปฏิรูปประเทศเพ่ิมเติมทุกด้าน รวมท้ังให้ดาเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๒ และขน้ั ตอนตามพระราชบญั ญัตแิ ผนและข้นั ตอนการดาเนนิ การปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจได้ดาเนินการปรับแผนการปฏิรูปด้านเศรษฐกิจตามกรอบ ของมติคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๒ ไปพร้อมกับการทบทวนบริบททางเศรษฐกิจและสังคม ที่เปล่ียนแปลงไป รวมทั้งวิถีใหม่อันเป็นผลมาจากการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ โดยพิจารณาเลือกกิจกรรมปฏิรูปเศรษฐกิจสาคัญที่จะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อประชาชนอย่างมี นัยสาคัญ มาเป็นจุดเน้นเพื่อให้การปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจในห้วงเวลา พ.ศ. ๒๕๖๔-๒๕๖๕ เกดิ ผลสมั ฤทธิ์อยา่ งเป็นรูปธรรม รวม ๕ กิจกรรม ได้แก่ (๑) การสร้างเกษตรมูลค่าสูง (๒) การส่งเสริมและ พัฒนาการท่องเท่ียวคุณภาพสูง (๓) การเพิ่มโอกาสของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กใน อุตสาหกรรมและบริการเป้าหมาย (๔) การเป็นศูนย์กลางด้านการค้าและการลงทุนของไทยในภูมิภาคและ (๕) การพัฒนาศักยภาพคนเพ่ือเป็นพลังในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจ ซ่ึงในภาพรวมของท้ัง ๕ กิจกรรมปฏิรูป ดังกล่าว จะมีส่วนในการช่วยเหลือเกษตรกรกว่า ๒๗ ล้านคน บุคลากรและผู้เกี่ยวเนื่องภาคการท่องเท่ียว ประมาณ ๘ ล้านคน ผูป้ ระกอบการ SMEs อกี จานวน ๓ ลา้ นราย รวมถงึ เสรมิ สรา้ งทักษะกาลังคนในระบบให้มี ความสอดคล้องตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรมและบริการเป้าหมาย และลดอตั ราการวา่ งงานในอนาคต ๑.๑ ความสอดคล้องกับยทุ ธศาสตรช์ าติและแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนการปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ภายใต้รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ รวมทั้ง ๖ ยุทธศาสตร์ โดยแนวทางการปฏิรูปประเทศด้านการเพ่ิม ความสามารถในการแข่งขันของประเทศเช่ือมโยงโดยตรงกับยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถใน การแข่งขัน ทั้งในมิติการพัฒนาภาคการเกษตร อุตสาหกรรม บริการและการท่องเที่ยว ผู้ประกอบการวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม รวมทั้งด้านความร่วมมือระหว่างประเทศในยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง และ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมที่เน้นการสร้างการเติบโต อย่างย่ังยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว การพัฒนาพ้ืนท่ีเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ และการพัฒนา ความม่ันคงด้านพลังงานและเกษตรท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ขณะท่ีการปฏิรูปด้านความเท่าเทียมและ ๕-๓

94 การเติบโตอย่างมีส่วนร่วมเพื่อลดความเหล่ือมล้า จะมีความสอดคล้องเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติด้าน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ที่เน้นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต การสร้าง สภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ และยุทธศาสตร์การสร้างโอกาส และความเสมอทางสังคมท่ีเน้นการลดความเหลื่อมล้าและสร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ การกระจายศูนย์กลาง ความเจริญทางเศรษฐกิจและเสริมสร้างพลังทางสังคม และการเพิ่มขีดความสามารถของชุมชนและความสามารถ ในการพ่ึงพาตนเอง และการปฏิรูปกระบวนการและระบบสถาบันทางเศรษฐกิจ จะมีความเช่ือมโยงกับ ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ท่ีมุ่งเน้นให้ประเด็นภาครัฐ มีสมรรถนะสูง รวมถงึ การปรบั ปรงุ กฎหมายท่ีมคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ และมเี ท่าทจี่ าเป็น ในขณะเดียวกนั แผนการปฏิรปู ประเทศดา้ นเศรษฐกจิ ยังสอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ใน ๑๑ ประเด็นสาคัญ ได้แก่ (๑) ประเด็นการเกษตร ซึ่งเน้นการพัฒนาสินค้าเกษตรชีวภาพและการแปรรูป การพ่ึงพาเทคโนโลยีสมัยใหม่/อัจฉริยะเพ่ือเพิ่มมูลค่าผลผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตต่อหน่วย (๒) ประเด็นอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต ซึ่งมุ่งให้เกิดการขยายตัวเพิ่มข้ึนของอุตสาหกรรมชีวภาพ และอุตสาหกรรมและบริการทางการแพทย์ (๓) ประเด็นการท่องเท่ียว เน้นการสร้างรายได้เพ่ิมข้ึนจาก การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย และ การท่องเท่ียวสาราญทางน้า รวมถึงการพัฒนาเมืองและชุมชนที่มีศักยภาพด้านการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์ และวัฒนธรรมเพิ่มข้ึน และสถานประกอบการด้านการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพและบริการทางการแพทย์ได้รับ มาตรฐานเพม่ิ ขน้ึ (๔) ประเดน็ ผูป้ ระกอบการและวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม โดยมุ่งใหเ้ กิดการขยายตัว ของวิสาหกิจเริม่ ตน้ เพิ่มขึ้น และเพ่ิมอนั ดบั ความสามารถในการแข่งขนั ดา้ นการค้าระหว่างประเทศของประเทศ ไทย (๕) ประเดน็ เขตเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งเน้นการเพ่ิมข้ึนของการลงทุนในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พื้นที่ ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ และเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน (๖) ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอด ช่วงชีวิต ซ่ึงมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะกาลังคนในอนาคต รวมถึงความสามารถในการปรับตัวและเรียนรู้สิ่งใหม่ ตามพลวัตของโครงสร้างอาชีพและความต้องการของตลาดแรงงาน (๗) ประเด็นเศรษฐกิจฐานราก มุ่งเน้น การสร้างรายได้ให้กับชุมชน (๘) ประเด็นการบริหารจัดการน้าท้ังระบบ โดยมีเป้าหมายเป็นการเพ่ิมข้ึนของ ระดับความม่ันคงด้านน้าเพ่ือการพัฒนาเศรษฐกิจและผลิตภาพจากการใช้น้าเพิ่มขึ้น (๙) ประเด็นการบริการ ประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ ซ่ึงให้ความสาคัญต่อการบริการภาครัฐที่ปรับเปล่ียนเป็นดิจิทัลเพิ่มขึ้น (๑๐) ประเด็นกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อการปฏิบัติตามและการบังคับใช้ กฎหมายมีความคมุ้ คา่ ทางเศรษฐกจิ ท่ัวถึง ไม่เลือกปฏบิ ัติ และเปน็ ธรรม และ (๑๑) ประเด็นการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรม โดยให้ความสาคญั ต่อการขับเคล่ือนการประยุกตใ์ ชค้ วามรูเ้ ทคโนโลยแี ละนวัตกรรมในการเพิ่มมูลค่า ของเศรษฐกิจสเี ขยี วอย่างยง่ั ยืนใหเ้ พมิ่ ข้นึ อย่างตอ่ เน่ือง ๑.๑.๑ ความสอดคล้องของการปฏิรูปประเทศดา้ นเศรษฐกจิ กบั ยุทธศาสตร์ชาติ ๑) ยุทธศาสตร์ด้านความม่ันคง ๑.๑) ขอ้ ๔.๔ การบรู ณาการความรว่ มมอื ด้านความมั่นคงกับอาเซียนและนานาชาติ รวมถึงองค์กรภาครฐั และท่มี ิใชภ่ าครัฐ ๔.๔.๓ การร่วมมือทางการพัฒนากับประเทศเพ่ือนบ้าน ภูมิภาคโลก รวมถึง องคก์ รภาครฐั และทีม่ ิใช่ภาครัฐ ๒) ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน ๒.๑) ข้อ ๔.๑ การเกษตรสร้างมูลค่า ข้อ ๔.๑.๓ เกษตรชีวภาพ ข้อ ๔.๑.๔ เกษตร แปรรปู ๔.๑.๕ เกษตรอัจฉรยิ ะ ๕-๔

95 ๒.๒) ข้อ ๔.๒ อตุ สาหกรรมและบริการแหง่ อนาคต ๔.๒.๑ อุตสาหกรรมชวี ภาพ ๔.๒.๒ อตุ สาหกรรมและบรกิ ารการแพทย์ครบวงจร ๔.๒.๔ อุตสาหกรรมและบรกิ ารขนส่งและโลจสิ ติกส์ ๒.๓) ข้อ ๔.๓ สรา้ งความหลากหลายด้านการทอ่ งเที่ยว ๔.๓.๑ ทอ่ งเท่ยี วเชงิ สร้างสรรค์และวัฒนธรรม ๔.๓.๓ ท่องเที่ยวเชงิ สุขภาพ ความงาม และแพทยแ์ ผนไทย ๔.๓.๔ ท่องเทย่ี วสาราญทางน้า ๒.๔) ข้อ ๔.๔ โครงสร้างพ้ืนฐาน เชอื่ มไทย เชื่อมโลก ๔.๔.๑ เชอ่ื มโครงขา่ ยคมนาคมไร้รอยต่อ ๔.๔.๒ สร้างและพฒั นาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ๔.๔.๓ เพิ่มพน้ื ท่แี ละเมืองเศรษฐกจิ ๒.๕) ขอ้ ๔.๕ พัฒนาเศรษฐกจิ บนพน้ื ฐานผ้ปู ระกอบการยุคใหม่ ๔.๕.๑ สร้างผปู้ ระกอบการอัจฉรยิ ะ ๔.๕.๓ สร้างโอกาสเข้าถึงตลาด ๔.๕.๕ ปรบั บทบาทและโอกาสการเข้าถึงบริการภาครฐั ๓) ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ๓.๑) ข้อ ๔.๒ การพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว่ งชวี ิต ๔.๒.๓ ช่วงวัยแรงงาน ๔) ยุทธศาสตรช์ าตดิ ้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ๔.๑) ขอ้ ๔.๑ การลดความเหลื่อมลา้ สรา้ งความเป็นธรรมในทุกมติ ิ ๔.๑.๔ เพิ่มผลิตภาพและคุ้มครองแรงงานไทย ให้เป็นแรงงานฝีมือที่มี คณุ ภาพและความรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ มีความปลอดภยั ในการทางาน ๔.๒) ขอ้ ๔.๒ การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สงั คมและเทคโนโลยี ๔.๒.๖ การพัฒนากาลังแรงงานในพ้ืนที่ ๕) ยุทธศาสตรช์ าติด้านการสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรตอ่ สงิ่ แวดล้อม ๕.๑) ข้อ ๔.๑ สร้างการเตบิ โตอยา่ งยง่ั ยืนบนสงั คมเศรษฐกิจสเี ขียว ๔.๑.๕ สง่ เสริมการบริโภคและการผลิตท่ีย่งั ยนื ๕.๒) ข้อ ๔.๔ พัฒนาพ้ืนที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุ่งเน้นความเป็นเมืองท่ีเตบิ โตอย่างต่อเน่ือง ๔.๔.๒ พัฒนาพื้นท่ีเมือง ชนบท เกษตรกรรม และ อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ท่ีมี การบริหารจดั การตามแผนผงั ภมู นิ เิ วศอย่างยงั่ ยืน ๕.๓) ข้อ ๔.๕ พัฒนาความม่ันคงด้านน้า พลังงาน และเกษตรท่ีเป็นมิตรต่อ สงิ่ แวดลอ้ ม ๔.๕.๒ เพ่ิมผลติ ภาพของน้าทงั้ ระบบ ในการใชน้ า้ อยา่ งประหยัด รู้คุณค่า และ สร้างมูลค่าเพ่ิมจากการใช้น้าให้ทัดเทยี มกับระดับสากล ๔.๕.๕ พัฒนาความมั่นคงด้านการเกษตรและอาหารของประเทศและชุมชน ในมติ ิปริมาณ คุณภาพ ราคา และการเขา้ ถึงอาหาร ๕-๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook